Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือมารยาทไทยสำหรับนักเรียนสาธิตจุฬาฯและแนวทางปฏิบัติ 2562

คู่มือมารยาทไทยสำหรับนักเรียนสาธิตจุฬาฯและแนวทางปฏิบัติ 2562

Published by studentaffair.cud, 2019-05-13 14:39:21

Description: คู่มือมารยาทไทยสำหรับนักเรียนสาธิตจุฬาฯและแนวทางปฏิบัติ 2562

Search

Read the Text Version

มารยาทไทยและแนวทางปฏบิ ตั ิ สาหรับนกั เรียนโรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ฝา่ ยประถม ฝ่ายกจิ การนักเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒

๒ คานา เอกสารมารยาทไทยและแนวทางปฏิบัติสาหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลง กรณ์ มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม จัดทาข้ึนเพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการเรียนการสอนของ อาจารย์นาไปสู่การปฏิบัติตนท่ีถูกต้องและเหมาะสมของนักเรียน โดยมีเป้าหมายให้ นักเรียนได้มีความรู้ ความตระหนัก และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างงดงาม สร้างความประทับใจให้กับคนรอบข้าง นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เป็นความ ภาคภูมใิ จของครอบครัว ครอู าจารยแ์ ละผทู้ เ่ี กีย่ วขอ้ ง ฝ่ายกิจการนักเรียนขอขอบคุณคณาจารย์ท่ีให้ความร่วมมือช่วยคิดและสรุปข้อมูลท่ี จะนาไปใช้ในบริบทของโรงเรียนได้อย่างเหมาะสม ขอบพระคุณอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ทุกท่านท่ีเสียสละเวลาตรวจเอกสาร และให้คาแนะนา เพ่ือให้การจัดทาเอกสารชุดน้ี สามารถนาไปใช้ประโยชน์กบั นักเรียนได้ หวังว่าเอกสารชุดนี้จะมีคุณประโยชน์ ไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด ฝ่ายกจิ การนักเรียนขอน้อมรบั และจะนาไปปรบั ปรุงแก้ไขในการจัดทาเอกสารในวาระอ่ืนๆ ตอ่ ไป ฝา่ ยกจิ การนกั เรยี น

๓ หนา้ ๒ สารบญั ๓ ๔ เรือ่ ง ๖ คานา ๖ สารบัญ ๗ มารยาทในการใช้คาพดู ๑๑ มารยาทในการแสดงความเคารพ ๑๔ ๑๘ - การไหว้ ๒๐ - การกราบ ๒๔ มารยาทในการเดนิ มารยาทในการยนื เคารพธงชาติ เพลงชาติ มารยาทในการรับประทานอาหารในโรงอาหาร มารยาทในการรบั ของจากผู้ใหญแ่ ละการส่งของใหผ้ ูใ้ หญ่ บรรณานกุ รม

๔ มารยาทในการใชค้ าพดู มารยาทในการใช้คาพูด การพูดมีความสาคญั ต่อชีวิตมนุษย์อย่างมาก ไม่ว่าจะอยู่ที่ใด ประกอบกิจการงานใด หรือคบหาสมาคมกับผู้ใด ผู้ที่ประสบความสาเร็จในธุรกิจการงาน หรือ คบหาสมาคมกับผู้อื่น ตลอดจนการทาประโยชน์แก่สังคมล้วนแต่เป็นผู้ท่ีมีประสิทธิภาพในการพูดท้ังส้ิน การพูดมีความ สาคัญต่อตนเอง เพราะถ้าผู้พูดมีศิลปะในการพูดก็จะเป็นคุณแก่ตนเอง ส่วนในด้านสังคมนั้น เน่ืองจากเราต้องคบหาสมาคมและพึ่งพาอาศัยกัน การที่จะอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขนั้นจาเป็นต้อง เปน็ คนที่ “พดู ดี” คือ พดู ไพเราะ น่าฟงั และพดู ถูกต้อง รวมถงึ ถกู กาลเทศะ และใชถ้ กู อกั ขระวิธี การพดู ของคนเราจาเป็นอยา่ งยง่ิ ที่จะต้องมีหลกั เกณฑ์ รู้จักกาลเทศะ และเร่ืองใด ควรพูดเรอ่ื งใดไมค่ วรพดู และทีส่ าคญั ต้องคานึงถึงมารยาทท่ีดใี นการพดู ด้วย มารยาทในการพดู แบ่งเปน็ ๒ ประเภท คือ ๑. มารยาทในการใชค้ าพูดระหวา่ งบคุ คล ๒. มารยาทในการใชค้ าพูดในทส่ี าธารณะ มารยาทในการใชค้ าพดู ระหว่างบคุ คล มีดงั นี้ ๑. เร่ืองที่พดู ควรเปน็ เรอื่ งท่ีท้ัง ๒ ฝ่าย มีความสนใจและพอใจรว่ มกัน ๒. ผู้สนทนาไม่ควรพูดเร่ืองของตนเองมากจนเกินไป ควรฟงั ในขณะที่อีกฝ่ายหนึง่ พูด ไม่สอดแทรกเม่ือเขายังพดู ไม่จบ ๓. พูดตรงประเดน็ หรือเรื่องที่สนทนากันอาจออกนอกเรื่องบ้างพอผ่อนคลายอารมณ์ ๔. เคารพความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืน ไมบ่ ังคบั ให้ผูอ้ ื่นเช่อื หรอื คดิ เหมอื นทต่ี นเองคดิ การใชค้ าพดู ท่ีสภุ าพในการสือ่ สารกบั บคุ คลทั่วไป ๑. สรรพนามท่แี ทนตัวผู้พดู (สรรพนามบรุ ษุ ที่๑) - ชาย ใช้คาว่า ข้าพเจา้ ฉัน ผม - หญิง ใชค้ าว่า ขา้ พเจา้ ฉัน หนู ดฉิ ัน ๒. สรรพนามท่ีแทนตัวคนทเ่ี ราพูดด้วย(สรรพนามบุรุษที่๒) - ชาย หรอื หญิง ใชไ้ ด้เหมือนกนั ใชค้ าว่า ทา่ น เธอ คุณ

๕ ๓. คาพูดลงท้าย - นกั เรียนชาย ใช้คาวา่ ครับ - นกั เรียนหญิง ใช้คาว่า คะ ค่ะ ขา ๔. มารยาทท่พี ึงปฏิบตั ิ - ใชน้ ้าเสยี งท่นี ่มุ นวล - พดู เสียงดงั ชัดเจน - เมื่อพูดผดิ ควรกล่าวคาขอโทษ และ กลา่ วขอบคณุ เม่อื ไดร้ บั คายกยอ่ งชมเชย แนวทางปฏบิ ัติในโรงเรยี น : มารยาทในการใชค้ าพดู ให้ใช้คาพดู นี้ กับทุกคน ทุกสถานะ และทุกโอกาส

๖ มารยาทในการแสดงความเคารพ มารยาทในการแสดงความเคารพ การแสดงความเคารพมดี ้วยกันหลายรูปแบบ เช่น การพนมมอื การไหว้ การกราบ การคานับ การถวายความเคารพ การที่จะใชร้ ูปแบบใดต้องพิจารณาว่าผู้ท่จี ะรับเคารพอยใู่ นฐานะใด หรอื ในโอกาสใด ลักษณะการแสดงความเคารพ มดี ังน้ี ๑. การไหว้ ลกั ษณะการไหวท้ เ่ี ปน็ มารยาทในสังคมทค่ี วรปฏบิ ัตกิ ัน คือ ๑) การประนมมือ (อัญชลี) เป็นการแสดงความเคารพ โดยการประนมมือให้น้ิวมือ ท้ังสอง ข้างชิดกัน ฝ่ามือท้ังสองประกบเสมอกันแนบหว่างอก ปลายน้ิวเฉียงขึ้นพอประมาณ แขนแนบตัวไม่ กางศอก ท้ังชายและหญิงปฏิบัติเหมือนกัน การประนมมือน้ีใช้ในการสวดมนต์ ฟังพระสวดมนต์ ฟังพระธรรมเทศนา ขณะสนทนากับพระสงฆ์ รับพรจากผู้ใหญ่ แสดงความเคารพผู้เสมอกันและรับ ความเคารพจากผูอ้ อ่ นอาวโุ สกว่า เปน็ ต้น ท่าการประนมมือ ๒) การไหว้ (วันทา) เปน็ การแสดงความเคารพโดยการประนมมือ แลว้ ยกมอื ท้งั สองขน้ึ จรดใบหนา้ ใหเ้ ห็นวา่ เป็นการแสดงความเคารพอยา่ งสูง การไหวแ้ บบไทย แบ่งออกเปน็ ๓ แบบ ตามระดับของบคุ คล - ระดับท่ี ๑ การไหวพ้ ระ ไดแ้ ก่ การไหวพ้ ระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ รวมทงั้ ปชู นยี วตั ถุ ปูชนียสถาน ทเี่ กี่ยวกบั พระพุทธศาสนา ในกรณีท่ีไมส่ ามารถกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐไ์ ด้ ประนมมือ แล้วยกขน้ึ พร้อมกบั ค้อมศรี ษะลงให้หัวแม่มอื จรดระหว่างคิว้ ปลายนิ้วแนบสว่ นบนของหน้าผาก - ระดับท่ี ๒ การไหว้ผ้มู ีพระคณุ และผู้อาวโุ ส ไดแ้ ก่ ปู่ ย่า ตา ยาย พอ่ แม่ ครู อาจารย์ และผู้ท่ีเราเคารพนับถอื โดยประนมมอื แล้วยกขึน้ พรอ้ มกับค้อมศีรษะลง ใหห้ ัวแมม่ อื จรดปลายจมกู - ระดับที่ ๓ การไหว้บุคคลทั่วๆ ไป ท่ีเคารพนับถือหรือผู้มีอาวุโสสูงกว่าเล็กน้อย โดย ประนมมอื แลว้ ยกข้นึ พรอ้ มกบั คอ้ มศีรษะลงให้หวั แมม่ ือจรดปลายคาง ปลายน้วิ แนบปลายจมกู สำหรับผหู้ ญงิ กำรไหว้ทั้ง ๓ ระดบั อำจจะถอยเทำ้ ข้ำงใดขำ้ งหน่ึงตำมถนัดไปขำ้ ง หลังคร่ึงกำ้ วแลว้ ย่อเขำ่ ลงพอสมควรพรอ้ มกับยกมอื ข้ึนไหวก้ ไ็ ด้

๗ โดยปกติวัฒนธรรมการไหว้เป็นวิถีชีวิตที่ถูกปลูกฝังให้รู้จักกาลเทศะ รู้จักการเคารพ ผู้อาวุโส กตัญญูรู้บุญคุณ มีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ การมีมารยาทในสังคมดังกล่าวข้างต้น โดยเฉพาะ ในเร่ืองการเคารพผู้อาวุโส ต้องมีความอ่อนน้อมถ่อมตน การแสดงความเคารพในโอกาสต่างๆ การรจู้ ักจดั ลาดบั การวางตนทถี่ ูกต้องตามประเพณที ่ีวางเอาไว้ทาให้เกดิ ความสงบสขุ ในสังคม ไหว้พระสงฆ์ ไหวผ้ ูม้ ีพระคณุ -ไหว้ผใู้ หญ่ ไหว้ผู้มีอายุมากกว่า เล็กน้อย ๒. การกราบ (อภิวาท) เปน็ การแสดงความเคารพอย่างสูง มี ๒ ลกั ษณะ ๑) การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ เป็นการใช้อวยั วะทง้ั ๕ สัมผสั กบั พ้ืน อันได้แก่ หน้าผาก มอื และข้อศอกทงั้ สอง เขา่ ทั้งสองสัมผสั กับพน้ื การกราบมี ๓ จังหวะ ทา่ เตรียม ชาย น่ังคุกเข่าตัวตรง ปลายเท้าตั้ง ปลายเท้าและส้นเท้าชิดกัน น่ังบนส้นเท้า เข่า ท้งั สอง หา่ งกันพอประมาณ มือทงั้ สองวางควา่ เหนอื เขา่ ท้ังสองข้าง น้ิวชิดกนั (ท่าเทพบตุ ร) หญิง นั่งคุกเข่าตัวตรง ปลายเท้าราบ เข่าถึงปลายเท้าชิดกัน น่ังบนส้นเท้า มือทั้ง สองวางควา่ เหนือเข่าท้ังสองข้าง นิว้ ชดิ กัน (ทา่ เทพธดิ า) ท่ากราบ จังหวะที่ ๑ (อัญชล)ี ยกมอื ขึน้ ในท่าประนมมอื แขนทั้งสองข้างชดิ ลาตัว ไมก่ างศอก จงั หวะที่ ๒ (วันทา) ยกมือขึน้ ไหว้ตามระดบั ที่ ๑ การไหว้พระ จงั หวะที่ ๓ (อภิวาท) ทอดมือทั้งสองข้างลงพร้อมๆ กัน ให้มือและแขนทั้งสองข้างราบ กับพ้ืน คว่ามอื ห่างกันเล็กนอ้ ย ใหห้ น้าผากจรดพ้นื ระหว่างมอื ท้ังสอง ชาย ศอกท้งั สองขา้ งตอ่ จากเขา่ ราบไปกบั พื้น หลงั ไมโ่ กง่ หญงิ ศอกท้งั สองขา้ งคร่อมเขา่ เลก็ นอ้ ยราบไปกับพ้นื หลังไม่โก่ง ทาสามจังหวะให้ครบ ๓ คร้ัง ยกมือขึ้นไหว้ในท่าไหว้พระ แล้ววางมือคว่าเหนือเข่าทั้ง สองข้างในท่าเตรยี มกราบ จากนัน้ ให้เปล่ยี นอริ ิยาบถตามความเหมาะสม

๘ ทา่ เตรียมกราบ ทา่ น่งั เทพบตุ ร ท่านั่งเทพธิดา ทา่ นง่ั เทพบตุ ร-ท่านง่ั เทพธิดา ท่ากราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์ (อัญชล)ี ทา่ กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ (วนั ทา) ทา่ กราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์ (อภิวาท)

๙ ๒) การกราบผู้ใหญ่ เป็นการกราบผู้ที่มีอายุมาก หรือผู้ที่มีพระคุณ เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ครู อาจารย์ ผู้กราบชายและหญิงจะนั่งในทา่ พับเพียบ ทอดมือทัง้ สองขา้ งลงพร้อมกัน ให้แขนทั้งสองข้างคร่อมเข่าที่อยู่ด้านล่างเพียงเข่าเดียว มือประนมตั้งกับพื้น ไม่แบมือ ค้อมตัวลงให้ หน้าผากแตะส่วนบนของมือที่ประนม ไม่กระดกน้ิวมือข้ึนรับหน้าผาก กราบเพียงครั้งเดียว จากนั้น ให้เปลี่ยนอริ ยิ าบถ โดยการนง่ั สารวมประสานมอื แล้วเดนิ เข่าถอยหลงั พอประมาณจึงลกุ จากไป การเดนิ เขา่ การกราบ การนั่งพบั เพยี บประสานมือ ๓. การคานับ เป็นการแสดงความเคารพแบบสากล กรณีทีไ่ ม่ไหว้ หรอื กราบ ใหย้ นื ตวั ตรง สน้ เทา้ ชิดกัน ชาย ปลายเท้าหา่ งกันเล็กนอ้ ย หญงิ สน้ เทา้ และปลายเท้าชดิ กนั มือปล่อยไว้ข้างลาตัว ปลายน้ิวกลางแตะตะเข็บกลาง หรือกระโปรงด้านข้าง ค้อม ไหลแ่ ละศรี ษะลงเล็กน้อย เงยหน้าขึ้นในท่าตรง การคานับเป็นการปฏิบตั ิกรณที ่ีไม่ได้สวมหมวก การคานับ

๑๐ แนวทางปฏิบัติในโรงเรียน : มารยาทในการแสดงความเคารพ การทาความเคารพอาจารย์ในสถานการณต์ า่ ง ๆ นักเรียนชายและหญิงใหป้ ฏิบตั เิ หมือนกัน ๑. การทาความเคารพอาจารย์เวรประจาวนั หน้าประตูโรงเรียน - เดินมาหยุดยืนบรเิ วณด้านหน้าของอาจารย์ - หากถอื สงิ่ ของขนาดเลก็ ประเภทถงุ ตะกรา้ ดอกไม้ ใหว้ างบนโตะ๊ อาจารย์ แต่หากถอื สิ่งของขนาดใหญ่ หรือ สง่ิ ของ เชน่ กระเปา๋ ใหว้ างบนพนื้ ด้านขา้ งตนเอง - ประนมมือ ไหว้อาจารย์ ทั้งนม้ี อื ต้องไมถ่ อื สงิ่ ของใด ๆ ๒. การทาความเคารพอาจารยข์ ณะยนื อยู่บรเิ วณใดบริเวณหนงึ่ และนักเรียนไม่ได้อยู่ในแถว - หยดุ ยนื ตรง หา่ งจากอาจารย์พอประมาณ แสดงความเคารพโดยการไหว้ ๑ ครั้ง - หากถือส่ิงของขนาดเลก็ หรือถือส่ิงของขนาดใหญ่ ให้วางบนพื้นด้านข้างตนเองก่อน แล้วทาความเคารพ ๓. การทาความเคารพอาจารย์ ขณะน่ังอยทู่ ีเ่ กา้ อี้ในช่วงเชา้ เม่ือมาถึงหอ้ งเรียน - เดินเข้าไปหาอาจารย์ หยุดยืนบริเวณด้านหน้าของอาจารย์ ห่างกันพอประมาณ วางกระเปา๋ และสมั ภาระใหเ้ รียบรอ้ ยก่อน - ประนมมอื ไหวอ้ าจารย์ และหนั กลบั เดนิ ไปทโี่ ตะ๊ ของตนเอง ๔. การทาความเคารพอาจารย์ ขณะน่งั กับพนื้ - ให้เดินเข่าเข้าไปใกล้พอประมาณ หากมีส่ิงของให้วางเรียบร้อยก่อนบริเวณ ดา้ นขวาทน่ี ง่ั ของตนเอง - ประนมมือ ไหว้อาจารย์ และคุกเข่า หยิบสิ่งของ(หากมี) แล้วถอยหลังกลับ ห่างกันพอประมาณแลว้ จงึ ลุกข้ึน ๕. การกราบพระ การกราบผใู้ หญ่ การคานับ ให้ยึดถอื แนวทางปฏิบัตขิ อง สานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ กระทรวงวฒั นธรรม

๑๑ มารยาทในการเดนิ มารยาทในการเดนิ การเดินเขา่ ๑. นั่งคุกเข่าตวั ตรง มือท้งั สองขา้ งปล่อยตามสบายอยู่ข้าง ๆ ลาตวั ๒. ยกเขา่ ขวาและซ้ายกา้ วไปข้างหน้าสลับกันไปมา ปลายเท้าต้ังชว่ งก้าวของเข่า มรี ะยะพองาม ไม่กระชั้นเกนิ ไป มือไมแ่ กว่ง หากผ่านผใู้ หญ่ใหก้ ม้ เลก็ น้อย ขณะเดนิ เข่าระมัดระวัง อยา่ ใหป้ ลายขาท้ังสองแกวง่ ไปมา ขณะกา้ วเข่าอย่าใหป้ ลายเท้าลากพ้นื จนมีเสียงดัง ๓. เมื่อจะลุกจากการเดินเข่า ให้ชันเข่าข้างหน่ึงข้างใดมาข้างหน้า อีกข้างหน่ึงกดลง ไปกับพื้นแล้วยกตวั ขน้ึ ชา้ ๆ การเดินตามลาพัง ให้เดินอย่างสุภาพ หลังตรง ช่วงก้าวไม่ยาวหรือส้ันจนเกินไป แกว่งแขนแต่พองาม โดยมองทางไปในทิศทางด้านหน้า สาหรับผู้หญิงขณะเดินให้ระมัดระวังการแกว่งแขนและสะโพกให้ อยู่ในอิรยิ าบถทีเ่ ป็นไปโดยธรรมชาติ การเดนิ กับผู้ใหญ่ ให้เดินไปทางซ้ายค่อนไปทางหลังเล็กน้อย เว้นแต่ต้องเดินในที่จากัด จึงเดินตามหลัง เป็นแถว ท่าเดินต้องนอบน้อม ช่วงก้าวพองาม อย่าเดินส่ายตัวหรือโคลงศีรษะ ในกรณีท่ีต้องเดิน ตามหลังระยะใกล้ๆ ต้องคอยสังเกตวา่ ผู้ใหญ่ท่ีเดินนาอยู่นั้นจะหยุด ณ ท่ีแห่งใด จะไดช้ ะลอฝีเท้าลง ปอ้ งกนั มใิ ห้เดนิ ชนกนั การเดนิ ผ่านผ้ใู หญ่ ๑. ขณะผู้ใหญ่ยืน ให้เดินผ่านระยะห่างพอสมควร ในลักษณะสารวม ปล่อยมือไว้ข้าง ลาตัว แล้วค้อมตัวเมอ่ื ใกล้ถงึ ผู้ใหญ่ ๒. ขณะผูใ้ หญ่นัง่ เก้าอ้ี ใหเ้ ดนิ ผ่านระยะห่างพอสมควร ในลักษณะสารวม ปลอ่ ยมอื ไวข้ ้างลาตัว แลว้ คอ้ มตัวพรอ้ มกับย่อเขา่ เมือ่ ใกล้ถงึ ผใู้ หญ่ ๓. ขณะผู้ใหญ่นั่งหรือนอนกับพ้ืน ให้เดินผ่านระยะห่างพอสมควร ในลักษณะสารวม ปลอ่ ยมือไว้ข้างลาตวั เม่ือใกล้ถงึ ผู้ใหญ่ ใหเ้ ดนิ เข่า เมือ่ ผา่ นไปแล้วจึงลกุ ข้ึนเดนิ

๑๒ - การเดินสวนทางกับพระสงฆ์ ให้หยุดห่างจากท่านในช่องทางเดินของตนเองแล้วพนม มือไหว้ รอจนกว่าท่านเดินผ่านไป จงึ เอามอื ลงแล้วเดินผ่านต่อไป - การเดินผ่านพระสงฆ์ ให้หยุดพนมมอื ไหวห้ นงึ่ ครง้ั แลว้ จึงเดินค้อมหลงั ผ่านไปในระยะ ผ่านพอสมควร แนวทางปฏิบัตใิ นโรงเรยี น : มารยาทในการเดิน ๑. การเดนิ ลาพงั คนเดยี ว ใหเ้ ดนิ ชดิ ดา้ นขวาตลอดเวลา และทกุ บริเวณท่เี ปน็ ทางเดนิ สวนทางกัน ๒. การเดนิ แถว ให้เดินตามระเบียบแถว คือ ให้มองคอของคนหน้า เดินหา่ งกนั ประมาณ ๑ ช่วงแขนและไม่คยุ กันระหว่างท่ียงั อยู่ในระเบียบแถว และต้องเดินชิดขวาตลอดเวลา มารยาทในการเดนิ แถว การเดินแถวตามบริเวณทั่วไป ทุกคนจะต้องเดินแถวเด่ียว หรือแถวคู่ ชิดทางขวามือ ของเสน้ ทางเดิน ตลอดจนการขน้ึ ลงบนั ได เพื่อความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ยในสงั คม แนวทางปฏิบัตใิ นโรงเรยี น : มารยาทในการเดินแถว ๑.การเดินแถวข้ึน-ลงบันได และการเดินผ่านหน้าห้องเรียน ให้เดินแถวเด่ียว เพราะพืน้ ทีบ่ รเิ วณดงั กล่าว ไมร่ องรับการเดนิ ๒ แถว ๒. การเดินบริเวณทางเช่ือมระหว่างอาคาร ๑-๒-๓ ทางเดินบริเวณชั้นล่างทุก อาคาร และบนอาคาร ๕๐ ปฯี ใหเ้ ดนิ แถวคู่ เพราะพืน้ ทบ่ี ริเวณดังกล่าวรองรบั การเดิน ๒ แถวได้ ๓. เส้นสีเขียวบนทางเดนิ เป็นเส้นแบ่งเขตการเดิน ไม่ใช้เป็นเส้นทใ่ี ห้นักเรยี นเดนิ บน เสน้ ควรฝึกใหเ้ ดนิ ตามลกู ศร ๔. การเดินแถว มาเจอกันบริเวณทางแยก แถวใดถึงทางแยกท่ีหลังให้หยุดเดิน ให้ แถวที่ถงึ กอ่ นเดนิ จนหมดแถว แถวที่มาท่หี ลังจงึ เดินได้ ๕. ในขณะเดินแถว หากพบอาจารย์ให้เดินต่อไป โดยไม่ต้องทาความเคารพ หรือค้อมหลัง เนื่องจากถือวา่ อยใู่ นระเบยี บแถว ๖. ในขณะเดินแถว หากพบอาจารย์แล้วต้องการทาความเคารพอาจารย์ จะต้องมี อาจารย์ผู้นาในการเดินแถว ส่ังว่า “หยุด” ทาความเคารพ นักเรียนจึงจะทาความเคารพอาจารย์ท่ีเดิน มาทา่ นนั้นได้ หลงั จากนน้ั ให้อย่ใู นระเบยี บแถว แลว้ เดนิ ต่อไป

๑๓ เดนิ แถวเด่ียว เดินแถวคู่ บรเิ วณพนื้ ที่ โลง่ เดินแถวเด่ียว บนอาคาร เดินแถวเดยี่ ว ผ่านผู้ใหญ่ เดนิ แถวคู่ ข้นึ บนั ได เดนิ แถวคู่ ลงบันได เดินผ่านพระสงฆ์

๑๔ มารยาทในการยนื เคารพธงชาติ เพลงชาติ ให้ยืนตรงแสดงความเคารพ โดยหันหน้าไปทางธงชาติ เมื่อเพลงจบให้ค้อมศีรษะ คานับ ชายและหญิงทาเหมือนกัน นักเรียนยืนตรงหน้าเสาธง นักเรยี นคานับเมอ่ื เพลงจบ ชาติจบ แนวทางปฏิบัติในโรงเรยี น : มารยาทในการยืนเคารพธงชาติ เพลงชาติ ๑. การยืน เปน็ แถวหนา้ กระดาน นกั เรียนหญิงอยู่แถวหนา้ นักเรียนชายอยู่แถว หลัง เมอื่ ไดย้ นิ คาสั่งว่า “นกั เรียนเคารพธงชาติ ท้งั หมดแถวตรง” ใหน้ กั เรียนหญิงและชายยืนตรง ตามองไปขา้ งหนา้ แลว้ รอ้ งเพลงชาติพรอ้ มกับผนู้ ารอ้ งเพลงชาติ ๒. การคานับ เกดิ ขน้ึ เมอื่ เพลงชาตจิ บ ยกเวน้ นกั เรียนคนทเี่ ป็นตัวแทนเชิญธงชาติ เมอ่ื ผกู เชือกกับเสาธงเสรจ็ ใหถ้ อยหลงั กลับมาจดุ ที่ยืนเชิญธง แลว้ คานบั พรอ้ มกัน ๑ คร้ัง

๑๕ มารยาทในการนั่ง มารยาทในการน่งั จะมหี ลายรปู แบบ ดังนี้ นั่งพับเพียบ คือ การนั่งราบกับพ้ืน พับขา ให้ขาขวาทับขาซ้าย หรือขาซ้ายทับขาขวา แบ่ง ออกเปน็ ๔ ลักษณะ ดังน้ี ๑. การน่ังพับเพียบธรรมดา คือ การน่ังพับเพียบวางมือไว้บนหน้าขา หรือเอามือ เท้าพ้ืนก็ได้ โดยให้ปลายนิ้วมือเหยียดไปข้างหน้า ถ้าน่ังขาขวาทับขาซ้าย ให้ใช้มือซ้ายเท้าพื้น ถ้า นั่งขาซ้ายทับขาขวา ให้ใช้มือขวาเท้าพ้ืนอย่างใดอย่างหน่ึง ลักษณะนี้ใช้ในการสนทนากับเพื่อน หรอื น่งั อย่ตู ามลาพงั การนั่งพับเพียบดา้ นหนา้ ๒. การน่ังพับเพียบต่อหน้าผู้ใหญ่ คือ นั่งได้ท่าใดท่าหน่ึงตามความเหมาะสม แต่ ไม่ควรเทา้ แขน สายตาทอดลงด้านล่างเลก็ น้อย ไมจ่ ้องตาผใู้ หญ่ ใช้ไดท้ ง้ั ชายและหญงิ วธิ ีประสานมอื ใหป้ ฏิบัติในอาการท่ีสารวม อาจใช้อยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง ใหม้ อื ซ้ายหงาย มอื ขวาคว่าทบั หรือมือขวาหงาย มอื ซา้ ยคว่าทับ ๑) ใช้มือท้ังสองควา่ ทับกนั อาจเป็นมือใดมอื หน่ึงกไ็ ด้ ๒) ให้มือประสานกัน สอดน้ิวระหว่างช่องนิ้วของแต่ละมือคล้ายการประนมมือ อย่างหลว ๓. นั่งพับเพียบประนมมือ คือ การนั่งพับเพียบ พร้อมกับประนมมือไปด้วย ปลาย นิว้ มอื แนบชิดกัน ปลายน้ิวตั้งข้ึน แขนแนบตัวระดับอก ไม่กางศอก ใชใ้ นการน่ังฟังพระแสดงธรรม เทศนา ฟังพระสวดมนตใ์ นศาสนพิธี หรือตนเองสวดมนต์ รับฟงั โอวาท หรือรับพรจากผู้ใหญ่ ปฏิบัติ ไดท้ ั้งชายและหญิง

๑๖ ๑๒ การนงั่ พบั เพียบประนมมอื นง่ั ขัดสมาธิ (อา่ นวา่ ขัด-สะ-หมาด) คือ การนง่ั ในทา่ อิริยาบถตามสบายอย่างหน่งึ หรอื การนง่ั แบบ ทาสมาธิ สาหรับนักเรยี นชาย นกั เรยี นหญงิ ใช้การนั่งพับเพยี บเพ่ือความเรียบร้อย ๑. น่งั ขดั สมาธิธรรมดา คือ การน่ังกน้ แนบพน้ื พับขาเข้าหากนั โดยใหข้ าขา้ งหนง่ึ ซอ้ นทบั อยูบ่ นขาอกี ข้างหนงึ่ สน้ เทา้ ทั้งสองข้างจะสัมผัสกบั ขา ๒. การนง่ั สมาธิทใี่ ชใ้ นพธิ ีการศาสนา คอื การนั่งขดั สมาธิราบ และการน่งั ขดั สมาธิเพชร ๑) การน่งั ขัดสมาธริ าบ คอื การนัง่ ขดั สมาธสิ องช้ัน โดยการเอาขาขวาทับขา ซ้าย มือขวาทับมอื ซา้ ย ใหน้ วิ้ หวั แม่มือจรดกนั นัง่ ตัวตรง ท่าน้ีใชใ้ นการเจรญิ ภาวนาทาจิตใจใหส้ งบ ๒) นั่งขัดสมาธิเพชร คือ การน่ังบนพื้น ก้นแนบพื้น พับขาเข้าหากัน เอาฝ่าเท้าทั้งสองขัด หรือไขว้ข้ึนวางบนหน้าขา ท่านี้ต้องฝึกหัดน่ังให้เกิดความชานาญ โดยการหัด น่งั ขัดสมาธริ าบกอ่ น ทา่ น่งั ขดั สมาธิราบ ทา่ นงั่ ขัดสมาธิเพชร

๑๗ ทา่ นง่ั เกา้ อ้ี มหี ลายรปู แบบ ดงั น้ี ๑. ทา่ น่ังเกา้ อ้โี ดยทว่ั ไป เปน็ การน่งั ตามสบาย ถา้ มีทีเ่ ท้าแขนจะเอาแขนพาดก็ได้ไมน่ ง่ั โยกเก้าอ้ี ๒. การนัง่ เกา้ อี้ตอ่ หนา้ ผใู้ หญ่ นั่งในท่าสารวม ไมไ่ ขวห่ า้ ง ไมก่ ้มหนา้ ๑) นง่ั ตวั ตรงบนเกา้ อ้ี มอื ทงั้ สองขา้ งประสานกันวางบนหน้าขา ชาย เขา่ หา่ งกนั เลก็ น้อย ส้นเทา้ ชดิ ปลายเท้าแยกเลก็ น้อย หญิง ก่อนน่ังใช้มือจัดกระโปรงจากด้านหลังเพื่อให้น่ังได้เรียบร้อย เขา่ และปลายเทา้ ชดิ กนั หรือปลายเท้าเหล่อื มกันเลก็ น้อย ๓. การนง่ั เก้าอีป้ ระนมมอื เปน็ การน่งั ตวั ตรง หลงั พิงพนกั เก้าอ้ี นั่งในลกั ษณะสารวม ไมไ่ ขว่ห้าง ประนมมือระดับอก ไมก่ างศอก การนั่งลักษณะน้ปี ฏบิ ตั ไิ ด้ทง้ั ชายและหญงิ ใชไ้ ด้ในกรณี น่งั ฟงั พระแสดงธรรมเทศนา ฟังพระสวดมนตใ์ นศาสนพธิ ี ๔. การน่ังเก้าอี้ในพิธีการ เป็นการน่ังตัวตรง ด้วยอาการสารวม ไม่ไขว่ห้าง ไม่กระดิกเท้า ไมโ่ ยกเกา้ อี้ การน่ังเก้าอี้ตอ่ หน้าผ้ใู หญ่ การน่ังเกา้ อ้ีประนมมอื การนัง่ เกา้ อี้ในพธิ กี าร แนวทางปฏิบตั ใิ นโรงเรยี น : มารยาทในการนั่ง ให้ยึดถือแนวทางปฏิบัติของ สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวง วัฒนธรรม

๑๘ มารยาทในการรบั ประทานอาหารในโรงอาหาร มารยาทในการรับประทานอาหารในโรงอาหาร ควรฝึกฝนมารยาทในการรบั ประทานอาหารใหถ้ ูกต้องเป็นท่ียอมรบั ของสังคม โดยตอ้ ง ปฏิบัติให้เป็นนิสัย โดยปกติคนเราจะรับประทานอาหารกับคนในครอบครัวแล้ว ยังจะต้อง รับประทานอาหารกับเพ่ือน หรือผู้ใหญ่ตามสถานที่ต่างๆ อีกด้วย การมีความรู้เกี่ยวกับมารยาทใน การรับประทานอาหาร จะช่วยให้ปฏบิ ัติตวั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม มารยาทการรับประทานอาหารรว่ มกับบคุ คลอ่ืน ควรจะปฏบิ ตั ิตนดังนี้ ๑. นงั่ ตัวตรง ไม่นาแขนข้ึนมาวางบนโตะ๊ และไมก่ ้มศรี ษะลงไปรบั ประทานอาหารจากจานเขา้ ปาก ๒. ไมก่ ระดิกเท้า หรือเคาะโตะ๊ เปน็ การทาความราคาญใหแ้ กผ่ ูอ้ ื่น ๓. ไม่ทาเสยี งดงั ในขณะรับประทาน หรอื ใช้เครื่องมือสื่อสารจนเสยี มารยาท ๔. อาหารแต่ละคาควรตกั แตน่ ้อย ๆ และไม่ควรเลือกรบั ประทานเฉพาะอาหารท่ชี อบ ๕. ไม่ควรตาหนิรสชาติของอาหาร ควรรบั ประทานอาหารได้หลากหลายชนิด และทานอาหารใน จานของตนเองให้หมด ไมเ่ หลอื ทิ้งขวา้ ง ๖.ไม่รบั ประทานอาหารมูมมาม หรือทาอาหารหกเลอะเทอะบนโตะ๊ หรือบรเิ วณโดยรอบ ๗. ในกรณทต่ี กั อาหารมารับประทานเอง ให้ตักแตพ่ อประมาณ ไม่มากเกินไป ไมต่ ้อง เพื่อผ้อู น่ื ถา้ ไมพ่ อให้ไปตกั เพ่ิม ๘. ควรใชช้ ้อนกลางตกั อาหารมาใส่ในจานของตนเอง หรอื ใชถ้ ว้ ยแบง่ อาหาร แนวทางปฏบิ ัตใิ นโรงเรยี น: มารยาทในการรบั ประทานอาหารในโรงอาหาร ๑. เดินแถวเข้าโรงอาหารด้วยความเรยี บร้อยและเป็นระเบยี บ ควรเดนิ แถวเดยี ว เพราะการรับถาดอาหาร จัดใหร้ บั ทีละคน (ป.๔-๖) ๒. น่งั ตวั ตรงรับประทานอาหาร ๓. ไม่ควรพูดหรือคุยในระหวา่ งท่มี ีขา้ วอยู่ในปาก ๔. การส่งภาชนะอาหารในโต๊ะ ควรใชก้ ารยก ไมล่ ากภาชนะ ๕. ไมท่ าเสยี งดังขณะรับประทานอาหาร เช่น คยุ เล่น เคาะโต๊ะ เคาะจาน เปน็ ตน้ ๖. เมอ่ื รบั ประทานเสร็จแลว้ ใหก้ วาดเศษอาหารทเี่ หลอื มารวมกนั และรวบช้อนทุกครงั้ ๗. หากทน่ี ัง่ ของตนเองอยู่ระหว่างบคุ คลอนื่ ให้แจง้ ให้คนข้าง ๆ ทราบ เพอื่ ที่จะลุกให้ เดินออกมาได้ และตอ้ งกล่าว “ขอบคณุ ” คนท่ีลกุ ใหเ้ ราเดินออกไปได้ทุกครง้ั ๘. ไม่ยืน หรอื เดินบนเกา้ อ้ี หรอื โตะ๊ รบั ประทานอาหาร ๙. ไม่ว่ิงในโรงอาหาร ควรเดินอยา่ งระมดั ระวัง

๑๙ เข้าแถวเพอ่ื รับถาดอาหาร ทอ่ งบทกล่าวกอ่ นรับประทาน ไม่สนทนากันระหวา่ งรับประทานอาหาร เข้าแถวเพื่อเกบ็ ถาดอาหาร เทเศษอาหารอยา่ งระมัดระวัง วางถาดอาหาร

๒๐ มารยาทในการรับของจากผ้ใู หญแ่ ละการส่งของใหผ้ ใู้ หญ่ มารยาทในการรบั ของจากผใู้ หญแ่ ละการสง่ ของให้ผู้ใหญ่ การรบั ของจากผู้ใหญ่และการสง่ ของให้ผู้ใหญ่ ของทจ่ี ะรบั หรือส่ง มี ๒ ลกั ษณะคอื - ของหนักใหถ้ ือสองมอื - ของเบาให้ถอื มอื เดียว โดยถอื ดว้ ยมอื ขวา มอื ซ้ายปล่อยข้างตัว ของที่จะรับหรือส่งควรถือตามขวาง ถา้ เป็นสมุดหรอื หนงั สอื ควรหนั ทางสนั ออกนอกตัว ๑. การรบั ของและสง่ ของอยา่ งเป็นพิธีการ คาว่าพธิ ีการในทนี่ ้ี คอื การกระทาที่เปน็ พิธี มกี ารกาหนดนดั หมาย และมรี ะเบยี บ ปฏิบัตซิ ึง่ อาจไมเ่ หมอื นกบั วิธีปฏิบตั ิท่ีเป็นส่วนตัว ๑) การรบั ของ - ขณะผู้ใหญ่ยนื ชาย เดินเข้าไปหา่ งจากผู้ใหญ่พอสมควร(ประมาณ ๒ ก้าว) ยืนตรงคานับแล้ว ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าพร้อมกับคอ้ มตวั เลก็ น้อย รับของเสร็จแล้วซักเท้าขวากลบั คานับอกี ครัง้ หนึ่ง ถอยพอประมาณแลว้ หันกลับ อีกแบบหนึง่ ยืนไหว้คร้งั เดียว แทนการคานบั กอ่ น รับของแลว้ ไมต่ ้องไหว้อกี หญิง เดินเข้าไปห่างจากผู้ใหญ่พอสมควร (ประมาณ ๓ ก้าว) ย่อตัวไหว้ตาม อาวุโสของผู้ส่งของให้ แล้วก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าพร้อมกับย่อตัวรับของ เสร็จแล้วซักเท้าขวากลับ ถอยพอประมาณ หนั กลับ - ขณะผู้ใหญ่นงั่ เก้าอี้ ชาย เดินเข้าไปห่างจากผู้ใหญ่พอสมควร ยืนตรง คานับก้าวเท้าขวาไป ขา้ งหน้า แลว้ คกุ เขา่ ซ้าย รับของ เสร็จแล้ว ถอยเทา้ ขวา พร้อมกับลุกขนึ้ ยืนตรง คานบั อีกคร้งั หนึ่งถอย พอประมาณ หันกลับอีกแบบหนึ่ง ถอยพอประมาณหันกลับอีกแบบหนึ่ง ค้อมตัวไหว้ครั้งเดียวแทน การคานับกอ่ นรับของ หญิง เดินเข้าไปห่างจากผู้ใหญ่พอสมควร ยืนตรง ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า แล้ว คุกเข่าซ้าย และไหว้ตามอาวุโสของผู้ส่งของให้รับของแล้วถอยเท้าขวา พร้อมกับลุกขึ้นยืน ถอยพอประมาณ หนั กลบั

๒๑ - ขณะผู้ใหญน่ ั่งกบั พื้น ชายและหญิง ปฏิบัติเหมือนกัน ถ้าเป็นผู้ใหญ่ที่มีพระคุณหรืออาวุโสมาก ให้ เข้าไปใกล้ผู้ใหญ่พอประมาณ แล้วจึงเดินเข่าเข้าไปห่างจากผใู้ หญ่ประมาณ ๓ ก้าว นั่งพับเพียบกราบ ผู้ใหญ่ ๑ ครั้ง แล้วรับของ วางของทางขวามือเหนือเข่าเล็กน้อย ถ้าผู้ใหญ่ปราศรัยด้วยก็ให้นั่งใน ลักษณะสารวมเสรจ็ แลว้ กราบอีก ๑ คร้งั ถือของเดนิ เข่าถอยพอประมาณลุกขึน้ หันกลบั ๒) การสง่ ของ - ขณะผู้ใหญ่ยนื ชาย ถือของเดินเข้าไปห่างจากผู้ใหญ่พอสมควร ยืนตรงคานับ แล้วก้าวเท้า ขวาไปข้างหน้า พร้อมกับค้อมตัวเล็กน้อย ส่งของเสร็จแล้ว ชักเท้าขวากลับ คานับอีกคร้ังหน่ึง ถอยพอประมาณ หันกลับ อกี แบบหน่ึง ใช้การยืนไหว้คร้ังเดยี วแทนการคานับเมอ่ื ส่งของให้ผู้ใหญ่แลว้ หญิง ถือของเดินเข้าไปห่างจากผู้ใหญ่พอสมควรยืนตรง แล้วก้าวเท้าขวาไป ข้างหน้า พร้อมกับย่อตัวเล็กน้อย ส่งของเสร็จแล้วไหว้ในขณะท่ีย่อตัวอยู่ แล้วถอยเท้าขวาไป ขา้ งหลังพอประมาณ หันกลับ ในกรณีที่มีภาชนะรองรับของ เช่น พาน ให้จับคอพานทั้งสองมือ เดินเข้าไปให้ได้ ระยะพอสมควร ค้อมตัว ยกพานสง่ ของให้ เม่ือผู้ใหญ่รับของไปแล้วถือพานด้วยมือขวา ชายคานับ แล้วถอยกลับ หญิงค้อมตัวเลก็ นอ้ ย ถอยกลบั - ขณะผใู้ หญ่นงั่ เก้าอี้ ชาย ถือของเดินเขา้ ไปหา่ งจากผใู้ หญ่พอสมควร ยืนตรงคานบั ก้าวเท้าขวาไป ข้างหน้าแล้วคุกเข่าซ้ายส่งของเสร็จแล้วถอยเท้าขวากลับพร้อมกับลุกขึ้นยืนตรง คานับอีกครั้งหน่ึง ถอยพอประมาณ หันกลบั อีกแบบหน่ึง ใช้การค้อมตวั ไหว้ครง้ั เดียวแทนการคานบั เมอ่ื สง่ ของให้ผู้ใหญ่แล้ว หญิง ถือของเดินเข้าไปห่างจากผู้ใหญ่พอสมควร ยืนตรง ก้าวเท้าขวาไป ข้างหน้า แล้วคุกเข่าซ้ายส่งของ เสร็จแล้วไหว้ตามอาวุโสของผู้รับ แล้วถอยเท้าขวาพร้อมกับลุกขึ้น ยืนถอยพอประมาณหันกลับ - ขณะผูใ้ หญน่ งั่ กบั พน้ื ชายและหญิง ปฏิบัติเหมือนกัน ถ้าเป็นผู้ใหญ่ผู้มีพระคุณหรือผู้มีอาวุโสมาก ให้ผู้ที่เข้าไปส่งของเดินเข่าถือของเข้าไป ห่างจากผู้ใหญ่พอประมาณน่ังพับเพียบวางของทางขวามือ เหนือเข่าเล็กน้อย แล้วกราบผู้ใหญ่ ๑ ครั้ง ส่งของให้ผู้ใหญ่ ถ้าผู้ใหญ่ปราศรัยด้วยก็ให้นั่งลักษณะ สารวม เมอื่ จะลากลบั กราบอกี ๑ คร้งั ถอยโดยวธิ ีเดินเข่า หา่ งจากผู้ใหญ่พอประมาณลุกขนึ้ ยนื หันกลับ

๒๒ ๒. การรับของและส่งของอย่างไม่เปน็ พธิ กี าร การรับของและส่งของอย่างไม่เป็นพิธีการนั้น หมายถึง การรับของ และส่งของเป็น การส่วนตัวขณะท่ีผู้ใหญ่ยืนอยู่หรือน่ังบนเก้าอี้รับแขก หรือน่ังบนพื้นในบ้าน ทั้งชายและหญิงควร ปฏิบัติด้วยอาการนอบน้อมด้วยการทาความเคารพ คือ เมื่อจะรับของก็ไหว้ท่านแล้วจึงรบั เมื่อจะส่ง ของให้ทา่ นก็สง่ ของก่อนแลว้ จึงไหว้ ทัง้ นพี้ งึ ปฏิบัติให้เหมาะสมตามกรณี เมื่อจะลาท่านก็ใหไ้ หว้อกี คร้ังหนึ่ง ทั้งน้ีการรับของหรือการส่งของเม่อื ผู้ใหญ่นง่ั กับพ้ืน ถ้าเป็นผู้ใหญ่ท่อี าวุโสไมม่ าก เชน่ พี่ น้า อา เปน็ ตน้ ให้ใชว้ ธิ ีการน่ังพบั เพียบไหว้ การเขา้ และออกให้ใชว้ ิธีเดนิ เข่า แนวทางปฏบิ ัติในโรงเรยี น : มารยาทในการรับของจากผู้ใหญแ่ ละการส่งของใหผ้ ูใ้ หญ่ ให้ยดึ ถอื แนวทางปฏบิ ัตขิ อง สานกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวฒั นธรรม

๒๓ การรับของจากผใู้ หญ่ของนักเรยี นชาย การรบั ของจากผู้ใหญข่ องนักเรียนหญงิ มารยาทในการน่งั เรียน ไม่พูดคุยหรอื เล่นกันในห้องเรียน นัง่ สนทนากบั ผใู้ หญ่ นงั่ สนทนากับพระสงฆ์

๒๔ คณะจัดทา รองศาสตราจารยก์ ติ พิ งษ์ เทียนตระกลู ผูช้ ่วยศาสตราจารยว์ ิภาวี มณเี นตร ท่ปี รึกษา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์สุชาดา โกรศภุ มิตร ผู้ชว่ ยศาสตราจารยถ์ าวร วรรณศิริ ผจู้ ัดทา คณาจารย์โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม ผูป้ รบั ปรงุ /เรียบเรียง ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ณัฐพร สุดดี ขอขอบคณุ คณาจารย์โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม นักเรียนโรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม หนว่ ยเทคโนโลยีทางการศึกษา อาจารยก์ ฏี ะ เพ่มิ พูล อาจารย์ทรพั ยส์ ิดี เท่ยี งพนู วงศ์ อาจารย์ศุภกร ถิรมงคลจิต เดก็ ชายอิสระ เจย์ เวชบรรยงรัตน์ เดก็ ชายพงศธรรม อสมั ภินพงศ์ เดก็ ชายณฏั ฐดนยั ปณิ ฑานนท์ เดก็ ชายธีทัต อศั วพภิ พ เดก็ หญงิ มอี า มลิ ลาร์ เดก็ หญงิ อรนันท์ บูชาบุพพาจารย์ เด็กหญงิ ปรญิ วรรธนะภฏั เด็กหญิงกษม สินธภุ ญิ โญ

๒๕ บรรณานกุ รม กลุม่ สืบสานมรดกภูมิปญั ญา สถาบนั วัฒนธรรมศกึ ษา กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม.(๒๕๕๖). มำรยำทไทย. (เอกสารอดั สาเนา). ฝา่ ยกิจการนกั เรยี น โรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ฝ่ายประถม.(๒๕๕๕). เอกสำรคมู่ อื มำรยำทไทยสำหรบั นกั เรยี นสำธติ จุฬำลงกรณ์มหำวทิ ยำลัยฝำ่ ยประถม และแนวทำง ปฏิบัติ.(เอกสารอดั สาเนา). โรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ฝา่ ยประถม.(๒๕๕๘). คู่มอื นกั เรียนและผูป้ กครองโรงเรียน สาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝา่ ยประถม ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘. (เอกสารอัดสาเนา).