Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรียนแล้วสวยขึ้นมาเลย

เรียนแล้วสวยขึ้นมาเลย

Published by Saruta Santiwong, 2021-03-23 04:09:05

Description: สื่อการสอนต่างๆน่าสนใจ

Search

Read the Text Version

สอ่ื การเรยี นการสอน (Instructional Media) SUMAI BINBAI Ed.D. Educational Technology

ความหมาย ภาษาองั กฤษ: Medium/Media = ระหว่าง สิ่งใดกต็ ามท่บี รรจขุ ้อมลู สารสนเทศหรอื เปน็ ตัวกลางให้ ข้อมูลส่งผา่ นจากผสู้ ง่ ไปยงั ผรู้ ับเพ่อื ใหผ้ ู้สง่ และผูร้ บั สามารถ สอื่ สารกนั ได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ (กิดานันท์ มลิทอง, 2548) Sender Media Receiver

ความหมาย สอื่ การเรยี นการสอน (Instructional Media) สื่อใด ๆ ทีบ่ รรจุเนือ้ หาเก่ียวกบั การเรียนการสอน หรือเป็นวสั ดุ อปุ กรณ์เพือ่ ถา่ ยทอดเนือ้ หา ไดแ้ ก่ เทปบันทกึ เสียง สไลด์ วทิ ยุ โทรทัศน์ วีดทิ ัศน์ แผนภมู ิ รปู ภาพ ของจาลอง แผน่ พบั ฟลิ ์มภาพยนตร์ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ ซดี ี โปสเตอร์ แทบ็ เลต็ หนังสือ e-book e-journal เปน็ ต้น

สรุป สอ่ื การเรยี นการสอน (Instructional Media) ตวั กลางในการสง่ ผา่ นขอ้ มูลสารสนเทศจากผู้สอน ไปยงั ผู้เรยี นหรอื ตวั กลางใหค้ วามรู้แกผ่ ้เู รยี นเม่ือ ผเู้ รยี นเป็นผ้ศู กึ ษาหาความรไู้ ด้ด้วยตนเอง Teacher Student

การจาแนกสอ่ื การเรยี นการสอน สอื่ โสตทศั น์ (Audio-Visual Media) เป็นสอื่ การเรียนการสอนชนิดแรก ๆ ทบี่ รรจุหรอื ถา่ ยทอดข้อมลู เพือ่ ใหก้ ารเรยี นรู้ ด้วยภาพและเสียง

การจาแนกสอื่ การเรยี นการสอน สอ่ื โสตทศั น์ (Audio-Visual Media) แบ่งได้ 4 ประเภท 1. สอื่ ทใี่ ชเ้ ครอ่ื งฉาย (projected materials) วสั ดุและอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์เพอื่ การส่อื สารด้วยภาพ หรอื ท้งั ภาพและเสยี ง อุปกรณ์ เครอ่ื งฉายท้ังทางตรงและทางออ้ ม เพอ่ื ถา่ ยทอดเนอื้ หาจากวสั ดุแต่ละประเภท

การจาแนกสอื่ การเรยี นการสอน สอ่ื โสตทศั น์ (Audio-Visual Media) แบง่ ได้ 4 ประเภท 2. สือ่ ท่ไี ม่ใชเ้ ครื่องฉาย (non-projected materials) สื่อภาพ: ภาพกราฟิก กราฟ แผนภาพ แผนท่ี ของจรงิ กระดาน: กระดานดา กระดานแมเ่ หล็ก ไวท์บอร์ด กิจกรรม: การศกึ ษานอกสถานท่ี การสาธติ การจัดนทิ รรศการ

การจาแนกสอื่ การเรยี นการสอน สอื่ โสตทศั น์ (Audio-Visual Media) 3. สือ่ เสยี ง (Audio materials and equipment) วัสดุและอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์เพอื่ การสื่อสารด้วยเสยี ง อุปกรณเ์ ครอ่ื งเสียงจะใช้ ถา่ ยทอดเนอ้ื หาจากวสั ดแุ ต่ละประเภทท่ีใช้เฉพาะกบั อุปกรณน์ น้ั เพอื่ ใหไ้ ดย้ ินเสยี ง

การจาแนกสอ่ื การเรยี นการสอน สอ่ื โสตทศั น์ (Audio-Visual Media) 4. สอื่ อุปกรณต์ ามสมยั (Digital Equipment) เป็นอุปกรณท์ ่ีมขี ดี ความสามารถมากข้นึ เพ่อื ตอบสนองการใช้งานได้หลากหลายรปู แบบ และยงั ใช้งานได้ง่าย กวา่ เดมิ เช่น จอมอนเิ ตอรว์ อลล์ เครอ่ื งฉายภาพดิจทิ ลั เครอ่ื งรบั สัญญาณโทรทัศน์ดจิ ทิ ัล แท็บเลต็ สมาร์ท โฟน หรือแม้กระทั้ง เคร่อื งคอมพิวเตอร์

การจาแนกสอ่ื การเรยี นการสอน สอ่ื ประสม (Multimedia) การนาส่ือหลายประเภทมาใช้รว่ มกนั ทงั้ วัสดุ อปุ กรณ์ และวธิ ีการ เดิม เพ่ือให้เกดิ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลสูงสดุ ในการเรยี นการสอน โดยใช้สือ่ แต่ละอยา่ งตามลาดบั ขนั้ ตอนของการนาเสนอเนือ้ หา การนาเสนอขอ้ มลู ดว้ ยคอมพวิ เตอรใ์ นรูปแบบตวั อกั ขระ ภาพนงิ่ ใหม่ ภาพเคลอ่ื นไหว เสยี ง และมปี ฏสิ มั พันธโ์ ต้ตอบระหว่างผูใ้ ช้กับ คอมพิวเตอร์

การจาแนกสอ่ื การเรยี นการสอน สอ่ื ประสม (Multimedia) ส่ือประสมแบบเดิม ของจรงิ ภาพเคล่ือน ของจาลอง ไหว ข้อความ ภาพ เสียง ตัวอักขระ กราฟิก

การจาแนกสอ่ื การเรยี นการสอน สอ่ื ประสม (Multimedia) สอ่ื ประสมแบบใหม่ ผลติ ไฟลส์ ือ่ ประสม

การจาแนกสอ่ื การเรยี นการสอน รูปแบบของเนอ้ื หาในสอ่ื ประสม (Multimedia) ข้อความ ภาพกราฟิก ภาพ แอนเิ มช่นั ภาพเคลื่อน การเชื่อมโยง ไหวแบบ วีดิทัศน์ เสยี ง สว่ นตอ่ ประสาน

การจาแนกสอื่ การเรยี นการสอน ประโยชนข์ องสอื่ ประสมในการเรยี นการสอน (Benefits of Multimedia) สือ่ สารขอ้ มลู ความรู้ ไดอ้ ยา่ งชัดเจนมากกว่า ใชก้ บั การเรยี นรูท้ ุกรปู แบบและสถานการณ์ กระตุ้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับบทเรียน

การจาแนกสอื่ การเรยี นการสอน สอื่ หลายมติ ิ (Hypermedia) การนาเสนอขอ้ มูลในลกั ษณะไมเ่ ปน็ เส้นตรง เพม่ิ ความสามารถในการบรรจขุ ้อมลู เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ เข้าถงึ ข้อมูลไดห้ ลากหลายรปู แบบมากกว่าเดมิ รวมถึง การโตต้ อบระหวา่ งสอ่ื กบั ผใู้ ช้ผา่ น “จดุ เช่อื มโยงหลาย มิติ” (Hyperlink) ซ่งึ มลี ักษณะเป็นปุ่ม สัญรูป และ/หรือ ลักษณะต่าง ๆ



ความแตกตา่ งระหว่าง เดิม: ส่ือประสมกับส่ือหลายมิติมี สือ่ ประสมและส่ือหลายมติ ิ ความแตกต่างกันเน่ืองจากสื่อประสม นาเสนอเป็นเส้นตรง แต่สื่อหลายมิติเปิด โอกาสให้ผู้เรียนเลือกเน้ือหาหรือหัวข้อท่ี ตอ้ งการได้ ใหม่: สื่อประสมกับสื่อหลายมิติไม่มี ความแตกต่างกันชัดเจนเนื่องจากการ บรรจบกันของเทคโนโลยีที่สามารถสร้าง สื่อประสมให้สามารถเชื่อมโยงหลายมิติ ได้ทั้งในรูปแบบออฟไลน์และออนไลน์ และมีการรวมกนั ระหว่างสื่อมลั ตมิ ีเดียและ สื่อหลายมิติทาให้สามารถเรียกดูเนื้อหา บ ท เ รี ย น ไ ด้ ห ล า ก ห ล า ย รู ป แ บ บ จ า ก อุปกรณ์เดยี ว (Technology Convergence)

ประโยชน์ของส่อื หลายมิติ (Benefits of Hypermedia) สามารถเชอื่ มโยงการคน้ หาไดไ้ ม่มีจดุ ส้ินสุด กระตุ้นผู้เรียนให้อยากเรียนรู้ เหมาะกับรูปแบบผู้เรียนที่แตกต่างกัน ทาให้สามารถข้ามสง่ิ ท่ีไมต่ อ้ งการได้ ไม่เสียเวลาในการเรยี นรู้ เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการเรียนรู้ เรียนรู้พร้อมกันได้หลายชอ่ งทาง ดว้ ยประสาทสัมผัสทัง้ 5

ประโยชนข์ องสื่อหลายมิติ (Benefits of Hypermedia) เร้าความสนใจของผู้เรียนไดม้ ากกวา่ สภาพแวดลอ้ มแบบเดมิ สง่ เสรมิ ทกั ษะการคิดข้นั สงู ของผเู้ รยี น เพราะต้องวเิ คราะห์เลือกบทเรยี นตอ่ ไป ว่า จะเรยี นอะไรก่อนหลงั สว่ นต่อประสานใชง้ านง่ายกระตนุ้ การตอบสนองและปฏิสัมพันธโ์ ต้ตอบระหว่าง ผเู้ รยี นกับบทเรยี น เหมาะสาหรบั การเรยี นการสอนทางไกล เรียนไดท้ ุกทีท่ กุ เวลา

การจาแนกสื่อตามประสบการณก์ ารเรยี นรู้

การจาแนกส่ือตามประสบการณก์ ารเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 1 ประสบการณ์ตรงและมคี วามมงุ่ หมาย ขนั้ ท่ี 2 ประสบการณจ์ าลอง (Contrived (Direct Purposeful Experience) ได้เรยี นรู้ Simulation Experience) ของจรงิ มขี นาด จากประสบการณจ์ รงิ ได้เหน็ ไดย้ ินเสยี ง ได้ ใหญห่ รือเลก็ เกนิ ไป มคี วามซับซอ้ น มอี ันตราย สมั ผสั ดว้ ยตนเอง เช่น การเรยี นจากของจริง จึงใช้ประสบการณจ์ าลองแทน เชน่ การใช้ (Real object) ได้รว่ มกจิ กรรมการเรียนด้วยการ หนุ่ จาลอง (Model) ของตัวอยา่ ง (Specimen) ลงมือกระทา เปน็ ต้น เป็นต้น ข้ันท่ี 3 ประสบการณน์ าฏการ (Dramatized ขน้ั ท่ี 4 การสาธติ (Demonstration) คือการ Experience) เป็นประสบการณ์ที่จัดข้นึ แทน อธบิ ายข้อเท็จจริง ความจรงิ และกระบวนการท่ี ประสบการณจ์ รงิ ท่เี ปน็ อดตี ไปแลว้ หรือเป็น สาคัญ ด้วยการแสดงใหเ้ ห็นเป็นลาดบั ข้นั การ นามธรรมทยี่ ากเกินกวา่ จะเขา้ ใจและ ไม่สามารถ สาธิตอาจทาได้โดยครูเป็นผสู้ าธติ นอกจากน้ี ใช้ประสบการณ์จาลองได้ เชน่ การละเลน่ อาจใช้ภาพยนตร์ สไลดแ์ ละฟลิ ม์ สตรปิ แสดง พืน้ เมอื ง ประเพณตี า่ งๆ เปน็ ต้น การสาธิตในเน้ือหาทต่ี ้องการสาธิตได้

การจาแนกส่ือตามประสบการณ์การเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 5 การศึกษานอกสถานที่ (Field Trip) ขน้ั ที่ 6 นิทรรศการ (Exhibition) คอื การจดั การพานักเรียนไปศกึ ษายังแหล่งความรู้นอก แสดงสิง่ ต่าง ๆ รวมทงั้ มีการสาธิต และการฉาย ห้องเรียน เพอ่ื เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นร้หู ลายๆ ภาพยนตร์ประกอบเพอ่ื ให้ประสบการณ์ในการ ด้าน ไดแ้ ก่ การศกึ ษาความรจู้ ากสถานท่ีสาคญั เรียนรู้แก่ผเู้ รยี นหลายดา้ น ไดแ้ ก่ การจดั ปา้ ย เช่น โบราณสถาน โรงงาน อตุ สาหกรรม เปน็ ตน้ นิทรรศการ การจดั แสดงผลงานนักเรียน ขนั้ ท่ี 7 ภาพยนตร์ และโทรทศั น์ (Motion ข้นั ที่ 8 การบันทึกเสยี ง วทิ ยุ และภาพนง่ิ Picture and Television) ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นดว้ ย (Recording, Radio and Picture) ไดแ้ ก่ เทป การเห็นและได้ยนิ เสยี งเหตุการณ์และเร่อื งราว บนั ทึกเสยี ง แผ่นเสยี ง วิทยุ ซึ่งต้องอาศัยเร่อื งการ ตา่ งๆ ได้มองเห็นภาพในลักษณะการเคล่ือนไหว ขยายเสียง ส่วนภาพน่ิง ได้แกร่ ูปภาพทง้ั ชนิดโปร่ง เหมือนจริงไปพร้อมๆ กนั แสงทีใ่ ช้กบั เคร่อื งฉายภาพข้ามศรี ษะ (Overhead projector) สไลด์ (Slide) ภาพน่ิงจากคอมพิวเตอร์ และภาพบนั ทึกเสียงทีใ่ ช้กบั เครื่องฉายภาพทึบแสง (Overhead projector)

การจาแนกสื่อตามประสบการณ์การเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 9 ทศั นสัญลักษณ์ (Visual Symbol) มคี วามเป็นนามธรรมสงู จาเปน็ ที่จะต้องคานึงถึงประสบการณ์ของผู้เรียนเป็นพื้นฐานในการเลือกนาไปใช้ ส่ือเหลา่ น้ีคอื แผนภมู ิ แผนสถติ ิ ภาพโฆษณา การต์ นู แผนที่ และสญั ลักษณ์ ต่าง ๆ เปน็ ตน้ ขั้นที่ 10 วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbol) เปน็ ประสบการณ์ขั้นสดุ ท้าย ซึ่งเปน็ นามธรรมทส่ี ุด ไม่มีความคลา้ ยคลงึ กันระหว่าง วจนสญั ลักษณก์ ับของจริง ได้แก่ การใชต้ วั หนังสอื แทนคาพูด

หลักการเลอื ก“สอื่ การเรยี นการสอน” 1. เลอื กสื่อการสอนใหส้ อดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ 2. เลือกสื่อท่ีตรงกับลักษณะเนอื้ หาบทเรียน 3. เลือกสอ่ื ทส่ี อดคลอ้ งกบั วธิ กี ารสอน 4. เลือกสื่อใหเ้ หมาะกบั ลักษณะและวยั ของผเู้ รียน

หลกั การเลือก“สอ่ื การเรยี นการสอน” 5. เลือกส่ือใหเ้ หมาะกบั จานวนผ้เู รยี นและกิจกรรมการเรียนการสอน 6. เลอื กส่ือให้เหมาะกบั สภาพแวดลอ้ ม 7. เลอื กสอ่ื ท่นี ่าสนใจและดงึ ดูดความสนใจ 8. เลอื กสื่อทีม่ วี ิธกี ารใชง้ าน เกบ็ รักษาและบารุงรักษาไดส้ ะดวก

หลักการใช้ “สื่อการเรยี นการสอน” 1. เตรียมตวั ผสู้ อน ทาความเข้าใจเนือ้ หา ขน้ั ตอนกจิ กรรมและวธิ ีการใช้สอ่ื 2. เตรยี มจดั สภาพแวดล้อม เชน่ สถานที่ ห้อง Lab เครื่องอานวยความสะดวก 3. เตรยี มตัวผูเ้ รียนใหพ้ รอ้ ม อธบิ ายวิธีการใช้สอื่ อปุ กรณ์และเคร่อื งมอื 4. ใช้สื่อใหเ้ หมาะกบั ขั้นตอนและวิธีการตามทไี่ ดเ้ ตรยี มไว้และควบคมุ การนาเสนอ ให้เป็นไปด้วยความราบรนื่ 5. การตดิ ตามผล ทดสอบผูเ้ รียนว่าเข้าใจสิ่งที่ได้เรยี นรูไ้ ปหรอื ไม่ เพ่อื ดวู ่าสอ่ื มี ประสทิ ธิภาพไหม

การบ้าน ค้นคว้าเก่ียวกบั สอื่ CAI 1. ความหมาย 2. คุณลกั ษณะและรปู แบบ 3. ขัน้ ตอนการพัฒนาสือ่ CAI 4. ประโยชน์ของสือ่ CAI ในการจดั การเรียนการสอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook