Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สภาพสังคมภายในอยุธยา

สภาพสังคมภายในอยุธยา

Published by poravan2011, 2019-12-02 03:57:25

Description: สภาพสังคมภายในอยุธยา

Search

Read the Text Version

สภาพสังคมภายในอยธุ ยา

สรปุ สภาพสงั คมโดยทั่วไป • อาณาจกั รอยุธยาตง้ั อยู่ท่ีราบลมุ่ แม่น้าเจ้าพระยา และมแี ม่น้าไหล ผ่านหลายสาย เส้นทางการคมนาคมทางน้าจึงเปน็ เสน้ ทางหลัก • ประชาชนส่วนใหญ่ต้ังบา้ นเรอื นอยรู่ ิมน้า • ชาวอยุธยาเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา มีความเช่ือเร่ือง บญุ กรรม • วดั เปน็ ศูนยก์ ลางของสงั คม เป็นแหล่งศกึ ษาเลา่ เรียนของ • ชาวอยธุ ยาทา้ บุญสร้างกศุ ลดว้ ยการสรา้ ง • อาชีพหลักของชาวอยุธยา คือ การเกษตร เน่ืองจากมีดินและน้า อุดมสมบรู ณ์

การจัดระเบยี บทางสังคม ในอยุธยา ความหมายของศกั ดนิ า ศักดนิ า หมายถึง เครอื่ งก้าหนดสิทธแิ ละหน้าทขี่ อง บคุ คลในสังคม เพ่อื จ้าแนกใหเ้ ห็นถงึ ความแตกต่างในเรอ่ื งสทิ ธิ และหน้าที่ของบคุ คลตามศกั ดนิ า เชน่ ผูม้ ศี กั ดนิ า 400 ข้นึ ไปมี สิทธเิ ขา้ เฝา้ ได้ แต่ตา้่ กวา่ 400 ไมม่ ีสิทธเิ ข้าเฝ้า สมแดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ผู้วาง ศักดินาในอยธุ ยา ประโยชนข์ องศักดินา ระบบศกั ดินามปี ระโยชน์ในการควบคมุ บังคับบัญชา ผู้คนตามลา้ ดบั ชัน้ และมอบหมายให้คนมหี นา้ ท่ีรับผิดชอบ ตามทีก่ ้าหนดเอาไว้

การจดั ระเบียบทางสังคม • การก้าหนดศักดินาขึ้นอยู่กับยศ บรรดาศักดิ์ ต้าแหน่งและฐานะของบุคคลน้ัน การถือศักดินา ไม่ไดห้ มายความวา่ ต้องถอื ทีน่ าตามน้ันจรงิ ๆ • สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถมีการวาง ระเบียบกฎเกณฑ์ระบบศักดินา ให้ เหมาะสมด้วยการตรากฎหมาย “พระไอยการ ตาแหน่งนาพลเรือน” และ “พระไอยการ ตาแหนง่ นาทหารหวั เมือง” ใน พ.ศ. 1998

ลา้ ดับชนชั้นทางสงั คมในสมยั อยธุ ยา 1. พระมหากษัตรยิ ์ 2. เจา้ นาย 3. ขุนนาง 4. ไพร่ 5. ทาส ###พระสงฆ์ พระสงฆ์ไม่จากดั ชนชั้นใดชนช้นั หนง่ึ แตเ่ ปน็ ท่เี คารพของคนทกุ ชนช้นั บทบาทและความสาคัญของพระสงฆ์

โครงสร้างสังคมไทยสมยั อยุธยา ชนชัน้ ปกครอง 1. พระมหากษัตริย์ 2.พระบรมวงศานุวงศ์ • พระประมุขของ • เครือญาติของพระมหากษตั ริยม์ ี ราชอาณาจกั ร ทรงไดร้ ับการ ศกั ดินาแตกต่างกนั ไปตามฐานะ ยกยอ่ งใหเ้ ป็น สมมติเทพ และทรงเป็นธรรม ยศของเจา้ นายมี 2 ประเภท คือ ราชา 2.1 สกลุ ยศ เป็นยศท่ีแต่ละพระองคไ์ ดร้ ับมาต้งั แต่ กาเนิด กาเนิด ลาดบั สกลุ จะลดลง เร่ือย ๆ เม่ือผา่ น ไปแต่ละชวั่ อายคุ น มี 3 ลาดบั คือ เจา้ ฟ้ า พระองค์ เจา้ และหม่อมเจา้ 2.2 อสิ ริยยศ เป็นยศท่ีเจา้ นายไดร้ ับจากการรับราชการ แผน่ ดิน ไดแ้ ก่ กรมสมเดจ็ พระ กรมพระยา กรม พระ

ชนชัน้ ปกครอง 3. ขุนนาง • บุคคลที่รับราชการแผน่ ดิน มีท้งั ศกั ดินา ยศ ราชทินนาม และตาแหน่ง มีเบ้ียหวดั ประจาปี เป็นคา่ ตอบแทน 3.1 ยศ แสดงบรรดาศกั ด์ิมีลาดบั จากสูงสุดไปหา ต่าสุด คือ พระยา พระ หลวง ขนุ หมื่น พนั 3.2 ราชทินนาม นามท่ีไดร้ ับพระราชทาน แสดง หน้าที่และความรับผิดชอบ เช่น จักรี ยมราช ธรรมาธิบดี โกษาธิบดี 3.3 ตาแหน่ง หนา้ ท่ีในราชการที่ตอ้ งดูแล เช่น สมุ หนายก สมุหพระกลาโหม 3.4 ศักดินา เคร่ืองกาหนดฐานะและเกียรติยศใน สงั คม ศกั ดินาการถือครองท่ีดินต้งั แต่ 400–10,000

การเล่อื นฐานะทางสังคม • เป็นสังคมเปิด บุคคลในสังคมอาจเปลี่ยนแปลงฐานะชนช้ันทางสังคมได้ อาจมีการเลื่อนฐานะให้ สงู ข้นึ หรือตา่ ลงไดข้ ึน้ อยกู่ บั ความสามารถ สติปญั ญา ความรู้ และความประพฤตขิ องแต่ละคน • การท่ีชนช้ันต่าง ๆ ในสังคมสามารถเลื่อนฐานะทางสังคมได้เป็นการสร้างแรงกระตุ้นให้คน แสวงหาความรู้ สัง่ สมความสามารถ และแสดงออกเพ่ือยกฐานะทางสังคมของตนให้สูงขึ้น ส่งผล ใหเ้ กิดการพัฒนาดา้ นต่าง ๆ ในสงั คม การเลิกทาสสมยั ร. 5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook