Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเหนือ

รวมเหนือ

Published by vichakan2552, 2020-11-04 08:28:56

Description: รวมเหนือ

Search

Read the Text Version

ภาคเหนอื ช่อื พระ : พระพุทธโกศยั สริ ิชัยมหาศากยมุนี ท่ีประดิษฐาน : วดั พระบาทม่งิ เมือง จังหวดั แพร ความสำคัญ/ประเพณี : พระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี หรือที่ชาวบานนิยมเรียก วา \"พระพทุ ธโกศัย\" สรางขึ้นระหวางวันที่ 22-24 เมษายน 2498 ซึ่งไดสรางขึ้นตามตำราสำคัญกอนที่จะสรางพระพุทธรูป โกศัยฯน้ัน พระครูธรรมสารสุจิต วัดพระบาทม่ิงเมืองวรวิหาร ไดพบหนังสือใบลานผูกหน่ึง เปนตำราวา ดวยการสรางพระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์ ถาสรางพระพุทธรูปตรงกับวันข้ึน 1-2-3 ค่ำ เดือน 7 เหนือ หรือ เดือน 5 ใต จะไดพระพุทธรูปศักดิ์สิทธ์ิคูบานคูเมือง จึงมีการกำหนดที่จะสรางพระพุทธรูป ข้ึนในวันที่ 22-23-24 เมษายน 2498 ตรงกับวันขึน้ 1-2-3 คำ่ 1 ศอก มสี วนคลา ยพระพุทธชนิ ราช พทุ ธศลิ ป/ สมยั /ยคุ : พระพุทธโกศัยศริ ชิ ัยมหาศากยมนุ ี เปนพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนผสมสมยั สุโขทยั ปางมารวชิ ยั หนาตักกวาง 1 วา 5 น้ิว ความสูง 1 วา เจาภาพ : พ.ท.นพดล เตชะ

ช่ือพระ : พระพทุ ธสโุ ขสมั ฤทธ์อิ ุตรดิตรมนุ ี ทปี่ ระดษิ ฐาน : วดั คุง ตะเภา จังหวดั อุตรดติ ถ ความสำคัญ/ประเพณี : พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำคัญคูบานคูเมืองอุตรดิตถ หลอดวยทองสัมฤทธิ์บริสุทธ์ิ หนาตักกวาง ๒ ศอกเศษ มีพุทธลักษณะงดงามตามแบบอยางสกุลชางสุโขทัย-เชียงแสน ซึ่งเปนแบบท่ีพบ ไดนอยมากและหายากท่ีสุด โดยเปนพระพุทธรูปสำคัญเพียงองคเดียวในจังหวัดอุตรดิตถ สรางข้ึนกอน สมัยสุโขทัยยุคท่ี ๑ หรือรวมสมัยยุคแรก ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ถึง พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ คำนวนอายุท่ี สรา งองคห ลวงพอ ก็นบั วา ไมนอยกวา ๘๐๐ ปมาแลว พทุ ธศิลป/สมยั /ยุค : พุทธลักษณะปางมารวชิ ยั สมัยสโุ ขทัยเปนราชธานี ในชวงพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ เจาภาพ : พ.ท.ฐากรู ประกอบบุญ

ช่ือพระ : พระรอดลำพนู ทปี่ ระดิษฐาน : วัดมหาวัน จงั หวัดลำพนู ความสำคัญ/ประเพณี : การคนพบพระรอดครั้งแรก มีขึน้ ในสมัยตน รชั กาลที่ 5 ซึ่งจากบนั ทึกของทางวัด มหาวันไดระบุไววาในป พ.ศ.2325 พระเจดียวัดมหาวันไดชำรุดและพังทลายลงบางสวนตรงกับสมัยของ เจา หลวงเหมพนิ ทไุ พจิตร เปนเจาผูครองนครประเทศราชลำพนู ทางวดั จงึ ไดบ รู ณะปฎิสงั ขรณพระเจดยี  ซ่ึง ในคร้งั นน้ั มีการคนพบ พระรอดเปน จำนวนมากที่สุด และไดนำบรรจุเขาไวในพระเจดยี ตามเดิม ตอมาในป พ.ศ.2451 ฐานพระเจดียว ัดมหาวันชำรดุ ทางวัดก็ไดบูรณะปฎิสังขรณ ก็ปรากฏพบพระรอดท่ีบรรจุไวใน ป พ.ศ.2435 จึงนำออกมาแจกจายแกขาราชการ และผูมารวมงานในครั้งน้ัน พระรอดท่ีพบในคร้ังนั้น เรยี กวา \"พระรอดกรุเกา \" พทุ ธศลิ ป/ สมัย/ยคุ : พระรอดวัดมหาวนั มีอยดู วยกนั 5 พมิ พ คือ 1. พระรอดพมิ พใหญ 2. พระรอดพมิ พกลาง 3. พระรอดพมิ พเลก็ 4. พระรอดพิมพตอ 5. พระรอดพมิ พตนื้ เจา ภาพ : พ.ต.โชคชยั เจกะโพธ์ิ

ช่อื พระ : พระเจาตนหลวง ท่ีประดิษฐาน : วัดศรีโคมคำ จงั หวัดพะเยา ความสำคัญ/ประเพณี : พระเจาตนหลวง วัดศรีโคมคำ เปนพระพุทธรูปเกาแกคูบานคูเมืองพะเยามาชา นาน ตำนานการกอสรางพระเจาตนหลวงกลาวไววา ในสมัยพุทธกาลพระสัมมาสัมพุทธเจาไดเสด็จมา ประทับฉันภัตตาหารที่ริมกวานแหงนี้ เมื่อฉันภัตตาหารเสร็จ พระอานนทจึงรับบาตรลงไปตักน้ำ ปรากฏ วามีพระยานาคขึ้นมาสำแดงฤทธิ์ จนสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ตองเสด็จมาแสดงปาฏิหาริย เนรมิต พระวรกายใหสูงใหญเทาพระพุทธเจากะกุสันธะและตรัสเลาเรื่องความเปนมาของหนองน้ำแหงน้ี พระยา นาคจึงยอมถวายน้ำและเกิดศรัทธาที่จะชวยสืบทอดพระพุทธศาสนาตอไป โดยรับท่ีจะสรางพระพุทธรูป องคใหญเทาพระวรกายพระพุทธเจากะกุสันธะถวาย ณ ริมหนองน้ำ ซ่ึงปจจุบันก็คือ พระเจาตนหลวง และในวนั วสิ าขบชู าทุกปจ ะมปี ระเพณนี มสั การพระองคหลวงเดือนแปดเปง พทุ ธศิลป/ สมัย/ยุค : สรางขนึ้ เมอื่ ป พ.ศ.2034-2067 มีหนาตกั กวา ง 16 เมตร สูง 18 เมตร นบั เปน พระพทุ ธรปู ศิลปะเชียงแสน ท่สี ูงใหญท่สี ดุ ในดนิ แดนลานนา เจา ภาพ : พ.อ.ยรรยง ทพิ าปกรณ/ พ.ท.สทุ ธิพงษ ฉายา

ชื่อพระ : พระพทุ ธสิหงิ ค ที่ประดิษฐาน : วัดพระสิงหว รมหาวหิ าร จังหวัดเชียงใหม ความสำคัญ/ประเพณี : พระพทุ ธสิหิงค เปนพระพุทธรูปโบราณหลอดวยสำริดหุมทอง ปางสมาธิ สูง 79 เซนติเมตร หนาตักกวาง 63 เซนติเมตร โดยมีพระเจาสีหฬะ พระมหากษัตริยแหงลังกาทวีปทรงสรางข้ึน เมื่อ พ.ศ. 700 และในเทศกาลสงกรานต จะมีการอัญเชิญพระสิงหสิหิงคประดิษฐานบนบุษบกแหรอบ เมอื งเชยี งใหมใ หประชาชนสรงน้ำ เพอื่ ความเปนสริ ิมงคลเปน ประจำทกุ ป พุทธศลิ ป/ สมัย/ยุค : เปนศิลปะแบบลังกา เจา ภาพ : พล.ต.บรรณวฒั น พรหมจรรย

ชือ่ พระ : พระเจา ทองทิพย ปางมารวิชยั หนาตกั กวา ง ๑๐ ฟุต สงู ๑๔ ฟุต ๔ นิว้ (๔.๑๑ เมตร) ที่ประดษิ ฐาน : พระอโุ บสถ วัดสวนตาล ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดนา น ความสำคญั : พระเจา ทองทิพย พระประธานท่สี รางสำเรจ็ ดว ยอำนาจทพิ ยแหงเทพเทวา เปนพระประธานในวิหารวัดสวนตาล ลักษณะเปนพระพุทธรูปทองสัมฤทธ์ิองคใหญ ปางมารวิชัย ประดิษฐานในวิหารสวนตาล หนาตักกวาง ๑๐ ฟุต สูง ๑๔ ฟุต ๔ นิ้ว (๔.๑๑ เมตร) ใชทองคำหนักกวา ๑๒ ตื้อ ซึง่ ใชทองเยอะท่ีสดุ ในแผนดินลา นนา เมอ่ื สรางพระพทุ ธรูปเสร็จแลว พระเจาตโิ ลกราชกท็ รงจดั ให มกี ารสวดปริตถมงคลและจัดใหมงี านมหกรรมเฉลมิ ฉลองทำบญุ เปนการใหญม โหฬารยงิ่ สว นชายชราน้ันก็ หายสาบสูญไปไมมีผูใดพบเห็นอีกเลย ประชาชนชาวเมืองตางโจษขานกันวาเปน เทพยดาแปลงกายลงมา ชวย จึงไดขนานพระพุทธรูปองคน้ีวา พระพุทธรูปทองทิพย หรือ พระเจาทองทิพย ต้ังแตน้ันมาจนถึง ปจ จุบนั พทุ ธศิลป : เปนพระพทุ ธรูปสำริดปางมารวิชัยองคใหญหนาตกั กวาง ๑๐ ฟุต สูง ๑๔ ฟุต ๔ น้ิว ใชท องคำ ในการสรางหนักกวา ๑๒ ตื้อ ซ่ึงใชทองเยอะที่สุดในแผนดินลานนา สรางขึ้นในสมัยพระเจาติโลกราชแหง นครเชียงใหม ซง่ึ เปนใหญใ นแควน ลานนาไทยในสมัยนน้ั ซ่ึงพระเจา ติโลกราชแหงนครเชียงใหม โปรดเกลา ฯ ใหส รา งขนึ้ ใน พ.ศ.๑๙๘๗ เจาภาพ : พ.ท.พลวรรธน อนิ ทำ

ช่ือพระ : พระมหามนุ ีมงคลเกา ปางมารวิชัย หนา ตกั กวาง ๓ เมตร สงู ๓.๒๕ เมตร ท่ปี ระดิษฐาน :พระวิหารวัดหวั เวยี ง ความสำคัญ :เปนพระพุทธรูปประจำจังหวัดแมฮองสอน จะมีพิธีทำบุญโดยการลางหนาพระพุทธรูป เปนประจำทุกป พุทธศิลป : เปนพระพุทธรูปปางมารวชิ ัยทรงเครอื่ งแบบพมา มีพุทธลักษณะที่งดงามมาก จําลองจากพระ มหามัยมุนี วัดพระมหามุนี เมืองมัณฑะเลย เมื่อป พ.ศ. 2460 มีขนาดหนาตักกวาง 3 เมตร สูง 3.25 เมตร องคพระหลอดวยโลหะสำริด พระพักตรหลอดวยโลหะสำริดที่มีสวนผสมของทองคำ ดวยการหลอ เปน ช้ิน รวม 9 ชิ้น นำ้ หนัก รวม 999 กิโลกรมั และนำมาโดยทางเรอื ตามแมน้ำสาละวนิ เขาสูแมน้ำปาย มาประกอบข้ึนเปนองคพระพุทธรูป ที่วัดพระนอน อ.เมืองแมฮองสอน พรอมทั้งไดมีการบรรจุพระบรม ธาตุไวในพระเศียร จากนั้นไดอัญเชิญมาประดิษฐานที่พระวิหาร วัดหัวเวียง จนถึงปจจุบัน ซึ่งในการลาง พระพกั ตรของพระเจาพาราละแขงในครง้ั น้ีเปน ครัง้ แรก และจะมีการทำพธิ ลี างพระพักตรตอไปทกุ ป เจาภาพ/ผสู รา ง พ.อ.กมั ปนาท วาพนั สุ

ช่อื พระ : พระสงิ ห ปางมารวชิ ัย หนาตักกวาง ๒๐๔ เซนตเิ มตร สูงทั้งฐาน ๒๘๔ เซนติเมตร ที่ประดิษฐาน : เปนพระประธานในวิหารวดั สวนตาล ความสำคัญ : เปนพระประจำจังหวัดเชียงราย พระพุทธสิหิงค หรือพระสิงห เปนพระพุทธรูปคูบานคูเมือง ของประเทศไทยมาอยา งยาวนานมหี ลกั ฐานปรากฏในสิหิงคนิทานบันทึกไววา สรา งขน้ึ เม่ือราวพุทธศักราช ๗๐๐ ในประเทศลังกา และประดิษฐานอยูที่ลังกา ๑๑๕๐ ป จากน้ันไดถูกอัญเชิญมาประดิษฐานยัง ราชอาณาจกั รไทยตามลำดับ ปจจบุ นั ประดิษฐานที่กรงุ เทพฯ พุทธศิลป : \" เปนพระพุทธปฏิมาศิลปะลานนาไทย พุทธศตวรรษที่ 21 เปนพระพุทธรูปศิลปะเชียงแสน สิงหหนึ่ง เน้ือสำริดปดทอง ปางมารวิชัย สรางในสมัยใดไมปรากฏ มีหนาตักกวาง ๒๐๔ เซนติเมตร สูงทั้ง ฐาน ๒๘๔ เซนติเมตร ประดิษฐานอยูในพระอุโบสถมีพุทธลักษณะสงางาม ประณีต ที่ฐานมีจารึกอักษร ธรรมลานนาไทยวา “กุลลา ธมฺมา อกุสลา ธมฺมา อพยากตา ธมฺมา” อันหมายถึง ปริศนาธรรมระดับ ปรมัตถในทางพระพุทธศาสนาท่ีระบุวา สภาวะธรรมท้ังปวงมี 3 ประเภท คือ 1. ธรรมทั้งหลายที่เปน “กุศล” ก็มี 2. ธรรมทั้งหลายท่ีเปน “อกุศล” ก็มี 3. ธรรมท้ังหลายที่อยูนอกเหนือจาก “กุศลและอกุศล” ก็มี เจาภาพ : นางคำสาย ฉายา

ชื่อพระ : พระเจา แกวมรกต ที่ประดิษฐาน : กุฏพิ ระแกว วัดพระธาตุลำปางหลวง จ.ลำปาง ความสำคัญ : เปนพระพทุ ธรปู คบู านคูเมืองลำปาง พุทธศิลป : เปนพระพุทธรูปปางสมาธิ ศิลปะลานนาสลักดวยหยกสีเขียว มีงานนมัสการพระแกวดอนเตา ในวนั เพญ็ เดือน 12 ของทกุ ป เจา ภาพ : พ.ท.บญุ วฒั น จนั ทรมานนท

ชอ่ื พระ :หลวงพอศิลา ท่ปี ระดิษฐาน : มณฑปหลวงพอศิลาวัดทุงเสล่ยี ม จังหวดั สุโขทัย ความสำคัญ/ประเพณี : ชาวทุงเสลี่ยมจึงไดจัดงานสมโภชเฉลิมฉลองหลวงพอ ศิลาเปนประจำทุกป ในวันที่ 24 กุมภาพันธ ปจจุบัน “หลวงพอศิลา” ประดิษฐานอยูในมณฑป วัดทุงเสล่ียม ตำบลทุงเสลี่ยม อำเภอทงุ เสล่ียม จังหวัดสโุ ขทยั โดยมีพุทธบริษัทประชาชนจากท่ัวประเทศเดินทางมากราบไหวดว ยความ ศรทั ธาเปน ประจำตลอด พุทธศิลป/ สมยั /ยุค : พระพุทธรูปนาคปรก ปางสมาธิ สกัดจากหินทรายสีเทาทรงกรองศอ พาหุรัด กณุ ฑล สวมศิราภรณ สวมมงกฎุ เทริด พระพักตรทรงสเ่ี หล่ียม ประทับนง่ั ขดั สมาธิราบบนฐานขนาดนาค 3 ช้ัน นาคท่ีปรกอยูเหนือพระเศียรน้ันมี 7 เศียร ดานหลังหางนาคพาดข้ึนมาถึงลำตัวมีลวดลายแบบศิลปะ ลพบุรี องคพระวัดจากฐานถึงปลายยอดเศียรนาคสูง85.50 เซนติเมตร หนาตักกวาง 44 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 126.5 กิโลกรมั เจาภาพ : กกฝ.สกฝ.ยศ.ทบ

ชือ่ พระ : พระพุทธธรรมมหาราชา ทปี่ ระดษิ ฐาน : ศาลาไม วดั ไตรภมู ิ จงั หวัดเพชรบูรณ ความสำคญั /ประเพณี : พอถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ซ่ึงตรงกับวันสารทไทย ปรากฏวาพระ พุทธมหาธรรมราชาไดหายไปจากวัดไตรภูมิ ทำใหเจาอาวาส พระลูกวัด และชาวบานตางพากันคนหาใน ท่ีสุดก็พบ “พระพุทธมหาธรรมราชา” ดำผุดดำวายอยูบริเวณท่ีพบคร้ังแรก จากนั้นเปนตนมา คร้นั เมื่อถึง วนั เพญ็ ขึน้ 15 คำ่ เดือน 10 จึงมกี ารแหพระพุทธมหาธรรมราชาไปรอบเมือง จนกระทัง่ ถงึ บรเิ วณหนา วัด ไตรภูมิ จากนั้นผูวาราชการจังหวัดซึ่งเปนตัวแทนของชาวเพชรบูรณ จะเปนผูอุมพระพุทธมหาธรรมราชา ลงดำน้ำท้ัง 4 ทิศ ซ่ึงถือวาเปนสิริมงคลแกจังหวัด จนกลายเปนประเพณีอุมพระดำน้ำของจังหวัด เพชรบูรณต ราบถงึ ทุกวนั น้ี พทุ ธศิลป/ สมัย/ยุค : พระพุทธรูปปางสมาธิ ศิลปะลพบุรีทรงเคร่ือง สรางดวยเนื้อทองสัมฤทธิ์ มีขนาด หนา ตักกวา ง 13 นิว้ สงู 18 นิ้ว ไมม ฐี าน เจาภาพ : พล.ต. ชศู ักดิ์ สงวนบญุ ญพงษ / พ.อ. ชูศกั ดิ์ มหาวงศ

ชื่อพระ : พระพุทธหลวงพอเพชร ทป่ี ระดิษฐาน : พระอโุ บสถ วัดทาหลวง จังหวดั พิจติ ร ความสำคญั /ประเพณี : พอถึงวันท่ี 22 มกราคม ทุกป ชาวจังหวัดพิจิตร จัดงานนมัสการหลวง พอ เพชรและสมโภชเมืองพจิ ิตร ประจำป พุทธศิลป/สมัย/ยคุ : “หลวงพอเพชร” ซ่ึงเปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย สมัยเชียงแสนรุนแรกหลอ ดวยทองสัมฤทธ์ิ ในทาขัดสมาธิเพชร สังฆาฎิสั้นเหนือพระอุระ มีพุทธลักษณะงดงามมาก มีขนาดหนาตัก กวาง ๑.๔๐ เมตร (๒ ศอกเศษ) สูง ๑.๖๐ เมตร (๓ ศอกเศษ) ที่ที่ประทับน่ังตั้งอยูบนฐานมีรูปบัวคว่ำบัว หงายรองรับสรา งในระหวา งปพุทธศกั ราช ๑๖๖๐ ถึง ๑๘๘๐ สรา งมาแลว ประมาณ ๘๘๒ ป เจา ภาพ : พล.ต. ชศู ักด์ิ สงวนบญุ ญพงษ / กกฝ.สกฝ.ยศ.ทบ.

ชื่อพระ : พระพุทธหลวงพอ เทพโมี (หลวงพอโม) ทปี่ ระดษิ ฐาน : พระอุโบสถ วดั ทาหลวง จงั หวดั พิจติ ร ความสำคญั /ประเพณี :ปจ จุบัน วัดเทพโมี เปนพทุ ธศาสนสถานแหงสาธารณชนอยูในความดแู ล ของวดั เสด็จ อำเภอเมือง จังหวดั กำแพงเพชร และถกู บรรจใุ หเปนหน่ึงในสถานที่ทองเที่ยวของจงั หวดั กำแพงเพชร ในแตละวันจะมพี ทุ ธศาสนกิ ชนแวะเวียนมากราบไหวบชู าเพื่อขอพรและแกบ นเม่ือประสบ ความสำเร็จในสิ่งที่ตนปรารถนาตอทา นเสมอมไิ ดขาดสำหรับเครื่องแกบ น นอกจากดอกไมธูปเทยี นแลวกม็ ี ขนมจีนกับแปงขาวหมาก พุทธศิลป/ สมัย/ยคุ : ศลิ ปกรรมเปนพระพุทธรปู โบราณสมัยอูทอง พระพทุ ธรปู ปางมารวิชยั ขดั สมาธิ ราบ กอ อฐิ ถือปูน ขนาดหนา ตกั กวาง 10 ศอก 1 คืบ สูง 13 ศอก 1 คืบ ไดรับการบรู ณปฏสิ งั ขรณ สรา งครอบองคเดมิ ไวภายในเมอ่ื พทุ ธศักราช 2519 (เดิมสนั นิษฐานวา เปนศิลปะสมยั อยธุ ยาตอนตน) เจาภาพ : พล.ต. สปุ ญ ญา วไิ ลรัตน

ช่ือพระ : พระพทุ ธหลวงพอ แสนทอง ทป่ี ระดษิ ฐาน : ณ พระอุโบสถ วัดทา หลวง จงั หวัดพจิ ิตร ความสำคญั /ประเพณี : ชาวจังหวัดตาก อัญเชิญ “หลวงพอแสนทอง” พระคูบานคูเมืองตาก พทุ ธศิลป/สมัย/ยุค แหรอบเมืองใหประชาชนสรงนำ้ -สักการะชวงงานสงกรานต เพ่ือความเปน เจา ภาพ สิรมิ งคล : เปนพระพทุ ธรูปปางมารวิชัย ศลิ ปะสมัยเชียงแสน สิงหสาม : พล.ต. สุปญ ญา วิไลรตั น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook