Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ Gen Z มีอะไรจะบอกต่อสังคมไทย

รายงานฉบับสมบูรณ์ Gen Z มีอะไรจะบอกต่อสังคมไทย

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ Gen Z มีอะไรจะบอกต่อสังคม
กิจกรรมการวัดอุณหภูมิทางสังคม พม.Poll ครั้งที่ 1/2564

Keywords: child poll

Search

Read the Text Version

รายงานผลโครงการขับเคลอ่ื นบูรณาการ โครงการดา้ นสงั คมในระดับพ้นื ทกี่ ิจกรรมวดั อุณหภมู ทิ างสงั คม (พม. Poll) ครงั้ ที่ 1/2564 เรือ่ ง “Gen Z มีอะไรจะบอกต่อสงั คมไทย” เสนอ สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 7 กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ โดย ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็น “นดิ า้ โพล” สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์

คำนำ รายงานผลการสำรวจความคิดเห็น เรื่อง “Gen Z มีอะไรจะบอกต่อสังคมไทย” มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ทราบพฤติกรรมและความต้องการของเด็กและเยาวชน รวมถึงความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนต่อ สังคมไทยในอนาคต และนำข้อมูลที่ได้มาเป็นแนวทางในการดำเนนิ งานด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย ตอ่ ไป โดยดำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลด้วยวิธีการลงพน้ื ท่ีภาคสนามจากเดก็ และเยาวชน จำนวนทั้งสน้ิ 4,472 หน่วยตัวอย่าง ทำการสำรวจในเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 อนึ่ง การสำรวจในครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เป็นการดำเนินงานร่วมกันระหว่างศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม พม. Poll โดยสำนักงานส่งเสริม และสนับสนุนวิชาการ 1-11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กับศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ในการร่วมกำหนดกรอบประเด็นและแนวทางการดำเนินการ สำรวจและขอขอบคณุ กลมุ่ ตัวอย่างทไ่ี ด้สละเวลาแสดงความคิดเหน็ ในแบบสอบถามครั้งนี้ ศนู ย์สำรวจความคดิ เหน็ “นดิ า้ โพล” สถาบนั บัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ ศูนยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) ก

สารบัญ หนา้ ก คำนำ ข สารบัญ สารบัญตาราง ค 1 1. ความเป็นมา 2 2. วัตถุประสงค์ในการศึกษา 3. ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ บั 2 4. ขอบเขตการดำเนินงาน 2 5. ระเบียบวิธวี จิ ยั 6. ผลการสำรวจ 3 บรรณานุกรม 3 ภาคผนวก 13 เอกสารเผยแพรผ่ ลโพล กราฟิกผลโพล (ระดบั ประเทศ) 14 กราฟกิ ผลโพล สสว. 1–11 (ระดบั กลุม่ จงั หวัด) 15 แบบสอบถาม มลู คา่ สือ่ 26 29 47 52 ศนู ย์สำรวจความคดิ เหน็ ทางสังคม (พม. Poll) ข

สารบญั ตาราง หนา้ ตารางท่ี 1 ลกั ษณะขอ้ มลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม................................................................................... 3 ตารางท่ี 2 จำนวนและร้อยละของเรอ่ื งทไี่ ดท้ ำในรอบ 1 ปีท่ีผ่านมา (ตอบมากกวา่ 1 ขอ้ ) ............................... 6 ตารางท่ี 3 จำนวนและรอ้ ยละของกิจกรรมทีท่ ำในเวลาวา่ ง (ตอบมากกวา่ 1 ขอ้ ) ............................................ 6 ตารางท่ี 4 จำนวนและรอ้ ยละของกจิ กรรมทางสังคมทเ่ี ข้ารว่ ม (ตอบมากกวา่ 1 ขอ้ )....................................... 7 ตารางที่ 5 จำนวนและรอ้ ยละของไอดอล (Idol) บุคคลต้นแบบที่ยึดถือและปฏบิ ตั ิตาม................................... 7 ตารางที่ 6 จำนวนและรอ้ ยละของเร่อื งท่ีอยากเลยี นแบบบุคคลต้นแบบ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ)......................... 8 ตารางที่ 7 อนั ดบั และร้อยละของบคุ คลท่ีจะเลือกปรึกษาปัญหา ...................................................................... 8 ตารางท่ี 8 อนั ดบั และรอ้ ยละของทกั ษะทตี่ ้องการพัฒนา.................................................................................. 8 ตารางท่ี 9 อนั ดับและรอ้ ยละของกิจกรรมท่ีตอ้ งการทำร่วมกบั ครอบครวั ......................................................... 9 ตารางที่ 10 จำนวนและร้อยละของการถกู ทำรา้ ยจิตใจดว้ ยวาจา (Bullying) ทัง้ ตอ่ หนา้ หรอื ในสือ่ ออนไลน์ ... 9 ตารางที่ 11 อนั ดบั และร้อยละของเปา้ หมายในชวี ิต ....................................................................................... 10 ตารางท่ี 12 อนั ดับและรอ้ ยละของเรอ่ื งทีม่ คี วามกังวลตอ่ สงั คมไทย ............................................................... 10 ตารางที่ 13 อันดบั และรอ้ ยละของเรอื่ งที่ต้องการใหค้ นไทยพฒั นา ................................................................ 10 ตารางที่ 14 อนั ดบั และรอ้ ยละของเรอ่ื งท่ตี อ้ งการเห็นประเทศไทยในอีก 10 ปขี า้ งหนา้ ................................. 11 ตารางที่ 15 จำนวนและร้อยละของขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ ในการพัฒนาเดก็ และเยาวชนไทยในอนาคต........... 12 ศูนย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. Poll) ค

โครงการสำรวจความคดิ เหน็ ของประชาชน “Gen Z มีอะไรจะบอกต่อสังคมไทย” 1. ความเปน็ มา การเปล่ยี นแปลงบริบทสังคมไทยในชว่ ง 2 – 3 ปีท่ผี า่ น โดยเฉพาะสถานการณ์ปจั จุบนั การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) กอ่ ให้เกิดการเปล่ยี นแปลง ผลกระทบเปน็ อยา่ งมากในวงกว้าง ทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ รวมไปถึงปรากฎการณต์ ่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ทั้งในมิติเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมในทุกระดับชนชั้น ไม่เว้นแม้กระทั่งกลุ่มเด็กและเยาวชน หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กลุ่ม Gen Z ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่เกิดระหว่าง พ.ศ. 2538-2552 (ชาญวิทย์ พรนภดล, ม.ป.ป. อ้างถึงใน มิ่งขวัญ ลิรุจประภากร, ม.ป.ป.) เติบโตมาพร้อมกับสิ่งอำนวยความสะดวกมากมายที่อยู่ แวดล้อมรอบตัว มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยตี ่าง ๆ เรียนรู้ได้รวดเร็ว และอยู่กับสื่อดิจิทัลโดยกำเนดิ ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนโลกออนไลน์ ทั้งทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ก ยูทูบ ไลน์ หรืออินสตาแกรม เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในประเทศไทยมีจำนวนประชากรประมาณ เกือบ 13 ล้านคนแบ่งเป็นเพศหญิง ร้อยละ 48 และเพศชาย ร้อยละ 52 (ธิติมา ไชยมงคล, 2562) นอกจากนย้ี งั พบวา่ กล่มุ Gen Z เติบโตมาพรอ้ มความสามารถในการเข้าถงึ ขอ้ มลู จำนวนมาก ในเวลา อันรวดเร็ว Gen Z จงึ เขา้ สู่วัยผใู้ หญร่ วดเร็วกว่า Gen อ่นื ๆ ทำใหก้ ลายเปน็ กลุ่มท่มี ีความซบั ซอ้ นและแตกต่าง จากเจนเนอเรชั่นในยุคก่อนหน้า เนื่องจากเติบโตมาในยุคที่ข่าวสารและข้อมูลมหาศาลที่สามารถหาได้อย่าง รวดเรว็ ในโลกอนิ เทอร์เน็ต จึงมักจะใจร้อนและไม่ค่อยชนิ กับการรอคอย และกลุ่ม Gen Z เปน็ คนรุน่ ใหม่ที่กล้า แสดงออก กล้าคิด กล้าถาม มีความอยากรู้ อยากเห็น มีความมั่นใจสูง พร้อมที่จะเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา และตอ้ งการการยอมรบั ของสงั คม และเปดิ กว้างทางความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง ยอมรับความแตกต่าง ปรับทัศนคตไิ ดด้ ี ไม่แบง่ แยกเพศชายหญงิ ชนชั้น สผี ิว ศาสนา หรือประเพณตี ่าง ๆ มีความชัดเจนในอตั ลักษณ์ ของตัวตนค่อนข้างสูงและได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้นในเชิงสังคมตามปรากฎการณ์ทางสังคมในสื่อต่าง ๆ โดยเฉพาะสื่อสังคมออนไลน์ อาทิ การออกมาวิพากษ์วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นในประเด็นการเมือง การจัดการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระบบการศึกษา การเรียนแบบออนไลน์ การเตรียมสอบเข้าในระดับอุดมศึกษา การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ เป็นต้น (ผ้จู ดั การออนไลน์, 2563) ซงึ่ สะท้อนให้เห็นว่า กลมุ่ เด็กและเยาวชนได้ออกมาขับเคลอื่ นและเข้ามามีบทบาท ในการเรยี กรอ้ งตามสงิ่ ที่เห็นว่าตนสมควรไดร้ ับและเป็นปัญหาทค่ี วรได้รับการแกไ้ ข เนอื่ งจากได้รับผลกระทบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม อีกทั้งกลุ่มดังกล่าวต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลงของประเทศเป็นไปในทิศทางอันจะ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของกลุ่มเด็กและเยาวชน รวมไปถึงคนในกลุ่มอื่นๆ ให้ดีขึ้นตามลำดับ และจากการ คาดการณ์ภายในปี 2020 กลุ่ม Gen Z จะเป็นกลุ่มที่เข้าสู่วัยแรงงาน (First jobber) ซึ่งคนกลุ่มเหล่าน้ีจะ กลายมาเป็นรากฐานทสี่ ำคญั และเปน็ กำลงั หลักในตลาดแรงงานของประเทศมากกวา่ รอ้ ยละ 20 ของประชากร ในอนาคตอันใกล้นี้ (ธติ ิมา ไชยมงคล, 2562) กลุ่มดังกล่าวจงึ ถือว่าเปน็ กลุ่มที่หนว่ ยงานต่าง ๆ ได้เข้ามากำกับ ดูแล รับผิดชอบพึงควรจับตามองและเฝ้าระวังถึงสถานการณ์อันเปราะบางหรือสุ่มเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบ ตอ่ คนกลมุ่ นีอ้ ยา่ งใกล้ชดิ ศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม (พม. Poll) 1

ดังนั้นศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม พม. Poll สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบนั บัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์ จงึ ทำการสำรวจพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนไทย เพอ่ื สำรวจความคิดเห็น และความตอ้ งการ รวมถงึ ความคิดเหน็ ต่อสงั คมไทยในอนาคตเพ่ือนำข้อมูลท่ีได้ไปเป็นแนวทางในการพัฒนา ให้สอดคล้องกับความต้องการของเด็กและเยาวชนไทยต่อไป 2. วัตถุประสงคใ์ นการศกึ ษา 1. เพื่อศกึ ษาพฤติกรรมของเดก็ และเยาวชนไทย 2. เพ่ือศกึ ษาความคิดเหน็ และความตอ้ งการของเด็กและเยาวชนไทย 3. เพ่อื ศึกษาความคดิ เห็นของเดก็ และเยาวชนต่อสังคมไทยในอนาคต 3. ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั 1. ทราบพฤตกิ รรมของเดก็ และเยาวชนไทย 2. ทราบความคิดเห็นและความตอ้ งการของเดก็ และเยาวชนไทย 3. ทราบความคดิ เห็นของเด็กและเยาวชนตอ่ สังคมไทยในอนาคต 4. ทราบแนวทางในการพฒั นาเดก็ และเยาวชนไทยตอ่ ไป 4. ขอบเขตการดำเนนิ งาน 4.1 ขอบเขตด้านประชากร กลมุ่ เป้าหมายการสำรวจในครั้งนี้ คอื เด็กและเยาวชนทม่ี อี ายุ 12-24 ปี 4.2 ขอบเขตทางด้านเน้ือหา การสำรวจครั้งนี้ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 และศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นดิ ้าโพล” รว่ มกนั กำหนดขอบเขตของการสำรวจครอบคลมุ เน้ือหาดงั ตอ่ ไปนี้ สว่ นท่ี 1 พฤติกรรมของเดก็ และเยาวชน สว่ นที่ 2 ความคิดเหน็ และความตอ้ งการของเด็กและเยาวชน สว่ นท่ี 3 ความคิดเห็นของเดก็ และเยาวชนตอ่ สงั คมไทยในอนาคต 4.3 ขอบเขตด้านการปฏิบตั ิงาน 1. ออกแบบสอบถามและพฒั นาแบบสอบถามเพอ่ื ใช้ในการสำรวจจรงิ 2. กำหนดระเบยี บวธิ ใี นการวิจัย ซึ่งประกอบดว้ ย การกำหนดประชากรเป้าหมาย การสุ่มตัวอย่าง การกำหนดขนาดตวั อยา่ ง ตลอดจนแนวทางในการวิเคราะหแ์ ละประมวลผลข้อมูล 3. ตรวจสอบคุณภาพข้อมลู และบันทกึ ขอ้ มลู ลงโปรแกรมสำเร็จรปู 4. วิเคราะหแ์ ละประมวลผลขอ้ มูล 5. สรปุ ผลการสำรวจและนำเสนอผลโพลผา่ นส่ือ และเว็บไซต์ต่าง ๆ ศูนยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 2

5. ระเบยี บวิธวี จิ ยั 5.1 ลกั ษณะและรปู แบบการวิจัย ในการสำรวจคร้ังน้ีใชร้ ะเบยี บวธิ ีวิจยั เชิงสำรวจ (Survey Research) ซ่งึ เปน็ ระเบียบวธิ ีเชิงปริมาณ (Quantitative Methodology) ในการวัดและประเมินผล กำหนดขนาดตัวอย่างของหน่วยตัวอย่าง การสุ่ม ตัวอยา่ ง การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การวเิ คราะห์ และการประมวลผล เพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลท่ีสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ ของการวจิ ยั และเป็นประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 1-11 5.2 ประชากรเป้าหมายและการสุ่มตัวอยา่ ง ประชากรเป้าหมายในการสำรวจครั้งนี้ คือ เด็กและเยาวชนที่มีอายุ 12-24 ปี โดยกระจาย ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ กลุ่มตัวอย่างที่สำรวจครั้งนี้ คือ เด็กและเยาวชนที่มีอายุ 12-24 ปี ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีการสุ่ม ตวั อย่างแบบหลายขนั้ ตอน (Multi-Stage Sampling) กำหนดความนา่ จะเปน็ ตามสดั สว่ นกบั จำนวนประชากร เป้าหมาย โดยกำหนดขนาดตวั อย่างของการสำรวจครั้งนี้ 4,400 หนว่ ยตวั อยา่ ง 5.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเรื่อง Gen Z มีอะไรจะบอกต่อสังคมไทย ดำเนินการ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการลงพื้นที่ภาคสนาม (Field Survey) เป็นการสัมภาษณ์จากผู้ให้คำตอบโดยตรง (Face to Face Interview) และการให้ตอบแบบสอบถามออนไลน์ ตามขอบเขตเน้ือหาการสำรวจในครัง้ นี้ 5.4 การวิเคราะห์และประมวลผลขอ้ มลู การวิเคราะห์ขอ้ มลู ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ โดยเลอื กใชส้ ถติ ิเชงิ พรรณนา (Descriptive Statistic) เป็นสถติ เิ บอื้ งต้นในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ไดแ้ ก่ ความถี่ และคา่ รอ้ ยละ 6. ผลการสำรวจ การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเรื่อง Gen Z มีอะไรจะบอกต่อสังคมไทย ทำการสำรวจ จากเด็กและเยาวชนที่มีอายุ 12-24 ปี กระจายทุกภูมิภาคทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 4,472 หน่วยตัวอย่าง สามารถสรปุ ผลการสำรวจได้ดังนี้ ตารางท่ี 1 ลักษณะขอ้ มูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน ร้อยละ ลกั ษณะขอ้ มูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 2,448 54.74 เพศ 1,846 41.28 หญิง 148 3.31 ชาย 0.67 เพศทางเลือก 30 100.00 ไมร่ ะบุ 4,472 รวมทง้ั สิน้ ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 3

ตารางท่ี 1 (ตอ่ ) ลักษณะขอ้ มลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน รอ้ ยละ ลกั ษณะข้อมูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม 442 9.89 ช่วงอายุ 886 19.81 1,334 29.83 อายุ 12 ปี 1,810 40.47 อายุ 13-15 ปี 4,472 100.00 อายุ 16-18 ปี อายุ 19-24 ปี 413 9.24 1,052 23.52 รวมทั้งส้ิน 1,484 33.19 ระดับการศึกษา 421 9.41 1,102 24.64 ประถมศกึ ษา 4,472 100.00 มธั ยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. หรอื เทียบเทา่ 3,352 74.96 อนปุ ริญญา/ปวส. หรือเทียบเทา่ 596 13.33 ปรญิ ญาตรี 224 5.00 182 4.07 รวมทง้ั สิ้น 98 2.19 การอยูอ่ าศัย 20 0.45 4,472 100.00 พอ่ แม่ ปู่ยา่ /ตายาย 4,368 97.67 เพอื่ น 78 1.74 ญาต/ิ พีน่ อ้ ง 24 0.54 แฟน/สามีภรรยา 2 0.05 อยคู่ นเดยี ว 100.00 4,472 รวมทั้งสิน้ 92.91 สถานภาพ 4,155 2.10 94 2.08 โสด 93 0.98 อยู่ดว้ ยกัน แต่ไม่ได้แตง่ งาน 44 0.85 สมรส 38 0.76 หม้าย/หย่า/แยกกันอยู่ 34 0.18 8 0.14 รวมทงั้ ส้ิน 6 100.00 อาชพี 4,472 นกั เรียน/นกั ศกึ ษา รบั จ้างทัว่ ไป/ผูใ้ ช้แรงงาน พนกั งาน/ลกู จ้างเอกชน ค้าขาย/ธรุ กิจส่วนตวั /อาชพี อสิ ระ ว่างงาน ขา้ ราชการ/พนักงาน/ลกู จา้ งหน่วยงานของรัฐ พนักงานรัฐวิสาหกจิ เกษตรกร/ประมง รวมทัง้ สน้ิ ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 4

ตารางท่ี 1 (ตอ่ ) ลกั ษณะขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน รอ้ ยละ ลกั ษณะขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 4,044 90.43 แหล่งของรายได้ 1,466 36.25 จากผู้ปกครอง 1,428 35.31 705 17.44 ไมเ่ กิน 2,000 บาท 210 5.19 2,001-4,000 บาท 148 3.66 4,001-6,000 บาท 55 1.36 6,001-8,000 บาท 32 0.79 8,001-10,000 บาท มากกวา่ 10,000 บาท 428 9.57 ไม่ระบุ 79 18.46 จากการประกอบอาชีพ 167 39.02 ไมเ่ กนิ 5,000 บาท 120 28.04 5,001-10,000 บาท 10 2.33 10,001-20,000 บาท 11 2.57 20,001-30,000 บาท 41 9.58 มากกว่า 30,000 บาท ไม่ระบุรายได้ 4,472 100.00 รวมท้งั ส้นิ จากตารางที่ 1 พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 54.74 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 41.28 เป็นเพศชาย ร้อยละ 3.31 เป็นเพศทางเลอื ก และร้อยละ 0.67 ไมร่ ะบเุ พศ ตวั อยา่ งรอ้ ยละ 9.89 มอี ายุ 12 ปี ร้อยละ 19.81 มีอายุระหว่าง 13-15 ปี ร้อยละ 29.83 อายุระหว่าง 16-18 ปี และร้อยละ 40.47 มีอายุระหว่าง 19-24 ปี ตัวอย่าง รอ้ ยละ 9.24 มกี ารศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา รอ้ ยละ 23.52 มีการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น รอ้ ยละ 33.19 มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. หรือเทียบเท่า ร้อยละ 9.41 มีการศึกษาระดับอนุปริญญา/ปวส. หรือเทียบเท่า และร้อยละ 24.64 มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ตัวอย่างร้อยละ 74.96 อาศัยอยู่กับพ่อและแม่ ร้อยละ 13.33 อาศัยอยู่กับปูย่ ่า/ตายาย ร้อยละ 5.00 อาศัยอยู่กับเพือ่ น ร้อยละ 4.07 อาศัยอยู่กับญาติ/พีน่ อ้ ง ร้อยละ 2.19 อาศัยอยู่กับแฟน/สามีภรรยา และร้อยละ 0.45 อาศัยอยู่คนเดียว ร้อยละ 97.67 มีสถานภาพโสด รอ้ ยละ 1.74 อย่ดู ้วยกัน แตไ่ ม่ไดแ้ ต่งงาน ร้อยละ 0.54 สมรสแลว้ ร้อยละ 0.05 หมา้ ย/หย่า/แยกกนั อยู่ ตัวอย่าง รอ้ ยละ 92.91 เป็นนักเรยี นนักศึกษา รอ้ ยละ 2.10 รบั จา้ งทั่วไป/ผใู้ ช้แรงงาน ร้อยละ 2.08 เป็นพนกั งาน/ลูกจ้าง เอกชน ร้อยละ 0.98 ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว/อาชีพอิสระ ร้อยละ 0.85 ว่างงาน ร้อยละ 0.76 เป็นข้าราชการ/ พนกั งาน/ลูกจา้ งหน่วยงานของรฐั รอ้ ยละ 0.18 เป็นพนกั งานรัฐวิสาหกจิ และรอ้ ยละ 0.14 เปน็ เกษตรกร/ประมง ตัวอย่างร้อยละ 90.43 มีรายได้จากผู้ปกครอง โดยรอ้ ยละ 36.25 มีรายได้ไมเ่ กนิ 2,000 บาท ร้อยละ 35.31 มีรายได้ 2,001-4,000 บาท ร้อยละ 17.44 มีรายได้ 4,001-6,000 บาท ร้อยละ 5.19 มีรายได้ 6,001- 8,000 บาท รอ้ ยละ 3.66 มรี ายได้ 8,001-10,000 บาท รอ้ ยละ 1.36 มีรายได้ มากกวา่ 10,000 บาท และร้อยละ 0.79 ไม่ระบรุ ายไดจ้ ากผูป้ กครองมา ส่วนตวั อยา่ งร้อยละ 9.57 มรี ายได้จากการประกอบอาชีพ โดยรอ้ ยละ 18.46 มีรายได้ไม่เกิน 5,000 บาท ร้อยละ 39.02 มีรายได้ 5 ,001-10,000 บาท ร้อยละ 28.04 มีรายได้ 10,001-20,000 บาท ร้อยละ 2.33 มีรายได้ 20,001-30,000 บาท ร้อยละ 2.57 มีรายได้มากกว่า 30,000 บาท และร้อยละ 9.58 ไม่ระบรุ ายไดจ้ ากการประกอบอาชพี มา ศูนยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. Poll) 5

ตารางท่ี 2 จำนวนและร้อยละของเร่อื งที่ไดท้ ำในรอบ 1 ปีท่ีผา่ นมา (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) เรื่องทไ่ี ดท้ ำในรอบ 1 ปที ่ีผา่ นมา จำนวน รอ้ ยละ 61.29 การดแู ลสุขภาพ (อาหารการกนิ การออกกำลงั กาย การพักผอ่ น) 2,741 59.79 56.64 การพฒั นาตนเอง 2,674 37.16 36.09 การทำกิจกรรมร่วมกนั กบั บคุ คลในครอบครวั 2,533 15.88 2.33 การออมหรือการลงทนุ 1,662 การทำกิจกรรมจิตอาสา เช่น การบำเพญ็ ประโยชน์ กจิ กรรมสาธารณะประโยชน์ 1,614 การสังสรรค์ทม่ี กี ารด่ืมเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ 710 การทะเลาะ วิวาท ทำรา้ ยรา่ งกาย หรอื พฤติกรรมไม่เหมาะสม 104 จากตารางที่ 2 พบว่า ตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 61.29 ได้ทำในเร่อื งการดูแลสุขภาพ (อาหารการกิน การออกกำลังกาย การพักผ่อน) รองลงมา ร้อยละ 59.79 การพัฒนาตนเอง ร้อยละ 56.64 การทำกิจกรรม ร่วมกันกับบุคคลในครอบครัว ร้อยละ 37.16 การออมหรือการลงทุน ร้อยละ 36.09 การทำกิจกรรมจิตอาสา เช่น การบำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ ร้อยละ 15.88 มีการสังสรรค์ที่มีการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ และรอ้ ยละ 2.33 มกี ารทะเลาะ ววิ าท ทำร้ายร่างกาย หรือพฤตกิ รรมท่ีไม่เหมาะสม ตารางท่ี 3 จำนวนและรอ้ ยละของกจิ กรรมทีท่ ำในเวลาวา่ ง (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) จำนวน ร้อยละ 3,518 78.67 กิจกรรมท่ที ำในเวลาว่าง 3,107 69.48 เล่นสอ่ื โซเชยี ลมเี ดีย นอนพกั ผ่อน 3,091 69.12 2,332 52.15 ดูหนงั /ฟงั เพลง/อา่ นหนงั สอื พบปะเพื่อนฝูง 2,226 49.78 2,065 46.18 เล่นเกมออนไลน์ ออกกำลงั กาย/เล่นกีฬา 1,270 28.40 1,154 25.81 ศึกษาหาความรเู้ พมิ่ เตมิ ทอ่ งเทีย่ ว/กิจกรรมสันทนาการ 626 14.00 502 11.23 เลน่ ดนตรี 23 0.51 ทำงานศิลปะ วาดภาพ ระบายส/ี งานฝมี อื อ่ืน ๆ เชน่ ทำงานพิเศษ ขายของออนไลน์ ทำขนมและอาหาร ทำงานบา้ น ทำงานจิตอาสา ตกปลา และเลี้ยงสัตว์ จากตารางที่ 3 พบว่า ตัวอยา่ งสว่ นใหญ่ รอ้ ยละ 78.67 เลน่ สื่อโซเชียลมเี ดยี รองลงมา รอ้ ยละ 69.48 นอนพักผ่อน ร้อยละ 69.12 ดูหนัง/ฟังเพลง/อ่านหนังสือ ร้อยละ 52.15 พบปะเพื่อนฝูง ร้อยละ 49.78 เล่นเกม เช่น เกมออนไลน์ ร้อยละ 46.18 ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา ร้อยละ 28.40 ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม รอ้ ยละ 25.81 ท่องเทีย่ ว/กจิ กรรมสันทนาการ รอ้ ยละ 14.00 เล่นดนตรี รอ้ ยละ 11.23 ทำงานศลิ ปะ วาดภาพ ระบายสี/งานฝีมือ และร้อยละ 0.51 ระบุอื่น ๆ เช่น ทำงานพิเศษ ขายของออนไลน์ ทำขนมและอาหาร ทำงานบา้ น ทำงานจติ อาสา ตกปลา และเลย้ี งสัตว์ ศูนย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 6

ตารางท่ี 4 จำนวนและรอ้ ยละของกิจกรรมทางสงั คมทเ่ี ข้าร่วม (ตอบมากกวา่ 1 ข้อ) กิจกรรมทางสังคมที่เขา้ รว่ ม จำนวน รอ้ ยละ 70.82 รว่ มกจิ กรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา 3,167 39.07 37.90 รว่ มกจิ กรรมจติ อาสา/สาธารณประโยชนใ์ นชมุ ชน 1,747 21.44 12.57 รว่ มกิจกรรมสืบสานประเพณวี ัฒนธรรมกบั ชุมชนท้องถ่ิน 1,695 6.40 5.34 รว่ มกจิ กรรมของสภาเดก็ และเยาวชน 959 0.89 ร่วมกจิ กรรมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ (อบต. หรือ เทศบาล) 562 ร่วมกจิ กรรมของ To Be Number One 286 ร่วมกิจกรรมทางการเมือง 239 อน่ื ๆ เชน่ รว่ มกิจกรรมในโบสถ์คริสต์ในวนั เสาร์-อาทิตย์ 40 จากตารางที่ 4 พบวา่ ตัวอยา่ งสว่ นใหญ่ รอ้ ยละ 70.82 ร่วมกิจกรรมตา่ ง ๆ ของสถานศึกษา รองลงมา ร้อยละ 39.07 ร่วมกิจกรรมจิตอาสา/สาธารณประโยชน์ในชุมชน ร้อยละ 37.90 รว่ มกจิ กรรมสืบสานประเพณี วฒั นธรรมกบั ชุมชนท้องถิน่ รอ้ ยละ 21.44 ร่วมกจิ กรรมของสภาเด็กและเยาวชน รอ้ ยละ 12.57 ร่วมกิจกรรม กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต. หรือ เทศบาล) ร้อยละ 6.40 ร่วมกิจกรรมของ To Be Number One รอ้ ยละ 5.34 รว่ มกจิ กรรมทางการเมือง และรอ้ ยละ 0.89 ระบุอื่น ๆ เชน่ ร่วมกิจกรรมในโบสถ์คริสต์ในวนั เสาร์-อาทิตย์ ตารางที่ 5 จำนวนและรอ้ ยละของไอดอล (Idol) บคุ คลต้นแบบท่ียึดถอื และปฏบิ ตั ิตาม ไอดอล (Idol) บคุ คลต้นแบบท่ียดึ ถือและปฏบิ ตั ติ าม จำนวน รอ้ ยละ บคุ คลในครอบครัว 3 อันดับแรก ไดแ้ ก่ 1,881 42.06 1) พอ่ และแม่ 624 33.17 2) แม่ 576 30.62 3) พ่อ 374 19.88 คร/ู อาจารย์ 869 ญาต/ิ คนรูจ้ กั 692 19.43 15.47 บคุ คลท่มี ชี ื่อเสียง 3 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ 504 11.27 1) นกั รอ้ ง K-POP เช่น วง BTS, วง Blackpink, วง GOT 7 99 19.64 2) ดารานกั แสดง เช่น หย่นิ อานนั ท์ หว่อง, ชมพู่ อารยา, ญาญา่ อรุ สั ยา 91 18.06 3) เนต็ ไอดอล เชน่ พมิ ร่ีพาย 46 เพอื่ น 410 9.13 ไมม่ ีไอดอล (Idol) บุคคลตน้ แบบทีย่ ึดถือและปฏบิ ัตติ าม 116 9.17 รวมท้ังสิ้น 4,472 2.59 100.00 จากตารางท่ี 5 พบว่า ตวั อย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 42.06 มีบคุ คลในครอบครวั เป็นตน้ แบบ (โดยระบุ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับ 1 ทั้งพ่อและแม่ ร้อยละ 33.17 อันดับ 2 แม่ ร้อยละ 30.62 และอันดับ 3 พ่อ ร้อยละ 19.88) รองลงมา ร้อยละ 19.43 มีครู/อาจารย์เป็นบุคคลต้นแบบ ร้อยละ 15.47 มีญาติหรือคนรู้จกั เป็นบุคคลต้นแบบ ร้อยละ 11.27 มีบุคคลที่มีชื่อเสียงเป็นต้นแบบ (โดยระบุ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับ 1 นักร้อง K-POP เช่น วง BTS, วง Blackpink, วง GOT 7 ร้อยละ 19.64 อันดับ 2 ดารานักแสดง เช่น หยิ่น อานันท์ หว่อง, ชมพู่ อารยา, ญาญ่า อุรัสยา ร้อยละ 18.06 และอันดับ 3 เน็ตไอดอล เช่น พิมรี่พาย ร้อยละ 9.13) สำหรับร้อยละ 9.17 มีเพื่อนเป็นบุคคลต้นแบบ และร้อยละ 2.59 ไม่มีไอดอล (Idol) บุคคล ต้นแบบท่ียดึ ถอื และปฏิบัติตามเลย ศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม (พม. Poll) 7

ตารางที่ 6 จำนวนและรอ้ ยละของเรื่องท่ีอยากเลยี นแบบบคุ คลต้นแบบ (ตอบมากกว่า 1 ข้อ) เรื่องทีอ่ ยากเลียนแบบบุคคลตน้ แบบ จำนวน ร้อยละ 64.38 แนวคดิ ทศั นคติ 2,879 60.73 31.24 การใช้ชีวติ 2,716 27.84 2.77 บุคลกิ ภาพ ท่าทาง 1,397 การแต่งกาย 1,245 อน่ื ๆ เชน่ ความสามารถ ความขยนั ความอดทน ความเอือ้ เฟือ้ เผ่อื แผ่ 124 ความฉลาด และอปุ นิสยั จากตารางที่ 6 พบว่า ตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 64.38 อยากเลียนแบบในเรื่องแนวคิด ทัศนคติ รองลงมา รอ้ ยละ 60.73 ในเร่อื งการใช้ชีวิต รอ้ ยละ 31.24 ในเรือ่ งบคุ ลกิ ภาพ ท่าทาง ร้อยละ 27.84 ในเรื่อง การแต่งกาย และร้อยละ 2.77 ระบุอ่ืน ๆ เชน่ เร่ืองความสามารถ ความขยนั ความอดทน ความเอือ้ เฟอ้ื เผอ่ื แผ่ ความฉลาด และอปุ นิสัย ตารางท่ี 7 อันดบั และรอ้ ยละของบคุ คลท่จี ะเลอื กปรกึ ษาปญั หา รอ้ ยละ อันดบั บุคคลท่ีจะเลอื กปรกึ ษาปญั หา 42.20 1 พอ่ แม่/ผปู้ กครอง 31.03 2 เพื่อน 19.57 3 คร/ู อาจารย์ 5.87 4 สอื่ โซเชยี ลมเี ดีย 1.04 5 ศูนยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม 1300 0.29 6 อ่นื ๆ เชน่ พี่นอ้ ง แฟน และพี่ขา้ งบ้าน จากตารางที่ 7 พบว่า บุคคลท่ีตัวอย่างจะเลือกปรึกษาเมื่อมปี ัญหา อันดับ 1 ร้อยละ 42.20 ระบุว่า พ่อแม่/ผู้ปกครอง อันดับ 2 ร้อยละ 31.03 ระบุว่า เพื่อน อันดับ 3 ร้อยละ 19.57 ระบุว่า ครู/อาจารย์ อันดับ 4 รอ้ ยละ 5.87 ระบวุ ่า สอื่ โซเชยี ลมเี ดีย อนั ดับ 5 ร้อยละ 1.04 ระบวุ ่า ศนู ยช์ ว่ ยเหลือสังคม 1300 และอนั ดับ 6 ร้อยละ 0.29 ระบุว่า อน่ื ๆ เช่น พี่นอ้ ง แฟน และพีข่ ้างบ้าน ตารางที่ 8 อันดบั และรอ้ ยละของทักษะทต่ี อ้ งการพฒั นา รอ้ ยละ 37.12 อันดบั ทกั ษะที่ตอ้ งการพฒั นา 22.78 1 ด้านภาษา 17.04 2 ด้านเทคโนโลยี 12.25 3 ดา้ นอาชพี 10.55 4 ดา้ นดนตรี/การแสดง 0.26 5 ดา้ นกฬี า 6 อ่นื ๆ ได้แก่ ด้านวชิ าการศึกษา ดา้ นศิลปะ ด้านวิทยค์ ณิต ดา้ นสตรมี เมอร์ ด้านบคุ ลกิ ภาพ และการใช้ชีวติ ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 8

จากตารางท่ี 8 พบว่า ทักษะท่ีตวั อย่างตอ้ งการพฒั นา อนั ดบั 1 ร้อยละ 37.12 อยากพัฒนาดา้ นภาษา อนั ดบั 2 ร้อยละ 22.78 อยากพัฒนาด้านเทคโนโลยี อนั ดับ 3 ร้อยละ 17.04 อยากพัฒนาดา้ นอาชพี อนั ดับ 4 ร้อยละ 12.25 อยากพัฒนาด้านดนตร/ี การแสดง อันดับ 5 รอ้ ยละ 10.55 อยากพฒั นาด้านกีฬา และอนั ดับ 6 ร้อยละ 0.26 อยากพัฒนาด้านอื่น ๆ ได้แก่ ด้านวิชาการศึกษา ด้านศิลปะ ด้านวิทย์คณิต ด้านสตรีมเมอร์ ดา้ นบุคลิกภาพ และการใช้ชีวิต ตารางที่ 9 อันดับและร้อยละของกจิ กรรมทีต่ ้องการทำรว่ มกับครอบครัว รอ้ ยละ อันดบั กิจกรรมที่ตอ้ งการทำร่วมกบั ครอบครวั 35.22 1 รับประทานอาหาร 30.77 2 ท่องเทย่ี ว/ชอปปิง 17.98 3 ดูหนงั ฟังเพลง 9.18 4 ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา 6.79 5 ทำกจิ กรรมทางศาสนา 0.06 6 อืน่ ๆ ได้แก่ เล่นเกมออนไลน์ ทำสวน นั่งพดู คยุ และทำกจิ กรรมค่ายอาสา จากตารางที่ 9 พบว่า กิจกรรมที่ตัวอย่างต้องการทำร่วมกับครอบครัว อันดับ 1 ร้อยละ 35.22 รับประทานอาหารร่วมกัน อนั ดบั 2 รอ้ ยละ 30.77 ไปท่องเที่ยว/ชอปปิงร่วมกัน อนั ดับ 3 ร้อยละ 17.98 ดูหนัง ฟงั เพลงร่วมกัน อนั ดบั 4 รอ้ ยละ 9.18 ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา อันดับ 5 ร้อยละ 6.79 ทำกิจกรรมทางศาสนา และอนั ดบั 6 รอ้ ยละ 0.06 อ่นื ๆ ไดแ้ ก่ เลน่ เกมออนไลน์ ทำสวน น่งั พูดคุย และทำกจิ กรรมคา่ ยอาสา ตารางท่ี 10 จำนวนและร้อยละของการถูกทำรา้ ยจิตใจด้วยวาจา (Bullying) ทั้งต่อหนา้ หรอื ในสอ่ื ออนไลน์ การถกู ทำร้ายจิตใจด้วยวาจา (Bullying) จำนวน รอ้ ยละ เคย โดยมวี ธิ กี ารรับมือ ดังนี้ 2,814 62.92 นง่ิ เฉย 1,710 60.77 ตอบโต้ เชน่ ตอบโต้ด้วยวาจา การใชก้ ำลงั ถา่ ยคลปิ 647 22.99 แจ้งคร/ู ผปู้ กครอง/เพอ่ื น 405 14.39 แจ้งความดำเนนิ คดีตามกฎหมายแก่ผู้กระทำ 52 1.85 ไมเ่ คย 1,658 37.08 รวมทง้ั สิน้ 4,472 100.00 จากตารางที่ 10 พบว่า การถูกทำร้ายจิตใจด้วยวาจา (Bullying) ทั้งต่อหน้าหรือในสื่อออนไลน์ ตัวอย่างสว่ นใหญ่ ร้อยละ 62.92 ระบุวา่ เคยถูกทำร้าย ร้อยละ 37.08 ระบุวา่ ไมเ่ คย โดยมีท่รี ะบุว่าเคยถูกทำ รา้ ยมีวิธีการรบั มอื ไดแ้ ก่ นิ่งเฉย ร้อยละ 60.77 รองลงมา ตอบโต้ เชน่ ตอบโต้ดว้ ยวาจา การใช้กำลัง ถา่ ยคลิป ร้อยละ 22.99 แจ้งครู/ผู้ปกครอง/เพือ่ น รอ้ ยละ 14.39 และแจง้ ความดำเนินคดีตามกฎหมายแก่ผกู้ ระทำ ร้อย ละ 1.85 ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 9

ตารางท่ี 11 อนั ดับและร้อยละของเปา้ หมายในชีวติ รอ้ ยละ อนั ดับ เป้าหมายในชีวติ 38.29 1 เรียนจบมีงานทำ 18.74 2 ประสบความสำเรจ็ และมีความกา้ วหน้าในหน้าทีก่ ารงาน 3 มีครอบครัวทส่ี มบรู ณ์ 15.78 4 มีธุรกจิ สว่ นตวั 14.32 5 สุขภาพร่างกายแข็งแรง 6 เดินทางท่องเทย่ี วและศึกษาไปยังสถานทตี่ ่าง ๆ 7.67 5.20 จากตารางที่ 11 พบว่า ตัวอย่างมีเป้าหมายในชีวิต อันดับ 1 ร้อยละ 38.29 ระบุว่า เรียนจบมีงานทำ อันดับ 2 ร้อยละ 18.74 ระบุว่า ประสบความสำเร็จและมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน อันดับ 3 ร้อยละ 15.78 ระบุว่า มีครอบครัวที่สมบูรณ์ อันดับ 4 ร้อยละ 14.32 ระบุว่า มีธุรกิจส่วนตัว อันดับ 5 ร้อยละ 7.67 ระบุว่า สุขภาพรา่ งกายแขง็ แรง และอันดับ 6 ร้อยละ 5.20 ระบุว่า เดินทางท่องเท่ียวและศึกษาไปยังสถานที่ ต่าง ๆ ตารางท่ี 12 อนั ดับและร้อยละของเรือ่ งที่มีความกังวลตอ่ สงั คมไทย รอ้ ยละ อันดบั เรอ่ื งทมี่ คี วามกังวลตอ่ สงั คมไทย 31.02 1 ปญั หาทางเศรษฐกิจของประเทศ 18.92 2 ปัญหาโรคระบาด 16.08 3 ปญั หาความขัดแย้งทางการเมอื ง 10.63 4 ปญั หาคณุ ภาพการศึกษา 5 ปญั หาอาชญากรรม 8.59 6 ปัญหาความรุนแรงในสงั คม 8.47 7 ปญั หาสง่ิ แวดล้อม 8 ปญั หาอน่ื ๆ เชน่ ปญั หาคอร์รปั ชนั ทางการเมอื ง 6.28 0.01 จากตารางที่ 12 พบว่า เรื่องที่ตัวอย่างมีความกังวลต่อสังคมไทย อันดับ 1 ร้อยละ 31.02 ระบุว่า ปัญหาทางเศรษฐกจิ ของประเทศ อันดับ 2 ร้อยละ 18.92 ระบุว่า ปัญหาโรคระบาด อันดับ 3 ร้อยละ 16.08 ระบุว่า ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง อันดับ 4 ร้อยละ 10.63 ระบุว่า ปัญหาคุณภาพการศึกษา อันดับ 5 ร้อยละ 8.59 ระบุวา่ ปญั หาอาชญากรรม อนั ดับ 6 ร้อยละ 8.47 ระบวุ ่า ปัญหาความรุนแรงในสังคม อันดับ 7 ร้อยละ 6.28 ระบุว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อม และอันดับ 8 ร้อยละ 0.01 ระบุว่า ปัญหาอื่น ๆ เช่น ปัญหาคอร์รปั ชันทางการเมือง ตารางที่ 13 อนั ดับและรอ้ ยละของเรื่องทีต่ อ้ งการใหค้ นไทยพฒั นา อนั ดับ เรอื่ งท่ตี ้องการใหค้ นไทยพฒั นา ร้อยละ 1 ความมีระเบยี บวินัย/เคารพกฎหมาย 24.46 2 ความซอ่ื สตั ย์สุจรติ 21.73 3 ความมีจติ สำนึกต่อสาธารณะ/การรับผิดชอบตอ่ สังคม 15.77 4 ความเสมอภาค/เท่าเทียมทางสงั คม เชน่ ความเสมอภาคระหว่างเพศ 12.69 5 ลดความเหล่ือมลำ้ ทางสังคม เชน่ รายได้ สถานะ ชนชน้ั 12.10 6 การยอมรับความคดิ เห็นที่แตกต่าง 9.00 7 กล้าแสดงออกอย่างสรา้ งสรรค์ 4.25 ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสังคม (พม. Poll) 10

จากตารางที่ 13 พบวา่ เร่อื งท่ีตวั อย่างต้องการใหค้ นไทยพัฒนา อนั ดับ 1 ร้อยละ 24.46 ระบวุ ่า ความมี ระเบียบวินัย/เคารพกฎหมาย อันดับ 2 ร้อยละ 21.73 ระบุว่า ความซื่อสัตย์สุจริต อันดับ 3 ร้อยละ 15.77 ระบุว่า ความมีจิตสำนกึ ต่อสาธารณะ/การรับผิดชอบต่อสังคม อันดับ 4 ร้อยละ 12.69 ระบุว่า ความเสมอภาค/ เท่าเทียมทางสังคม เช่น ความเสมอภาคระหว่างเพศ อันดับ 5 ร้อยละ 12.10 ระบุว่า ลดความเหลื่อมล้ำ ทางสังคม เช่น รายได้ สถานะ ชนชั้น อันดับ 6 ร้อยละ 9.00 ระบุว่า การยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่าง และอันดับ 7 รอ้ ยละ 4.25 ระบุว่า กลา้ แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ตารางท่ี 14 อนั ดับและร้อยละของเรื่องที่ต้องการเหน็ ประเทศไทยในอีก 10 ปีข้างหนา้ รอ้ ยละ อนั ดับ เรอ่ื งท่ตี อ้ งการเหน็ ประเทศไทยในอีก 10 ปขี า้ งหน้า 26.82 1 เศรษฐกิจดีขน้ึ 19.11 2 ไม่มีการทจุ รติ คอร์รปั ชัน 15.26 3 ประเทศเจรญิ กา้ วหน้า 10.22 4 ระบบการศึกษาทต่ี อบโจทยค์ วามตอ้ งการของชีวิตแตล่ ะคน 7.59 5 มีความเท่าเทยี มกนั ทุกด้าน 5.74 6 มคี วามสามัคคีปรองดอง 4.73 7 ครอบครัวไทยไรค้ วามรนุ แรง 3.59 8 มพี ื้นทส่ี าธารณะสำหรับแสดงความคิดเหน็ อยา่ งเป็นอิสระ 3.00 9 สิ่งแวดล้อมดขี ้ึน เชน่ อากาศ น้ำ 1.61 10 มรี ะบบการขนสง่ และการเดินทางท่ีดขี ้นึ 1.58 11 เมืองไทยไรฝ้ นุ่ 0.75 12 มีพลังงานทางเลอื กเพม่ิ ข้นึ จากตารางที่ 14 พบว่า เรอ่ื งท่ีตัวอยา่ งต้องการเหน็ ประเทศไทยในอีก 10 ปีขา้ งหน้า อันดับ 1 ร้อยละ 26.82 อยากใหเ้ ศรษฐกิจดีขนึ้ อันดบั 2 ร้อยละ 19.11 ไม่มีการทุจริตคอร์รัปชัน อนั ดบั 3 ร้อยละ 15.26 อยากให้ ประเทศเจริญก้าวหน้า อันดับ 4 ร้อยละ 10.22 ระบบการศึกษาที่ตอบโจทย์ความต้องการของชีวิตแต่ละคน อันดับ 5 ร้อยละ 7.59 มีความเท่าเทียมกันทุกด้าน อันดับ 6 ร้อยละ 5.74 มีความสามคั คีปรองดอง อันดับ 7 รอ้ ยละ 4.73 ครอบครัวไทยไร้ความรุนแรง อนั ดับ 8 ร้อยละ 3.59 มพี นื้ ที่สาธารณะสำหรบั แสดงความคิดเห็น อยา่ งเปน็ อิสระ อนั ดบั 9 ร้อยละ 3.00 ส่งิ แวดล้อมดีขนึ้ เช่น อากาศ น้ำ อันดบั 10 ร้อยละ 1.61 มรี ะบบการขนส่ง และการเดินทางที่ดีขึ้น อันดับ 11 ร้อยละ 1.58 เมืองไทยไร้ฝุ่น และอันดับ 12 ร้อยละ 0.75 มีพลังงาน ทางเลอื กเพิ่มข้ึน ศนู ยส์ ำรวจความคิดเห็นทางสังคม (พม. Poll) 11

ตารางที่ 15 จำนวนและร้อยละของข้อเสนอแนะเพมิ่ เติมในการพฒั นาเด็กและเยาวชนไทยในอนาคต ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม จำนวน รอ้ ยละ ควรพฒั นาระบบการศกึ ษาให้มคี วามเท่าเทยี มและทนั สมยั มากย่ิงขึน้ 257 35.70 ควรส่งเสริมเร่อื งสิทธิ หนา้ ท่ี และเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น 168 23.33 ใหแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชน ควรส่งเสรมิ เร่อื งความสามัคคีให้แก่เด็กและเยาวชน 54 7.50 ควรปลูกฝังเรื่องความซ่ือสตั ย์ ความรับผิดชอบและการรกั ษาประโยชน์ 46 6.39 ส่วนรวมให้แก่เด็กและเยาวชน ควรส่งเสรมิ ทักษะการใช้ชวี ิตในสงั คมและทกั ษะการประกอบอาชพี 46 6.39 ทจี่ ำเป็นให้แก่เดก็ และเยาวชน ควรส่งเสรมิ เรอ่ื งความเท่าเทียมกนั ในสงั คม 41 5.69 ควรปลูกฝงั จิตสำนึกการไมย่ ุง่ เกีย่ วกบั ยาเสพติดให้แกเ่ ด็กและเยาวชน 35 4.86 ควรสง่ เสริมเรื่องความมีระเบยี บวนิ ัยและการเคารพกฎหมายให้แกเ่ ด็กและเยาวชน 21 2.92 ควรส่งเสรมิ การทำกจิ กรรมเพ่ือสงั คมของเดก็ และเยาวชน 18 2.50 ควรปลกู ฝงั คา่ นยิ มการไมด่ หู ม่ินหรอื รังแกผอู้ ่ืน (Bullying) ให้แกเ่ ดก็ และเยาวชน 16 2.22 ควรปลูกฝังคา่ นยิ มเร่ืองการไม่ทจุ ริต (Corruption) ใหแ้ ก่เดก็ และเยาวชน 9 1.25 ควรส่งเสรมิ เรอื่ งการยตุ ิการใชค้ วามรุนแรงในครอบครวั และสงั คม 9 1.25 หมายเหตุ: เฉพาะผู้ทแ่ี สดงความคิดเหน็ จำนวน 720 หน่วยตวั อยา่ ง จากตารางที่ 15 พบว่า ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยในอนาคต ส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 35.70 ควรพฒั นาระบบการศึกษาใหม้ ีความเท่าเทียมและทันสมยั มากยงิ่ ขึ้น รองลงมา รอ้ ยละ 23.33 ควรส่งเสริมเรื่องสิทธิ หน้าที่ และเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นให้แก่เด็กและเยาวชน ร้อยละ 7.50 ควรสง่ เสรมิ เร่อื งความสามัคคีให้แกเ่ ดก็ และเยาวชน รอ้ ยละ 6.39 ควรปลกู ฝงั เรอื่ งความซอ่ื สัตย์ ความรับผิดชอบ และการรักษาประโยชน์ส่วนรวมให้แก่เด็กและเยาวชน และควรส่งเสริมทักษะการใช้ชีวิตในสังคมและทักษะ การประกอบอาชพี ท่จี ำเปน็ ให้แกเ่ ดก็ และเยาวชน ในสดั สว่ นทเ่ี ทา่ กัน ร้อยละ 5.69 ควรส่งเสรมิ เรื่องความเท่า เทียมกันในสงั คม รอ้ ยละ 4.86 ควรปลกู ฝงั จติ สำนึกการไม่ยุ่งเกีย่ วกบั ยาเสพติดให้แก่เด็กและเยาวชน ร้อยละ 2.92 ควรส่งเสริมเรื่องความมีระเบียบวินัยและการเคารพกฎหมายให้แก่เด็กและเยาวชน ร้อยละ 2.50 ควรส่งเสรมิ การทำกิจกรรมเพ่ือสังคมของเด็กและเยาวชน รอ้ ยละ 2.22 ควรปลกู ฝังค่านิยมการไม่ดูหม่ินหรือ รังแกผู้อื่น (Bullying) ให้แก่เด็กและเยาวชน และร้อยละ 1.25 ควรปลูกฝังค่านิยมเรื่องการไม่ทุจริต (Corruption) ให้แก่เด็กและเยาวชน และควรส่งเสริมเรื่องการยุติการใช้ความรุนแรงในครอบครัวและสังคม ในสัดสว่ นท่เี ทา่ กัน ศูนย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 12

บรรณานุกรม มิ่งขวัญ ลิรุจประภากร. (ม.ป.ป). เข้าใจความแตกต่างในแต่ละยุคสมัย. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2564, จาก https://th.theasianparent.com ธิติมา ไชยมงคล. (2562). รู้ทันปัญหา Gen Z เป็นเรื่องง่าย ๆ แค่เข้าใจ. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2564, จาก https://www.prachachat.net/csr-hr/news-382415 ผู้จดั การออนไลน์. (2563). เปดิ ยทุ ธวิธมี อ็ บเยาวชนปลดแอก อ.นิด้าชห้ี ลายปัจจัยดึงคนลงถนนเพิ่มขนึ้ . สบื คน้ เมือ่ 5 เมษายน 2564, จาก https://mgronline.com/specialscoop/detail/9630000075015 ศูนย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 13

ภาคผนวก เอกสารเผยแพร่ผลโพล ศนู ยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. Poll) 14

วัน…………….ท่ี ….. มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 พม. Poll ศูนยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม โดย สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 1-11 กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ E-mail: [email protected] รว่ มกบั ศูนยส์ ำรวจความคดิ เห็น “นดิ า้ โพล” สถาบนั บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ E-mail: [email protected] จำนวน 9 หนา้ รวมหนา้ นี้ “Gen Z มีอะไรจะบอกต่อสังคมไทย” เรยี น บรรณาธิการบริหาร/บรรณาธกิ ารขา่ ว/หัวหน้าขา่ ว/หัวหนา้ หนว่ ยงาน พม. Poll ศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจ เรื่อง “Gen Z มีอะไรจะบอกต่อสังคมไทย” ทำการสำรวจในเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 จากเด็กและเยาวชนที่มีอายุ 12-24 ปี กระจายทุกภูมิภาคท่ัว ประเทศ ใชร้ ะเบยี บวธิ วี ิจยั เชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใชว้ ธิ ีการส่มุ ตัวอย่างแบบหลายข้ันตอน (Multi- Stage Sampling) รวมขนาดตัวอย่างทั้งสิ้น จำนวน 4,472 หน่วยตัวอยา่ ง เก็บรวบรวมขอ้ มูลด้วยวิธีลงพื้นที่ ภาคสนาม และการใหต้ อบแบบสอบถามออนไลน์ กำหนดค่าความเชือ่ ม่นั ร้อยละ 95.00 จากผลการสำรวจ เมอ่ื ถามเด็กและเยาวชนถงึ เรอ่ื งทไี่ ดท้ ำในรอบ 1 ปที ผ่ี า่ นมา พบวา่ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 61.29 ได้ทำในเรื่องการดูแลสุขภาพ (อาหารการกิน การออกกำลังกาย การพักผ่อน) รองลงมา ร้อยละ 59.79 การพัฒนาตนเอง ร้อยละ 56.64 การทำกิจกรรมร่วมกันกับบุคคลในครอบครัว ร้อยละ 37.16 การออมหรือ การลงทนุ รอ้ ยละ 36.09 การทำกจิ กรรมจติ อาสา เช่น การบำเพญ็ ประโยชน์ กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ ร้อยละ 15.88 มีการสังสรรค์ที่มีการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และร้อยละ 2.33 มีการทะเลาะ วิวาท ทำร้ายร่างกาย หรือพฤติกรรมทไ่ี มเ่ หมาะสม ส่วนการใช้เวลาว่าง พบว่า เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 78.67 เล่นสื่อโซเชียลมีเดีย รองลงมา ร้อยละ 69.48 นอนพักผ่อน ร้อยละ 69.12 ดูหนัง/ฟังเพลง/อ่านหนังสือ ร้อยละ 52.15 พบปะเพื่อนฝูง ร้อยละ 49.78 เล่นเกม เช่น เกมออนไลน์ ร้อยละ 46.18 ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา ร้อยละ 28.40 ศึกษา หาความรู้เพิ่มเติม ร้อยละ 25.81 ท่องเที่ยว/กิจกรรมสันทนาการ ร้อยละ 14.00 เล่นดนตรี ร้อยละ 11.23 ทำงานศิลปะ วาดภาพ ระบายสี/งานฝีมือ และร้อยละ 0.51 ระบุอื่น ๆ เช่น ทำงานพิเศษ ขายของออนไลน์ ทำขนมและอาหาร ทำงานบา้ น ทำงานจิตอาสา ตกปลา และเลยี้ งสตั ว์ สำหรบั การเข้าร่วมกิจกรรมทางสงั คม พบวา่ เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 70.82 ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา รองลงมา ร้อยละ 39.07 ร่วมกิจกรรมจิตอาสา/สาธารณประโยชน์ในชุมชน ร้อยละ 37.90 รว่ มกิจกรรมสบื สานประเพณวี ัฒนธรรมกบั ชมุ ชนท้องถน่ิ ร้อยละ 21.44 รว่ มกจิ กรรมของสภาเด็กและเยาวชน ร้อยละ 12.57 ร่วมกิจกรรมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต. หรือ เทศบาล) ร้อยละ 6.40 ร่วมกิจกรรม ของ To Be Number One ร้อยละ 5.34 รว่ มกิจกรรมทางการเมือง และร้อยละ 0.89 ระบอุ ่ืน ๆ เช่น ร่วมกิจกรรม ในโบสถค์ รสิ ต์ในวนั เสาร์-อาทติ ย์ ศูนย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 15

เมื่อถามถึงไอดอล (Idol) บุคคลต้นแบบที่ยึดถือและปฏิบัติตาม พบว่า เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 42.06 มีบุคคลในครอบครัวเป็นต้นแบบ (โดยระบุ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับ 1 ทั้งพ่อและแม่ ร้อยละ 33.17 อนั ดับ 2 แม่ ร้อยละ 30.62 และอนั ดบั 3 พอ่ รอ้ ยละ 19.88) รองลงมา ร้อยละ 19.43 มคี รู/อาจารย์เป็นบุคคล ต้นแบบ ร้อยละ 15.47 มีญาติหรือคนรู้จักเป็นบุคคลต้นแบบ ร้อยละ 11.27 มีบุคคลที่มีชื่อเสียงเปน็ ต้นแบบ (โดยระบุ 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับ 1 นกั รอ้ ง K-POP เชน่ วง BTS, วง Blackpink, วง GOT 7 ร้อยละ 19.64 อันดับ 2 ดารานักแสดง เช่น หยิ่น อานันท์ หว่อง, ชมพู่ อารยา, ญาญ่า อุรัสยา ร้อยละ 18.06 และอันดับ 3 เน็ตไอดอล เช่น พิมรี่พาย ร้อยละ 9.13) สำหรับร้อยละ 9.17 มีเพื่อนเป็นบุคคลต้นแบบ และร้อยละ 2.59 ไม่มี ไอดอล (Idol) บุคคลต้นแบบทีย่ ดึ ถือและปฏบิ ัตติ ามเลย เมื่อถามต่อว่าหากมีบุคคลต้นแบบอยากเลียนแบบในเรื่องใด พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 64.38 อยาก เลียนแบบในเรื่องแนวคิด ทัศนคติ รองลงมา ร้อยละ 60.73 ในเรื่องการใช้ชีวิต ร้อยละ 31.24 ในเรื่อง บุคลิกภาพ ท่าทาง ร้อยละ 27.84 ในเรื่องการแต่งกาย และร้อยละ 2.77 ระบุอื่น ๆ เช่น เรื่องความสามารถ ความขยัน ความอดทน ความเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ ความฉลาด และอุปนิสัย สำหรับบุคคลท่ีจะเลือกปรึกษาเมื่อมีปัญหามากท่ีสุด 3 อันดับแรก พบว่า อันดบั 1 รอ้ ยละ 42.20 ระบุว่า พอ่ แม่/ผปู้ กครอง อนั ดับ 2 รอ้ ยละ 31.03 ระบุวา่ เพื่อน และอนั ดับ 3 รอ้ ยละ 19.57 ระบุวา่ คร/ู อาจารย์ สำหรับทักษะที่อยากจะพัฒนามากที่สุด 3 อันดับแรก พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 37.12 อยากพัฒนา ด้านภาษา อันดับ 2 ร้อยละ 22.78 อยากพัฒนาด้านเทคโนโลยี และอันดับ 3 ร้อยละ 17.04 อยากพัฒนา ด้านอาชีพ ในดา้ นกิจกรรมท่ีอยากจะทำร่วมกับครอบครัวมากที่สุด 3 อันดบั แรก พบวา่ อนั ดับ 1 รอ้ ยละ 35.22 รับประทานอาหารรว่ มกนั อันดับ 2 ร้อยละ 30.77 ไปท่องเท่ียว/ชอปปิงร่วมกนั และอันดับ 3 ร้อยละ 17.98 ดหู นงั ฟังเพลงร่วมกนั เมื่อถามถึงการถูกทำร้ายจิตใจด้วยวาจา (Bullying) ทั้งต่อหน้าหรือในสื่อออนไลน์ พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 62.92 ระบวุ ่า เคยถกู ทำร้าย ร้อยละ 37.08 ระบวุ ่า ไม่เคย โดยมที ี่ระบุว่าเคยถกู ทำร้ายมีวิธีการรับมือ ได้แก่ น่ิงเฉย ร้อยละ 60.77 รองลงมา ตอบโต้ เช่น ตอบโต้ด้วยวาจา การใช้กำลัง ถ่ายคลิป ร้อยละ 22.99 แจ้งคร/ู ผูป้ กครอง/เพ่ือน ร้อยละ 14.39 และแจง้ ความดำเนินคดตี ามกฎหมายแกผ่ ้กู ระทำ รอ้ ยละ 1.85 สำหรับเป้าหมายในชีวิตของเด็กและเยาวชน 3 อันดับแรก พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 38.29 ระบุว่า เรยี นจบมีงานทำ อนั ดับ 2 ร้อยละ 18.74 ระบวุ ่า ประสบความสำเร็จและมีความกา้ วหน้าในหน้าทก่ี ารงาน และ อันดับ 3 ร้อยละ 15.78 ระบวุ ่า มคี รอบครัวทส่ี มบรู ณ์ เมื่อถามต่อว่ามีความกังวลต่อสังคมไทยในเรื่องใดมากที่สุด 3 อันดับแรก พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 31.02 ระบวุ ่า ปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศ อันดับ 2 ร้อยละ 18.92 ระบวุ ่า ปัญหาโรคระบาด และอันดับ 3 รอ้ ยละ 16.08 ระบวุ า่ ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ส่วนเรอ่ื งท่ีเดก็ และเยาวชนอยากให้คนไทยพฒั นามากที่สุด 3 อันดับแรก พบวา่ อันดบั 1 ร้อยละ 24.46 ระบุวา่ ความมรี ะเบียบวนิ ยั /เคารพกฎหมาย อนั ดบั 2 รอ้ ยละ 21.73 ระบุวา่ ความซอื่ สตั ย์สุจรติ และอนั ดบั 3 ร้อยละ 15.77 ระบวุ า่ ความมีจิตสำนึกต่อสาธารณะ/การรับผดิ ชอบตอ่ สังคม เมื่อถามถึงสิ่งที่เด็กและเยาวชนอยากเห็นในประเทศไทยในอีก 10 ปีข้างหน้า 3 อันดับแรก พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 26.82 อยากให้เศรษฐกิจดีขึ้น อันดับ 2 ร้อยละ 19.11 ไม่มีการทุจริตคอร์รัปชัน และอันดับ 3 รอ้ ยละ 15.26 อยากใหป้ ระเทศเจริญก้าวหนา้ ศนู ย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. Poll) 16

ท้ายที่สดุ เมอ่ื ถามถึงข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยในอนาคต พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 35.70 ควรพัฒนาระบบการศึกษาให้มีความเท่าเทียมและทันสมัยมากยิ่งขึ้น รองลงมา ร้อยละ 23.33 ควรส่งเสริมเรื่องสิทธิ หน้าที่ และเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นให้แก่เด็กและเยาวชน ร้อยละ 7.50 ควรส่งเสริมเรื่องความสามัคคีให้แก่เด็กและเยาวชน ร้อยละ 6.39 ควรปลูกฝังเรื่องความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ และการรักษาประโยชน์สว่ นรวมใหแ้ ก่เดก็ และเยาวชน และควรส่งเสริมทักษะการใช้ชีวิตในสังคมและทักษะ การประกอบอาชีพที่จำเป็นให้แก่เด็กและเยาวชน ในสัดส่วนที่เท่ากัน และร้อยละ 5.69 ควรส่งเสริมเรื่อง ความเทา่ เทียมกันในสงั คม เมื่อพิจารณาลักษณะข้อมูลทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 54.74 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 41.28 เปน็ เพศชาย ร้อยละ 3.31 เป็นเพศทางเลือก และรอ้ ยละ 0.67 ไม่ระบุเพศ ตวั อยา่ งร้อยละ 9.89 มอี ายุ 12 ปี ร้อยละ 19.81 มีอายุระหวา่ ง 13-15 ปี ร้อยละ 29.83 อายุระหว่าง 16-18 ปี และร้อยละ 40.47 มีอายุระหว่าง 19-24 ปี ตัวอย่างรอ้ ยละ 9.24 มีการศึกษาระดับประถมศกึ ษา ร้อยละ 23.52 มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ ร้อยละ 33.19 มกี ารศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. หรอื เทียบเท่า ร้อยละ 9.41 มกี ารศกึ ษา ระดับอนุปรญิ ญา/ปวส. หรือเทียบเทา่ และร้อยละ 24.64 มีการศกึ ษาระดับปริญญาตรี ตัวอย่างรอ้ ยละ 74.96 อาศัยอย่กู บั พอ่ และแม่ รอ้ ยละ 13.33 อาศยั อยู่กับปู่ยา่ /ตายาย รอ้ ยละ 5.00 อาศัยอยู่กบั เพอ่ื น ร้อยละ 4.07 อาศัยอยู่กับญาติ/พี่น้อง ร้อยละ 2.19 อาศัยอยู่กับแฟน/สามีภรรยา และร้อยละ 0.45 อาศัยอยู่คนเดียว ร้อยละ 97.67 มีสถานภาพโสด ร้อยละ 1.74 อยู่ด้วยกัน แต่ไม่ไดแ้ ต่งงาน ร้อยละ 0.54 สมรสแล้ว ร้อยละ 0.05 หม้าย/หยา่ /แยกกันอยู่ ตวั อยา่ งรอ้ ยละ 92.91 เปน็ นักเรยี นนักศึกษา ร้อยละ 2.10 รับจา้ งท่วั ไป/ผู้ใช้แรงงาน ร้อยละ 2.08 เป็นพนักงาน/ลูกจ้างเอกชน ร้อยละ 0.98 ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว/อาชีพอิสระ ร้อยละ 0.85 วา่ งงาน ร้อยละ 0.76 เปน็ ข้าราชการ/พนกั งาน/ลกู จา้ งหนว่ ยงานของรฐั รอ้ ยละ 0.18 เปน็ พนกั งานรัฐวิสาหกิจ และรอ้ ยละ 0.14 เป็นเกษตรกร/ประมง เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 90.43 มีรายได้จากผู้ปกครอง โดยร้อยละ 36.25 มีรายได้ไม่เกนิ 2,000 บาท ร้อยละ 35.31 มรี ายได้ 2,001-4,000 บาท รอ้ ยละ 17.44 มีรายได้ 4,001-6,000 บาท ร้อยละ 5.19 มรี ายได้ 6,001-8,000 บาท ร้อยละ 3.66 มรี ายได้ 8,001-10,000 บาท รอ้ ยละ 1.36 มีรายได้ มากกว่า 10,000 บาท และร้อยละ 0.79 ไม่ระบุรายได้จากผู้ปกครองมา ส่วนตัวอย่างร้อยละ 9.57 มีรายได้จากการประกอบอาชีพ โดยร้อยละ 18.46 มีรายได้ไม่เกิน 5,000 บาท ร้อยละ 39.02 มีรายได้ 5,001-10,000 บาท ร้อยละ 28.04 มีรายได้ 10,000-20,000 บาท ร้อยละ 2.33 มีรายได้ 20,001-30,000 บาท ร้อยละ 2.57 มีรายไดม้ ากกว่า 30,000 บาท และร้อยละ 9.58 ไม่ระบรุ ายได้จากการประกอบอาชีพมา ศูนย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 17

1. ในรอบ 1 ปที ีผ่ ่านมา ทา่ นไดท้ ำในเรอ่ื งใดดงั ต่อไปน้ี (ตอบมากกว่า 1 ขอ้ ) รอ้ ยละ 61.29 เร่อื งทไ่ี ดท้ ำในรอบ 1 ปีท่ีผา่ นมา 59.79 การดแู ลสุขภาพ (อาหารการกนิ การออกกำลังกาย การพักผอ่ น) 56.64 การพฒั นาตนเอง 37.16 การทำกิจกรรมรว่ มกนั กับบุคคลในครอบครัว 36.09 การออมหรอื การลงทนุ 15.88 การทำกิจกรรมจิตอาสา เช่น การบำเพญ็ ประโยชน์ กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ 2.33 การสังสรรค์ทีม่ กี ารด่มื เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ การทะเลาะ ววิ าท ทำร้ายร่างกาย หรอื พฤติกรรมไมเ่ หมาะสม รอ้ ยละ 78.67 2. ท่านใชเ้ วลาวา่ งทำอะไรบ้าง (ตอบมากกว่า 1 ขอ้ ) 69.48 69.12 กิจกรรมทท่ี ำในเวลาวา่ ง 52.15 เล่นส่ือโซเชียลมีเดยี 49.78 นอนพกั ผอ่ น 46.18 ดูหนงั /ฟงั เพลง/อา่ นหนงั สือ 28.40 พบปะเพอ่ื นฝงู 25.81 เลน่ เกม 14.00 ออกกำลังกาย/เล่นกฬี า 11.23 ศึกษาหาความรเู้ พมิ่ เตมิ 0.51 ทอ่ งเท่ยี ว/กิจกรรมสันทนาการ เล่นดนตรี รอ้ ยละ ทำงานศลิ ปะ วาดภาพ ระบายส/ี งานฝมี อื 70.82 อ่นื ๆ เชน่ ทำงานพเิ ศษ ขายของออนไลน์ ทำขนมและอาหาร ทำงานบ้าน ทำงานจติ อาสา 39.07 ตกปลา และเลยี้ งสัตว์ 37.90 21.44 3. ทา่ นไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทางสังคมใดดังต่อไปนี้ (ตอบมากกวา่ 1 ขอ้ ) 12.57 6.40 กิจกรรมทางสังคมทีเ่ ข้ารว่ ม 5.34 ร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษา 0.89 ร่วมกจิ กรรมจิตอาสา/สาธารณประโยชน์ในชมุ ชน ร่วมกิจกรรมสืบสานประเพณวี ัฒนธรรมกบั ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ รว่ มกิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชน รว่ มกจิ กรรมกบั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ (อบต. หรือ เทศบาล) ร่วมกจิ กรรมของ To Be Number One รว่ มกิจกรรมทางการเมือง อ่ืน ๆ เชน่ รว่ มกิจกรรมในโบสถค์ ริสต์ในวันเสาร์-อาทิตย์ ศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. Poll) 18

4. ท่านคิดว่าไอดอล (Idol/บุคคลตน้ แบบทย่ี ดึ ถือและปฏบิ ัติตาม) ของท่านคอื ใคร รอ้ ยละ ไอดอล (Idol) บคุ คลต้นแบบท่ยี ดึ ถอื และปฏบิ ัติตาม 42.06 บคุ คลในครอบครัว 3 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ 33.17 30.62 4) พ่อและแม่ 19.88 5) แม่ 6) พอ่ 19.43 ครู/อาจารย์ 15.47 ญาติ/คนรจู้ กั 11.27 บุคคลท่มี ีชื่อเสียง 3 อันดับแรก ได้แก่ 4) นกั ร้อง K-POP เชน่ วง BTS, วง Blackpink, วง GOT 7 19.64 5) ดารานกั แสดง เช่น หยิน่ อานันท์ หวอ่ ง, ชมพู่ อารยา, ญาญา่ อุรัสยา 18.06 6) เน็ตไอดอล เช่น พิมรี่พาย 9.13 เพื่อน 9.17 ไม่มไี อดอล (Idol) บคุ คลตน้ แบบทยี่ ดึ ถอื และปฏบิ ตั ิตาม 2.59 100.00 รวมท้ังส้ิน 5. หากท่านมบี ุคคลตน้ แบบ ทา่ นอยากเลียนแบบในเร่ืองใด (ตอบมากกวา่ 1 ข้อ) รอ้ ยละ 64.38 เรอ่ื งทอ่ี ยากเลียนแบบบคุ คลตน้ แบบ 60.73 แนวคิด ทัศนคติ 31.24 การใช้ชีวิต 27.84 บุคลิกภาพ ท่าทาง 2.77 การแตง่ กาย อืน่ ๆ เชน่ ความสามารถ ความขยัน ความอดทน ความเอือ้ เฟอื้ เผอ่ื แผ่ ความฉลาด และอุปนสิ ยั 6. หากทา่ นมปี ัญหาท่านเลือกท่จี ะปรึกษาใครมากทสี่ ดุ ร้อยละ 42.20 อนั ดับ บคุ คลที่จะเลือกปรึกษาปัญหา 1 พอ่ แม่/ผู้ปกครอง 31.03 2 เพ่ือน 19.57 3 ครู/อาจารย์ 5.87 4 ส่ือโซเชยี ลมีเดีย 1.04 5 ศูนยช์ ว่ ยเหลอื สังคม 1300 0.29 6 อนื่ ๆ เชน่ พ่ีน้อง แฟน และพีข่ ้างบา้ น ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 19

7. ท่านอยากพฒั นาทกั ษะในด้านใดมากทสี่ ดุ รอ้ ยละ 37.12 อันดบั ทักษะที่ต้องการพฒั นา 22.78 1 ด้านภาษา 17.04 2 ด้านเทคโนโลยี 12.25 3 ด้านอาชีพ 10.55 4 ดา้ นดนตร/ี การแสดง 0.26 5 ด้านกฬี า 6 อ่นื ๆ ไดแ้ ก่ ดา้ นวชิ าการศึกษา ดา้ นศิลปะ ดา้ นวิทยค์ ณิต ดา้ นสตรมี เมอร์ ดา้ นบคุ ลิกภาพ และการใช้ชีวิต 8. ทา่ นอยากทำกจิ กรรมใดร่วมกับครอบครวั มากทสี่ ุด ร้อยละ 35.22 อนั ดบั กจิ กรรมท่ีต้องการทำร่วมกบั ครอบครัว 30.77 1 รับประทานอาหาร 17.98 2 ทอ่ งเทย่ี ว/ชอปปิง 9.18 3 ดหู นัง ฟังเพลง 6.79 4 ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา 0.06 5 ทำกิจกรรมทางศาสนา 6 อ่ืน ๆ ไดแ้ ก่ เลน่ เกมออนไลน์ ทำสวน น่งั พูดคยุ และทำกจิ กรรมคา่ ยอาสา 9. ทา่ นเคยถกู ทำร้ายจิตใจดว้ ยวาจา (Bullying) ทงั้ ต่อหนา้ หรือในสอ่ื สังคมออนไลน์ หรือไม่ รอ้ ยละ 62.92 การถกู ทำรา้ ยจิตใจดว้ ยวาจา (Bullying) เคย โดยมีวธิ ีการรบั มือ ดังนี้ 60.77 22.99 นงิ่ เฉย 14.39 ตอบโต้ เช่น ตอบโต้ดว้ ยวาจา การใชก้ ำลัง ถ่ายคลปิ 1.85 แจ้งคร/ู ผู้ปกครอง/เพอ่ื น 37.08 แจง้ ความดำเนินคดีตามกฎหมายแก่ผกู้ ระทำ 100.00 ไม่เคย รวมท้ังสิ้น 10. ท่านคดิ ว่าเป้าหมายในชวี ติ ของทา่ นคอื เรือ่ งใด รอ้ ยละ 38.29 อันดับ เป้าหมายในชวี ิต 18.74 1 เรียนจบมงี านทำ 15.78 2 ประสบความสำเรจ็ และมคี วามก้าวหน้าในหน้าท่ีการงาน 14.32 3 มคี รอบครวั ทีส่ มบรู ณ์ 7.67 4 มธี รุ กิจส่วนตวั 5.20 5 สุขภาพร่างกายแขง็ แรง 6 เดินทางท่องเที่ยวและศกึ ษาไปยงั สถานทต่ี า่ ง ๆ ศนู ย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 20

11. ท่านมคี วามกังวลตอ่ สงั คมไทยในเรอื่ งใดมากทส่ี ดุ รอ้ ยละ 31.02 อนั ดบั เร่อื งทมี่ ีความกังวลต่อสงั คมไทย 18.92 1 ปญั หาทางเศรษฐกิจของประเทศ 16.08 2 ปัญหาโรคระบาด 10.63 3 ปัญหาความขดั แยง้ ทางการเมือง 8.59 4 ปัญหาคณุ ภาพการศกึ ษา 8.47 5 ปญั หาอาชญากรรม 6.28 6 ปัญหาความรนุ แรงในสังคม 0.01 7 ปญั หาสิง่ แวดลอ้ ม 8 ปัญหาอ่ืน ๆ เชน่ ปัญหาคอรร์ ปั ชนั ทางการเมือง รอ้ ยละ 24.46 12. ทา่ นอยากใหค้ นไทยพฒั นาในเรื่องใดมากท่ีสุด 21.73 15.77 อนั ดับ เรือ่ งทต่ี ้องการใหค้ นไทยพัฒนา 12.69 1 ความมรี ะเบียบวนิ ัย/เคารพกฎหมาย 12.10 2 ความซื่อสัตย์สุจริต 9.00 3 ความมจี ติ สำนกึ ตอ่ สาธารณะ/การรบั ผิดชอบต่อสังคม 4.25 4 ความเสมอภาค/เทา่ เทยี มทางสงั คม เช่น ความเสมอภาคระหว่างเพศ 5 ลดความเหลื่อมลำ้ ทางสังคม เชน่ รายได้ สถานะ ชนชน้ั ร้อยละ 6 การยอมรบั ความคิดเหน็ ทีแ่ ตกต่าง 26.82 7 กล้าแสดงออกอย่างสรา้ งสรรค์ 19.11 15.26 13. ทา่ นอยากเหน็ ประเทศไทยเปน็ อย่างไรในอกี 10 ปขี ้างหน้า 10.22 7.59 อนั ดบั เรือ่ งทต่ี อ้ งการเห็นในประเทศไทยอีก 10 ปขี า้ งหน้า 5.74 1 เศรษฐกิจดีข้ึน 4.73 2 ไม่มีการทุจรติ คอรร์ ปั ชัน 3.59 3 ประเทศเจรญิ กา้ วหน้า 3.00 4 ระบบการศกึ ษาท่ตี อบโจทยค์ วามตอ้ งการของชวี ติ แต่ละคน 1.61 5 มีความเทา่ เทยี มกันทุกด้าน 1.58 6 มคี วามสามัคคปี รองดอง 0.75 7 ครอบครวั ไทยไรค้ วามรนุ แรง 8 มพี ้ืนที่สาธารณะสำหรบั แสดงความคิดเหน็ อย่างเปน็ อสิ ระ 9 สิ่งแวดล้อมดขี ้นึ เช่น อากาศ นำ้ 10 มีระบบการขนส่งและการเดินทางท่ดี ีขึน้ 11 เมอื งไทยไรฝ้ ุน่ 12 มพี ลังงานทางเลอื กเพมิ่ ข้ึน ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 21

14. ข้อเสนอแนะเพิม่ เติมในการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยในอนาคต ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม รอ้ ยละ ควรพัฒนาระบบการศกึ ษาให้มีความเท่าเทยี มและทนั สมัยมากย่ิงขึ้น 35.70 ควรส่งเสริมเรอ่ื งสทิ ธิ หนา้ ท่ี และเสรภี าพในการแสดงความคิดเหน็ ให้แกเ่ ดก็ และเยาวชน 23.33 ควรส่งเสรมิ เรอ่ื งความสามัคคีให้แก่เด็กและเยาวชน 7.50 ควรปลูกฝังเร่ืองความซอื่ สัตย์ ความรับผิดชอบและการรกั ษาประโยชน์ส่วนรวมให้แกเ่ ดก็ และเยาวชน 6.39 ควรส่งเสริมทกั ษะการใชช้ ีวิตในสงั คมและทักษะการประกอบอาชพี ทจี่ ำเปน็ ใหแ้ ก่เด็กและเยาวชน 6.39 ควรส่งเสริมเรื่องความเทา่ เทียมกนั ในสงั คม 5.69 ควรปลกู ฝังจติ สำนกึ การไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดให้แก่เดก็ และเยาวชน 4.86 ควรสง่ เสริมเร่อื งความมรี ะเบียบวินัยและการเคารพกฎหมายให้แก่เด็กและเยาวชน 2.92 ควรสง่ เสรมิ การทำกิจกรรมเพ่ือสงั คมของเด็กและเยาวชน 2.50 ควรปลกู ฝังคา่ นยิ มการไมด่ ูหมิ่นหรอื รังแกผูอ้ ืน่ (Bullying) ใหแ้ ก่เด็กและเยาวชน 2.22 ควรปลูกฝงั คา่ นยิ มเร่อื งการไมท่ ุจริต (Corruption) ให้แก่เด็กและเยาวชน 1.25 ควรส่งเสริมเรื่องการยตุ กิ ารใชค้ วามรนุ แรงในครอบครัวและสงั คม 1.25 หมายเหต:ุ เฉพาะผู้ทีแ่ สดงความคิดเหน็ จำนวน 720 หน่วยตัวอยา่ ง ศนู ย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 22

1. เพศ ลักษณะขอ้ มูลทั่วไปของตวั อยา่ ง ร้อยละ 54.74 หญงิ เพศ 41.28 ชาย 3.31 เพศทางเลอื ก รวมทงั้ ส้นิ 0.67 ไมร่ ะบุ ชว่ งอายุ 100.00 2. ช่วงอายุ รวมทง้ั สิ้น รอ้ ยละ 9.89 อายุ 12 ปี 19.81 อายุ 13 - 15 ปี 29.83 อายุ 16 - 18 ปี 40.47 อายุ 19 - 24 ปี 100.00 3. ระดบั การศึกษา ร้อยละ 9.24 ระดับการศึกษา 23.52 ประถมศกึ ษา 33.19 มธั ยมศึกษาตอนตน้ 9.41 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. หรือเทยี บเทา่ 24.64 อนุปริญญา/ปวส. หรอื เทียบเท่า 100.00 ปริญญาตรี รวมทั้งสิ้น 4. การอยอู่ าศยั การอย่อู าศยั ร้อยละ พ่อแม่ 74.96 ปูย่ า่ /ตายาย เพอ่ื น 13.33 ญาติ/พ่ีนอ้ ง แฟน/สามีภรรยา 5.00 อย่คู นเดียว 4.07 2.19 0.45 รวมท้งั สิ้น 100.00 ลกั ษณะขอ้ มูลทว่ั ไปของตัวอยา่ ง (ตอ่ ) ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 23

5. สถานภาพ โสด สถานภาพ ร้อยละ อยดู่ ้วยกนั แต่ไมไ่ ด้แตง่ งาน รวมทัง้ ส้นิ 97.67 สมรส 1.74 หมา้ ย/หย่า/แยกกันอยู่ 0.54 0.05 6. อาชพี 100.00 อาชพี ร้อยละ นักเรียน/นกั ศกึ ษา 92.91 รับจา้ งทว่ั ไป/ผ้ใู ช้แรงงาน 2.10 พนกั งาน/ลกู จา้ งเอกชน 2.08 ค้าขาย/ธรุ กจิ ส่วนตวั /อาชีพอิสระ 0.98 ว่างงาน 0.85 ขา้ ราชการ/พนกั งาน/ลกู จ้างหนว่ ยงานของรัฐ 0.76 พนักงานรัฐวิสาหกจิ 0.18 เกษตรกร/ประมง 0.14 100.00 รวมท้งั ส้ิน รอ้ ยละ 7. แหล่งของรายได้ แหลง่ ของรายได้ 90.43 รวมทง้ั ส้นิ จากผ้ปู กครอง 36.25 ไม่เกนิ 2,000 บาท 35.31 2,001-4,000 บาท 17.44 4,001-6,000 บาท 5.19 6,001-8,000 บาท 3.66 8,001-10,000 บาท 1.36 มากกว่า 10,000 บาท 0.79 ไม่ระบุ 9.57 18.46 จากการประกอบอาชีพ 39.02 ไม่เกิน 5,000 บาท 28.04 5,001-10,000 บาท 2.33 10,000-20,000 บาท 2.57 20,001-30,000 บาท 9.58 มากกว่า 30,000 บาท 100.00 ไมร่ ะบรุ ายได้ ศนู ย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. Poll) 24

ภาคผนวก กราฟิกผลโพล (ระดับประเทศ) ศนู ยส์ ำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. Poll) 25

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 26

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 27

ภาคผนวก กราฟิกผลโพล สสว. 1–11 (ระดับกลมุ่ จังหวัด) ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 28

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 29

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 30

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 31

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 32

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 33

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 34

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 35

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 36

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 37

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 38

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 39

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 40

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 41

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 42

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 43

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 44

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 45