Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อวิชาวิทยาศาสตร์

สื่อวิชาวิทยาศาสตร์

Published by Guset User, 2021-11-14 06:42:32

Description: สื่อวิชาวิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

ส่ือวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 6 เรื่อง การแยกขยะ

คู่มือการใช้ส่ือ

วธิ ีการเล่นเกม 1.เอารูปภาพขยะต่างๆท้งั 4 ประเภท มาใส่ในฝากล่อง เขย่าให้ป่ นกนั 2.หยบิ รูปภาพขยะ ไปใส่ในถงั ตามประเภทขยะให้ถูกต้อง 3.นารูปภาพขยะในถังแต่ละประเภทไปเกบ็ ในทเ่ี กบ็ ให้เรียบร้อย

ประโยชน์ของการเล่นเกม 1.ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ขยะแต่ละประเภท มอี ะไรบ้าง 2.ผู้เรียนสามารถคดั แยกประเภทของขยะได้ 3.ผู้เรียนได้เรียนรู้ข้อดีของการแยกขยะ 4.ผู้เรียนสามารถช่วยลดโลกร้อนได้ เพราะผู้เรียนได้เรียนรู้จากส่ือและไปใช้ใน ชีวติ ประจาวนั ได้

เนื้อหาสาระการเรียนรู้ของส่ือ

สาระการเรียนรู้ สาระท่ี 2 ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม ตวั ช้ีวดั ป.6/5 มีส่วนร่วมในการดูรักษาส่ิงแวดลอ้ มในทอ้ งถ่ิน

ประเภทของขยะ 1. ขยะย่อยสลายได้/ขยะเปี ยก หรือขยะอนิ ทรีย์ คือขยะจาพวก เศษอาหาร เศษใบไม้ วสั ดุเหลือใช้ทางการเกษตร สามารถ นาไปผลติ เป็ นพลงั งานประเภทต่าง เช่น Biogas, Biomass นอกจากนี้ ยงั สามารถผลติ ป๋ ุยได้ ด้วย 2. ขยะรีไซเคลิ หรือบางคนเรียกว่า ขยะแห้ง เป็ นขยะทย่ี ่อยสลายได้ยาก เช่น แก้ว กระดาษ โลหะ สามารถนาไป รีไซเคลิ ได้ เพื่อนามาผลติ เป็ นผลติ ภัณฑ์ใหม่อกี คร้ัง

3. ขยะอนั ตราย คือ ขยะทม่ี อี งค์ประกอบหรือปนเปื้ อนวัตถุอนั ตรายชนิดต่างๆ เช่น สารพษิ วตั ถุทท่ี าให้เกดิ โรค หรือเปลย่ี นแปลงพนั ธุกรรม วตั ถุกรรมมนั ตรังสี วตั ถุกดั กร่อน เข่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋ องสเปรย์ เป็ นต้น ควรนาไปกาจัดอย่างถูกวธิ ีตาม เพ่ือไม่ไห้ร่ัวซึมลงแหล่งนา้ หรือช้ันผวิ ดนิ 4. ขยะทว่ั ไป คือขยะประเภทอ่ืน เป็ นขยะทน่ี อกเหนือจากขยะย่อยสลายได้ ขยะรีไซเคลิ และขยะอนั ตราย มี ลกั ษณะย่อยสลายยาก ไม่คุ้มค่าต่อการนากลบั มาใช้ใหม่ เช่น ซองขนม กล่องโฟม จาเป็ นต้องหาวธิ ี กาจดั อย่างถูกวธิ ี

สีของถงั ขยะ ถังขยะสีเขียว ถงั ขยะสีเขยี วรองรับขยะท่เี น่าเสียและย่อยสลายได้เร็วสามารถนามาหมกั ทาป๋ ุยได้ เช่น ผกั ผลไม้ เศษอาหารใบไม้ ถังขยะสีเหลือง ถงั ขยะสีเหลืองรองรับขยะทสี่ ามารถนามารีไซเคลิ หรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสตกิ โลหะ

ถังขยะสีฟ้า ถังขยะสีฟ้ารองรับขยะย่อยสลายไม่ได้ ไม่เป็ นพษิ และไม่คุ้มค่าการรีไซเคลิ เช่นพลาสติก ห่อลกู อมซองบะหมส่ี าเร็จรูปถุงพลาสตกิ โฟมและฟอล์ยทีเ่ ปื้ อนอาหาร ถังขยะสีแดงหรือ ถงั ขยะสีเทาฝาสีส้ม ถังขยะสีแดงหรือ ถังขยะสีเทาฝาสีส้มรองรับขยะทมี่ ีอนั ตรายต่อส่ิงมีชีวติ และ ส่ิงแวดล้อมเช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยาถ่านไฟฉายกระป๋ องสีสเปรย์ กระป๋ องยา ฆ่าแมลงภาชนะบรรจุสารอนั ตรายต่างๆ

ประโยชน์ของการแยกขยะ 1.ช่วยลดปริมาณขยะลงเพราะเม่ือเราแยกขยะทีย่ ังนาไปใช้ต่อได้ เช่น ขยะรีไซเคลิ กจ็ ะ เหลือขยะจริงๆ ที่จะต้องนาปาจดั 2.เม่ือมปี ริมาณขยะลดลงกจ็ ะลดงบประมาณเพื่อใช้ในการกาจดั ขยะ 3.ช่วยลดการสิ้นเปลืองทรัพยากรด้วยการนาขยะรีไซเคลิ กลบั มาใช้อกี คร้ัง 4.หากเราแยะขยะได้ถูกวธิ ี กจ็ ะช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมด้วยน่ันเอง

วสั ดุอปุ กรณ์ในการทาส่ือ

อปุ กรณ์ 1.ลงั 2.กระดาษสี 3.กรรไกร 4.คตั เตอร์ 5.กาว TOA 6.กาวสองหนา้ 7.เทปกาว 8.รูปภาพขยะต่างๆ 9.แผน่ เคลือบ 10.กระดาษแขง็ (นาลงั ท่ีไม่ใชแ้ ลว้ มาทาส่ือ และอุปกรณ์ต่างๆมีอยแู่ ลว้ ซ้ือแคก่ ระดาษสี)

ข้นั ตอน วธิ ีการทาส่ือ

3.ตดั ลงั ใหไ้ ดเ้ ป็น 4 แชก 4.เอาเทปกาวมาแปะใหเ้ รียบร้อย

ข้นั ตอนท่ี 2 1.ตดั สดั ส่วนใหเ้ ท่ากนั 3.เอากระดาษสีมาแปะใหส้ วยงาม 2.เอากาวสองหนา้ แปะใหค้ งทน

ข้นั ตอนท่ี 3 1.ตดั ลงั ใหเ้ ท่ากนั 2.ฉีกกระดาษลงั ใหบ้ าง

3.เอากระดาษสีมาแปะ 4.มว้ นกระดาษลงั ใหไ้ ดท้ รงถงั ขยะ

ข้นั ตอนท่ี 4 5.ตดั กระดาษลงั เป็นทรง เอากระดาษสีมาแปะ 6.พอไดแ้ บบน้ี ทาแบบน้ีอีก 1 ชุด

7.เอาลงั วงกลมมาติดท่ีกน้ ถงั ขยะ 8.เอาลงั วงกลม มาทาเป็นฝาปิ ด

ข้นั ตอนที่ 5 1.เอากระดาษสีมาพบั ขอบ 2.พบั ข้ึนใหเ้ ลก็ ลง 3.เอากาวสองหนา้ มาแปะให้ เป็ นท่ีสาหรับใส่ขยะต่างๆ

ข้นั ตอนที่ 6 1.เอาแผน่ เคลือบแปะ 2.เอารูปภาพขยะต่างๆ มา 3.เอากรรไกรตดั ภาพให้ รูปภาพขยะต่างๆ แปะลงบนกระดาษแขง็ เรียบร้อย

ข้นั ตอนท่ี 7 1.เอากระดาษสีมาแปะใหส้ วยงาม 2.เอาที่เกบ็ ขยะมาแปะ

3.เอาเน้ือหาความรู้มาแปะ และถงั ขยะมา 4.เอารูปภาพขยะท่ีตดั เสร็จ มาใส่ใน ติดใหส้ วยงาม ท่ีเกบ็ ใหเ้ รียบร้อย

รูปภาพกบั สื่อการสอน รูปภาพกล่องขา้ งนอก รูปภาพสื่อขา้ งใน

จัดทาโดย นางสาวเกาษัร ซี 6206810090


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook