Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทฤษฎีสี

ทฤษฎีสี

Published by อคัมย์สิริ ชูคํา, 2021-03-05 07:33:21

Description: ทฤษฎีสี

Search

Read the Text Version

·ÄÉ®ÕÊÕ สี(COLOUR) หมายถึง ลกั ษณะกระทบตอสายตาใหเห็นเป็นสมี ีผลถึงจติ วทิ ยา คือมีอํานาจใหเ กิดความเขม ของแสงทอ่ี ารมณและความรสู กึ ได การที่ไดเห็นสจี ากสายตาสายตาจะสง ความรสู กึ ไปยงั สมองทําใหเกดิ ความรูสกึ ตา งๆตามอิทธิพลของสี เชน สดช่ืน รอน ต่นื เตน เศรา สมี ีความหมายอยางมาก เพราะศลิ ปินตอ งการใชส ีเป็นส่อื สรางความประทบั ใจในผลงาน ของศลิ ปะและสะทอนความประทับใจนัน้ ใหบงั เกิดแกผูดูมนษุ ยเ กี่ยวขอ งกับสตี า งๆ อยตู ลอดเวลาเพราะทุกสิง่ ท่อี ยรู อบตวั นัน้ ลวนแตม สี สี นั แตกตางกนั มากมาย สีเป็น สง่ิ ที่ควรศกึ ษาเพ่อื ประโยชนกับตนเองและผูส รา งงาน จติ รกรรมเพราะ เร่ืองราวองสีนัน้ มีหลกั วิชาเป็นวิทยาศาสตรจ ึงควรทําความเขา ใจวทิ ยาศาสตร ของสี จะบรรลุผล สาํ เร็จในงานมากข้นึ ถา ไมเ ขาใจเร่อื งสีดีพอสมควร ถา ไดศ ึกษาเร่อื งสดี พี อแลว งาน ศลิ ปะก็จะประสบความสมบรู ณ เป็ นอยางยงิ่ สีทที ําใหม้ คี วามรู้สกึ ต่อสี เช่น

¤íÒ¨íÒ¡Ñ´¢Í§ÊÕ 1. แสงทีมีความถีเคลนื ในขนาดทตี ามุนษย์ สามารถสัมผสั ได้ 2. แมส ที เ่ี ป็นวตั ถุ (PIGMENTARY PRIMARY) ประกอบดว ย แดง เหลือง น้ําเงนิ 3. สที ีเกดิ จากการผสมของแม่สี

¤Ø³ÅѡɳТͧÊÕ สแี ท (HUE) หมายถึงสี เดน หรือ สีบริสุทธ สีใดสีหน่ึงซ่ึงมีคณุ สมบตั ิท่ี แสดงลักษณะของตวั มนั วา เป็นสีอะไร เชนสีแดงแท หมาย ถึงสีแดงบรสิ ทุ ธ ปราศจากสดี าํ สีขาว หรอื สอี ่ืนๆ สีออ นหรือสีจาง (TINT)สีท่ีมขี าวมาผสมเพ่อื ลด ความเขมขนของเน้ือสลี ง พูดงายๆ กค็ ือทําให สเี ดิมนัน้ ออนลงนัน้ เอง

สแี ก่ (SHADE) ใชเ้ รียกสแี ทท้ ีถกู ผสม ด้วยสดี าํ เชน่ สนี ําตาล

»ÃÐÇѵ¤Ô ÇÒÁ໹š ÁҢͧÊÕ มนษุ ยเร่มิ มีการใชสตี งั้ แตสมัยกอ นประวตั ศิ าสตร มที งั้ การเขียนสีลง บนผนังถ้าํ ผนังหิน บนพ้ืนผวิ เคร่ืองปั้นดินเผา และทอี่ ่นื ๆภาพเขยี นสี บนผนังถ้ํา(ROCK PAINTING) เร่ิม ทําตงั้ แตส มยั กอ น ประวตั ิศาสตรในทวีปยโุ รป โดยคนกอ นสมัยประวัติศาสตรในสมยั หิน เกาตอนปลาย ภาพเขยี นสที ี่มชี ่ือเสยี งในยุคนี้พบทปี่ ระเทศฝรงั่ เศษ และประเทศสเปนในประเทศ ไทย กรมศลิ ปากรไดสาํ รวจพบภาพ เขียนสีสมัยกอ นประวตั ศิ าสตรบนผนังถ้ํา และ เพิงหินในท่ีตา งๆ จะ มอี ายุระหวา ง 1500-4000 ปี เป็นสมยั หนิ ใหมและยุคโลหะไดค น พบ ตัง้ แตป ี พ.ศ. 2465 ครัง้ แรกพบบนผนังถ้าํ ในอาวพงั งา ตอ มาก็คน พบอีกซ่งึ มีอยทู ัว่ ไป เชน จงั หวดั กาญจนบุรี อุทัยธานี เป็นตน สที ี่ เขียนบนผนังถ้ําสว นใหญเ ป็นสีแดง นอกนัน้ จะมีสสี ม สเี ลอื ดหมู สี เหลือง สนี ้ําตาล และสดี าํ สบี นเคร่ืองปั้นดนิ เผา

สสี ามารถแยกออกเปน 2 ประเภทคอื 1. สธี รรมชาติ เป็นสีที่เกดิ ข้ึนเองธรรมชาติ เชน สีของแสงอาทติ ย สีของทอ งฟ ายามเชา เย็น สขี องรงุ กนิ น้ํา เหตุการณทีเ่ กดิ ข้นึ เอง ธรรมชาติ ตลอดจนสีของ ดอกไม ตน ไม พ้นื ดิน ทอ งฟ า น้ําทะเล 2. สที ีม่ นษุ ยส รางข้นึ หรอื ไดสังเคราะหข ้ึน เชน สวี ิทยาศาสตร มนุษยไดท ดลองจากแสงตา งๆ เชน ไฟฟ า นํามาผสมโดยการ ทอแสงประสานกัน นํามาใชประโยชนในดา นการละคร การจดั ฉาก เวที โทรทศั น การตกแตง สถานที่

áÁʋ Õ (PRIMARIES) สีตา งๆนัน้ มอี ยูมากมายแหลง กาํ เนิดของสแี ละวธิ กี ารผสมของสีตลอด จนรสู ึกท่มี ตี อสขี องมนุษยแตล ะกลุมยอมไมเหมือนกนั สตี างๆท่ีปราก ฎนัน้ ยอมเกิดข้ึนจากแมสีในลักษณะท่ีแตกตา งกันตามชนิดและ ประเภทของสีนัน้ แมสี คอื สีทีน่ ํามาผสมกนั แลวทาํ ใหเกิดสใี หม ท่มี ลี ักษณะแตกตา งไปจากสเี ดิม แมส ี มอื ยู 2 ชนิด คอื 1. แมสีของแสง เกดิ จากการหกั เหของแสงผา นแทงแกวปรซิ มึ มี 3 สี คือ สแี ดง สีเหลอื ง และสนี ้ําเงิน อยใู นรูปของแสงรังสี ซ่ึงเป็นพลงั งานชนิดเดยี วท่มี สี ี คุณสมบัติของแสงสามารถนํามาใช ในการถายภาพ ภาพโทรทัศน การจดั แสงสี ในการแสดงตา ง ๆ เป็นตน 2. แมสวี ัตถุธาตุ เป็นสที ี่ไดมาจากธรรมชาติ และจากการสงั เคราะหโ ดย กระบวน ทางเคมี มี 3 สี คือ สีแดง สีเหลือง และสีน้ําเงิน แมส วี ตั ถธุ าตุเป็นแมสที ่ีนํามาใช งานกนั อยา งกวางขวาง ในวงการศิลปะ วงการอุตสาหกรรม ฯลฯ แมสีวตั ถุธาตุ เม่อื นํามาผสมกนั ตามหลักเกณฑ จะทาํ ใหเ กดิ วงจรสี ซ่งึ เป็นวงสี ธรรมชาติ เกิดจากการผสมกนั ของแมส ีวตั ถธุ าตุ เป็นสหี ลักทีใ่ ชง านกนั ทวั่ ไป ใน วงจรสี จะแสดงส่ิงตาง ๆ ดงั ตอไปนี้

ǧ¨ÃÊÕ ( ColourCircle) สีขนั ที 1 : คือ แม่สี ได้แก่ สแี ดง สีเหลอื ง สีนาํ เงิน สขี ันที 2 : คือ สีทเี กิดจากสขี ันที 1 หรอแมส่ ผี สมกนั ในอตั ราส่วนทีเท่ากัน จะทาํ ให้ เกดิ สใี หม่ 3 สี ไดแ้ ก่ สีแดง ผสมกับสีเหลอื ง ได้สี ส้ม สีแดง ผสมกบั สีนาํ เงนิ ได้สีม่วง สีเหลือง ผสมกบั สีนําเงนิ ได้สเี ขียว ขนั ที 3 : คือ สีทีเกดิ จากสีขนั ที 1 ผสมกบั สีขันที 2 ใน อัตราสว่ นทเี ท่ากัน จะไดส้ ีอนื ๆ อีก 6 สี คือ สแี ดง ผสมกับสสี ม้ ได้สี ส้มแดง สีแดง ผสมกบั สีม่วง ไดส้ มี ว่ งแดงสเี หลอื ง ผสมกบั สี เขยี ว ไดส้ เี ขียวเหลือง สีนาํ เงนิ ผสมกบั สีเขียว ได้สีเขียวนําเงิน สนี ําเงนิ ผสมกับสมี ่วง ได้สมี ่วงนาํ เงนิ สเี หลอื ง ผสมกบั สีสม้ ได้สสี ม้ เหลอื ง

วรรณะของสี คอื สที ใี หค้ วามร้สู กึ รอ้ น-เยน็ ในวงจรสี จะมีสีรอ้ น 7 สี และ สีเยน็ 7 สี ซงึ แบ่งที สีมว่ งกบั สีเหลอื ง ซงึ เปนไดท้ งั สองวรรณะ สีตรงขา ม หรือสีตัดกัน หรอื สีคูปฏิปักษ เป็นสีทมี่ ีคาความเขม ของสี ตัดกนั อยาง รนุ แรง ในทางปฏิบัตไิ มนิยมนํามาใชร วมกัน เพราะจะทําใหแตละสี ไมสดใส เทาท่ีควร การนําสีตรงขามกนั มาใชร วมกัน อาจกระทาํ ไดด งั นี้ 1. มีพ้นื ท่ีของสหี น่ึงมาก อกี สหี น่ึงน อย 2. ผสมสีอ่นื ๆ ลงไปสสี ใี ดสีหน่ึง หรือทงั้ สองสี 3. ผสมสตี รงขา มลงไปในสีทัง้ สองสี สีกลาง คอื สีทเ่ี ขาไดก บั สีทกุ สี สกี ลางในวงจรสี มี 2 สี คอื สีน้ําตาล กบั สเี ทา สนี ้ําตาล เกดิ จากสตี รงขามกนั ในวงจรสผี สมกัน ในอัตราสว นท่ีเทา กัน สนี ้ําตาลมี คณุ สมบตั สิ าํ คัญ คอื ใชผสมกบั สีอ่นื แลวจะทาํ ใหสนี ัน้ ๆ เขมข้ึนโดย ไมเ ปล่ยี น แปลงคาสี ถา ผสมมาก ๆ เขา กจ็ ะกลายเป็นสนี ้ําตาล สีเทา เกิดจากสที ุกสี ๆ สใี นวงจรสีผสมกัน ในอตั ราสวนเทากัน สี เทา มีคุณสมบตั ิ ทสี่ าํ คัญ คือ ใชผสมกบั สอี ่ืน ๆ แลว จะทําให มืด หมน ใชใ นสวนที่ เป็นเงา ซ่ึงมีน้ําหนัก ออนแกในระดับตาง ๆ ถา ผสมมาก ๆ เขาจะกลายเป็นสเี ทา

แมส่ ีวตั ถุธาตุ (PIGMENTARY RRIMARIES) แมส ีวตั ถธุ าตุนัน้ หมายถงึ “วตั ถทุ ี่มีสีอยใู นตวั ” สามานํามาระบาย ทา ยอ ม และผสมไดเ พราะมีเน้ือสีและสีเหมือนตวั เอง เรยี กอกี อยางหน่ึงวา แมสีของชางเขียนสีตา งๆจะเกดิ ข้นึ มาอีกมากมาย ดว ยการผสมของแมสีซ่ึงมีอยูด ว ยกัน 3 สคี อื 1. น้ําเงิน (PRUSSIAN BLUE) สะทอนรังสีของสนี ้ําเงนิ ออกมาแลวดงึ ดูดเอาสแี ดงกบั สีเหลอื งเขา มา แลวผสมกันกจ็ ะกลาย เป็นสสี ม ซ่ึงเป็นคสู ีของสนี ้ําเงนิ 2. แดง (CRIMSON LEKE) สะทอนรงั สขี องสีแดงออกมาแลว ดงึ ดูดเอาสีน้ําเงนิ กับสเี หลือง ซ่งึ ตา งผสมกนั ในตัวแลวกลายเป็นสี เขยี วอนั เป็นคูส ขี องสแี ดง 3. เหลอื ง (GAMBOGE TINT) สะทอ นรงั สีของสเี หลือง ออกมาแลว ดงึ ดดู เอาสีแดงกบั สนี ้ําเงินซ่ึงผสมกัน ในตัวแลว กลาย เป็นสีมว ง อันเป็นคูสีของสีเหลอื ง

ระบบสี RGB ระบบสี RGB เป็นระบบสขี องแสง ซ่ึงเกิดจากการหกั เหของแสง ผา นแทงแกว ปริซมึ จะเกิดแถบสีทเี่ รียกวา สีรุง ( Spectrum ) ซ่ึงแยกสีตามท่สี ายตา มองเหน็ ได 7 สี คือ แดง แสด เหลือง เขยี ว น้ําเงนิ คราม มว งซ่งึ เป็นพลังงานอยูใ นรูปของรังสี ท่ี มชี วงคล่ืนท่สี ายตา สามารถมองเหน็ ได แสงสมี วงมีความถี่คล่นื สงู ทสี่ ุด คล่ืนแสงทม่ี ี ความถสี่ ูงกวาแสงสมี ว ง เรยี กวา อุลตราไวโอเลต ( Ultra Violet ) และคล่นื แสงสีแดง มี ความถคี่ ล่นื ต่าํ ท่สี ุด คล่ืนแสง ทต่ี ่าํ กวาแสงสแี ดงเรียกวา อนิ ฟราเรด ( InfraRed) คล่ืนแสงทีม่ ี ความถีส่ งู กวาสีมวง และต่ํา กวา สีแดงนัน้ สายตาของมนุษยไ มส ามารถรบั ได และเม่อื ศึกษาดู แลว แสงสีทัง้ หมดเกิดจาก แสงสี 3 สี คือ สีแดง ( Red ) สีน้ําเงิน ( Blue)และสเี ขียว ( Green )ทัง้ สามสีถือเป็นแมส ี ของแสง เม่ือนํามาฉายรวมกันจะทําใหเ กิดสีใหม อกี 3 สี คอื สีแดง มาเจนตา สฟี  าไซแอน และสเี หลอื ง และถาฉายแสงสีทัง้ หมดรวมกันจะไดแ สงสขี าว จาก คุณสมบัตขิ องแสงนี้เรา ไดนํามาใชประโยชนทัว่ ไป ในการฉายภาพยนตรก ารบันทึกภาพ วดิ ีโอภาพโทรทศั น การสรา งภาพเพ่อื การนําเสนอทางจอคอมพิวเตอร และการจดั แสงสี ในการแสดง เป็นตน การผสมสี วัตถุธาตุ

แมส วี ตั ถธุ าตุ แดง เหลอื ง และสีน้ําเงนิ นัน้ ผสมกันแลวเกิดสีข้ึนอกี หลายสแี มสี วตั ถธุ าตุ (PIGMEMPAR Y PRIMARIES) หรอื เรยี กอีกอยางหน่ึง วา สีขัน้ ทห่ี น่ึง ขนั้ ที่ 1 คอื สี 1. น้ําเงนิ (PRUSSIAN BLUE) 2. แดง (CRIMSOM LEKE) 3. เหลอื ง (GAMBOGE TINT) แมส ีทัง้ สามถา นํามาผสมกนั จะไดเั ป็นสี กลาง (NEUTRAL TINT) สีขัน้ ท่ี 2 (SECONTARY HUES) เกดิ จากการนําสแี ท 2 สมี าผสมกันในปรมิ าณเทา กันจะเกดิ สใี หมข้ึนน้ําเงนิ ผสม แดง เป็น มว ง (VIOLET) น้ําเงนิ ” เหลอื ง ” เขยี ว (GREEN) แดง ” เหลือง ” สม (ORANGE) สขี นั้ ท่ี 3 (TERTIARY HUES) เกดิ จากการผสมสีขัน้ ท่ี 2 กับแม (สขี นั้ ที่ 1) ไดสเี พ่ิมข้ึนอีกคอื เหลือง ผสม เขียว เป็น เขยี วออน (YELLOW – GREEN) น้ําเงนิ ” เขยี ว ” เขยี วแก (BLUE – GREEN) น้ําเงิน ” มวง ” มว งน้ําเงนิ (BLUE – VIOLET) แดง ” มวง ” มวงแก (RED – VIOLET) แดง ” สม ” แดงสม (RED – ORANGE) เหลอื ง ” สม ” สม เหลอื ง (YELLOW – ORANGE)

แผนภาพสรุปวงจรสี การผสมกันของแมส่ ชี า่ งเขียนได้สอี ยู่ 3 ขนั ดงั นี สีขันที 1 (Primary Color) ได้แก่ สแี ดง สีเหลอื ง สนี ้ําเงิน สขี นั้ ท่ี 2 (Secondary Hues) เป็นการ นําเอาแมส ีมาผสมกันในปรมิ าณเทา ๆ กัน จะไดส ีใหมอ กี 3 สี ดังนี้ สแี ดง ผสมกบั สเี หลอื ง เป็น สีสม สีแดง ผสมกบั สนี ้ําเงนิ เป็น สมี ว ง สเี หลืองผสมกับ สนี ้ําเงนิ เป็น สีเขยี ว สขี นั้ ที่ 3 (Tertiary Hues) เกิดจากนํา เอาแมส ีมาผสมกับสขี ัน้ ท่ี 2 โดยจะได สีใหมเพ่ิมอีก 6 สี ดงั นี้ สีแดงผสม สมี ว ง เป็น สมี ว งแดง สีแดงผสม สีสม เป็น สีสม แดง สีเหลือง ผสม สีสม เป็น สสี มเหลอื ง สีเหลอื ง ผสม สเี ขยี ว เป็น สเี ขียว เหลอื ง สนี ้ําเงนิ ผสม สีมว ง เป็น สมี วง น้ํ าเงิน สนี ้ําเงนิ ผสม สีเขียว เป็น สีเขียว น้ํ าเงิน

วรรณะของสี วรรณะของสี คอื สที ่ใี หค วามรูสกึ รอ น-เย็น ในวงจรสีจะมสี ีรอน 7 สี และสี เย็น 7 สี ซ่งึ แบง ท่ี สมี ว งกับสเี หลือง ซ่ึงเป็นไดทงั้ สองวรรณะ แบง ออกเป็น 2 วรรณะ 1.วรรณะสรี อน (WARM TONE) ประกอบดวยสเี หลอื ง สสี ม เหลอื ง สีสม สสี มแดง สมี วงแดงและสมี ว ง สีใน วรรณะรอนนี้จะไมใ ชสีสดๆ ดังที่เห็นในวงจรสเี สมอไป เพราะสใี นธรรมชาติยอมมีสีแตกตางไปกวาสใี น วงจรสีธรรมชาตอิ ีกมาก ถาหากวา สีใด คอนขา งไปทางสแี ดงหรือสีสม เชน สนี ้ําตาลหรือสเี ทาอมทอง ก็ถอื วา เป็นสีวรรณะรอ น 2.วรรณะสีเยน็ (COOL TONE) ประกอบดวย สเี หลอื ง สีเขยี วเหลอื ง สเี ขียว สี เขยี วน้ําเงนิ สีน้ําเงนิ สีมว งน้ําเงิน และสีมวง สวนสอี ่ืนๆ ถา หนักไปทางสีน้ําเงินและ สเี ขียวกเ็ ป็นสวี รรณะเย็นดงั เชน สเี ทา สีดํา สีเขียวแก เป็นตน จะสงั เกตไดวา สี เหลืองและสีมว งอยทู ัง้ วรรณะรอ นและวรรณะเย็น ถา อยใู นกลุม สวี รรณะรอ นกใ็ ห ความรสู กึ รอ นและถา อยใู นกลุมสีวรรณะเย็นกใ็ หค วามรสู ึกเยน็ ไปดวย สีเหลือง และสมี ว งจงึ เป็นสีไดทงั้ วรรณะรอ นและวรรณะเย็น สเี พิม่ น้ําหนักข้นึ ดวยการใชสีดาํ ผสม ( shade)

Yellow ความสุข – พลงั งาน – ความเจรญิ – การเรียนรู – การสราสรรค White ความบริสุทธิ์ – ความดี – ความดีพรอม – ความเงียบสงบ – ความ ยุติธรรม Red พลัง – อันตราย – สงคราม – อํานาจ Purple ความหยงั่ รู – ความทะเยอทะยาน – ความกาวหน า – คามสงางาม – อํานาจ Pink เป็นมิตร – ความรกั – ความโรแมนติก – ความเคารพ Orange กําลงั – ความมโี ชค – พลังชีวิต – การใหก าํ ลงั ใจ – ความสขุ Light Yellow ปัญญา – ความฉลาด Light Red ความรสู กึ ดีใจ – เร่อื งทางเพศรส – ความรสู กึ ของความรัก Light Purple เร่อื งรกั ใคร – ความสงบ – Light Green ความกลมกลนื – ความสงบ – สันตภิ าพ Light Blue การหยงั่ รู – โอกาส – ความเขาใจ – ความอดทน – ความออ นโยน

Green ความอดุ มสมบูรณ – การเติบโต – การกลับมาของมิตรภาพ Gold สติปัญญา – ความร่ํารวย – ความสวา ง – ความสําเรจ็ – โชคลาภ Dark Yellow: การตักเตอื น – การเจบ็ ปวย – ความเส่อื ม – ความอิจฉา Dark Red ความโกรธ – ความรุนแรง – ความกลา หาญ – กําลังใจ Dark Purple ความสูงสง – ความปรารถนาอนั แรงกลา – ความหรหู รา Dark Green ความทะเยอทะยาน – ความโลภ – ความริษยา Dark Blue ความจรงิ – สัจธรรม – อาํ นาจ – ความรู – ความซ่ือสตั ย – การ ป องกัน Brown ความอดทน – ความมัน่ คง Blue สขุ ภาพ – ความเช่อื ถือ – ไหวพรบิ – จงรักภักดี – ความเล่ือมใส – ความถูกตอง Black ความลึกลับ – ความตาย – อาํ นาจ – พลงั – ความแรง – ส่ิงชัว่ ราย – ความปราณีต Aqua การป องกัน – สุขภาพ ที่มา ; https://homegame9.wordpress.com/%E0%B8%97%E0%B8 %A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B8%A A%E0%B8%B5/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook