Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564

รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564

Description: รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 ของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 พื้นที่รับผิดชอบ ประกอบด้วย จังหวัดปทุมธานี นครนายก นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี สมุทรปราการ และจังหวัดอ่างทอง

Keywords: society

Search

Read the Text Version

สำนกังานสงเสรมิและสนบัสนุนวชิาการ1

คำนำ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางที่ตั้งอยู่ใน ภูมิภาครับผิดชอบพื้นที่ 7 จังหวัดภาคกลาง ประกอบด้วย จังหวัดปทุมธานี นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี อา่ งทอง สมุทรปราการ และนครนายก มบี ทบาทภารกจิ ในการพัฒนางานดา้ นวชิ าการเกยี่ วกับการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ให้สอดคล้องกับพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมและสนับสนุนงาน ด้านวิชาการ องค์ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศ ให้คำปรึกษาแนะนำแก่หน่วยงานบริการทุกกลุ่มเป้าหมายใน พื้นที่ให้บริการในความรับผิดชอบของกระทรวงรวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรภาคเอกชน และประชาชน ศึกษา วิเคราะห์สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมเพื่อคาดการณแ์ นวโน้ม ของสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะการพัฒนาสังคมและจัดทำยุทธศาสตร์ใน พน้ื ท่กี ลมุ่ จงั หวัด สนบั สนนุ การนิเทศงาน ตดิ ตามประเมินผลการดำเนินงาน เชงิ วชิ าการตามนโยบายและ ภารกิจของกระทรวงในพื้นที่กลุ่มจังหวัด และปฏิบัติงานงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงานอื่นทีเ่ ก่ียวขอ้ ง หรอื ท่ปี ลัดกระทรวงมอบหมาย รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวัดภาคกลาง ประจำปี 2564 จดั ทำขน้ึ เพ่ือรวบรวม ประมวลผล วิเคราะห์ และคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคม เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนการจัดทำ ยุทธศาสตร์แผนงาน โครงการ กิจกรรม และการบูรณาการกิจกรรมในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคกลาง ให้กบั หนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ ง นำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนเพอื่ การปอ้ งกันแก้ไขปัญหาสงั คม สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้ จะเป็น ประโยชนต์ ่อหน่วยงานท่เี กี่ยวข้องทง้ั ภาครฐั และเอกชน ในการสนบั สนนุ ข้อมลู การจัดทำแผนงาน โครงการ กิจกรรมเพ่ือป้องกันและแก้ไขปญั หาสังคมอยา่ งเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับความต้องการของพืน้ ที่ต่อไป สำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 1 กันยายน 2564 หน้า ก

สารบญั ก ข หนา้ ง จ คำนำ ฉ สารบัญ สารบญั ตาราง 1 สารบัญแผนภูมิ 1 บทสรปุ ผู้บริหาร 2 2 ส่วนที่ 1 บทนำ 3 หลกั การและเหตุผล วตั ถปุ ระสงค์ 4 วธิ กี ารดำเนินงาน 4 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับ 4 5 สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลพ้ืนฐานในพืน้ ที่กลุ่มจงั หวดั ในเขตรับผิดชอบของ สสว.1 6 ทีต่ ้งั และอาณาเขต 7 ลกั ษณะภมู ิประเทศ 8 ลกั ษณะภมู อิ ากาศ 8 ข้อมลู การปกครอง 13 ขอ้ มูลประชากร 15 ขอ้ มูลศาสนา และวัฒนธรรม 20 ข้อมลู ด้านสาธารณสุข 22 ขอ้ มูลดา้ นการศึกษา 22 ขอ้ มลู ด้านเศรษฐกจิ และรายได้ 22 ข้อมูลภาคีเครอื ขา่ ย 23 24 ส่วนท่ี 3 สถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวดั ขอ้ มูลสถานการณท์ างสงั คมกลุม่ จงั หวดั หน้า ข กลุ่มเดก็ กลุ่มเยาวชน กลมุ่ สตรี

กลุ่มครอบครวั 25 หน้า กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ 26 กลุม่ ผพู้ ิการ 27 กลุ่มผดู้ ้อยโอกาส 28 ส่วนที่ 4 สถานการณ์เชิงกล่มุ เป้าหมายในพื้นท่กี ลุม่ จังหวดั 29 กลุ่มเด็ก 29 กลุ่มเยาวชน 29 กลุ่มสตรี 30 กลุ่มครอบครวั 30 กลุ่มผสู้ ูงอายุ 31 กลุ่มผู้พกิ าร 31 กลุม่ ผู้ด้อยโอกาส 32 สถานการณ์ทางสังคมเชงิ ประเด็น 32 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 32 ความรุนแรงในครอบครัว 35 สว่ นท่ี 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 40 บทสรปุ 40 ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย 43 ขอ้ เสนอแนะเชงิ ปฏิบตั ริ ะดับกลุม่ จงั หวัด 43 บรรณานุกรม 45 หน้า ค

สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ทตี่ ง้ั และอาณาเขตพ้นื ท่ีกลมุ่ จังหวดั ในเขตพนื้ ที่รับผิดชอบของ สสว.1 4 ตารางที่ 2 จำนวนเขตการปกครองพ้ืนท่ีกล่มุ จังหวัดในเขตพ้นื ท่รี บั ผิดชอบของสสว.1 6 ตารางที่ 3 จำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จำแนกตามเพศและจงั หวดั 7 ตารางท่ี 4 จำนวนหนว่ ยบริการสาธารณสุข ภาครฐั และภาคเอกชน จำแนกตามจังหวัดในเขต 8 พ้ืนทรี่ ับผิดชอบของ สสว.1 10 ตารางท่ี 5 จำนวนประชากรต่อแพทย์รายหวั 11 ตารางที่ 6 สถิตสิ าเหตกุ ารตาย 5 อันดบั แรกจากโรคตา่ งๆ ของจงั หวดั ในเขตพ้ืนท่รี บั ผดิ ชอบ 31 ของ สสว.1 14 ตารางที่ 7 จำนวนนักเรียน นกั ศึกษาในระบบ จำแนกตามระดับชนี้ ปี พ.ศ. 2563 15 ตารางท่ี 8 สถานศกึ ษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกัด รายจงั หวัด ปกี ารศกึ ษา 2563 16 ตารางท่ี 9 การขยายตวั ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั 14 ตารางที่ 10 ผลติ ภณั ฑ์จังหวัดต่อหวั (GPP per capita) ปี 2562 ตารางท่ี 11 หน้สี นิ เฉล่ยี ตอ่ ครัวเรือน จำแนกตามวัตถปุ ระสงค์ของการกู้ยืม ของภาคกลางและ 17 18 ภาคตะวนั ออกพ.ศ. 2552– 2560 20 ตารางท่ี 12 รายได้เฉล่ยี ต่อเดอื นต่อครัวเรือนของกล่มุ จังหวดั พ.ศ. 2558 - 2562 22 ตารางที่ 13 หน้ีสินเฉลย่ี ตอ่ ครัวเรอื น จำแนกตามวัตถปุ ระสงค์ของการกู้ยืม พ.ศ. 2558 - 2562 23 ตารางที่ 14 จำนวนองค์กรภาคีเครือขา่ ย 24 ตารางท่ี 15 สถานการณเ์ ด็ก จำแนกตามจังหวดั 25 ตารางท่ี 16 สถานการณเ์ ยาวชน จำแนกตามจังหวัด 26 ตารางท่ี 17 สถานการณ์กลุม่ สตรี จำแนกตามจงั หวัด 27 ตารางท่ี 18 สถานการณ์กลมุ่ ครอบครวั จำแนกตามจังหวัด 28 ตารางที่ 19 สถานการณ์ผูส้ งู อายุ จำแนกตามจงั หวัด 29 ตารางท่ี 20 สถานการณ์ผู้พิการ จำแนกตามจงั หวดั 29 ตารางท่ี 21 สถานการณผ์ ดู้ ้อยโอกาส จำแนกตามจังหวัด 30 ตารางท่ี 22 ผลการจดั ลำดับความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมกล่มุ จงั หวัด กลุ่มเดก็ 30 ตารางท่ี 23 ผลการจัดลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จงั หวัด กลุ่มเยาวชน ตารางท่ี 24 ผลการจัดลำดับความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวัด กลมุ่ สตรี ตารางที่ 25 ผลการจดั ลำดับความรุนแรงของสถานการณท์ างสงั คมกลุม่ จงั หวัด กลุ่มครอบครัว หน้า ง

ตารางท่ี 26 ผลการจดั ลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จงั หวดั กลุ่มผู้สงู อายุ หน้า ตารางท่ี 27 ผลการจัดลำดับความรุนแรงของสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัด กลุม่ พกิ าร 31 ตารางท่ี 28 ผลการจดั ลำดบั ความรุนแรงของสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัด กลมุ่ 31 32 ผู้ด้อยโอกาส ตารางท่ี 29 จำนวนผู้ตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ระลอกใหม่เดือนเมษายน - สงิ หาคม 2564 35 จำแนกตามจังหวดั ในเขตพ้ืนทีร่ บั ผดิ ชอบของ สสว.1 38 ตารางที่ 30 จำนวนเหตกุ ารณ์ความรนุ แรงในครอบครัว จำแนกตามจงั หวดั ในเขตพ้ืนท่ี รับผิดชอบของ สสว.1 หน้า จ

สารบัญแผนภูมิ แผนภมู ทิ ี่ 1 จำนวนประชากรในเขตพนื้ ที่รับผิดชอบของ สสว.1 จังหวดั ปทุมธานี หน้า แผนภูมิที่ 2 จำนวนหน่วยงานบรกิ ารสาธารณสขุ ในเขตพ้นื ทร่ี บั ผิดชอบของ สสว.1 จังหวัด ปทมุ ธานี 7 แผนภมู ทิ ี่ 3 สดั ส่วนประชากรตอ่ แพทย์ 1 คน ในเขตพน้ื ทรี่ บั ผิดชอบของ สสว.1 จงั หวดั 9 ปทมุ ธานี แผนภมู ิท่ี 4 สาเหตกุ ารตาย 5 อันดับแรกจากโรคตา่ งๆ ในเขตพ้นื ที่รับผิดชอบของ สสว.1 10 จังหวัดปทุมธานี แผนภูมทิ ี่ 5 จำนวนนักเรียน นักศึกษา จำแนกตามระดบั ช้ัน ปกี ารศกึ ษา 2563 12 แผนภมู ิท่ี 6 สถานศกึ ษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกัด รายจงั หวัด ปกี ารศึกษา 2563 แผนภูมิที่ 7 การขยายตวั ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 13 แผนภมู ทิ ี่ 8 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือนของกลุม่ จังหวัด 14 แผนภมู ทิ ี่ 9 หน้ีสินตอ่ ครัวเรอื น จำแนกตามวัตถปุ ระสงค์ของการกูย้ มื พ.ศ. 2562 15 แผนภมู ิท่ี 10 เหตกุ ารณ์ความรนุ แรงในครอบครวั ทีเ่ กดิ ขน้ึ ในเขตพน้ื ทร่ี ับผิดชอบของ สสว.1 17 20 39 หน้า ฉ

ส่วนท่ี 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตผุ ล ตามพระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการบรหิ ารกิจการบา้ นเมืองทด่ี ี พ.ศ. 2546 มีสาระ สำคัญเกี่ยวข้องกับการบูรณาการ โดยกำหนดว่า “ในกรณีท่ีภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่วนราชการ หรือเป็นภารกิจท่ีใกล้เคียงหรือต่อเน่ืองกัน ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องนั้นกำหนดแนวทางปฏิบัติราชการ เพ่ือให้เกิดการบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ” (มาตรา 10 วรรค 1) ในทางปฏิบัติแม้ว่าจะมีความพยายามในการบริหารแบบบูรณาการในภารกิจที่มี ความสำคัญหลายเรื่อง แต่ยังเกิดปัญหาความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติในหลายๆ ภารกิจ เป็นผลให้เป็นการ สน้ิ เปลืองทรัพยากรเป็นอย่างมาก การปฏริ ูปงบประมาณประเทศจาก “ระบบงานงบประมาณเชิงยทุ ธศาสตร์” สู่ “ระบบงบประมาณเชิงพื้นที่” (Arae-Based Budgeting : ABB) ซึ่งเป็นแนวคิดของการทำงบประมาณแบบ มีส่วนร่วม (Participatory Budgeting) โดยมีการฟังเสียงประชาชนในพ้ืนที่ มีกระบวนการทำแผนพัฒนาจาก ล่างข้ึนบนตั้งแต่แผนชุมชนจนถึงแผนจังหวัด และให้หน่วยงานทั้งภูมิภาคและท้องถ่ินร่วมกันกลั่นกรองทำให้ งบประมาณสามารถใช้ให้ตรงกับปัญหาความต้องการของคนในพ้ืนท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน ซ่ึงเป็นทั้ง กระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลการใช้งบประมาณแผ่นดิน การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ บริหารจัดการตนเอง การสร้างความโปรง่ ใสและธรรมาภิบาล การควบคมุ พฤติกรรมนักการเมืองโดยประชาชน ในพ้ืนที่และการบูรณาการการทำงานของหน่วย Function และหน่วย Area ที่อยูใ่ นพ้นื ท่ีร่วมกัน ซงึ่ ตามแผน ปฏริ ูปกำหนดให้เร่มิ ตงั้ แต่ปีงบประมาณ 2548 สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 (สสว.) เป็นส่วนราชการส่วนกลางที่ต้ังอยู่ในส่วน ภูมิภาค โดยมีอำนาจหน้าที่ คือ ข้อ 1 พัฒนางานด้านวิชาการเก่ียวกับการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ มนุษย์ให้สอดคล้องกับพ้ืนท่ีและเป้าหมาย ข้อ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการองค์ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศให้คำปรึกษาแนะนำแก่หน่วยงานบริการกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้บริการ ในความรับผิดชอบ ของกระทรวง รวมท้ัง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรภาคเอกชนและประชาชน ข้อ 3 ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมเพื่อคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมแล ะ ผลกระทบ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะการพัฒ นาสังคมและการจัดยุทธศาสตร์ในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัด ข้อ 4 สนับสนุนการนิเทศงาน ติดตามประเมินผลการดำเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบายและภารกิจของ กระทรวงในพน้ื ที่กลุ่มจังหวัด มีหน้าทเ่ี ป็นกลไกขบั เคลื่อนภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ นอกจากนี้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริม และสนับสนุนวิชาการทำหน้าท่ีเชื่อมโยงประสานนโยบายระหว่างหน่วยงานส่วนกลางกับส่วนภูมิภาคในการ แปลงนโยบาย ข้อมูลสารสนเทศ องค์ความรู้ และแผนต่างๆ ของกระทรวงฯ ให้เกิดการบูรณาการการ รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวดั ภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 1

ปฏิบัติงานของหน่วยงานสังกัดกระทรวงฯ ในส่วนภูมิภาค ให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ และมีการปฏิบัติงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงตระหนักถึงความจำเป็นท่ีจะต้องขับเคล่ือนให้เกิดการบูรณาการโครงการด้าน สังคมเชิงพ้ืนท่ีในระดับพ้ืนท่ีจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ท้ังในส่วนของแผนปฏิบัติงานและแผนคำของบประมาณ เชิงพื้นที่ เพ่ือตอบสนองความต้องการของจงั หวัดและกลุ่มจังหวัดในการบูรณาการการดำเนินงานพัฒนาสังคม และสวัสดิการสงั คมทส่ี อดคล้องกับพืน้ ท่แี ละยุทธศาสตร์อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล ด้วยเหตุน้ี จึงเป็นทีม่ าของการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมและคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ ทางสังคมในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัด ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 จังหวัด ปทุมธานี ท่ีครอบคลุม 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดปทุมธานี นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี นครนายก สมุทรปราการ และอ่างทอง 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้น ในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 1 1.2.2 เพื่อคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 1 1.2.3 เพ่ือเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางสังคมในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ของสำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 1.3 วธิ กี ารดำเนนิ งาน ในปีงบประมาณ 2564 สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 - 11 ได้ตกลงร่วมกันและ มอบหมายให้สำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 จังหวดั ปทุมธานี เป็นหน่วยงานรับผดิ ชอบหลักในการ ดำเนินการเพื่อจดั ทำรายงานสถานการณ์ทางสังคม โดยมกี ารดำเนนิ การเพื่อขับเคล่อื นงาน ดงั น้ี 1) ประชุมช้ีแจงแนวทางและกำหนดรูปแบบการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมในระดับ กลุ่มจังหวดั ประจำปี 2564 2) สสว.1-11 จดั ทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ตามเขตพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบ 3) ประชุมถอดบทเรียนการจดั ทำรายงานสถานการณ์ทางสงั คมกล่มุ จงั หวดั ประจำปี 2564 4) เผยแพร่และประชาสัมพันธ์การนำไปใชป้ ระโยชน์ผ่านช่องทางต่างๆ 1.4 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ บั 1) มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมระดับพ้ืนที่ที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถใช้ประโยชน์ ในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาสงั คม รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 2

2) หน่วยงานระดับท้องถิ่นและระดับจังหวัด สามารถนำข้อมูลในพ้ืนที่ไปใช้ในการกำหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ ในการคุ้มครอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาทางสังคมในระดับพ้ืนท่ี และหน่วยงานระดับ กระทรวง สามารถนำข้อมูลในภาพรวมไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาทางสังคมท่ีสำคัญและ กำหนดนโยบาย แผนงานในการป้องกนั และแก้ไขปญั หาสงั คมภาพรวมต่อไป รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวดั ภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 3

ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลพื้นฐานในพน้ื ทีก่ ลุ่มจังหวดั ในเขตรบั ผิดชอบของ สสว. 1 (จงั หวัดปทุมธานี นนทบุรี พระนครศรีอยธุ ยา สระบุรี นครนายก สมทุ รปราการ และอ่างทอง) 2.1 ท่ีตง้ั และอาณาเขต ตารางท่ี 2.1 แสดงทตี่ ้งั และอาณาเขตพ้นื ท่กี ล่มุ จังหวดั ในเขตรบั ผิดชอบของ สสว ๑ จังหวดั พน้ื ท่ี ไร่ จำนวนประชากร ความหนาแนน่ ตารางกิโลเมตร (คน) ของประชากร ปทมุ ธานี (ตร.กม./คน) นนทบุรี พระนครศรอี ยุธยา 1,525.856 9,563,660 1,176,412 1:771 อ่างทอง สระบุรี 622.38 388,987.5 1,276,745 1:2,051 นครนายก สมุทรปราการ 2,556.64 1,597,900 819,088 1:320 รวม 968.372 605,232.5 276,584 1:286 3,567.486 2,235,304 643,828 1:180 2,122 1,326,250 260,081 1:122 1,004 627,557 1,351,479 1:1346 12,366.734 16,344,891 5,804,217 1:469 ทมี่ า ..กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 ธนั วาคม 2563 2.2 ลักษณะภมู ปิ ระเทศ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 จำนวน 7 จงั หวัด ดงั นี้ ปทุมธานี นนทบุรี พระนครศรอี ยธุ ยา สระบรุ ี อา่ งทอง นครนายก และสมทุ รปราการ มีเน้ือที่รวม ประมาณ 12,366.734 ตารางกิโลเมตร เปน็ ท่ีราบลุ่มตอนลา่ งของประเทศ ซึงเรมิ่ จากสระบรุ ีลงไปจนจรดอ่าว ไทย ภูมิประเทศภาคกลางตอนล่างบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยา พ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นดินตะกอนที่ แม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งตะกอนเหล่าน้ีส่วนใหญ่ประกอบด้วยทรายละเอียด ดินเหนียว และดินตะกอน บางส่วนไป ตกตะกอนในบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยา ตะกอนท่ีทับถมห่างจากชายฝั่งออกไปไม่ต่ำกว่า 1.5 กิโลเมตร และ ยงั ก่อให้เกิดสันดอนในแม่น้ำ ทำให้เกิดอุปสรรคในการคมนาคมทางน้ำเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ดินตะกอน ทแ่ี ม่น้ำพัดพามามีประโยชน์ในการปลกู ข้าวซึ่งเป็นพืชหลักของประเทศ ทั้งนี้เพราะดินตะกอนสามารถอ้มุ น้ำได้ ความหนาของชั้นดินตะกอนในบางบริเวณที่มีการขุดเจาะเพ่ือสำรวจทางธรณีวิทยา พบว่าบางแห่งหนาเกิน 120 เมตร จึงจะถึงหินดินดาน (dedrock) ขา้ งใต้ รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 4

2.3 ลักษณะภมู ิอากาศ มีลักษณะเป็นเเบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน ( Aw ) คือมีฝนตกปานกลาง เเละสลับกับฤดูร้อน บริเวณภาคกลางตอนล่างจะมีอากาศชุ่มช้ืนมากกว่าเน่ืองจากอยู่ใกล้ทะเลมากกว่าภาคกลางตอนบน ฤดูร้อน คือช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ฤดูฝน คือช่วงเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม และฤดูหนาว คือช่วงเดือน พฤศจิกายน-มกราคม รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 5

2.4 ข้อมูลการปกครอง ตารางที่ 2.2 แสดงจำนวนเขตการปกครองพนื้ ท่กี ลุ่มจงั หวดั ในเขตรับผดิ ชอบของ สสว 1 (หน่วย:แหง่ ) จงั หวดั อำเภอ ตำบล หมบู่ ้าน อบจ. เทศบาล เทศบาล เทศบาล อบต. นคร เมือง ตำบล ปทุมธานี 7 60 354 1 1 9 17 37 นนทบรุ ี 6 52 328 1 2 7 11 25 พระนครศรีอยธุ ยา 16 209 1,459 1 1 5 30 121 อา่ งทอง 7 73 513 1 0 1 20 43 สระบรุ ี 13 111 973 1 0 4 34 70 นครนายก 4 41 408 1 0 1 5 39 สมุทรปราการ 6 50 405 1 1 6 14 27 รวม 59 596 4,440 7 5 33 131 362 ทม่ี า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, วันท่ี 30 ธันวาคม 2563 จากตารางที่ 2.2 แสดงจำนวนเขตการปกครองพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัด ปทุมธานี มีพ้ืนที่รับผิดชอบจำนวน 7 จังหวัด ประกอบด้วย 59 อำเภอ 596 ตำบล 4,440 หมู่บ้าน มีองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 538 แห่ง ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด 7 แห่ง เทศบาลนคร 5 แห่ง เทศบาลเมือง 33 แห่ง เทศบาลตำบล 131 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 362 แห่ง จังหวัดที่มีจำนวน พื้นที่ทางการปกครองมากที่สุด คือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีจำนวนทั้งส้ิน 16 อำเภอ 209 ตำบล 1,459 หมู่บ้านและจังหวดั ที่มีจำนวนพ้ืนที่ทางการปกครองน้อยท่ีสุด ได้แก่ จังหวดั นครนายก ประกอบด้วย 4 อำเภอ 41 ตำบล 408 หมบู่ า้ น รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 6

2.5 ขอ้ มลู ประชากร ตารางท่ี 2.3 แสดงจำนวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จำแนกตามเพศ และจังหวดั อายุ 0-17 ปี อายุ 18 – 25 ปี อายุ 26 – 59 ปี (หน่วย : คน) อายุ 60 ปีขน้ึ ไป จงั หวดั ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ปทุมธานี 119,636 113,266 232,902 60,949 65,200 126,149 293,177 333,569 626,746 75,339 100,021 175,360 นนทบรุ ี 114,109 108,435 222,544 59,783 61,089 120,872 306,800 364,733 671,533 98,824 140,868 239,692 พระนครศรอี ยุธยา 80,804 76,171 156,975 41,495 40,572 82,067 203,261 217,483 420,744 65,667 89,476 155,143 สระบรุ ี 65,742 62,188 127,930 38,646 33,801 72,447 158,195 163,781 321,976 48,306 63,951 112,257 อา่ งทอง 25,243 23,816 49,059 13,640 13,392 27,032 67,033 70,190 137,223 25,914 36,401 62,315 สมทุ รปราการ 134,832 127,561 262,393 68,055 69,765 137,820 336,990 374,894 711,884 91,024 123,217 214,241 นครนายก 25,870 23,571 49,441 15,986 12,676 28,662 62,723 64,554 127,277 22,689 29,706 52,395 รวม 566,236 535,008 1,101,244 298,554 296,495 595,049 1,428,179 1,589,204 3,017,383 427,763 583,640 1,011,403 ท่ีมา: ระบบสถติ ทิ างทะเบยี น กรมการปกครอง ข้อมลู ณ ธันวาคม 2563 แผนภมู ิแสดงจำนวนประชำกรในเขตพนื้ ทีรบั ผดิ ชอบ 800000 700000 600000 500000 400000 300000 200000 100000 0 เพศชำย เพศหญิง แผนภูมิที่ 2.1 แสดงจำนวนประชากรในเขตพ้นื ทร่ี บั ผดิ ชอบของ สสว.1 จงั หวดั ปทุมธานี จากข้อมูลประชากรในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.1 จงั หวัดปทุมธานี พบวา่ ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ ของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี มีจำนวนประชากร ท้ังส้ิน 5,725,079 คน แบ่งเป็น ประชากรเพศชาย จำนวน รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 7

2,720,732 คน ประชากรเพศหญิง จำนวน 3,004,347 คน ประชากรส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในระหว่าง 26-59 ปี จังหวัดที่มีประชากรอาศัยอยู่มากที่สุด คือ จังหวัดสมุทรปราการ มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 1,326,338 คน รองลงมาคือ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสระบุรี จังหวัดอ่างทอง และ จังหวดั นครนายก ตามลำดับ 2.6 ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และขอ้ มลู ชาติพนั ธ์ กลุ่มจังหวัดภาคกลางในเขตพืน้ ที่รบั ผิดชอบของสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 1 รับผิดชอบ นน้ั ประชากรสว่ นใหญน่ ับถือศาสนาพทุ ธ รองลงมานบั ถอื ศาสนาคริสต์ และอสิ ลาม 2.7 ด้านสาธารณสขุ ตารางที่ 2.4 แสดงจำนวนหน่วยบริการสาธารณสุข ภาครฐั และภาคเอกชน จำแนกตามจังหวัดในเขตพนื้ ท่ี รบั ผดิ ชอบของ สสว.1 (หนว่ ย:แหง่ ) จงั หวัด โรงพยาบาลสงั กัดภาครัฐ (แห่ง) โรงพยาบาลสังกดั เอกชน รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. อน่ื ๆ (แห่ง) ปทุมธานี 0 1 7 78 1 9 นนทบุรี 1 0 7 76 0 12 พระนครศรอี ยุธยา 1 1 14 205 0 6 สระบรุ ี 1 1 10 127 0 4 อา่ งทอง 0 1 6 76 0 1 สมทุ รปราการ 1 1 4 73 0 23 นครนายก 0 1 3 56 1 0 รวม 4 6 51 691 2 55 ทม่ี า HDC Report กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 22 เมษายน 2564 หมายเหต.ุ รพศ.=โรงพยาบาลศูนย์ รพท. = โรงพยาบาลทว่ั ไป รพ.สต. = โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบล รพช. = โรงพยาบาลชมุ ชน อื่น ๆ รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 8

แผนภูมแิ สดงจำนวนหน่วยบริกำรสำธำรณสุข ในเขตพนื้ ทร่ี ับผิดชอบ 250 227 200 150 96 143 96 102 100 84 50 61 0 โรงพยำบำล แผนภมู ิ 2.2 แสดงจำนวนหน่วยบรกิ ารสาธารณสุข ในเขตพืน้ ทรี่ บั ผดิ ชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี จากขอ้ มลู แสดงจำนวนหน่วยบริการสาธารณสุข ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มี จำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี ทั้งสิ้น 809 แห่ง แบ่ง ออกเป็นโรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) จำนวน 4 แห่งโรงพยาบาลท่ัวไป (รพท.) จำนวน 6 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) จำนวน 51 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) จำนวน 691 แห่ง อ่ืนๆ จำนวน 2 แห่ง และโรงพยาบาลเอกชน จำนวน 55 แห่ง จังหวัดท่ีมีหน่วยบริการสาธารณสุขมากท่ีสุด คือ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา มีจำนวน 227 แห่ง รองลงมา คือ จังหวัดสระบุรี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดอา่ งทอง และจังหวดั นครนายก ตามลำดบั ท้ังน้ีจากการเปรียบจำนวน รพ.สต. กบั จำนวนตำบลท้ังหมด ในพื้นที่ท้ัง ๗ จังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดมี รพ.สต. ประจำตำบลมากกว่า 1 ดังนั้นแสดงให้เห็นว่าประชาชน สามารถเข้าถงึ บริการสาธารณสุขเบือ้ งตน้ ในพนื้ ที่ได้อย่างทว่ั ถงึ ตารางที่ 2.5 แสดงจำนวนประชากรต่อแพทย์รายจังหวัด (หนว่ ย : คน) รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวดั ภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 9

จังหวัด แพทย์ ประชากร ประชากรต่อแพทย์ ปทุมธานี 3,801 1161,157 1:305 1:207 นนทบรุ ี 6,059 1254,641 1:795 1:558 พระนครศรอี ยุธยา 1,025 814,929 1:833 1:860 สระบรุ ี 1,137 634,610 1:889 1:368 อ่างทอง 331 275,629 สมุทรปราการ 1,542 1,326,338 นครนายก 290 257,775 รวม 15,571 5,725,079 ทีม่ า : ฐานขอ้ มูลสารสนเทศ กระทรวงสาธารณสุข https://hdcservice.moph.go.th/ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 22 เมษายน 2564 แผนภูมิแสดงสดั สว่ นประชำกรต่อแพทย์ 1 คน ในเขตพืน้ ท่ีรบั ผิดชอบ 1000 795 833 860 900 800 700 600 558 500 400 305 207 153 300 200 100 0 ประชำกรตอ่ แพทย์ แผนภูมิ 2.3 แสดงจำนวนประชากรต่อแพทย์รายจังหวดั ในเขตพ้ืนทีร่ ับผดิ ชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี แพทยใ์ นเขตพืน้ ที่รบั ผิดชอบของ สสว.1 จังหวดั ปทุมธานี มจี ำนวนจำนวน 15,517 คน คิดเป็นสดั ส่วนจำนวน ป ระ ช า ก ร 368 ค น ต่ อ แ พ ท ย์ 1 ค น จั งห วั ด ท่ี มี จ ำน ว น ป ร ะ ช าก ร ต่ อ แ พ ท ย์ ม า ก ที่ สุ ด คื อ สมุทรปราการ มี 860 : 1 คน รองลงมา คือ จังหวัดอ่างทอง จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา จังหวดั สระบุรี จังหวัด ปทมุ ธานี จงั หวัดนนทบุรี และจังหวัดนครนายก ตามลำดบั รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 10

ตารางที่ 2.6 แสดงสาเหตุการตาย 5 อนั ดบั แรกจากโรคตา่ งๆ จงั หวดั ในเขตพนื้ ท่รี บั ผดิ ชอบของ สสว.1 จังหวดั ปทมุ ธานี (หน่วย:คน) จงั หวัด โรคความดัน โรคเบาหวาน โรคหลอดเลอื ด โรคหลอด โรคหลอดลม โลหติ สงู หวั ใจ เลอื ดสมอง อักเสบ ถุงลม โปง่ พอง ปทมุ ธานี 74 225 459 585 72 นนทบรุ ี 95 256 454 622 92 พระนครศรอี ยุธยา 175 197 389 511 75 สระบรุ ี 83 46 274 515 83 อ่างทอง 43 46 127 166 23 สมุทรปราการ 140 519 492 773 115 นครนายก 36 97 129 213 42 รวม 646 1,386 2,324 3,385 502 ทม่ี า : HDC Report กระทรวงสาธารณสุข/แหล่งอ่นื ๆ ขอ้ มลู ณ ปี 2562 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 11

แสดงสำเหตุกำรตำย ๕ อันดบั แรกจำกโรคตำ่ งๆ ในพนื้ ทก่ี ลุ่มจังหวัด 900 800 773 700 600 622 585 500 511 515 519 492 459 454 400 389 300 256 274 95 200 225 72 197 213 175 100 92 166 140 115 129 74 127 97 0 75 83 83 23 36 42 46 43 46 โรคควำมดนั โลหติ สงู โรคเบำหวำน โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ โรคหลอดเลอื ดสมอง โรคหลอดลมอกั เสบ ถงุ ลมโป่งพอง แผนภูมทิ ี่ 2.4 แสดงสาเหตกุ ารตาย 5 อันดับแรก จากโรคตา่ งๆ ในพืน้ ท่กี ลุ่มจงั หวัด จากตารางท่ี 2.7 แสดงสาเหตุการตาย จากโรคต่างๆ จังหวดั ในเขตพื้นทรี่ ับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัด ปทุมธานีพบว่า โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการตายอันดับท่ี 1 มีจำนวน 3,385 คน รองลงมาคือ โรคหลอด เหลือดหัวใจมีจำนวน 2,324 คน โรคเบาหวานมีจำนวน 1,386 คน โรคความดันโลหิตสูงมีจำนวน 646 คน และโรคถุงลมอกั เสบ และถงุ ลมโป่งพองมีจำนวน 502 คน ตามลำดบั รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 12

2.8 ดา้ นการศกึ ษา ตารางท่ี 2.7 จำนวนนักเรยี นนกั ศึกษาในระบบ จำแนกตามระดับชั้น ปี พ.ศ. 2563 (หนว่ ย:คน) จงั หวดั อนบุ าล ระดับการศึกษา (คน) 31,087 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย ปวช. ปวส. ป.ตรี รวม ปทมุ ธานี 32,455 77,754 38,836 23,046 7,209 3,952 136,667 318,551 นนทบุรี 19,468 77,265 38,805 23,075 0 0 0 0 พระนครศรอี ยธุ ยา 18,668 59,025 27,709 13,634 8,549 4,988 10,907 144,280 สระบรุ ี 5,599 48,020 28,054 18,678 8,611 5,256 - 127,287 อา่ งทอง 39,291 17,733 10,235 8,434 2,595 1,235 629 46,460 สมุทรปราการ 7,428 92,318 44,155 25,4970 7,098 4,555 19,355 461,742 นครนายก 114,705 16,765 9,067 9,030 3,960 1,463 8,594 56,307 รวม 296,562 152,706 95,897 30,924 16,894 9,223 692,885 ทม่ี า : สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 ธนั วาคม 2563 ๓๕๐,๐๐๐ แผนภมู ิแสดงจำนวนนกั เรียน นกั ศึกษำ จำแนกตำมระดบั ชนั้ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ ๓๐๐,๐๐๐ ๒๕๐,๐๐๐ 296,562 ๒๐๐,๐๐๐ ๑๕๐,๐๐๐ 152,706 ๑๐๐,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐ ๑๑๔,๗๐๕ ๐ 95,897 30,924 16,897 อนบุ ำล ประถม ม.ตน้ ม.ปลำย ปวช. ปวส. 9,223 ป.ตรี แผนภูมิ 2.4 แสดงจำนวนนักเรียน นกั ศึกษา จำแนกตามระดับชัน้ ปีการศึกษา 2563 ในเขตพน้ื ทีร่ บั ผิดชอบ ของ สสว.1 จงั หวดั ปทมุ ธานี รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 13

จากตารางท่ี 2.7 แสดงจำนวนนักเรียน นักศึกษา จำแนกตามระดับช้ัน ปีการศึกษา 2563 พบว่า จำนวน นักเรียน นักศึกษาจำแนกตามระดับช้ัน ในพ้ืนที่ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี มีจำนวน ท้ังสิ้น 692,885 คน ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงระดับประถม จำนวน 296,562 คน รองลงมา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นจำนวน 152,706 คน, ระดับอนุบาล จำนวน 114,705 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 95,897 คน , และระดับปวช.จำนวน 30,924 คน ส่วนใหญ่ นักเรียน นักศึกษา จะศึกษาต่อในสายสามัญ มากกว่าสายอาชพี ตารางท่ี 2.8 สถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกัด รายจงั หวัด ปกี ารศึกษา 2563 (หน่วย:จำนวน:แหง่ ) รายการสถานศกึ ษา (แหง่ ) จงั หวัด ในระบบ นอกระบบ รวม สพฐ. เอกชน อาชวี ศกึ ษา อดุ มศึกษา ท้องถ่นิ สำนักพุทธ ฯ กศน. 466 418 ปทุมธานี 193 85 8 11 159 3 7 467 363 นนทบรุ ี 116 100 13 4 179 0 6 197 425 พระนครศรีอยธุ ยา 368 35 14 4 28 2 16 284 2,620 สระบุรี 281 30 9 0 30 0 13 อ่างทอง 160 8 3 2 14 37 สมุทรปราการ 169 107 11 9 123 0 6 นครนายก 144 15 6 4 110 1 4 รวม 1,431 380 64 15 643 9 59 ทม่ี า : ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 ธนั วาคม 2563 ตารางที่ 2.8 แสดงสถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสังกัด รายจังหวัด ปีการศึกษา 2563 ในพื้นท่ี ในเขตพนื้ ทรี่ บั ผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทมุ ธานี พบวา่ มีสถานศึกษา รวมทั้งสน้ิ 2,620 แหง่ มีสถานศกึ ษาใน ระบบจำนวน 2,561 แห่ง แบ่งออกเป็นสถานศึกษาในสังกัดสพฐ. จำนวน 1,431 แห่ง สถาบันอุดมศึกษา จำนวน 15 แห่ง สถาบันเอกชน จำนวน 380 แห่ง สถาบันสังกัด อปท. มีจำนวน 643 แห่ง สถาบัน อาชีวศึกษา จำนวน 64 แห่ง สังกัดสำนักพุทธศาสนาแห่งชาติจำนวน 9 แห่ง ศึกษานอกระบบ ได้แก่ กศน.มี จำนวน 59 แห่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีจำนวนสถานศึกษามากท่ีสุด มีจำนวน 467 แห่งและจังหวัด อ่างทอง มจี ำนวนสถานศึกษา นอ้ ยทีส่ ดุ มีจำนวน 197 แหง่ รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 14

๒.๗ ดา้ นเศรษฐกิจและรายได้ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวม ตารางที่ 2.9 แสดงการขยายตัวของผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวัด จังหวดั ปี 2561 ปี 2562 ปทุมธานี 3.1 นนทบุรี 1.5 7.2 พระนครศรอี ยธุ ยา 0.8 4.9 สระบรุ ี 1.5 -3.2 อา่ งทอง 3.5 4.6 สมุทรปราการ 7.5 1.9 นครนายก 9.4 -1.4 1.5 ทีม่ า: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ แผนภูมิแสดงกำรขยำยตวั ของผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ในเขตพืน้ ท่ีรบั ผิดชอบ 12 10 7.5 9.4 8 7.2 1.5 6 4.9 4.6 3.5 4 3.1 1.5 1.5 1.9 2 0.8 0 -2 -1.4 -4 -3.2 ปี 2561 ปี 2562 แผนภูมิท่ี 2.5 แสดงการขยายตัวของผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ปี 2561-2562 จากข้อมูลแสดงการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของ สสว.๑ จังหวัด ปทุมธานี พบว่า การขยายตัวของผลิตภัณฑม์ วลรวมส่วนใหญ่มีจำนวนที่ลดลง ยกเว้นจังหวัดปทุมธานี นนทบุรี และสระบุรี เม่ือพจิ ารณาเปรียบเทียบรายจงั หวัด พบวา่ จังหวดั พระนครศรีอยุธยามีการขยายตวั ของผลติ ภัณฑ์ รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 15

มวลรวมต่ำท่ีสุดในกลุ่มจังหวัด อยู่ท่ีร้อยละ -3.2 และจังหวัดปทุมธานีมีการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมสูง ท่สี ุดในกลุ่มจังหวัดอยู่ท่ีรอ้ ยละ 7.2 ตารางที่ 2.10 แสดงผลิตภัณฑ์จังหวัดตอ่ หัว (GPP per capita) ปี 2562 จังหวดั บาทต่อปี ปทมุ ธานี 246,897 นนทบรุ ี 197159 พระนครศรีอยธุ ยา 439,159 สระบุรี 336,393 อา่ งทอง 126,370 สมุทรปราการ 349,406 นครนายก 117,028 ทม่ี า: ผลติ ภณั ฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ ฉบับ พ.ศ. 2562 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ จากข้อมูลแสดงผลิตภัณฑ์จังหวดั ต่อหัว (GPP per capita) ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัด ปทุมธานี ในปี พ.ศ. 2562 เมอื่ พจิ ารณาเปรียบเทียบรายจังหวดั พบวา่ จังหวัดนครนายกมผี ลิตภัณฑจ์ ังหวัดต่อ หัว ต่ำท่ีสุดในกลุ่มจังหวัด อยู่ท่ี 117,028 บาทต่อปี และจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว สูงท่ีสดุ ในกลุ่มจงั หวัด อยู่ท่ี 439,159 บาทต่อปี ตารางที่ 2.11 แสดงรายไดโ้ ดยเฉลยี่ ตอ่ เดือนต่อครวั เรือนของกล่มุ จังหวดั พ.ศ.2558 – 2562 (หน่วย:บาท) จังหวัด 2558 2560 2562 ปทมุ ธานี 41,056.90 41,483.71 46,977.74 นนทบุรี 36,884.00 40,860.88 37,502.22 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 16

พระนครศรีอยุธยา 28,379.40 28,777.58 30,589.95 สระบรุ ี 29,413.40 35,378.49 30,532.34 อ่างทอง 23,350.60 25,457.20 26,484.17 25,821.05 สมุทรปราการ 23,555.00 นครนายก 28,711.77 24,729.42 25,119.93 25,784.78 ที่มา สำนกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ วันท่ี 30 ธนั วาคม 2563 50,000.00 แผนภูมิแสดงรำยไดโ้ ดยเฉลย่ี ต่อเดอื นต่อครัวเรอื นของกลุ่มจังหวัด 45,000.00 40,000.00 ๒๕๕๘ ๒๕๖๐ ๒๕๖๒ 35,000.00 30,000.00 25,000.00 20,000.00 15,000.00 10,000.00 5,000.00 0.00 แผนภูมทิ ่ี 2.6 แสดงรายไดโ้ ดยเฉล่ยี ตอ่ เดือนต่อครัวเรอื นของกลุม่ จังหวดั พ.ศ. 2558 – 2562 จากข้อมูลแสดงรายไดโ้ ดยเฉลย่ี ต่อเดือนต่อครัวเรือนของกลุม่ จังหวัด ในเขตพื้นทีร่ ับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี ปี พ.ศ. 2558 – 2562 เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบจังหวัดท่ีมีรายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือนต่อ ครัวเรือนสูงท่ีสุดในกลุ่มจังหวัดของแต่ละปี พบว่า ปี 2560 และ ปี 2562 ได้แก่ จังหวัดปทุมธานี ปี 2558 ไดแ้ ก่ จังหวดั นนทบุรี รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 17

ตารางที่ 2.12 แสดงหนสี้ ินเฉลยี่ ต่อครัวเรอื น จำแนกตามวัตถปุ ระสงคข์ องการกยู้ มื พ.ศ. 2558 – 2562 (หน่วย:บาท) จังหวัด วตั ถุประสงคข์ องการกยู้ ืม 2558 2560 2562 หนส้ี นิ ทั้งสิน้ 221,748.20 294.901.20 288,109.83 ปทุมธานี เพือ่ ใช้จา่ ยในครวั เรอื น 95829.00 97567.99 92,700.55 เพ่ือใช้ทำธุรกจิ ทไ่ี มใ่ ช่การเกษตร 7377.00 8647.09 17,437.82 6846.50 6242.83 3,595.20 เพอ่ื ใช้ทำการเกษตร 2690.12 1,322.28 เพ่อื ใชใ้ นการศึกษา 858 172,985.46 179751.17 เพอ่ื ใชซ้ อื้ /เชา่ ซ้ือบ้านและที่ดิน 110837.80 อื่นๆ 0 0 68.53 หนี้สินทงั้ สน้ิ 277605.70 288940.49 248,010.00 เพือ่ ใช้จ่ายในครวั เรอื น 58402.30 79697.04 70,459.78 เพอ่ื ใชท้ ำธุรกิจท่ไี มใ่ ช่การเกษตร 9718.10 39565.04 12,238.33 นนทบุรี เพื่อใช้ทำการเกษตร 0 742.99 8.51 เพอ่ื ใช้ในการศกึ ษา 1522.10 2793.66 1,093.64 เพ่อื ใช้ซอื้ /เช่าซือ้ บ้านและที่ดนิ 207012.80 165168.33 163,114.15 อ่นื ๆ 950.4 973.44 1,095.59 พระนครศรีอยุธยา หนส้ี ินท้ังสน้ิ 216815.60 234446.06 235,806.32 เพอ่ื ใชจ้ า่ ยในครวั เรอื น 75176.70 89837.60 55,507.07 เพอ่ื ใช้ทำธุรกิจที่ไม่ใชก่ ารเกษตร 41558.30 6440.03 8,938.66 เพ่อื ใชท้ ำการเกษตร 16499.60 9751.71 14,476.22 เพ่ือใชใ้ นการศึกษา 1,596.88 เพอ่ื ใช้ซอ้ื /เชา่ ซอ้ื บ้านและท่ดี นิ 926.4 649.38 155,287.49 82585.20 127767.34 อนื่ ๆ 69.3 0 0 หนส้ี ินทงั้ ส้นิ 197695.50 286459.92 245,176.16 เพ่ือใช้จา่ ยในครวั เรือน 94606.20 80715.15 101,593.64 เพอื่ ใชท้ ำธุรกจิ ที่ไมใ่ ช่การเกษตร 13295.00 33173.04 36,856.21 สระบุรี เพอ่ื ใชท้ ำการเกษตร 15895.20 37516.64 24,916.28 2296.40 1857.92 เพื่อใช้ในการศึกษา 71602.70 132536.24 764.83 เพื่อใชซ้ ื้อ/เช่าซอ้ื บ้านและท่ีดนิ 81,045.21 อนื่ ๆ 0 660.93 0 อา่ งทอง หนสี้ นิ ท้งั สน้ิ 132829.30 117941.63 120,418.10 เพ่ือใชจ้ า่ ยในครัวเรอื น 52689.40 76107.91 75,346.33 เพ่อื ใช้ทำธรุ กิจที่ไมใ่ ชก่ ารเกษตร 22275.80 5920.44 4,610.13 เพ่อื ใช้ทำการเกษตร 17828.10 16789.48 14,626.99 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวัดภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 18

จังหวัด วตั ถุประสงค์ของการกยู้ ืม 2558 2560 2562 สมทุ รปราการ เพือ่ ใชใ้ นการศกึ ษา 167 1901.15 3,284.08 16691.33 22,229.28 นครนายก เพื่อใชซ้ อ้ื /เช่าซื้อบ้านและที่ดิน 39759.90 531.32 321.29 อ่นื ๆ 109.1 179803.61 123,125.61 หน้สี นิ ทง้ั สน้ิ 87647.20 41492.81 31,163.09 เพ่ือใชจ้ ่ายในครัวเรอื น 40380.00 3025.70 1,164.97 เพอื่ ใชท้ ำธุรกจิ ทไ่ี มใ่ ชก่ ารเกษตร 1981.90 เพื่อใชท้ ำการเกษตร 212.26 - เพ่อื ใช้ในการศกึ ษา 0 568.94 555.91 เพือ่ ใชซ้ ้อื /เช่าซ้ือบา้ นและทด่ี ิน 160.1 134503.89 90,234.22 45125.20 อืน่ ๆ 0 7.43 0 หน้สี นิ ทั้งสนิ้ 112919.58 140,246.85 เพ่ือใช้จา่ ยในครัวเรอื น 144657.30 64349.01 77,811.01 เพอื่ ใช้ทำธุรกิจทไ่ี มใ่ ชก่ ารเกษตร 62550.20 13948.85 12,157.16 เพื่อใชท้ ำการเกษตร 13853.60 18218.50 18,009.25 เพอื่ ใชใ้ นการศกึ ษา 9253.60 1,394.05 เพอ่ื ใชซ้ ือ้ /เช่าซื้อบา้ นและที่ดนิ 1126.00 535.33 30,860.12 50820.90 15599.03 อื่นๆ 15.25 7053.00 268.85 ท่มี า สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ หมายเหตุ: หนีอ้ ่นื ๆ ไดแ้ ก่ หนจี้ ากการคำ้ ประกันบุคคลอ่นื หนค้ี ่าปรบั หรือจา่ ยชดเชยคา่ เสียหายเปน็ ตน้ รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 19

หนีส้ นิ เฉล่ยี ตอ่ ครัวเรือน 412.50, 0% 504,581.47, 36% 715,755.93, 51% 93,403.28, 7% 10,0117.56,76,312%.45, 5% เพ่อื ใชจ้ ่ำยในครวั เรอื น เพ่ือใชท้ ำธรุ กิจท่ไี ม่ใชก่ ำรเกษตร เพ่ือใชท้ ำกำรเกษตร เพ่ือใชใ้ นกำรศกึ ษำ เพ่อื ใชซ้ อื้ /เช่ำชอื้ บำ้ นและท่ดี ิน อ่นื ๆ แผนภูมิท่ี 2.7 แสดงหน้สี ินเฉล่ยี ต่อครวั เรอื น จำแนกตามวัตถปุ ระสงคข์ องการกู้ยืม พ.ศ. 2562 จากข้อมูลแสดงหนี้สินเฉล่ียต่อครัวเรือนจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืมของกลุ่มจังหวัด พ.ศ.2558 - 2562 จากการเปรยี บเทียบข้อมูล 5 ปีย้อนหลังหนี้สินเฉล่ียต่อครัวเรือนในพ้ืนที่เขตความรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี มีแนวโน้มที่ลดลง เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบวา่ ในปี 2562 จังหวัดปทุมธานี มี หน้ีสินเฉลี่ยต่อครัวเรือนจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืมสูงท่ีสุดในกลุ่มจังหวัด โดยวัตถุประสงค์ของการ กูย้ มื 3 อันดบั แรก คอื 1.เพื่อใช้เชา่ ซ้อื บา้ นและทด่ี ิน 2.เพ่ือใช้จา่ ยในครวั เรือน 3.เพอื่ ใช้ในการศึกษา รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 20

2.8 ข้อมูลภาคเี ครอื ข่าย ตารางท่ี 2.13 แสดงจำนวนองคก์ รภาคีเครือขา่ ย องค์กร ปทมุ ธานี นนทบรุ ี พระนครศรี สระบรุ ี อา่ งทอง สมทุ รปราการ นครนายก รวม อยุธยา 339 องคก์ ร 329 สาธารณประโยชน์ 362 562 ตาม พ.ร.บ. ส่งเสรมิ 75 53 39 48 35 65 53 123 41 การจัดสวสั ดิการ 118 สังคม 455 องคก์ รสวสั ดกิ าร 9845 ชุมชน ตาม พ.ร.บ. 121 สง่ เสริมการจัด 44 90 47 48 17 36 18 สวัสดกิ ารสงั คม กองทุนสวัสดิการ 61 40 68 51 51 46 45 สงั คม สภาเด็กและเยาวชน 64 52 157 125 64 55 45 สภาองคก์ รคนพกิ าร 22 36 22 8 18 7 10 ศนู ย์บริการคนพกิ าร 41 7 ทวั่ ไป ศนู ย์พัฒนาคณุ ภาพ ชีวติ และส่งเสรมิ 11 9 30 21 35 10 6 อาชพี ของผสู้ งู อายุ (ศพอส.) ศนู ยพ์ ัฒนา ครอบครวั ในชมุ ชน 48 54 91 118 51 48 45 (ศพค.) อาสาสมัครพฒั นา สงั คมและความ 1425 3125 1355 1640 771 998 712 มั่นคงของมนษุ ย์ (อพม.) โครงการบ้านมั่นคง 210 (พอช.) ขอ้ มลู คลงั ปัญญา 121 137 ผสู้ งู อายุ รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 21

ที่มา สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จงั หวดั ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2563 จากตารางท่ี 2.13 แสดงจำนวนองค์กรภาคีเครือข่ายในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จงั หวัดปทุมธานี ประกอบด้วย องค์กรสวัสดกิ ารชุมชน มจี ำนวน 329 องค์กร องค์กรสาธารณะประโยชน์ มีจำนวน 339 องคก์ ร กองทุนสวัสดิการชมุ ชน มจี ำนวน 362 กองทนุ สภาเด็กและเยาวชน มจี ำนวน 562 แห่ง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.) มีจำนวน 118 แห่ง สภาองค์กรคนพิการ 123 แห่ง ศูนย์พัฒนาครอบครัว (ศพค.) จำนวน 455 แห่ง และ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม) จำนวนท้ังส้นิ 9,845 คน รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 22

สว่ นที่ 3 สถานการณ์ทางสังคมของกลุ่มจงั หวัด 3.1 ข้อมลู สถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัด 3.1.1 กลุ่มเด็ก ตารางที่ 3.1.1 แสดงสถานการณเ์ ด็ก จำแนกตามจงั หวดั ปี 2564 (หนว่ ย:คน) โครงการเงนิ เดก็ กำพร้า เดก็ มี และเด็กใน พฤติกรรมที่ จงั หวัด จำนวน อุดหนุนเพือ่ ครอบครวั ไมเ่ หมาะสม การคลอดใน การเลี้ยงดู เลีย้ งเดยี่ ว วยั รนุ่ ปทุมธานี นนทบุรี เดก็ แรกเกดิ 1,043 380 พระนครศรีอยุธยา 234,231 20,833 1,295 8 294 621 สระบุรี 222,544 6940 ไม่มีข้อมลู 36 65 อ่างทอง 40 สมทุ รปราการ 167,059 22,921 ไมม่ ีข้อมลู 419 75 นครนายก 124,217 20,280 410 87 2,518 รวม 59,270 8,450 1,202 7 35, 261,593 8,267 611 5 50,475 3,165 ไมม่ ีข้อมลู 192 1,119,389 90,856 3,518 754 ทีม่ า รายงานสถานการณท์ างสังคมจังหวดั จากตารางท่ี 3.1.1 แสดงสถานการณเ์ ด็ก ในเขตพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบของ สสว.1 จงั หวัดปทมุ ธานี พบว่า มี เด็กจำนวนท้ังสิ้น 1,119,389 คน โดยได้ร่วมโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด จำนวน 90,856 คน เป็นเด็กกำพร้าและเด็กในครอบครัวเลี้ยงเด่ียว จำนวน 3,518 คน การคลอดในวัยรุ่น มีจำนวน 2,518 คน และเดก็ มพี ฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสม จำนวน 754 คน รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 23

3.1.2 กลมุ่ เยาวชน ตารางท่ี 3.1.2 แสดงสถานการณ์เยาวชน จำแนกตามจังหวัด ปี 2564 (หน่วย:คน) จงั หวดั จำนวน เยาวชนท่ีมีพฤตกิ รรม เยาวชนท่ถี ูกทารุณกรรมทาง ทไ่ี มเ่ หมาะสม ร่างกาย จิตใจ และทางเพศ ปทมุ ธานี 126,492 33 111 นนทบุรี 120,872 36 54 พระนครศรอี ยุธยา 72221 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมลู สระบรุ ี 72447 102 14 อา่ งทอง 27,032 ไมม่ ีข้อมลู ไม่มีขอ้ มูล สมุทรปราการ 136,189 3,110 79 นครนายก 28,662 ไม่มีข้อมลู ไมม่ ีขอ้ มลู รวม 583,915 3,281 258 ทมี่ า รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวัด จากตารางที่ 3.1.2 แสดงสถานการณ์เยาวชน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มีเยาวชนจำนวนทั้งสิ้น 583,915 คน ทั้งนเ้ี ยาวชนทีม่ ีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมมีจำนวน 3,281 คน และ มีเยาวชนทีถ่ ูกทารุณกรรมทางรา่ งกาย จิตใจ และทางเพศ จำนวน 258 คน รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 24

3.1.3 กลมุ่ สตรี ตารางที่ 3.1.3 แสดงสถานการณ์กลุ่มสตรี จำแนกตามจงั หวัด ปี 2564 จงั หวัด จำนวน สตรีทถ่ี กู ละเมดิ สตรที ีถ่ กู ทำรา้ ย แมเ่ ล้ยี งเดย่ี ว (หน่วย:คน) ทางเพศ รา่ งกายและจิตใจ ฐานะยากจนท่ี ปทมุ ธานี ต้องดบู ตุ รโดย สตรีทถ่ี ูกเลิกจา้ ง/ตก นนทบุรี 343,009 1 2 งาน 675,125 6 9 ลำพัง พระนครศรอี ยธุ ยา ไมม่ ีการ 4,903 426,109 รายงาน 18 1,295 ไมม่ ีการรายงาน สระบรุ ี 0 6,940 ไม่มีการรายงาน อ่างทอง 164,226 ไมม่ ีการ 24 ไม่มีการ สมทุ รปราการ รายงาน ไมม่ ีการ รายงาน 574 นครนายก 182,682 0 รายงาน 1,177 ไมม่ ีการรายงาน 1 ไม่มีการ รวม 709,953 7 15 รายงาน 23,030 131,595 8 563 2,632,699 76 611 3,165 29,070 13,188 ทม่ี า รายงานสถานการณท์ างสงั คมจงั หวัด จากตารางที่ 3.1.3 แสดงสถานการณ์กลุ่มสตรี ในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มี จำนวนสตรที ั้งส้ิน 2,632,699 คน โดยมีสตรีที่ถูกเลิกจ้างงาน/ตกงาน จำนวน 29,070 คน แม่เล้ียงเดี่ยวฐานะ ยากจนทตี่ ้องดูบุตรโดยลำพงั จำนวน 13,188 คน สตรีท่ีถกู ทำร้ายร่างกายและจิตใจ จำนวน 76 คน และสตรี ท่ีถกู ละเมดิ ทางเพศ จำนวน 7 คน ตามลำดบั รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 25

3.1.4 กลมุ่ ครอบครัว ตารางที่ 3.1.4 แสดงสถานการณ์กลุ่มครอบครัวจำแนกตามจังหวัด ปี 2564 ครอบครัวท่ีมี (หนว่ ย:คน) จังหวดั จำนวน ครอบครัว คนใน ครอบครวั ครอบครวั หย่ารา้ ง ครอบครวั แหว่งกลาง ยากจน ปทมุ ธานี 500,792 กระทำความ นนทบรุ ี 473,689 6,438 339,371 รนุ แรง 2,777 พระนครศรอี ยธุ ยา 138,357 3,386 72,265 3,043 107 1,920 2,324 สระบรุ ี 646,407 ไม่มีขอ้ มลู อ่างทอง 103,182 2,755 ไมม่ ีขอ้ มูล ไมม่ ีข้อมูล 8,974 สมุทรปราการ 2,274,063 4,908 นครนายก 1,160 21 ไม่มีขอ้ มูล 28,807 รวม 1,938 18 216 ไม่มีขอ้ มูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีขอ้ มลู 3,726 23 - 510 18 575 13,132 187 2,711 ท่มี า รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด จากตารางที่ 3.1.4 แสดงสถานการณ์กล่มุ ครอบครวั ในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มีครอบครัวจำนวน 2,274,063 ครอบครัว โดยมีครอบครัวยากจนจำนวน 28,807 ครอบครัว ครอบครัวหย่า ร้าง จำนวน 13,132 ครอบครัว ครอบครัวแหว่งกลาง จำนวน 2,711 คน และครอบครัวท่ีมีคนในครอบครัว กระทำความรนุ แรง จำนวน 187 ครอบครัว ตามลำดับ รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 26

3.1.5 กลมุ่ ผู้สูงอายุ ตารางท่ี 3.1.5 แสดงสถานการณ์ผสู้ ูงอายุ จำแนกตามจังหวดั ปี 2564 (หนว่ ย:คน) จงั หวัด จำนวน ผสู้ ูงอายทุ ่ี ผสู้ ูงอายุทยี่ ัง ผูส้ งู อายุที่ ผู้สูงอายุทตี่ อ้ ง ผู้สูงอายทุ ่ีถกู ผสู้ งู อายทุ ี่ ได้รบั เบีย้ ยงั ไมไ่ ด้รบั เบย้ี ช่วยเหลือ ดำรงชพี ดว้ ย กระทำความ รับภาระดแู ล ปทมุ ธานี ตัวเองไม่ได้ การเร่รอ่ น รนุ แรงทาง นนทบุรี ชพี ยงั ชพี รา่ งกายหรือ บคุ คลใน ขอทาน ครอบครัว พระนครศรีอยุธยา จติ ใจ 175,261 33,210 5,568 2,809 21 - สระบรุ ี 204,536 186,514 17,955 44 1 อ่างทอง 158,816 135,570 23,246 ไมม่ ขี ้อมูล 26 สมทุ รปราการ 113,749 96,940 16,809 ไม่มีขอ้ มูล 3 ไมม่ ีข้อมลู นครนายก 62,699 54,868 7,801 809 ไมม่ ีขอ้ มูล 220,602 179,286 42,530 82 323 8 ไม่มีข้อมูล รวม 53,408 53,408 738 8 989,071 739,796 0 2,011 422 5 112 113,909 437 6,886 ไมม่ ีขอ้ มลู ไม่มีข้อมลู 3- 6 ไมม่ ีขอ้ มูล 26 112 ทีม่ า รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัด จากตารางที่ 3.1.5 แสดงสถานการณ์ผู้สูงอายุ ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มี ผสู้ ูงอายุจำนวน จำนวน 989,071 คน โดยมผี ู้สงู อายทุ ีไ่ ดร้ บั เบี้ยยังชีพ จำนวน 739,796 คน ผสู้ งู อายุที่ยังไม่ได้ รบั เบ้ียยงั ชพี จำนวน 113,909 คน ผู้สูงอายุท่ีช่วยเหลือตนเองไม่ได้ จำนวน 6,886 คน ผู้สูงอายุที่ตอ้ งดำรงชีพ ด้วยการเร่รอ่ น ขอทาน จำนวน 422 คน ผูส้ งู อายุท่รี บั ภาระดแู ลบุคคลในครอบครวั 112 คน และผู้สงู อายุท่ถี ูก กระทำความรนุ แรงทางรา่ งกายหรือจิตใจ จำนวน 26 คน ตามลำดบั รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 27

3.1.6 กลมุ่ ผู้พิการ ตารางที่ 3.1.6 แสดงสถานการณผ์ ู้พิการ จำแนกตามจงั หวดั ปี 2564 (หน่วย:คน) จังหวัด จำนวน คนพกิ ารที่ คนพกิ ารที่ คนพกิ าร คนพกิ าร คนพกิ ารท่ี มบี ัตร ได้รับเบี้ย ทไ่ี มไ่ ด้ มคี วาม อยู่คน ยงั ชีพ รับเบี้ย ตอ้ งการ เดยี วตาม ประจำตวั ยังชพี กาย ลำพงั /ไม่ คนพกิ าร อุปกรณ์ มผี ู้ดแุ ล ปทมุ ธานี 21,996 21996 16353 918 5 144 นนทบรุ ี 22,009 1054 20661 284 10 ไมม่ ีข้อมูล พระนครศรอี ยธุ ยา 23,245 23245 22461 784 - - สระบุรี 21,080 21080 20910 170 10 2 อ่างทอง 9,265 ไมม่ ีขอ้ มูล ไม่มีขอ้ มลู ไม่มี ไม่มี ไมม่ ีข้อมลู ข้อมูล ข้อมลู สมุทรปราการ 27,510 22,359 19,617 7,893 - - นครนายก 9,307 ไมม่ ีขอ้ มลู ไมม่ ีข้อมลู ไม่มี ไมม่ ี ไม่มีข้อมลู ขอ้ มลู ขอ้ มลู รวม 106,902 89,734 100,002 10,049 25 146 ท่มี า รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวัด. จากตารางที่ 3.1.6 แสดงสถานการณ์คนพิการ ในเขตพนื้ ที่รบั ผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทมุ ธานี พบว่า มีคน พิการ จำนวน 106,902 คน โดยคนพกิ ารได้รับเบยี้ ยังชีพ จำนวน 100,002 คน คนพกิ ารทมี่ ีบัตรประจำตวั คน พิการ จำนวน 89,734 คน คนพกิ ารท่ีไม่ได้รบั เบีย้ ยงั ชีพ จำนวน 10,049 คน คนพิการท่ีอยคู่ นเดียวตามลำพัง/ ไมม่ ีผู้ดแู ล 146 คน และคนพิการมีความต้องการกายอปุ กรณ์ จำนวน 25 คน ตามลำดบั รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 28

3.1.7 กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ตารางท่ี 3.1.7 แสดงสถานการณ์ผ้ดู อ้ ยโอกาส จำแนกตามจังหวดั ปี 2564 (หน่วย:คน) จังหวดั จำนวน คนไร้ทพ่ี ่งึ ผูแ้ สดง ผตู้ ิดยาเสพ ผู้ติดเชือ้ HIV ปทุมธานี ความสามารถ ติด 1,928 535 160 1,142 91 นนทบุรี 4,014 135 15 3,085 774 5,220 839 38 - 4,343 พระนครศรอี ยุธยา 20 246 736 75 395 สระบุรี อา่ งทอง 58 5 53 ไมม่ ีข้อมูล ไม่มีขอ้ มลู สมทุ รปราการ 829 518 64 3,958 12,244 ไม่มีข้อมูล ไมม่ ีขอ้ มลู ไมม่ ีขอ้ มูล นครนายก ไมม่ ีข้อมูล ไมม่ ีข้อมลู รวม 12,785 2,107 350 8,431 17,847 ทมี่ า รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั จากตารางท่ี 3.1.7 แสดงสถานการณ์ผู้ดอ้ ยโอกาส ในเขตพื้นที่รบั ผิดชอบของ สสว.1 จงั หวดั ปทมุ ธานี พบว่า มี ผดู้ ้อยโอกาสจำนวน 28,740 คน โดยมีผู้ติดเชอ้ื HIV จำนวน 17,847 คน มีผูต้ ิดยาเสพตดิ 8,431 คน คนไร้ที่ พึ่ง จำนวน 2,107 คน และผแู้ สดงความสามารถ จำนวน 350 คน รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 29

สว่ นที่ 4 5.1 สถานการณ์เชิงกลุ่มเป้าหมายในพืน้ ท่ีกลุม่ จงั หวดั 5.1.1 กลุ่มเดก็ ตารางที่ 5.1.1 แสดงผลการจัดลำดับความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสงั คมกล่มุ จังหวัด กล่มุ เด็ก ปี 2564 ลำดบั ท่ี ประเดน็ สถานการณก์ ลุม่ เป้าหมาย จำนวน (หนว่ ย:คน) 1 23,998 2 เดก็ ในครอบครัวยากจน 1,719 คิดเป็นร้อยละ การตงั้ ครรภก์ ่อนวนั อันควรในวยั รุ่น 2.18 3 เด็กและเยาวชนท่ีมพี ฤติกรรมทไ่ี ม่ 805 0.15 เหมาะสม 0.07 จากตารางที่ 5.1.1 สถานการณก์ ลุม่ เด็กในเขตพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่าสถานการณ์ที่ มีความรุนแรงมากท่ีสุดคือ เด็กในครอบครัวยากจน มีจำนวน 23,998 คน คิดเป็นร้อยละ 2.18 รองลงมา คือ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น มีจำนวน 1,719 คน คิดเป็นร้อยละ 0.15 และเด็กท่ีมีพฤติกรรมท่ีไม่ เหมาะสม มจี ำนวน 805 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.07 5.1.2 กลุ่มเยาวชน ตารางท่ี 5.1.2 แสดงผลการจัดลำดบั ความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุม่ จงั หวดั กลุ่มเยาวชนปี 2564 ลำดบั ท่ี ประเด็นสถานการณก์ ลมุ่ เป้าหมาย จำนวน (หน่วย:คน) 1 33 2 เยาวชนที่มีพฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสม 11 คิดเปน็ ร้อยละ เยาวชนที่ถกู ทารุณกรรมทางร่างกาย 0.005 3 จติ ใจ ทางเพศ 3 0.001 เยาวชนทตี่ อ้ งดำรงชีพดว้ ยการเรร่ ่อน ขอทาน ไรท้ ี่พึง่ จิตเวช 0.0005 จากตารางท่ี 5.1.2 สถานการณ์กลุ่มเยาวชนในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า สถานการณ์ท่ีมีความรุนแรงมากท่ีสุดคือ เยาวชนที่มีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม มีจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 30

0.005 รองลงมา คือ เยาวชนท่ีถูกทารุณกรรมทางร่างกาย จิตใจ ทางเพศ มีจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 0.001 และเยาวชนท่ถี ูกทารณุ กรรมทางรา่ งกาย จติ ใจ ทางเพศ มีจำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.0005 5.1.3 กลุ่มสตรี ตารางท่ี 5.1.3 แสดงผลการจดั ลำดับความรุนแรงของสถานการณท์ างสงั คมกล่มุ จงั หวัด กล่มุ สตรี ปี 2564 ลำดบั ที่ ประเดน็ สถานการณ์กลุ่มเปา้ หมาย จำนวน (หนว่ ย:คน) 1 11,400 2 แมเ่ ล้ยี งเด่ียว 5,466 คิดเป็นร้อยละ สตรีถกู เลกิ จา้ งงาน ตกงาน 0.72 3 สตรที ่ีไดร้ ับการทำรา้ ยรา่ งกายจติ ใจท่ี 56 0.34 ได้รับแจ้งเหตุ 0.003 จากตารางท่ี 5.1.3 สถานการณ์กลุม่ สตรีในเขตพืน้ ที่รับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบวา่ สถานการณ์ที่ มีความรุนแรงมากที่สุดคือ แม่เลี้ยงเด่ียว มีจำนวน 11,400 คน คิดเป็นร้อยละ 0.72 รองลงมา คือ สตรีถูกเลิก จ้างงาน ตกงาน มีจำนวน 5,466 คน คิดเป็นร้อยละ 0.34 และสตรีท่ีได้รับการทำร้ายร่างกาย จิตใจ ท่ีได้รับ แจ้งเหตุ มจี ำนวน 56 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.003 5.1.4 กลมุ่ ครอบครวั ตารางที่ 5.1.4 แสดงผลการจัดลำดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดกลมุ่ ครอบครัวปี 2564 ลำดับท่ี ประเด็นสถานการณก์ ลมุ่ เปา้ หมาย จำนวน (หนว่ ย:คน) 1 ครอบครัวยากจน TPMAP 66,136 คิดเปน็ ร้อยละ 2 ครอบครวั หย่ารา้ ง 7,468 2.87 3 ครอบครวั แหวง่ กลาง 575 0.32 0.025 จากตารางที่ 5.1.4 สถานการณ์กลุ่มครอบครัวในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า สถานการณท์ ี่มีความรุนแรงมากทส่ี ุดคือ ครอบครัวยากจน TPMAP มีจำนวน 66,136 คน คิดเป็นร้อยละ 2.87 รองลงมา คอื ครอบครัวหย่าร้าง มีจำนวน 7,468 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.32 และครอบครัวแหวง่ กลาง มจี ำนวน 575 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.0025 รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 31

5.1.5 กลมุ่ ผู้สงู อายุ ตารางที่ 5.1.5 แสดงผลการจดั ลำดับความรนุ แรงของสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั กลุ่มผู้สูงอายุปี 2564 ลำดบั ท่ี ประเด็นสถานการณก์ ลุ่มเปา้ หมาย จำนวน (หน่วย:คน) 1 23,523 2 ผู้สงู อายทุ ี่ยังไมไ่ ด้เบ้ยี ยงั ชีพ 4,055 คดิ เปน็ ร้อยละ ผสู้ ูงอายทุ ี่ชว่ ยเหลือตัวเองไม่ได้(ติดเตียง) 2.32 3 ผสู้ ูงอายุท่ีต้องดำรงชีพด้วยการเรร่ อ่ น 99 0.40 ขอทาน ไร้ท่ีพ่งึ จิตเวช 0.009 จากตารางท่ี 5.1.5 สถานการณก์ ล่มุ ผสู้ งู อายใุ นเขตพ้นื ที่รบั ผดิ ชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า สถานการณ์ที่มคี วามรนุ แรงมากท่สี ดุ คือ ผสู้ ูงอายุท่ยี งั ไมไ่ ดเ้ บ้ียยงั ชีพ มีจำนวน 23,523 คน คิดเปน็ ร้อยละ 2.32 รองลงมา คือ ผ้สู งู อายทุ ี่ชว่ ยเหลอื ตวั เองไม่ได้ (ติดเตยี ง) มีจำนวน 4,055 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.40 และ ผู้สูงอายทุ ตี่ ้องดำรงชีพดว้ ยการเร่ร่อน ขอทาน ไรท้ ่ีพึง่ จิตเวช มจี ำนวน 99 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.009 5.1.6 กลมุ่ พิการ ตารางท่ี 5.1.6 แสดงผลการจดั ลำดบั ความรุนแรงของสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จงั หวัด กลุ่มพิการ ปี 2564 ลำดบั ท่ี ประเด็นสถานการณก์ ลุม่ เปา้ หมาย จำนวน (หนว่ ย:คน) 1 คนพกิ ารทีไ่ มไ่ ด้รับเบยี้ ความพิการ 10,049 2 คนพิการทอี่ ยู่คนเดียวลำพัง 146 คดิ เปน็ ร้อยละ 9.4 0.14 จากตารางที่ 5.1.6 สถานการณ์คนพิการในเขตพืน้ ที่รับผดิ ชอบของสสว.1 จงั หวัดปทมุ ธานี พบวา่ สถานการณท์ ่ี มคี วามรนุ แรงมากที่สดุ คือ คนพิการท่ีไม่ไดร้ บั เบีย้ ความพิการ มีจำนวน 10,049 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 9.4 และ คนพิการทอ่ี ยู่คนเดียวลำพัง มีจำนวน 146 คน คิดเป็นร้อยละ 0.14 5.1.7 กลมุ่ ผ้ดู ้อยโอกาส ตารางท่ี 5.1.7 แสดงผลการจดั ลำดบั ความรุนแรงของสถานการณท์ างสงั คมกล่มุ จงั หวัด กลุม่ ผ้ดู อ้ ยโอกาส ปี 2564 รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 32

ลำดบั ที่ ประเด็นสถานการณก์ ลุ่มเป้าหมาย จำนวน (หน่วย:คน) 1 2 การติดเช้อื HIV 5,117 คดิ เป็นร้อยละ ติดยาเสพติด 4,227 18 3 คนไร้ท่ีพึ่ง คนเรร่ ่อน ขอทาน ผปู้ ่วยจติ 1,574 14.70 เวช 5.48 จากตารางท่ี 5.1.7 สถานการณ์กลุ่มผู้ด้อยโอกาสในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า สถานการณ์ท่ีมคี วามรุนแรงมากที่สุดคือ การตดิ เช้ือ HIV มีจำนวน 5,117 คน คิดเป็นร้อยละ 18 รองลงมา คือ ติดยาเสพติด มีจำนวน 4,227 คน คิดเป็นร้อยละ 14.70 และคนไร้ที่พ่ึง คนเร่ร่อน ขอทาน ผู้ป่วยจิตเวช มี จำนวน 1,574 คน คิดเปน็ ร้อยละ 5.48 5.2 สถานการณ์เชงิ ประเดน็ สำคัญในพ้ืนท่ีกลมุ่ จงั หวดั 5.2.1 สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อโควดิ -19 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 ระลอกใหม่ ที่เริ่มต้ังแต่เดือนธันวาคม 2563 มจี ำนวนผู้ตดิ เชือ้ เพ่ิมสูงข้นึ อยา่ งรวดเร็ว แตด่ ้านมาตรการจำกัดการระบาดกลับมีความเข้มงวดน้อยกว่า ท้ังในแง่จำนวนมาตรการและขนาดของพื้นที่ควบคุม และคาดว่าอาจจะผ่อนคลายเร็วกว่า อีกท้ังประชาชน น่าจะเร่ิมคุน้ เคยกบั การใช้ชวี ิตอยู่กับการระบาดที่มผี ตู้ ิดเชื้ออยู่ระดับหน่งึ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งเป็นศูนยเ์ ลยเหมือนเช่น การควบคุมในระลอกแรก ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีเป็นไปได้ยาก เนื่องจากการระบาดระลอกใหม่มีแหล่งที่มาจากแรงงาน ต่างชาติที่ทำงานอยู่ในประเทศไทยและมีการเดินทางไปมาระหวา่ งประเทศไทยและประเทศตนเอง เช่น เมียน มา และนำเช้ือเข้ามาประเทศไทย ทำให้ยากลำบากในการตรวจสอบและคุมเข้มเพราะไม่สามารถป้องกันด่าน ชายแดนธรรมชาติได้ท้ังหมด จะเห็นไดว้ า่ จนถึงปัจจุบนั กย็ งั มกี ารระบาดในกลุ่มแรงงานตา่ งชาติ อีกทั้งแรงงาน ต่างชาตินี้มีจำนวนมากและอยู่กันอย่างแออัด เพิ่มโอกาสแพร่เช้ือระหว่างกันเองและไปสู่คนไทย คาดว่าการ ระบาดระลอกใหม่คงไม่หมดไปอย่างรวดเร็วเหมือนรอบแรกธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ประมาณการ ผลกระทบการระบาดของเชอ้ื COVID-19 ระลอกใหม่ ว่า จะกระทบแรงงานจำนวน 4.7 ล้านคน แบ่งเป็น 1.1 ลา้ นคนมคี วามเส่ียงทจ่ี ะตกงาน และอีก 3.6 ล้านคนมีความเส่ยี งที่รายไดจ้ ะลดลงอยา่ งมาก นอกจากน้ยี งั พบว่า เงินออมโดยรวมที่เคยเพิ่มขึ้นหลังการระบาดระลอกแรก มีแนวโน้มลดลงท่ามกลางการระบาดระลอกใหม่ ซ่ึง อาจแสดงถึงความสามารถในการรองรบั ผลกระทบน้อยลงสำหรับประชาชนบางกลุ่ม สำหรบั ผลทางเศรษฐกิจท่ี ลากยาวและรุนแรงสำหรับคนบางกลุ่ม จะส่งผลกระทบด้านสังคมที่จะตามมาอีกหลากหลายโดยเฉพาะใน ประชาชนกลุ่มเปราะบาง พบว่า กลุ่มเปราะบางได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมมากกว่ากลุ่มอื่นตั้งแต่ ระลอกแรก โดยส่วนหนึ่งเป็นเพราะผู้หารายไดห้ ลักในครอบครวั กล่มุ เปราะบางมักทำงานนอกระบบ ขาดความ รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 33

มั่นคงของการทำงานและรายได้อยู่แล้วก่อนเกิดการระบาด จึงมักเป็นกลุ่มแรกๆ ท่ีถูกกระทบแรงในแง่การ สูญเสียรายได้ ในขณะท่ีผลกระทบทางด้านสังคมก็ถูกกระทบแรงกว่ากลุ่มอื่น เช่น เด็กในครอบครัวยากจนมี ความสามารถในการเรียนรู้ออนไลน์น้อยกว่าเด็กฐานะดี ผู้ปกครองก็มีความพร้อมและความสามารถในการ เรียนร่วมกับลูกน้อยกว่า คนแก่ที่มีโรคประจำตัวในครอบครัวเปราะบางก็เข้าถึงบริการทางการแพทย์ลดลง มากกวา่ เป็นตน้ คำสั่งศูนยบ์ ริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 11/2564 เรื่อง พ้ืนท่สี ถานการณ์ท่กี ำหนดเปน็ พ้ืนท่ีควบคมุ สูงสดุ และเข้มงวด และพ้นื ที่ควบคมุ ตามข้อกำหนด ออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 สาระสำคัญของประกาศ คือ ปรับพ้ืนที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) จากเดิม 13 จังหวัด เป็น 29 จังหวัด ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร นครปฐม ชลบุรี ฉะเชิงเทรา พระนครศรีอยุธยา กาญจนบุรี ตาก นครนายก นครราชสีมา ประจวบคีรีขันธ์ ปราจนี บุรี เพชรบุรี เพชรบูรณ์ ระยอง ราชบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี สมุทรสงคราม สระบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง กลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนท่ี รับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 ได้แก่ ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา นครนายก สระบุรี อ่างทอง เป็นพื้นท่ีควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ทุกจังหวัด เนื่องจากเป็น พื้นท่ีที่มีจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะไวรัสกลายพันธุ์ ชนิดสายพันธเุ์ ดลตาทีเ่ ชอ้ื โรคสามารถแพรก่ ระจายและติดตอ่ กนั ได้ง่าย กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ ไดจ้ ัดให้มีศูนยช์ ่วยเหลือสงั คม สายด่วน 1300 ให้บริการ 24 ชั่วโมง เพ่ือรองรับเร่ืองราวร้องทุกข์ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ประชาชนท่ีได้รับผลกระทบ รวมถึงให้ข้อมูลที่ถูกต้องเก่ียวกบั มาตรการเยียวยาของรฐั บาล และสิทธปิ ระโยชน์ตา่ งๆ ของกระทรวงฯ และยัง มีโครงพัฒนาเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเพ่ือเพิ่มทางเลือกในการสร้างรายได้ ตามแนวพระราชดำริ เศรษฐกิจพอเพียง โดยสำนักงานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวัด เพื่อเพ่ิมทักษะในการนำไปเป็น ทางเลือกในการประกอบอาชีพ และพัฒนาศักยภาพของกลุ่มเป้าหมาย นอกจากน้ีหน่วยงานต่ างๆ ได้มี มาตรการหรือนโยบายออกมามากมายในการฟ้ืนฟคู ุณภาพชีวิต อาทิ 1) กรมพัฒ นาสังคมและสวัสดิการ มีการจัดท่ีพักให้คนไร้ที่พ่ึง คนไร้บ้าน ทั้งใน กรุงเทพมหานครและจังหวดั ท่ัวไประเทศ และมีแผนการขับเคล่อื นมาตรการช่วยเหลือเยยี วยาผู้ประสบปัญหา ทางสังคมเรง่ ด่วนในพนื้ ทีท่ ว่ั ประเทศจากสถานการณก์ ารระบาดของโควิด-19 2) สถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน (องค์การมหาชน) มมี าตรการพักชำระหน้ีองคก์ รให้ผใู้ ช้สนิ เชื่อ ท่ีได้รับผลกระทบจากโควิด 19 การจัดตั้งครัวชุมชนเพ่ือช่วยเหลือผู้ยากไร้ในชุมชนเมือง การสนับสนุนการ จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้มีรายได้น้อยในเมืองและชนบท และการสนับสนุนตลาดนัดองค์กร ชุมชนออนไลน์ การเปิดเพจใน Facebook และไดจ้ ัดทำโครงการขอรับการสนับสนุนจากสำนักสภาพัฒนาการ เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ภายใตโ้ ครงการฟน้ื ฟูคุณภาพชีวติ ของชุมชนทอ้ งถิน่ สคู่ วามมั่นคงในเศรษฐกิจ และ ทุนชุมชนฐานรากตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยพลังเครือข่ายองค์กรชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ไข รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 34

ปัญหาวิกฤตการณ์เฉพาะหน้า พร้อมสนับสนุนกิจกรรมการจ้างงานในพ้ืนท่ี สร้างโอกาสให้กับคนรุน่ ใหม่ สร้าง ความม่ันคงทางเศรษฐกิจ และทุนชมุ ชนฐานรากตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง สู่การสร้างมูลคา่ ทางเศรษฐกิจ คุณค่าทางสังคม และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาและขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาที่ ส่งผลกระทบต่อชมุ ชนและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน โดยใช้พ้ืนทเี่ ป็นตัวตง้ั และสานพลังความร่วมมือ สูก่ าร พัฒนาดัชนีช้ีวัดการเปล่ียนแปลงของชุมชน โดยมีพื้นท่ีดำเนินการและกลุ่มเป้าหมาย 77 จังหวัด โดยเน้นผู้ ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019/ผู้มีรายได้น้อย/ผู้ด้อยโอกาสในพื้นท่ี 7,825 ตำบล/เมือง 1.56 ครัวเรือน ซึ่งเป็นคนฐานราก/ผู้ได้รับผลกระทบในตำบล/เมือง ประมาณร้อยละ 20 ของครัวเรือนในตำบล/เมือง หรือเฉลี่ยตำบล/เมืองละ 200 ครัวเรือน และมีเครือข่ายองค์กรชุมชน เครือข่าย ภาคประชาชนในพ้ืนที่ เป็นกลไกในการขับเคล่ือนร่วมกับท้องถิ่น ท้องท่ี ภาคประชาสังคม หน่วยงานภาครัฐ และภาคีทกุ ภาคสว่ น 3) กรมกิจการเด็กและเยาชน มีโครงการช่วยเหลือเด็กที่อาศัยในครอบครวั ท่ีได้รับผลกระทบ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) มีการจัดกิจกรรม “เด็กสภาฯ Market Place” เพ่ือเพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้าของครอบครัวสภาเด็กและเยาวชน และผู้ที่ได้รับ ผลกระทบผา่ นทางช่องทางออนไลน์ Facebook กลมุ่ “เด็กสภาฯ Market Place” 4) กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ มีการช่วยเหลือเยียวยาบรรเทาความ เดือดร้อนในช่วยสถานการณ์โควิด-19 ให้กับคนพิการทุกคนท่ีมีบัตรประจำตัวคนพิการ และมีการช่วยเหลือ ครอบครัวคนพิการ มีโครงการส่งเสริมและฝึกทักษะอาชีพคนพิการให้เหมาะสมสำหรับ New Normal เพื่อ รองรับการฝกึ อาชพี สำหรับคนพิการ และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด 5) กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว มีบริการจัดที่พักและฝึกอาชีพ แม่เลี้ยงเด่ียว สตรี ตกงาน มีหลักสูตรฝึกอาชีพระยะส้ัน Online เผยแพร่ผ่าน YouTube ให้แก่สตรี และทุกเพศสภาพใน ครอบครวั ได้เรยี นรู้เพ่มิ พนู ทักษะ เป็นการเสรมิ สร้างรายได้แกผ่ ูป้ ระสบปัญหาที่ได้รบั ผลกระทบจากโควิด-19 6) กรมกิจการผู้สูงอายุ มีโครงการสงเคราะห์ผู้สูงอายุท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การ แพร่ระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) การพักชำระหน้ีผู้สูงอายุที่กู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพจาก กองทุนผู้สงู อายุทุกคนเป็นระยะเวลา 1 ปี (ต้ังแต่วนั ท่ี 1 เมษายน 2563 – 31 มีนาคม 2564) การส่งเสรมิ และ พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (เช่ียวชาญด้านผู้สูงอายุ) ทุกจังหวัดท่ัว ประเทศ รวมถึงมีการพัฒนาอาชีพผู้สูงอายุในวิถีปกติใหม่ (New Normal) เช่น การจัดทำหลักสูตรออนไลน์ (YouTube) จำนวน 10 อาชีพ การจัดทำ “สูงอายุมาร์เกตเพลส Market Place” เพื่อเป็นช่องทางการ จำหน่ายสนิ ค้าออนไลน์ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้สงู อายุมรี ายไดแ้ ละโอกาสใหม่ ในการทำงานชว่ ง Covid-19 ตารางที่ 5.2.1 แสดงผลจำนวนผ้ตู ดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกใหม่เดือนเมษายน - สงิ หาคม 2564 หนว่ ย : คน ผูต้ ดิ เชอื้ สะสม ผเู้ สียชีวติ ปทมุ ธานี 31,840 513 นนทบรุ ี 38,350 278 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 35

พระนครศรีอยุธยา 21,134 198 สระบุรี 19,320 189 อา่ งทอง 8,202 75 สมทุ รปราการ 81,201 839 นครนายก 7,506 81 รวม 207,553 2,173 ท่มี า : ศนู ย์บรหิ ารสถานการณแ์ กไ้ ขการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19 (Covid-19) จงั หวดั จากตารางท่ี 5.2 สถานการณ์ผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของสสว.1 จังหวัด ปทุมธานี พบว่าจังหวัดที่มีผู้ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 มากท่ีสุด คือ จังหวัดสมุทรปราการ มีผู้ติดเชื้อจำนวน 81,201 คน รองลงมาได้แก่ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สระบุรี อ่างทอง และ นครนายก ตามลำดบั 5.2.2 สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว ความรุนแรงในครอบครัวปัญหาทท่ี ั่วโลกกำลังเผชญิ อยู่ ความรุนแรงในครอบครวั (domestic violence) คอื การทำร้ายร่างกาย จติ ใจ บังคับข่มเหง จากบุคคลในครอบครัว อันเกดิ มาจากหลายสาเหตุ ไม่ว่า จะเป็นสภาพแวดล้อม การติดการพนัน สุรา ยาเสพติด หรือความเครียดจากเศรษฐกิจ ทำให้ก่อความรุนแรง สรา้ งความเจบ็ ปวด ทกุ ข์ทรมานต่อร่างกายและจิตใจของผ้ทู ี่ถูกกระทำ ปัญหาความรนุ แรงในประเทศไทยไมใ่ ช่ ปญั หาที่เพิ่งเกิดขึ้น แต่เป็นปัญหาที่มีมานาน และคนในสังคมอาจจะเพิกเฉยต่อความรุนแรงเหล่าน้ี โดยมองว่า เป็นเรื่องภายในครอบครัว จากข้อมูลของศูนย์ปฏิบัติการสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว เปิดเผยสถิติ ความรนุ แรงที่เกิดขน้ึ ในครอบครัวต้ังแต่ปี 2559-2563 มแี นวโน้มสงู ขึ้นคิดเป็น 1,400 ราย/ปี และความรุนแรง ในครอบครัวส่วนใหญ่มักเกิดข้ึนกับเด็กและสตรี จากผลการสำรวจในช่วงเดือนตุลาคม 2562-เมษายน 2563 พบวา่ 87% เปน็ ความรนุ แรงทางรา่ งกาย 9% เปน็ ความรุนแรงทางเพศ และ 4% เปน็ ความรุนแรงทางจติ ใจ ในช่วงที่มีการระบาดของโควิด-19 ความรุนแรงในครอบครัวของประเทศไทยเพ่ิมสูงข้ึนถึง 66% ซงึ่ สาเหตสุ ่วนใหญ่มาจากเรือ่ งความเครียดทางเศรษฐกิจทีส่ ่งผลตอ่ รายไดใ้ นครอบครัวและการใช้สารเสพ ติด ยังมีข้อมูลจากองค์การสหประชาชาติท่ีระบุอีกว่า ประเทศไทยติด 1 ใน 10 ของประเทศท่ีมีสถิติความ รนุ แรงต่อเด็กและสตรีมาอย่างตอ่ เนอ่ื ง ขณะที่การใช้ความรนุ แรงในประเทศไทยเพ่ิมสงู ขนึ้ ในช่วงที่มีการระบาด ของโควิด-19 ในต่างประเทศเองก็เช่นเดียวกัน Wan Fei ผู้ก่อต้ังองค์กรต่อต้านความรุนแรงในเมืองจิงโจว มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน ได้ให้สัมภาษณ์กับนิตยสาร Sixth Tone ว่า นับตั้งแต่จีนล็อกดาวน์ประเทศ ความ รุนแรงในครอบครัวเพ่ิมข้ึนถึงสองเท่า และแฮชแท็ก #AntiDomesticViolenceDuringEpidemic ก็ได้รับ ความนิยมอย่างมากบน Sina Weibo แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียของจีน จากรายงานของ The National Coalition Against Domestic Violence’s Vision (NCADV) พบว่า ในทุก 1 นาทีจะมีผู้หญิงสหรัฐอเมริกา รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 36

ถกู ทำร้ายร่างกายจากคนในครอบครัว 20 คน และผู้หญิง 1 ใน 4 ผู้ชาย 1 ใน 9 เป็นเหยื่อท่ีได้รับความรุนแรง ทง้ั ร่างกายและจิตใจ และข้ันร้ายแรงที่สุดของความรุนแรงในครอบครัว คือ มีการใช้อาวุธ ซงึ่ คิดเป็น 19% ใน ระหว่างการล็อกดาวน์ในสหราชอาณาจักรช่วงที่ผ่านมา The New York Times เผยว่า ผู้หญิง 1.6 ล้านคน ต้องประสบปัญหาความรุนแรงในครอบครัวมากขึ้นกว่าปกติ เพราะเหย่ือไม่มีช่องว่างท่ีจะติดต่อเพ่ือนหรือ หน่วยงานภาครัฐในการขอความช่วยเหลือ เน่ืองจากต้องอยู่กับผู้กระทำความรุนแรงตลอดเวลาในท่ีพักอาศัย องค์การสหประชาชาติ (UN) ระบุว่า ในระหว่างการล็อกดาวน์มีเด็กและผู้หญิงจำนวนมากต้องอยู่ใน สภาพแวดล้อมทไี่ ม่ปลอดภัย มีความเส่ียงทจ่ี ะประสบกับความรุนแรงจากคู่ของตนเองหรือคนใกล้ชิด โดย 1 ใน 3 ของผู้หญิงทั่วโลกต้องเผชิญกับความรุนแรงทางร่างกายและทางเพศจากคู่ของตนเอง และในช่วง 1 ปีที่ผ่าน มา 18% ของผู้หญิงตอ้ งเผชญิ กับความรุนแรงที่เป็นอนั ตรายถึงชีวติ จากสถิติในทกุ วันจะมีผหู้ ญิงประมาณ 137 คน เสียชีวติ จากการทำรา้ ยร่างกายโดยคหู่ รือคนในครอบครัว องค์กรยูนิเซฟ (UNICEF) ได้ออกแถลงการณ์เมื่อ 24 มีนาคม 2020 ว่า ในช่วงการควบคุมการแพร่ระบาดของโควดิ -19 มีเด็กท่ัวโลกหลายรอ้ ยลา้ นคนกำลังเผชิญ ความเสี่ยงจากการถูกละเมิด ความรนุ แรง การถูกแสวงหาประโยชน์ การถกู กีดกันจากสงั คม รวมถึงการถูกแยก จากผปู้ กครอง ซึ่งสง่ ผลตอ่ ความปลอดภยั ของเด็ก ๆ เหตผุ ลทผี่ ถู้ กู กระทำยอมอดทน ความรุนแรงในครอบครัวของประเทศไทยที่เพิ่มขนึ้ สว่ นหน่ึงเป็นเพราะคนไทยสว่ นใหญ่ไมน่ ิยมแจ้งความเมื่อ พบหรือประสบกบั ความรุนแรงในครอบครวั โดยมีเพยี ง 17% เทา่ นน้ั ท่ีกลา้ ออกมาเปิดเผยเรื่องราวและร้องขอ ความชว่ ยเหลือ ซง่ึ เรือ่ งน้ี มูลนธิ ิหญงิ ชายกา้ วไกล ไดเ้ ปิดเผยเหตผุ ลส่วนใหญท่ ผ่ี หู้ ญงิ ในฐานะทเ่ี ป็นผถู้ ูกกระทำ ตอ้ งทนต่อความรนุ แรงท่ีเกิดขึ้นในครอบครวั 5 ข้อดว้ ยกัน 1.ความรักความผูกพนั หลังก่อความรุนแรงฝ่ายชายมักจะขอโอกาสเพื่อกลับตวั และจะไม่ใชค้ วามรุนแรงอีก ดว้ ยความรักความผูกพนั ท่มี ีใหจ้ งึ ยอมทีจ่ ะทน หวังวา่ ฝา่ ยชายจะปรบั ปรงุ ตวั 2.อดทนเพอ่ื ลกู ฝา่ ยหญิงมักจะคิดว่าถา้ ลูกไมม่ ีพ่อ ลูกจะมปี มด้อย ขาดความอบอนุ่ ส่งผลต่อการดำเนนิ ชีวติ ของลกู ในอนาคต 3.พยายามรักษาความเป็นครอบครัว ดว้ ยสภาพสงั คมท่ปี ลกู ฝงั ความเปน็ ครอบครวั ทส่ี มบรู ณแ์ บบ ซงึ่ ต้อง ประกอบไปด้วย พอ่ แม่ ลูก ทำให้ผหู้ ญิงต้องยอมอดทนต่อความรนุ แรง 4.คดิ วา่ ความรนุ แรงเป็นเร่ืองสว่ นตวั คา่ นิยมท่ีว่า ไฟในอย่านำออก ไฟนอกอย่านำเขา้ เป็นอีกหน่งึ เหตผุ ลที่ทำ ให้ผหู้ ญิงอดทนต่อความรนุ แรงท่ีเกิดขึ้น 5.ปัญหาเศรษฐกิจ ผูห้ ญิงหลายคนเมอ่ื แตง่ งานมีลกู แล้ว ลาออกจากงานเพ่ือมาดูแลลูก เมอื่ เกิดความรุนแรงขนึ้ ในครอบครวั หากจะเลิกรากับสามีกก็ ลัวจะไม่มีงานทำ ไม่มีเงินเลยี้ งดตู วั เองและลกู จึงตอ้ งทนต่อความรุนแรง แม้ว่าปัจจุบันสภาพสังคมจะเอ้ือให้ผู้หญิงสามารถประกอบอาชีพเล้ียงดูตัวเองและครอบครัวได้ แต่ ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดข้ึนยังมีปัจจัยในเรื่องความสัมพันธ์ และอีกหลายปัจจัยเข้ามาเก่ียวข้อง ผู้หญิงในฐานะท่ีเป็นท้ังแม่และเมียจึงอาจจะถูกคาดหวังจากสังคมให้เป็นผู้แก้ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว บาดแผลทางจิตใจที่สร้างความเจ็บปวดจนยากจะลืมข่าวความรุนแรงในครอบครัวพบเห็นได้บ่อยมากข้ึนตาม รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวดั ภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 37

หน้าหนงั สือพิมพ์หรือรายการข่าว ความรุนแรงท่ีเกิดข้ึนล้วนสร้างผลกระทบต่อผู้ถูกกระทำทั้งรา่ งกายและจิตใจ รวมถึงผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว ไม่มีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน ขาดการดูแล เอาใจใส่กัน และในท้ายที่สุดอาจจะต้องแยกทางกัน บาดแผลทางร่างกายที่เกิดจากความรุนแรงในครอบครัว ยังสามารถรักษาหายได้ แต่บาดแผลในจิตใจท่ีฝังลึกจะต้องใช้เวลาหลายเดือนหรือหลายปีในการรักษา หลาย คนที่ผ่านเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวอาจเกิดภาวะป่วยทางจิตจากเหตุรุนแรง หรือท่ีเรียกกันว่า โรค PTSD (Post-Traumatic Stress Disorder) เป็นสภาวะจิตใจของผู้ป่วยท่ีได้รับการกระทบกระเทือนจากการ ถูกทำร้ายร่างกาย การถูกข่มขืน ภาวะนี้เกิดข้ึนได้ท้ังผู้ที่ประสบกับเหตุการณ์โดยตรงและผู้ท่ีได้รับผลกระทบ ทางอ้อม สำหรับอาการในระยะแรกของโรค PTSD ผู้ป่วยจะเห็นภาพเหตุการณ์นั้นซ้ำ ๆ จนทำให้เกิดภาพ หลอน ฝันร้าย เกิดความตื่นกลัว ไม่มีความสุขในการใช้ชีวิต ส่งผลต่อสภาวะทางจิตใจของผู้ป่วยจนนำไปสู่โรค ภาวะทางจิตอื่น ๆ เช่น โรคซึมเศร้า โรคกลัว โรควิตกกังวล รวมไปถึงมีพฤติกรรมท่ีเป็นอันตราย การทำร้าย ตนเอง หรือหนั ไปใช้สารเสพตดิ ปัญหาเรื่องความรุนแรงในครอบครัว เป็นเร่ืองท่ีหลายองค์กรทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตา่ งตระหนักถึง และร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหา ในเบ้ืองต้นหากเกิดการกระทบกระท่ังกันกับบุคคลใน ครอบครัว ควรพูดคุยกันด้วยเหตุผล ไม่ใช้อารมณ์นำ หลีกเล่ียงการพูดจาด้วยถ้อยคำที่หยาบคาย ทำกิจกรรม ร่วมกันภายในบ้านหรือนอกบ้านระหว่างสมาชิกในครอบครัว เป็นวิธีท่ีจะช่วยเพ่ิมความสามัคคีและลดปัญหา ความรุนแรงได้ ความรุนแรงในครอบครัวเม่ือเกิดข้ึนแล้วควรทำอย่างไร ปัญหานี้ไม่ใช่เรื่องของครอบครัวใด ครอบครัวหนึ่ง แต่เป็นปัญหาท่ีทุกคนในสังคมจะต้องช่วยกันยับยั้งไม่ให้เกิดข้ึน สำหรบั ผู้ถูกกระทำพยายามหา คนท่ีสามารถช่วยเหลือได้ในยามฉุกเฉิน หรือติดต่อหน่วยงานใกล้บ้านท่ีพร้อมช่วยเหลือ ท้ังสถานีตำรวจ โรงพยาบาล หากพบเห็นความรุนแรงในครอบครัวสามารถติดต่อหน่วยงานรัฐหรือมูลนิธิต่าง ๆ เพื่อให้ หน่วยงานเหล่าน้ีเข้าไปช่วยเหลือ เช่น สายด่วน 191 หรือสายด่วน 1300 ซึ่งเป็นศูนย์ช่วยเหลือสังคม One Stop Crisis Center (OSCC) ของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) องค์การอนามัย โลก (WHO) ได้เขียนรายงานเก่ียวกับการแก้ปัญหาความรุนแรงในผู้หญิงช่วงการระบาดของโควิด-19 ว่า รัฐ และผกู้ ำหนดนโยบายจำเป็นจะต้องเตรียมพร้อมรบั มือกบั ความรุนแรงในครอบครัวท่ีจะเกิดขึ้น มีหน่วยบรกิ าร ท่ีคอยช่วยเหลือรับเรื่องร้องเรียนของประชาชน ซ่ึงคนในสังคมควรตระหนักถึงความรุนแรงท่ีเกิดขึ้นใน ครอบครัว และผทู้ ี่ถูกกระทำเองควรติดต่อขอความชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ตารางท่ี 5.2.2 แสดงจำนวนเหตกุ ารณ์ความรุนแรงในครอบครวั จังหวดั ปี 2561 จำนวนเหตุการณ์ ปี 2563 ปี 2562 ปทมุ ธานี 9 28 25 นนทบุรี 10 6 9 พระนครศรีอยุธยา 19 20 21 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 38

สระบรุ ี 13 7 42 อ่างทอง 10 13 20 สมุทรปราการ 6 16 23 2 7 21 นครนายก 69 97 21 รวม ท่มี า : รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวดั แสดงจานวนเหตุการณ์ความรนุ แรงในครอบครวั ท่เี กิดขน้ึ ในเขตพน้ื ท่ีรบั ผิดชอบของ สสว.1 จงั หวดั ปทมุ ธานี 42 28 23 25 16 19 20 21 20 6 21 27 9 10 9 13 13 6 7 10 000 จำนวนเหตกุ ำรณ์ จากข้อมูลแสดงจำนวนเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงในครอบครวั ที่เกิดขึน้ ในเขตพ้ืนที่รับผดิ ชอบของ สสว.1 จงั หวัด ปทมุ ธานี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 – 2563 เมือ่ พิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จงั หวดั สระบุรีมเี หตกุ ารณ์ ความรนุ แรงมากข้ึน โดยท่ีจงั หวัดนนทบุรี พระนครศรอี ยุธยา อ่างทอง สมทุ รปราการ นครนายกมเี หตุการณ์ ความรนุ แรงมากขึ้นเช่นกัน ในขณะทจ่ี ังหวัดปทุมธานีมเี หตุการณค์ วามรุนแรงลดลง สว่ นที่ 5 หน้า 39 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวัดภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564

บทสรุปและข้อเสนอแนะ 5.1 บทสรปุ 5.1.1 ข้อมลู สถานการณท์ างสังคมกลุ่มจังหวดั สถานการณ์ทางสังคมของกลุ่มจังหวัดจำแนกตามสถานการณ์เชิงกลุ่มเป้าหมายเป็น 7 กลมุ่ ได้แก่ 1) กล่มุ เด็ก สถานการณ์เด็ก ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มีเด็ก จำนวนทั้งส้ิน 1,119,389 คน โดยได้ร่วมโครงการเงินอุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด จำนวน 90,856 คน เปน็ เด็กกำพร้าและเด็กในครอบครัวเลยี้ งเดี่ยว จำนวน 3,518 คน การคลอดในวัยร่นุ มีจำนวน 2,518 คน และ เดก็ มีพฤตกิ รรมทไ่ี ม่เหมาะสม จำนวน 754 คน 2) กลุ่มเยาวชน สถานการณ์เยาวชน ในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มี เยาวชนจำนวนทั้งส้ิน 583,915 คน ท้ังน้ีเยาวชนท่ีมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมมีจำนวน 3,281 คน และมี เยาวชนที่ถูกทารุณกรรมทางรา่ งกาย จิตใจ และทางเพศ จำนวน 258 คน 3) กลมุ่ สตรี สถานการณ์กลุ่มสตรี ในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มี จำนวนสตรีทั้งสิ้น 2,632,699 คน โดยมีสตรีท่ีถูกเลิกจ้างงาน/ตกงาน จำนวน 29,070 คน แม่เลีย้ งเดี่ยวฐานะ ยากจนที่ต้องดูบุตรโดยลำพงั จำนวน 13,188 คน สตรีท่ีถกู ทำร้ายรา่ งกายและจิตใจ จำนวน 76 คน และสตรี ทถ่ี ูกละเมดิ ทางเพศ จำนวน 7 คน ตามลำดบั 4) ครอบครัว สถานการณ์กลุ่มครอบครัว ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มีครอบครัวจำนวน 2,274,063 ครอบครัว โดยมีครอบครัวยากจนจำนวน 28,807 ครอบครัว ครอบครัวหย่ารา้ ง จำนวน 13,132 ครอบครัว ครอบครัวแหว่งกลาง จำนวน 2,711 คน และครอบครัวท่ีมีคน ในครอบครวั กระทำความรุนแรง จำนวน 187 ครอบครัว ตามลำดบั 5) ผ้สู ูงอายุ หน้า 40 รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564

สถานการณ์ผู้สูงอายุ ในเขตพื้นทรี่ ับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มี ผูส้ งู อายจุ ำนวน จำนวน 989,071 คน โดยมีผู้สงู อายุท่ีได้รับเบ้ียยังชพี จำนวน 739,796 คน ผสู้ ูงอายทุ ่ียังไมไ่ ด้ รับเบ้ียยังชีพ จำนวน 113,909 คน ผสู้ ูงอายุท่ีช่วยเหลือตนเองไม่ได้ จำนวน 6,886 คน ผู้สูงอายุที่ตอ้ งดำรงชีพ ด้วยการเร่ร่อน ขอทาน จำนวน 422 คน ผูส้ งู อายุท่ีรบั ภาระดูแลบุคคลในครอบครวั 112 คน และผู้สูงอายุท่ีถูก กระทำความรุนแรงทางรา่ งกายหรือจติ ใจ จำนวน 26 คน ตามลำดับ 6) คนพิการ สถานการณ์คนพิการ ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มี คนพกิ าร จำนวน 106,902 คน โดยคนพิการได้รบั เบ้ียยังชพี จำนวน 100,002 คน คนพิการที่มบี ัตรประจำตัว คนพิการ จำนวน 89,734 คน คนพิการท่ีไม่ได้รับเบ้ียยังชีพ จำนวน 10,049 คน คนพิการที่อยู่คนเดียวตาม ลำพงั /ไมม่ ีผู้ดแู ล 146 คน และคนพิการมีความต้องการกายอปุ กรณ์ จำนวน 25 คน ตามลำดบั 7) ผู้ด้อยโอกาส สถานการณ์ผู้ด้อยโอกาส ในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า มีผู้ด้อยโอกาสจำนวน 28,740 คน โดยมีผู้ตดิ เชื้อ HIV จำนวน 17,847 คน มผี ู้ตดิ ยาเสพติด 8,431 คน คนไร้ ทพ่ี ึง่ จำนวน 2,107 คน และผูแ้ สดงความสามารถ จำนวน 350 คน 5.1.2 ขอ้ มลู ความรุนแรงของสถานการณท์ างสังคมกล่มุ จังหวัด 1) กลุ่มเดก็ สถานการณ์กลุ่มเด็กในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า สถานการณ์ที่มีความรุนแรงมากที่สุดคือ เด็กในครอบครัวยากจน มีจำนวน 23,998 คน คิดเป็นร้อยละ 2.18 รองลงมา คือ การต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น มีจำนวน 1,719 คน คิดเป็นร้อยละ 0.15 และเด็กที่มี พฤตกิ รรมท่ีไมเ่ หมาะสม มีจำนวน 805 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.07 2) กลุม่ เยาวชน สถานการณ์กลุ่มเยาวชนในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า สถานการณ์ที่มีความรุนแรงมากท่ีสุดคือ เยาวชนที่มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม มีจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 0.005 รองลงมา คือ เยาวชนท่ีถูกทารุณกรรมทางร่างกาย จิตใจ ทางเพศ มีจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 0.001 และเยาวชนทีถ่ ูกทารณุ กรรมทางร่างกาย จติ ใจ ทางเพศ มจี ำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.0005 3) กลุ่มสตรี หน้า 41 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564

สถานการณ์กลุ่มสตรีในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า สถานการณ์ทมี่ คี วามรุนแรงมากท่สี ุดคือ แม่เลย้ี งเดี่ยว มจี ำนวน 11,400 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.72 รองลงมา คือ สตรีถูกเลิกจ้างงาน ตกงาน มีจำนวน 5,466 คน คิดเป็นร้อยละ 0.34 และสตรีที่ได้รบั การทำรา้ ยร่างกาย จิตใจ ท่ไี ดร้ บั แจง้ เหตุ มจี ำนวน 56 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.003 4) ครอบครวั สถานการณ์กลุ่มครอบครัวในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า สถานการณท์ ี่มีความรุนแรงมากทีส่ ุดคอื ครอบครัวยากจน TPMAP มีจำนวน 66,136 คน คิดเป็นร้อยละ 2.87 รองลงมา คือ ครอบครัวหย่าร้าง มีจำนวน 7,468 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.32 และครอบครัวแหว่งกลาง มีจำนวน 575 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.0025 5) ผสู้ ูงอายุ สถานการณ์กลุ่มผู้สูงอายุในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า สถานการณ์ที่มีความรุนแรงมากท่ีสุดคือ ผู้สูงอายุที่ยังไม่ได้เบี้ยยังชีพ มีจำนวน 23,523 คน คิดเป็นร้อยละ 2.32 รองลงมา คือ ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ (ติดเตียง) มีจำนวน 4,055 คน คิดเป็นร้อยละ 0.40 และ ผู้สงู อายุทีต่ อ้ งดำรงชีพดว้ ยการเรร่ ่อน ขอทาน ไรท้ ีพ่ ่งึ จิตเวช มีจำนวน 99 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.009 6) คนพกิ าร สถานการณ์คนพิการในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่า สถานการณ์ท่ีมีความรุนแรงมากท่ีสุดคือ คนพิการที่ไม่ได้รับเบ้ียความพิการ มีจำนวน 10,049 คน คิดเป็นร้อย ละ 9.4 และคนพกิ ารทีอ่ ยู่คนเดยี วลำพัง มีจำนวน 146 คน คิดเป็นร้อยละ 0.14 7) ผดู้ ้อยโอกาส สถานการณ์กลุ่มผู้ด้อยโอกาสในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสสว.1 จังหวัดปทุมธานี พบว่าสถานการณ์ท่ีมีความรุนแรงมากที่สุดคือ การติดเช้ือ HIV มีจำนวน 5,117 คน คิดเป็นร้อยละ 18 รองลงมา คือ ติดยาเสพติด มีจำนวน 4,227 คน คิดเป็นร้อยละ 14.70 และคนไร้ที่พึ่ง คนเร่ร่อน ขอทาน ผ้ปู ่วยจติ เวช มจี ำนวน 1,574 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.48 5.1.3 สถานการณเ์ ชิงประเดน็ สำคัญในพ้นื ที่กลุ่มจงั หวดั 1) สถานการณ์ผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสสว.1 จังหวัด ปทุมธานี พบว่าจังหวัดที่มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มากท่ีสุด คือ จังหวัดสมุทรปราการ มีผู้ติดเช้ือจำนวน 81,201 คน รองลงมาได้แก่ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สระบุรี อ่างทอง และ นครนายก ตามลำดับ กลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 ได้แก่ ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา นครนายก สระบุรี อ่างทอง เป็นพื้นท่ีควบคุมสูงสุดและ รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดภาคกลาง ประจำปงี บประมาณ 2564 หน้า 42

เข้มงวด ทุกจังหวัด เนื่องจากเป็นพ้ืนท่ีที่มีจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สูงข้ึนอย่าง ตอ่ เนือ่ ง โดยเฉพาะไวรสั กลายพันธุช์ นิดสายพนั ธ์เุ ดลตาทีเ่ ชื้อโรคสามารถแพร่กระจายและติดตอ่ กนั ได้งา่ ย 2) เหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวท่ีเกิดข้ึนในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของ สสว.1 จังหวัด ปทุมธานี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 – 2563 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัดสระบุรีมีเหตุการณ์ ความรุนแรงมากขึ้น โดยที่จังหวัดนนทบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สมุทรปราการ นครนายกมีเหตุการณ์ ความรุนแรงมากขน้ึ เช่นกัน ในขณะท่จี ังหวดั ปทุมธานีมเี หตกุ ารณ์ความรนุ แรงลดลง 5.2 ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย 1) เสริมองค์ความรู้บุคลากรทุกภาคส่วนให้มีความพร้อมรองรับสังคมยุค new normal ที่เกิดข้ึน โดยเนน้ การทำงานระหวา่ งภาคตี ่างๆ ใหเ้ ป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน 2) การกำหนดแนวทางในการเสริมสร้างภมู ิคุ้มกันทางสังคมให้ประชาชนทกุ กลมุ่ เป้าหมายทกุ ช่วง วัยเพื่อรองรับกับกระแสสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะช่องทางการเข้าถึงบริการ และ สวัสดิการต่างๆ การใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง และเหมาะสม รวมทั้งระงับยับยั้ง ป้องกัน แก้ไขสถานการณ์ท่ี ก่อใหเ้ กิดผลกระทบทางลบตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ ของกลมุ่ เป้าหมาย 3) การระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลต่อเศรษฐกิจและสังคมไทยท้ังระยะส้ันและระยะยาว ทำให้ อาจจะต้องปรับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยสถานการณ์โควิด-19 ท่ีเกิดขึ้นถือเป็นเหตุจำเป็นเร่งด่วนตาม พระราชบัญญัติยุทธศาสตร์ชาติ ทำให้สามารถแก้ยุทธศาสตร์ชาติได้แม้ยังไม่ครบ 5 ปีท่ีประกาศใช้เพื่อให้เกิด ความชัดเจนในแผนและทิศทางในการพัฒนาหลักของประเทศ โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ควรมีการปรับยุทธศาสตร์ต่างๆ ใหม้ ีความสอดคลอ้ ง เพื่อมุ่งเน้นการชว่ ยเหลือผู้ได้รับผลกระทบและ เดือดรอ้ น ครอบคลมุ ทุกกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงฯ 5.3 ข้อเสนอแนะเชงิ ปฏบิ ัตริ ะดบั กลุ่มจังหวัด 1) การจัดทำคู่มือการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ไปสู่การปฏิบัติตาม นโยบายรัฐบาล ในลักษณะท่ีสามารถทำความเข้าใจได้ทันที เพื่อหน่วยปฏิบัติและผู้ท่ีเกี่ยวของนำไปใช้ ประโยชน์ หรอื ปฏบิ ัตงิ านได้อย่างถกู ตอ้ ง รวดเร็ว ครบถว้ น 2) การนำแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ท่ีมีความ สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรช์ าตถิ ่ายทอดสู่การจดั ทำแผนงาน/โครงการ ในระดับจังหวัด/กล่มุ จังหวัด/ภาค เพอ่ื ให้ ได้รับงบประมาณในการขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างบรรลุผลตามเป้าหมาย และประชาชนได้รับประโยชน์ อย่างสูงสดุ 3) จัดให้มีการติดตามการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในเร่ืองการ ให้บริการกล่มุ เป้าหมายอย่างเทา่ เทียมกัน มีเอกสารประชาสัมพันธ์ข้ันตอนในการติดต่อตามความเหมาะสม อีก ทัง้ ควรมีเคร่อื งมืออุปกรณ์ทีท่ ันสมัย ชว่ ยให้บริการเป็นไปได้อย่างสะดวกรวดเร็วย่ิงขึ้น เช่น แอพพลิเคช่ันตา่ งๆ รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจงั หวดั ภาคกลาง ประจำปีงบประมาณ 2564 หน้า 43