Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงและช่วงอายุ งานส่ง

ชุดที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงและช่วงอายุ งานส่ง

Published by tanagrit2519, 2020-06-16 13:34:04

Description: ชุดที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงและช่วงอายุ งานส่ง

Search

Read the Text Version

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ แบบ 4 MAT เรอื่ ง ช่วงชวี ิตและการเปลย่ี นแปลในแต่ละช่วง กล่มุ สารการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 3 เล่ม 1 ช่วงชวี ิตและการเปลย่ี นแปลในวยั ทารก วยั ก่อนเรยี น นายธนกฤต ศริ โิ ฉม ตาแหน่ง ครู วิทยาฐาน ครชู านาญการ โรงเรยี นหนองสนทิ วิทยา อาเภอจอมพระ จงั หวดั สรุ นิ ทร์ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ส่วนประกอบของชดุ กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT กล่มุ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เรื่อง ชว่ งชวี ติ และการเปลยี่ นแปลในแตล่ ะช่วง ชดุ ที่ 1 ชว่ งชีวติ และการเปลย่ี นแปลในวยั ทารก วยั ก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เรือ่ ง ชว่ งชวี ติ และการเปล่ียนแปลในแต่ละชว่ ง มีส่วนประกอบ ดังน้ี 1. ค่มู อื ครู ประกอบดว้ ย 1.1 คาช้แี จงสาหรับครู 1.2 บทบาทครู สิ่งท่คี รูตอ้ งเตรียม 2. คู่มือนกั เรยี น ประกอบด้วย 2.1 บทบาทนักเรียน 2.2 เนอื้ หาทีจ่ ะเรยี น 3. สื่อการเรียนและอปุ กรณ์การเรยี น ประกอบด้วย 3.1 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 3.2 บตั รคาชแ้ี จง 3.3 บัตรเน้อื หา 3.4 บัตรกจิ กรรม 3.5 บัตรเฉลยกจิ กรรม 3.6 แบบทดสอบหลงั เรียน

คาชแ้ี จงสาหรบั ครู ศกึ ษาขั้นตอนในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนร้แู บบ 4 MAT กล่มุ สาระการเรียนรู้ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 เรื่อง ช่วงชวี ิตและการเปลีย่ นแปลในแตล่ ะช่วง และปฏิบัติตามขัน้ ตอนอยา่ งเครง่ ครดั 1. ครูนาเข้าสู่บทเรียนและชี้แจงจดุ ประสงค์ในการเรียน 2. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม จานวน 3 กลุม่ กลุ่มละเทา่ ๆ กัน 3. ครอู ธิบายวธิ กี ารใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 เร่ือง ช่วงชวี ติ และการเปล่ียนแปลในแตล่ ะช่วง 4. อธิบายใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเกี่ยวกับบทบาทของนักเรียน 5. ครใู ห้โอกาสนักเรียนทไ่ี ม่เขา้ ใจไดซ้ กั ถามเก่ียวกับวิธกี ารเรยี น ขัน้ ตอนการใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หรือบทบาทของนกั เรียนเอง ตลอดจนขอ้ ข้องใจอื่น ๆ 6. กอ่ นเรยี นชดุ กิจกรรมการเรียนร้แู ตล่ ะชดุ ตอ้ งใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบ ก่อนเรียน 7. เมอ่ื นกั เรยี นเขา้ นง่ั ประจากลุ่มของตนเองแล้ว ตวั แทนกลุ่มจะรบั ชุดกิจกรรม การเรียนรู้ กลุม่ ละ 1 ชุด 8. ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ัติกจิ กรรมในเวลาทก่ี าหนดให้ อย่างเคร่งครดั 9. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน โดยใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 10 นาที 10. ถา้ นกั เรียนไมผ่ า่ นเกณฑท์ รี่ ะบุไว้ ครคู วรให้นกั เรียนศึกษาเน้ือหาใหมอ่ ีกครั้ง แลว้ ทาแบบทดสอบหลังเรียนให้ผ่านเกณฑ์ทีก่ าหนดไว้

บทบาทครู สง่ิ ท่ีครคู วรปฏบิ ตั ิกอ่ น - หลงั และขณะทใ่ี ชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้ มีดงั น้ี 1. ศึกษาวธิ ีใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ตลอดจนการจดั การเรียนรู้แบบ 4 MAT 2. ค้นคว้า และอ่านเนือ้ หาทเ่ี กย่ี วข้องเพ่มิ เตมิ 3. เตรียมการสอนล่วงหน้า เตรยี มสถานท่ี สือ่ การสอนตา่ ง ๆ ตลอดจนวสั ดุอปุ กรณ์อน่ื ๆ ที่ ไมไ่ ด้จัดไวใ้ นชดุ กิจกรรมใหพ้ รอ้ มกอ่ นท่จี ะใช้ 4. การจดั ห้องเรียนควรแบ่งนักเรยี นเปน็ กลุ่ม จานวน 3 กล่มุ กลมุ่ ละเท่า ๆ กนั จัดวางส่อื การ สอนตามแผนผงั การจัดช้ันเรยี น (อาจเปล่ียนแปลงได้) 5. ดแู ลตรวจสอื่ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่มี อี ยใู่ นชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ให้เรียบรอ้ ยกอ่ นและหลงั การใช้ทกุ ครัง้ 6. ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นทุกครัง้ 7. ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกล่มุ เลือกหวั หนา้ กลุ่ม กลุ่มละ 1 คน และเลขานุการกล่มุ กลุ่มละ 1 คน 8. ขณะทีน่ ักเรียนปฏิบตั ิกิจกรรม ครูผู้สอนควรดูแลอย่างใกลช้ ิด ถา้ เกิดปัญหาในการเรียนจะ ได้ให้ความช่วยเหลือทันที รวมทงั้ อธิบายขอ้ สงสยั ในการเรียนเป็นรายบคุ คลด้วย 9. ขณะนกั เรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรม ครไู มค่ วรพดู เสยี งดัง หากมีอะไรจะพดู ต้องพดู เป็นรายกลุม่ หรือรายบคุ คล ต้องไม่รบกวนการปฏิบตั ิกจิ กรรมของกลมุ่ อื่น ยกเว้นกรณี ที่นักเรยี นมีขอ้ สงสยั 10. ใหน้ ักเรียนทุกกลุม่ รว่ มแสดงความคิดเหน็ เพ่อื สรปุ บทเรียนรว่ มกนั 11. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 10 ข้อ ทกุ ครัง้ เมือ่ เสร็จจากการปฏบิ ัติชดุ กจิ กรรม การเรียนรู้

แผนผังการจัดช้ันเรียน กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 เรื่อง ชว่ งชีวิตและการเปลยี่ นแปลในแต่ละชว่ ง

สง่ิ ทีค่ รตู อ้ งเตรียม 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน จานวน 10 ชุด 2. บัตรคาชีแ้ จง จานวน 3 ชุด 3. บัตรเน้ือหา จานวน 10 ชดุ 4. บัตรกิจกรรม จานวน 10 ชดุ 5. แบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ชดุ 6. เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน จานวน 3 ชดุ 7. บตั รเฉลยกิจกรรม จานวน 3 ชดุ 8. เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น จานวน 3 ชดุ 9. กระดาษคาตอบ จานวน 10 ชุด

บทบาทนักเรยี น ครตู ้องชี้แจงให้นกั เรียนทราบถึงบทบาทของนักเรียน ดงั น้ี 1. หัวหน้ากลมุ่ มหี น้าท่ี ดังน้ี 1.1 เปน็ ผู้นาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่ม โดยทาหน้าทีอ่ า่ นบัตรกิจกรรมเพ่อื ให้ทกุ คนทาตามคา ช้แี จงในการประกอบกจิ กรรม ให้เป็นไปตามข้ันตอน 1.2 ควบคมุ ดูแลการทางาน หรอื การประกอบกิจกรรมภายในกลมุ่ ให้เป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย ไม่ สง่ เสยี งดงั รบกวนกลุม่ อน่ื 1.3 ตรวจเช็คการจดั เก็บอุปกรณใ์ ห้เรยี บรอ้ ยหลงั เสร็จกิจกรรมการเรียนแล้ว 1.4 เป็นผ้ตู ดิ ตอ่ กบั ครเู มือ่ มีปัญหาภายในกลุม่ 1.5 เป็นผู้อ่านบัตรเฉลยแตล่ ะกจิ กรรมให้เพื่อนฟังเพอ่ื ตรวจคาตอบ 2. เลขานุการกลุม่ มหี น้าที่ดงั นี้ 2.1 เป็นผ้แู จกบัตรกจิ กรรมและรวบรวมสง่ ครูเมือ่ สมาชกิ ทุกคนทาเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ 3. สมาชกิ กลุ่ม มหี น้าที่ ดังนี้ 3.1 ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมด้วยความต้งั ใจและใหท้ นั ตามกาหนดโดยไมช่ วนเพื่อนคุยหรือเลน่ 3.2 ศึกษาบตั รเนอ้ื หา บตั รกิจกรรม และปรกึ ษาหารือกนั ภายในกลุ่ม 3.3 ร่วมอภิปรายและสรุปผลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม 3.4 ช่วยเกบ็ วสั ดอุ ุปกรณ์ สอื่ การสอนต่าง ๆ ของกลุ่มตนเองใสซ่ อง ให้เรียบร้อย นอกจากบตั ร บนั ทกึ กิจกรรมทีต่ ้องส่งให้ครตู รวจ ให้รวบรวมสง่ ครู

การประเมินผล 1. ผลการเรยี นประเมินจาก 1.1 ประเมนิ ผลจากการท าแบบทดสอบก่อนเรียน - แบบทดสอบหลงั เรียน 1.2 ประเมนิ ผลจากผลงานของนกั เรียนในการปฏบิ ัติกจิ กรรมจากบตั รกิจกรรม 1.3 สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ของนกั เรียน 1.4 ประเมนิ ผลจากการท าแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น 2. นักเรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ผล รอ้ ยละ 80 สามารถเรยี น ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ต่อไป ได้ หากนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ผลตอ้ งเรียนซ่อมเสริม การเรยี นซอ่ มเสริม นกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ให้นกั เรยี นศกึ ษาตามจดุ ประสงค์ที่ไม่ผา่ น แล้วทา แบบทดสอบหลงั เรยี นให้ผ่านเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้ โดยในการเรียนซอ่ มเสรมิ ใหน้ ักเรยี นปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. ศกึ ษาเนือ้ หาใหมอ่ กี คร้ัง 2. ใช้ระบบเพือ่ นชว่ ยเพื่อน 3. ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ

แผนภมู กิ ารใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ 4 MAT เรอ่ื ง ช่วงชีวติ และการเปลย่ี นแปลในแต่ละช่วง กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ขั้นที่ 1 ขน้ั สร้างคุณค่าและประสบการณข์ องสิ่งทีเ่ รียน ไมผ่ ่าน ข้ันที่ 2 ข้นั วิเคราะห์ประสบการณ์ ซอ่ มเสริม ข้ันท่ี 3 ขนั้ ปรบั ปรุงประสบการณค์ วามคิดรวมยอด ข้ันที่ 4 ขั้นพัฒนาความคดิ รวบยอด ขั้นท่ี 5 ขัน้ ลงมือปฏิบัตกิ จิ กรรมจากกรอบความคิดที่กาหนด ขั้นท่ี 6 ข้ันสร้างช้นิ งานเพื่อสะทอ้ นความคิดเป็นของตนเอง ขั้นที่ 7 ขั้นวิเคราะหแ์ ละประยุกตใ์ ช้ ขั้นที่ 8 ขน้ั แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรูก้ ับผู้อน่ื ผา่ น จบ

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT เรอ่ื ง ชว่ งชวี ติ และการเปล่ยี นแปลในแตล่ ะช่วง กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ชดุ ท่ี 1 ชว่ งชีวติ และการเปลี่ยนแปลในวยั ทารก วัยก่อนเรียน สาระสาคญั การเปรยี บเทยี บการเปล่ยี นแปลงทางดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญาแต่ละ ช่วงของชีวติ จะทาให้เข้าใจพฒั นาการในแตล่ ะด้านของชว่ งวยั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แตล่ ะช่วงของชวี ิตได้ (K) 2. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา แต่ละช่วงของชวี ิต (P) 3. ยอมรับการเปลีย่ นแปลง ทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปญั ญาแตล่ ะช่วง ของชวี ิต (A)

แบบทดสอบก่อนเรียน เรอ่ื ง ชว่ งชวี ิตและการเปลย่ี นแปลในแตล่ ะชว่ ง กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ชุดที่ 1 ช่วงชวี ติ และการเปล่ยี นแปลในวยั ทารก วยั กอ่ นเรียน คาช้แี จง กาเคร่อื งหมาย ( x ) ขอ้ ท่ถี กู ทีส่ ุดเพยี งขอ้ เดยี ว 1. ข้อใดกล่าวถกู ตอ้ งเกยี่ วกับวยั ทารก ก. ร่างกายมีการเจรญิ เติบโตช้า ข. โกรธง่ายหายเร็ว ค. เปน็ วยั ท่เี ริ่มต้นของพัฒนาการทางสงั คม ง. ไว้ใจทุกคน 2. วยั กอ่ นเรยี นมกี ารเปลี่ยนหลายๆดา้ นของใดกลา่ วถูกตอ้ งเกย่ี วกบั การเปลย่ี นของวยั น้ี ยกเวน้ ก. การเปล่ียนแปลงทางดา้ นร่างกายต้องการความเปน็ อิสระ อยากรูอ้ ยากเหน็ ข. การเปล่ยี นแปลงทางดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจไมป่ ดิ บงั แปรปรวนงา่ ย หงดุ หงิด โกรธงา่ ยหาย เร็ว ค. การเปล่ียนแปลงทางด้านสังคมเริ่มออกจากสงั คมบา้ นเข้าสู่สังคมโรงเรียน เรมิ่ รจู้ ักเลน่ และ คบเพื่อน ง. การเปล่ียนแปลงทางด้านสติปญั ญาความอยากรู้อยากเห็น ช่างสงสัย จึงทาให้เดก็ แสดงออกโดยการซกั ถาม 3. ข้อใดกล่าวถึงปัจจยั ภายในท่ีมอี ิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพฒั นาการของเด็กวยั เรียนได้ ถูกตอ้ งทส่ี ดุ ก. เปน็ ผลกระทบทีเ่ กิดจากการอบรมเล้ียงดู ข. เปน็ ผลกระทบท่ีเกิดมาจากภาวะด้านสุขภาพ ค. เปน็ ปจั จัยท่ีเกดิ จากสภาพทางธรรมชาติของคนเรา ง. เปน็ ปจั จยั ทีส่ ่งผลกระทบมาจากอิทธพิ ลของส่ิงแวดล้อม

4. ขอ้ ใดคือแนวทางที่ถูกตอ้ งในการปรบั ตวั ของวัยรุ่นตอ่ การเปล่ยี นแปลงทางด้านอารมณ์ และจติ ใจ ก. พยายามหาภาพโป๊เปลือยมาศกึ ษา ข. พยายามฝึกจิตใจให้มคี วามสงบ รา่ เริง ค. พยายามฝึกตนเองใหส้ ูค้ นโดยนัดชกต่อยกับเพอื่ นโรงเรยี นอืน่ ง. ไมม่ ขี ้อใดถูก 5. ข้อใดถกู ตอ้ ง ก. วัยรุ่นตอนตน้ 10 – 14 ปี ข. วัยร่นุ ตอนกลางเป็นระยะทด่ี ือ้ รั้น โมโหง่าย มักจะมีความขัดแยง้ กับพ่อแม่สูง ค. วันรนุ่ ตอนปลายการเปลยี่ นแปลงทางร่างกายเร่ิมสมบรู ณ์เตม็ ท่ีเปน็ ระยะที่เริม่ ทดลอง เก่ียวกับเพศ ง. วยั รนุ่ ตอนต้นรจู้ ักบทบาทของเพศเองเตม็ ที่ มีความเปน็ อิสระเต็มที่ในการดารงชวี ติ และการประกอบอาชพี 6. ขอ้ ใดเปน็ สิ่งท่ีเชอ่ื มโยงไปถงึ สภาพจติ ใจและอารมณข์ องวัยรุ่น ก. ความดื้อรัน้ ข. ความกา้ วร้าว ค. ความวติ กกงั วล ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก 7. วัยรุ่นมีการเปลีย่ นแปลงด้านจิตใจและอารมณ์ในลกั ษณะใดต่อไปนี้ ก. ดา้ นร่างกายที่เกดิ ขนึ้ อย่างรวดเร็ว ทาให้วยั รุน่ เกดิ ความรู้สึกวติ กกงั วล ข. หน้าตาของตน และย่งิ เกดิ ปัญหาสิวหนมุ่ สวิ สาว ความวติ กกังวลกจ็ ะยิง่ มมี ากข้ึน ค. มีความรนุ แรงแต่ อ่อนไหวไมม่ ่ันคง ถ้าต้องการจะทาอะไรก็ตอ้ งทาให้ได้ ง. ถูกทกุ ข้อ 8. ข้อใดคอื ลักษณะสาคัญของวยั ผู้ใหญ่ ก. รา่ งกายเส่อื มสภาพ ข. จริงจังกับการทางาน ค. หมดกาลังใจในชีวิต ง. เปน็ ท่ีรักใครข่ องบุตรหลาน

9. ข้อใดกล่าวถูกต้องทส่ี ดุ ก. การควบคุมอารมณ์ได้ดขี ึ้น มคี วามมน่ั คงทางจิตใจดกี วา่ วัยรนุ่ คานงึ ถึงความรสู้ กึ ของ ผอู้ ืน่ ร้สู กึ ยอมรับผู้อ่ืนได้ดขี ึน้ เปน็ การเปลี่ยนแปลงของวยั รนุ่ ข. สมองฝ่อและมีนา้ หนกั ลดลง มีเลอื ดมาเลีย้ งสมองน้อยลง เซลล์ประสาทตายเพม่ิ ขน้ึ และจานวนเซลลล์ ดลงตามอายเุ ป็นการเปลย่ี นแปลงทางด้านร่างกายของวยั ผู้ใหญ่ ค. ถ้าถูกขัดขวางจะตอบโตอ้ ยา่ งรนุ แรง แต่ความต้องการนัน้ จะเปลี่ยนแปลงได้งา่ ย หันเห ไปส่คู วามตอ้ งการความสนใจ ใหม่ ๆ อยู่เสมอเปน็ การเปล่ียนแปลงทางดา้ นจิตใจและอารมณ์ของ วยั รุ่น ง. ถกู ทกุ ข้อ 10. การเปลีย่ นแปลงทางด้านอารมณข์ องวัยรอู้ ายุยกเวน้ ข้อใด ก. เปน็ วยั ทีต่ อ้ งการความสงบ ต้องการพกั ผอ่ น ข. สญู เสียความสามารถทางรา่ งกาย สูญเสียมรรควธิ ีในการปลดปลอ่ ยแรงขบั พ้นฐาน สูญเสยี ในวฒั นธรรมทีส่ นใจ ค. ผวิ หนังเหีย่ วยน่ มจี ุดตกกระเพ่ิมข้ึน ผมจะบางและจะเปล่ยี นเปน็ สีเทาหรอื สีขาว หลงั โกง การเคล่ือนไหวเช่ืองชา้ พละกาลงั นอ้ ยลง ง. ถูกข้อ ก และขอ้ ข

บัตรคาช้แี จง 1. เมื่อนักเรียนรบั ชุดกิจกรรมการเรียนรู้จากครู แล้วดาเนนิ การเลือกหัวหนา้ กลุ่ม และ เลขานุการกลุ่ม นกั เรียนท่ีเหลือเปน็ สมาชิกกล่มุ เมื่อได้หวั หน้ากลุ่มแล้วใหห้ วั หนา้ กลุม่ เปน็ ผดู้ าเนนิ กจิ กรรมต่อ 2. หัวหน้ากลมุ่ ตรวจสอบส่ิงทอ่ี ยู่ในซองว่ามคี รบถ้วนหรอื ไม่ โดยดูจากรายการ หน้าชุดกจิ กรรมการเรียนรู้แลว้ อา่ นหน้าทขี่ องสมาชกิ ในกล่มุ ให้เพือ่ นฟงั หวั หนา้ กลุม่ * เปน็ ผ้นู าในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่ม * ควบคมุ ดแู ลการปฏบิ ัติกจิ กรรมภายในกล่มุ * ตรวจเช็คการจัดเกบ็ อุปกรณ์ใหเ้ รยี บร้อย * เปน็ ผ้ตู ิดตอ่ ประสานงานกบั ครูเมอื่ มปี ัญหา * อา่ นบัตรเฉลยให้เพื่อนฟงั เพ่อื ตรวจคาตอบ เลขานุการกลมุ่ * เปน็ ผูแ้ จกบัตรกิจกรรมและรวบรวมส่งครูเมือ่ สมาชิกทุกคน ทาเสร็จเรียบร้อยแล้ว สมาชิกกลุ่ม * ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมด้วยความตั้งใจและใหท้ นั ตามกาหนดเวลา * ศกึ ษาบัตรเนอื้ หา บัตรกิจกรรม * ร่วมอภิปรายและสรุปผลจากการปฏบิ ัติกิจกรรม * ชว่ ยเก็บวัสดุอุปกรณ์ ส่ือการสอนตา่ ง ๆ ใส่ซองให้เรยี บร้อย 3. เมื่อแตล่ ะกลมุ่ ปฏบิ ัติกจิ กรรมเรียบรอ้ ยแลว้ ใหท้ าแบบทดสอบหลงั เรยี น 4. เมื่อทาแบบทดสอบหลังเรยี นเรียบรอ้ ยแลว้ ให้สมาชกิ ทุกคนชว่ ยกัน เก็บสอื่ การสอนทกุ อย่างใส่ซอง

บตั รเนือ้ หาที่ 1 การเจริญเติบโต หมายถึง กระบวนการพัฒนาต่อเนอื่ ง เป็นแบบแผนตามลาดับช้ัน ความก้าวหนา้ ของ พัฒนาการจาเปน็ ต้องมกี ารปรบั ประสบการณ์ใหม่ให้ เขา้ มารวมกบั ประสบการณเ์ ก่าและเกดิ ความสามารถ ใหม่ขน้ึ พัฒนาการณ์มนุษย์ หมายถึง กระบวนการ เปล่ยี นแปลงของมนษุ ยต์ งั้ แตแ่ รกจนเสยี ชวี ติ ซง่ึ เป็น การเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา มกี ารพัฒนาตามช่วงวัยเริม่ ตง้ั แต่วยั ทารก วัยเด็ก วยั รุ่น วยั ผใู้ หญ่ และวัยผ้สู งู อายุ ตามลาดบั การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของทารก 1 ช่วงวยั ของทารก วัยทารก หมายถึง ชว่ งเวลาของชีวิตตั้งแต่ กาเนิดสโู่ ลกภายนอก จนถึงอายุ 24 เดือนซง่ึ สามารแบง่ เป็น 2 ชว่ งคือ ช่างวัยแรกเกดิ (infancy) และชว่ งวยั ทารก (babyhood) - ช่วงวัยทารกแรกเกิด นับต้งั แตค่ ลอดจนถงึ 2 สปั ดาห์เปน็ ระยะท่ีทารกฟ้นื ตวั จากการคลอด และมรการปรับตัวเขา้ กบั ส่ิงแวดล้อมโดยเฉพาะอุณหภมู ภิ ายนอกครรภม์ ารดา เนอื่ งจากขณะอยู่ในครรภ์มารดาจะอุณหภูมิระ มาร 37 องศาเซลเซยี ส แตค่ ลอดออกมาแล้วจะอย่ใู นอุณหภูมิประมาณ 37 องศาเซลเซยี ส - ชว่ งวัยทารก นบั ตัง้ แต่อายไุ ด้ 2 สัปดาห์ถงึ 2 ปี ในช่วงวัยนี้ ทารกจะแสดงความสนใจ ต่อสง่ิ แวดลอ้ มภายนอก สามารถสือ่ สารกบั กับคนรอบตวั ไดด้ ีข้นึ 2 การเจรญิ เตบิ โต พฤติกรรม และพัฒนาการของวัยทารกแรกเกดิ ทารกแรกเกิดน้ันเม่อื ดผู ิวเผนิ มุกคนจะมลี กั ษณะทีค่ ลา้ ยๆกัน การเจริญเติบโตและ พฒั นาการของทารกแรกเกิดนนั้ สามารถแบง่ ออกด้านตา่ งๆ ดังนี้

2.1 พัฒนาการทางด้านร่างกาย โดยส่วนใหญ่ทารกแรกเกิดจะมนี ้าหนกั โดยเฉลี่ย ประมาณ 3,100 กรมั และมีลาตัวยาวประมาณ 50 เซนตเิ มตร สัดสว่ นของศรี ษะตอ่ ลาตัวของทารก แรกเกดิ เป็น 1 ตอ่ 4 จะมีแขนขาสั้นและงออยแู่ ทบตลอดเวลา มือและเท้าค่อนขา้ งเล็ก ผิวหนงั อ่อน นุ่ม มีสอี มชมพู ผมเส้นเลก็ อ่อนนมุ่ ตามหนา้ ผาก หลัง และแขนขามีขนออ่ นๆขนึ้ ซง่ึ จะค่อยๆรว่ งไปใน ที่สดุ โครงกระดกู ออ่ น โดยเฉพาะกะโหลกศีรษะ จึงตอ้ งจับดว้ ยความระมดั ระวังกล้ามเนื้อยังมนี อ้ ย และควบคุมการเคล่อื นไหวไม่ได้ 2.2 พัฒนาการทางด้านพฤตกิ รรม ทาอะไรไดไ้ มม่ ากนกั เนอ่ื งจากสมองและประสาทยัง พัฒนาได้ยงั ไมเ่ ต็มท่ี พฤติกรรมของทารกแรกเกิดมีไวเ้ พอื่ ตอบสนองต่อการอยู่รอดของชวี ิต เชน่ การ ดน้ิ ไปมาของทารก หรือการหลับตาเม่ือมแี สงจ้า การรู้จกั ดดู นว้ิ หรอื หัวนิว้ หรือหัวนมแม่ท่มี ผี ูใ้ ส่เข้าไป ในปาก ทารกแรกเกิดจะรับรูส้ ิง่ แวดลอ้ มโดยใช้อวัยวะสมั ผสั คือ ตา หู จมกู ปาก และผวิ หนัง โดยในระยะแรกเกดิ จะมองเห็นเป็นสดี า ขาว และเทาจนเมอื่ อายไุ ด้ 2 สปั ดาห์จะรูจ้ ักแยกสีได้ ในด้าน การไดย้ ินน้นั แรกเกดิ จะไม่คอ่ ยไดย้ ิน ตอ่ มาเริม่ มีปฏกิ ริ ยิ าเริม่ ตอบสนองโดยเฉพาะเสยี งสงู และดงั โดยการหยดุ ซะงักหรอื เรม่ิ ร้องไห้ เป็นต้นการติดต่อกบั โลกภายนอกเป็นไปใน 2 ลักษณะได้แก่ การยม้ิ และการรอ้ งไห้ ซึง่ ใช้ส่ือความเข้าใจกบั คนเลีย้ งทาใหค้ นเลย้ี งมปี ฏิกริ ยิ าตอบโต้ เชน่ พูดด้วย เอานมให้ ดูด เปน็ ตน้ 2.3 พัฒนาการทางดา้ นอารมณ์ อารมณข์ องทารกแรกเกิด มี 3 ลกั ษณะคอื ความรัก ความโกธร และความกลัว ซ่งึ มอี ทิ ธพิ ลมาจากคนรอบข้าง โดยเฉพาะมารดาซึ่งเปน็ ผู้เลย้ี งดู หาก มารดามียอมรับและเอาใจใสใ่ นตวั ทารก กจ็ ะทาให้อารมณ์แจ่มใส่ 2.4 พฒั นาการทางด้านบคุ ลกิ ภาพ เป็นการพฒั นาตงั้ แตเ่ กดิ โดยระยะแรกน้ัน เป็นผล มาจากพันธกุ รรมต่อมาเป็นผลของสิ่งแวดล้อมเปน็ หลกั โดยสงิ่ แวดลอ้ มนนั้ เร่ิมมีความสาคญั มากต้งั แต่ ทารกอยู่ในครรภ์ของแม่ หากทารกไดร้ ับความกระทบกระเทือน เนอ่ื งจากท่มี ารดาไมด่ ูแลเอาใจใส่ สขุ ภาพของตนเอง กจ็ ะส่งผลกระทบดว้ ยเชน่ กนั 2.5 การปรับตวั ของทารกแรกเกิด ตอ้ งมกี ารปรับตวั เข้ากบั สง่ิ แวดล้อมเป็นอยา่ งมาก โดยเฉพาะอณุ หภูมิของสิง่ แวดล้อมภายนอกที่แตกตา่ งจากครรภ์มารดา และยังมกี ารปรับตวั ในการ หายใจการดดู และกลืน รวมถึงการขบั ถ่ายอีกดว้ ย

3 การเจริญเติบโต พฤติกรรม และพฒั นาการของวยั ทารก พฒั นาการพื้นฐานท่ีสาคัญในวัยน้ี คือ พฒั นาการทางร่างกาย การเคลือ่ นไหวและการพดู ในขณะทพี่ ัฒนาการด้านอ่ืนเช่น สติปญั ญา อารมณ์และสังคม จะเกดิ ขึน้ ช้าๆ คอ่ ยเป็นค่อยไปและเหน็ ไดไ้ มช่ ดั เจนนกั 3.1 พฒั นาการทางด้านร่างกาย เติบโตรวดเร็วมากกว่าวัยอน่ื ยกเว้นรุน่ ระบบตา่ งๆ ของร่างกายทางานได้ดี ประสานกันอยา่ งมีประสิทธิภาพ พฒั นาการด้านกายจะเป็นไปตามวฒุ ิภาวะ มากกวา่ สิง่ แวดลอ้ ม และเปน็ อย่างสม่าเสมอหรอื มแี บบแผนที่แนน่ อนคือ จากศีรษะสเู่ ทา้ จาก แกนกลางลาตวั สู่มอื และเทา้ ตามีลกั ษณะดงั นี้ - สว่ นสงู ของทารก แรกเกดิ ทารกจะมี ส่วนสูงประมาณ 45-50 เซนตเิ มตร และเมือ่ มี อายไุ ดข้ วบปีแรก จะมคี วามสงู ประมาณ 75 เซนตเิ มตร - น้าหนักของทารก เม่ือแรกเกิดทารก จะมนี า้ หนักประมาณ 5 ของน้าหนกั ตวั ของผ้ใู หญ่ การเพิม่ ข้นึ ของน้าหนักตวั ชองเด็กจะพบว่าเปน็ 2 เม่าของทารกวัยแรกเกิด เมื่ออายไุ ดป้ ระมาณ 5 เดือน และอาจจะเพิ่มข้นึ เปน็ 3 เท่า และ 4 เท่า เม่ืออายุได้ 12 เดอื นและ 30 เดอื นตามลาดับ - ศีรษะและสมอง เด็กแรกเกดิ กะโหลกศีรษะยังมีกระดูกไมเ่ ตม็ วดั รอบศีรษะไป ประมาณ 33-37เซนตเิ มตร ในขณะทสี่ มองของเด็กแรกเกิดนัน้ จะมีนา้ หนกั ประมาณรอ้ ยละ 25 ของ นา้ หนกั สมองของผู้ใหญแ่ ละในระยะ 6เดือน จะเพมิ่ เปน็ รอ้ ยละ 50 เมอื่ อายไุ ด้ 4 ปซี ่ึงนับวา่ เป็น อวัยวะทม่ี กี ารพฒั นาการอยา่ งรวดเรว็ - สัดส่วนของร่างกาย โดยสดั สว่ นของ ศรี ษะต่อเมอื่ แรกเกิด จะเทา่ กบั ประมาณ 1:4 และเมอ่ื โต เต็มทจี่ ะเปน็ 1:7 ในขณะทสี่ ัดสว่ นของรา่ งกายจะเปลี่ยนแปลง ไปเชน่ กัน - โครงกระดูกและฟนั เจริญเติบโตเร็ว มาก จะเพิ่มข้ึนทง้ั จานวนของกระดกู ความยาว ความกวา้ ง และความแขง็ ตวั ซ่ึงพบวา่ กระดูกส่วนใหญ่ของทารกจะ แขง็ ตัวไมเ่ ตม็ ทผ่ี ู้ใหญแ่ ตก่ ระดูกบางส่วนเริ่มแข็งตัวขนึ้ เชน่

กระดกู มือและข้อมอื โดยเฉพาะกะโหลกศรี ษะ โดยเฉพาะกะโหลกศีรษะ ซง่ึ เมอื่ คลอดจะยงั ปดิ ไม่ สนิทอยู่ 4 ส่วน คือ ด้านหน้าของศีรษะ ด้านข้างบริเวณกกหู 2 แห่ง และดา้ นหลงั บริเวณท้ายทอย 1 แห่ง กะโหลกศรี ษะดา้ นหน้าและด้านข้างจะปดิ สนิทประมาณ 6-8สัปดาห์ - ฟัน เมอื่ แรกเกดิ นนั้ ทารกจะไม่มีฟันทสี่ งั เกตเห็นได้ โดยฟันน้านมจะขน้ึ ซี่แรก ไดอ้ ายปุ ระมาณ 6-8เดือนละครบ 20ซี่ เมอ่ื อายุ 24-30 เดือน - ระบบประสาท ทารกต้องใช้เวลาในปีแรกๆ เพ่ือพัฒนาเซลล์สมอง โดยพบว่า ในชว่ ง 6 เดอื นแรก สมองมีการพฒั นาถึงรอ้ ยละ 50 และจะพัฒนาเปน็ ร้อยละ 75 เมื่อมีอายุได้ 2 ขวบ การพัฒนาของสมองส่งผลสาคัญต่อการรับรู้ และการเคลื่อนไหว เราจึงได้เห็นทารกมีการพัฒนาด้าน การเคล่อื นไหวเกิดขน้ึ เป็นขนั้ ตอน และค่อนข้างรวดเรว็ - การเคล่ือนไหว การเคล่ือนไหวในตอนแรกของทารกเป็น ปฏิกิริยาสะท้อน ดังน้ันระยะแรกๆ จึงเป็นการเคลื่อนไหวท่ีไร้จุดหมาย เหวี่ยงแขนไปมา ไม่มีทิศทาท่ีแน่นอน แต่เมื่ออวัยวะต่างๆ พัฒนาขึ้น การเคล่ือนไหวของร่างกายทารกจึงเป็นไปตามใจ ปรารถนาของทารกเอง และมโี ดยใช้ปฏกิ ิรยิ าสะท้อน - พัฒนาการทางด้านสรรี ะ ทารกแรกเกดิ จะ นอนหลับเกือบตลอดวัน วันละ16-18ช่ังโมงต่อมาจะปรับตัวโดยจะ ลดจานวนชวั่ โมงการนอนลงพร้อมใช้เวลานอนในตอนกลางคืนมากกว่า กลางวัยในขณะท่ีการกินั้นทารกยังไม่คุ้นเคยกับการกินอาหารด้วยต้นเอง อ วั ย ว ะ ต่างๆยังทางานไม่เต็มที่จึงต้องกินอาหารเหลวจนถึงอายุ 4-5 เดือนจากน้ันจึงสามารถกินอาหารท่ี ลักษณะข้นได้ เมื่อฟันงอกก็จะเร่ิมเค้ียวอาหารในลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลวได้ การช่วยตนเองในการกิน จะคอ่ ยๆ เปน็ ไปตามพฒั นาการของการใช้มือสาหรับการขบั ถ่ายในขวบปีแรกทารกยังสามารถควบคุม การขับถ่ายได้โดยในช่วงแรกได้เกิดทารกจะมีการขับถ่ายบ่นครั้งมากและเม่ืออายุได้ 2 เดือนทารกจะ ขับถ่ายอุจจาระน้อยลงเพียงวันละ 2คร้ังใกล้เวลาต่ืนนอนและหลังดมื่ นมสาหรับการขับถา่ ยปัสสาวะก็ จะเปน็ ไปเชน่ เดียวกบั อจุ จาระ 3.2 พัฒนาการทางดา้ นสติปญั ญา จะเปน็ ไปตามวยั และตอ้ งอาศัยการทาหนา้ ที่ใน สว่ นอืน่ ของร่างกายประกอบกนั ด้วย เช่น การรบั รู้ การเรยี นรู้ และความรู้เร่ือง ภาษา โดยท่ใี นขวบปีแรกการรับรูจ้ ะอาศยั อวยั วะสัมผัสต่างๆ เชน่ ปาก จมกู มอื ลิน้ และผิวหนัง โดยทีพ่ บว่าเมอ่ื อายุประมาณ 7-8 เดือนทารกจะสามารถ เห็นความแตกตา่ งของใบหนา้ มารดา กบั ใบหนา้ บุคคลอ่นื ทไี่ มเ่ คยพบได้และ

เมอื่ อายุได้ ประมาณ 1-2 ขวบทารกจะสามารถแยกแยะสิงของท่ีที่มีรูปร่างและสีสันแตกต่างกันได้และแยกความ แตกต่างระหวา่ งเสียงของสัตว์ เสียงของรถ และเสียงอ่ืนๆได้ ในช่วงปลายปีท่ี 2 ของชีวิตก็จะสามารถ แสดงความชอบส่ิงทีร่ ับรู้ได้ เชน่ ชอบรสหวาน ชอบสบี างสี หรอื เสยี งบางเสยี งเป็นต้น กาเรียนรู้ของทารกเกิดจากอิทธิพลของส่ิงแวดล้อมเป็นหลักทารกต้องใช้เวลาประมาณ เกือบปีจึงจะพูดไดโ้ ดยปกตแิ ล้วทารกจะใช้เวลาในการพัฒนาทางด้านการพูดประมาณ 6 ปีโดยในชว่ ง ปลายเดือนท่ี 4 จะทาเสียงอือ ออ เมื่อเกิดความพึงพอใจและเมื่ออายุ 7-11 เดือนจะเลียนเสียงได้ ถูกต้องชัดเจนขึ้น แต่ต้องใช้ท่าทางประกอบ หรือบางคาผู้ใหญ่ใกล้ชิดถึงจะรู้เร่ือง เช่น หม่า ป๊ะ ม๊ะ เป็นต้นโดยจะพูดได้จริงและเข้าใจความหมายของคาท่ีพูดเม่ืออายุ 1-2 ขวบ โดยเริ่มแรกจะเป็น พยางค์เดียวเช่น อุ้ม ไป ต่อมาจงึ จะเริ่มพดู เปน็ ประโยชนว์ ลหี รือประโยคสัน้ ๆได้ 3.3 พัฒนาการทางด้านอารมณ์ แรกเกิดนั้นอารมณ์ของทารกท่ีสังเกตได้จะเป็นอารมณ์ สงบหรืออารมณ์ต่ืนเต้นเท่าน้ัน ต่อมาจะแยกแยะได้มากข้ึนตามอิทธิพลของส่ิงเร้า เช่น ความกลัว ความเกลียด เบิกบาน ร่าเริง เป็นต้น โดยทั่วไปอารมณ์ของทารกท่ีพบคือ อารมณ์รัก โกธร กลัว เบิก บานและอยากรู้อยากเหน็ 3.4 พัฒนาการทางด้านสังคม ในระยะ 2-3 เดือนแรกของชีวิต ทารกจะแสดงออกโดย สบตา การส่งเสียอือออ ต่อมาอายุได้ 6-7 เดือน จะแสดงความสนใจหรือผูกพันกับคนใกล้ชิด โดยเฉพาะมารดา 3.5 พฒั นาการทางดา้ นบคุ ลกิ ภาพ เป็นไปตามวิธีการโต้ตอบชงพอ่ แม่หรือคนเล้ยี งดูทมี่ ี ตอ่ ทารก เชน่ มารดาที่รักลูกแนบอก ทาให้ทารกเกิดความเชื่อมั่น และไวว้ างใจตอ่ โลกมากยิ่งขนึ้ แต่ ถา้ หากมารดาแสดงออกอย่างเย็นชา หรอื กระแทกกระท้ัน ทารกจะรบั รไู้ ด้ และมกี ารรสู้ กึ ขาดความ เชื่อม่นั และมองโลกแงร่ า้ ยไดใ้ นอนาคต การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของวยั เดก็

1 ช่วงของเด็ก วยั เดก็ หมายถงึ เด็กท่มี อี ายุระหวา่ ง 2-12 ขวบโดยสามารถแบง่ ออกเป็น 2ช่วงใหญ่ๆ คือ ชว่ งเด็กวยั เรียน ซึ่งแตล่ ะช่วงวยั นน้ั จะมีการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการแตกตา่ งกัน ดังน้ี 1.1 ระยะแรก อายุ 2-3 ปหี รอื เรยี กวา่ วัยเดก็ เลก็ หรอื เตาะแตะ 1.2 ระยะทสี่ องอายุ 4-5 ปเี รียกวา่ วัยเด็กหรือ วัยอนบุ าล 2 การเจริญเติบโตทางดา้ นรา่ งการ - การเจริญเติบโตของรา่ งกายโดยท่ัวไป รปู ร่างและสดั ส่วนของเด็กวัยกอ่ นเรยี นจะเปลี่ยนไป จากวยั ทารกมาก รปู รา่ งเดมิ ท่ีเคยอ้วนกลม ศีรษะใหญ่ และส้ันในวยั ทารกนนั้ จะคอ่ ยๆ ยดื ตัวออก ใบหนา้ และศีรษะจะเล็กลงเม่ือเปรยี บเทยี บกับขนากของลาตัว ส่วนแขน ขา - น้าหนัก ส่วนใหญ่มาจากการเจรญิ เติบโตของกระดกู และกลา้ มเน้อื เปน็ สว่ นใหญโ่ ดยพบว่า เราอาจที่จะประมาณคา่ น้าหนกั ของเด็กวยั ก่อนเรียนท่ีเพิม่ ขึ้นตามอายุได้ - ส่วนสูง โดยเฉล่ียแล้วจะมีความสูงเพิ่มข้ึนโดยเฉลี่ยประมาณปีละ 7.5 เซนติเมตร โดยเฉลี่ย อายุ 2ขวบนน้ั จะมคี วามสงู ประมาณ 1.75 เท่าความยาวแรกเกิด คอื ประมาณ 85-89 เซนติเมตร - ศีรษะละสมอง เส้นรอบศีรษะเด็กก่อนวัยเรียนจะค่อยๆ ขยายใหญ่ข้ึนเม่ือมีอายุ 3 ปี ศีรษะ ของเดก็ จะโตเป็นรอ้ ยละ 90 ชองศรี ษะผู้ใหญ่ - ฟัน เม่ือเด็กก้าวสู้วัยกอ่ นเรียน จะมีฟันน้านมงอกออกมาครบ 20 ซี่ เม่ืออายุได้ประมาณ 2 ปี และฟนั แท้จะเรม่ิ ขนึ้ ปลายของวยั เดก็ คอื อายปุ ระมาณ 6 ปี 3 พฒั นาการของรา่ งกาย - อายุ 2 ปีจะเริ่มว่ิงได้อย่างดี สามารถที่จะเตะฟุตบอล โดนลูกบอลได้ ชี้บอกส่วนบนของ อวยั วะตา่ งๆของร่างกายได้ - อายุ 3 ปี เด็กในอายุขนาดนี้จะสามารถปีนป่ายและกระโดนโหนได้ เดินถอยหลัง ขี่ รถสามลอ้ ถบี - อายุ 4 ปีจะสามารถเดินสลับขาขึ้นบันไดได้ กระโดดข้ามสิ่งของ หรือกระโดดขาเดียวได้ รวมถึงการเขยง่ ลายเท้ากส็ ามารทาไดเ้ ช่นกนั - อายุ 5 ปีเด็กสามารถกระโดดสลับขา หรือโกรธโดดเชือกได้ เต้นเป็นจังหวะ รวมถึงมี ความสามารถในการทรงตวั เป็นอย่างดี - อายุได้ 6 ปี ในอายุขนาดนี้ เด็กวัยก่อนเรียน จะสามารถโดดจากท่ีสูง และสามารถเล่น ฟตุ บอลแบบคนโตได้ มีความสามารถในการทรงตัวมากย่งิ ขึน้

4 พัฒนาการทางด้านอารมณ์ เด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยท่ีมีอารมณ์ค่อนข้างรุ่นแรงมาก เม่ือ ไม่ได้สิ่งที่ต้องการ ก็จะแสดงอารมณ์ออกมาได้อยา่ งชัดเจน ล้มตัวลงนอนไปกับพ้ืน ด้ินเร่าๆ ทุบตีผ้อู ่นื หรือกรีดร้องเสียดัง โดยลักษณะอารมณ์ของเด็กจะเกิดขึ้นเพียงช่ัวครู่แล้วก็หายเปล่ียนแปลงได้ง่าย มาก พัฒนาทางอารมณ์ของเด็กในวัยน้ีจะไม่สารมารถจาแนกออกเป็นช่วงอายุในแต่ละปีได้อย่าง ชัดเจนนัก หากแต่พบว่าเมื่ออายุ 2-3 ปีเด็กจะมีอารมณ์อิจฉาริษยา โดยอารมณ์นี้จะลดลงเมื่อมีอายุ เพิม่ มากขึ้นตามลาดบั 5 พฒั นาการทางดา้ นสังคม เป็นวัยทีเ่ ริม่ แน่ใจตัวของตวั เองมากขน้ึ มีความตอ้ งการเป็นอิสระ ดังน้ันจึงเร่ิมออกห่างจากพ่อแม่ ชอบท่ีจะมีเพื่อนเล่น จะเห็นว่าในช่วงต้นๆจะเล่นแบบต่างคนตา่ งเล่น แต่เล่นอยู่ในบริเวณเดียวกัน และอายุมากข้ึนจะเริ่มเล่นเป็นกลุ่มและจะเปล่ียนเรื่อยๆ ตามลักษณะที่ ตัวเองสนใจ 6 พัฒนาการทางด้านสตปิ ญั ญา โดยท่ัวไปแล้ว พัฒนาการทางดา้ นสตปิ ัญญาของเด็กก่อนวัย เรยี นจะเปน็ ไปตามชว่ งอายทุ ่เี พิม่ ขน้ึ 7 พัฒนาการทางด้านจริยธรรม เด็กอายุ 3 ขวบยังไม่รู้ว่าอะไรคือความผิดหรือความถูกต้อง สามารถเรยี นรกู้ ฎเกณฑง์ ่ายๆ รวู้ า่ ตนเองทาอะไรบางอยา่ งไม่ได้ เชน่ ตนจะเตะเตาไฟไมไ่ ด้ แต่ถงึ แม้ว่า จะไม่สามารถเข้าใจในเร่ืองของความดี หรือความไม่ดีก็ได้กต็ าม แต่เด็กเรียนรู้ว่าเขาจะเป็นเด็กดี เม่ือ เขาประพฤติดีหรือประพฤติตามท่ีพ่อแม่บอกให้ทา และเขาจะกลายเป็นเด็กไม่ดีเม่ือเขาประพฤติหรือ กระทาในสิ่งท่พี อ่ แม่ไมอ่ นญุ าตใหท้ า วัยกอ่ นเรียน -การเปล่ยี นแปลงทางด้านรา่ งกาย เด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่มีความต้องการอะไรหลายๆอย่าง ต้องการความเป็นอิสระ อยากรู้อยากเห็น ช่างสงสัย ช่างจินตนาการ ทาให้เด็กแสดงออกโอยการซักถาม ผู้ใหญ่ควรให้ความ สนใจและอธิบายด้วยภาษาง่ายๆ ซ่ึงจะส่งผลต่อพัฒนาการด้านความคิดและการกล้าแสดงออกในวัย ต่อไป ต้องการความเป็นตัวของตัวเอง สรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ชีวิต วยั นเ้ี ริ่มมที ักษะในการเคลอ่ื นไหว รู้จกั ควบคมุ อวยั วะตา่ งๆ ได้ดีขนึ้ ถึงแมจ้ ะไม่ค่อยคล่องตวั ในระยะแรก แตเ่ มื่อทาบ่อยๆ กจ็ ะเกิด ความ ชานาญ -การเปล่ียนแปลงทางด้านอารมณแ์ ละจติ ใจ

เด็กวัยนี้มักแสดงอารมณ์อย่างเปิดเผย ไม่ปิดบัง แปรปรวนง่าย หงุดหงิด โกรธง่าย หายเร็ว กลวั ในสิ่งทไ่ี มม่ เี หตูผล อจิ ฉาเมื่อร้สู กึ วา่ ถูกแยง่ ความรักไป มีความสงสยั อยากรอู้ ยากเห็น -การเปล่ยี นแปลงทางดา้ นสังคม เด็กวยั นีเ้ ร่ิมออกจากสังคมบ้านเขา้ สสู่ ังคมโรงเรียน เริ่มรู้จกั เลน่ และคบเพ่ือน เรียนรู้ท่ี จะปรับตัวเด็กวัยน้ีให้คามสาคัญท่ีจะปฏบิ ัตติ ามระเบียบ และกติกาของโรงเรียน ดังนั้นพัฒนาการทาง สังคมของเดก็ วยั นี้ พอ่ แม่ ครู อาจารย์ และเพ่อื นวัยเดียวกนั จะมีบทบาทในการวางพืน้ ฐานพัฒนาการ ทางสงั คมข้นั ต่อไป -การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นสตปิ ัญญา เด็กวัยน้ีมีความอยากรู้อยากเห็น ช่างสงสัย จึงทาให้เด็กแสดงออกโดยการซักถาม ผ้ใู หญ่ควรให้ความสนใจและตอบคาถาม โดยอธิบายด้วยภาษาง่ายๆ ให้เดก็ เข้าใจ ไม่ควรแสดงอาการ ราคาญ ดุด่า ว่ากล่าว หรือไม่พอใจ เพราะอาจจะส่งผลต่อพัฒนาการด้านความคิดและความกล้า แสดงออกของเดก็ ในวัยตอ่ ไป วัยเรียน เด็กอายุประมาณ 6-10 ปี เป็นช่วงที่มีความสาคัญต่อการเร่ิมต้นชีวิตใหม่ของเด็ก เพราะเปน็ ระยะทเี่ ด็กจะเข้าโรงเรยี น วยั น้ีเดก็ มีการเปล่ียนแปลงทุกๆดา้ น - -การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นร่างกาย อัตราการเจริญเติบโตจะช้าลงเล็กน้อยแต่ยังเป็นไปอย่างสม่าเสมอ ร่างกายจะขยาย ทางส่วนสูงมากกว่าส่วนกว้าง รูปร่างเปล่ียนเข้าสู่ลักษณะผู้ใหญ่ อวัยวะภายในระบบไหลเวียนเลือด เจริญเติบโตเกือบเต็มที่ เร่ิมมีฟันแท้ข้ึน วัยนี้มีพลังงานมากจึงไม่ชอบอยู่น่ิง ชอบทากิจกรรมหลายๆ อย่าง -การเปล่ยี นแปลงทางดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ เดก็ มีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณไ์ ปในทางทด่ี ขี ึน้ รู้จักวธิ รี ะงบั ความโกรธ เลิกกลวั ส่ิง ที่ไม่มีตัวตน เป็นมากลัวสิ่งท่ีจะเกิดขึ้นจริง เช่น กลัวไม่มีเพ่ือน กลัวเรียนไม่ดี อารมณ์ไม่แน่นอน หงุดหงิด ไม่เชื่อฟังผู้ใหญ่ เริ่มรู้จักป้องกันตนเอง เช่น เมื่อถูกถามมักตอบว่าไม่ทราบ ไม่พยายามตอบ มีความอยากร้อู ยากเหน็ ร้สู ึกว่าตนเปน็ ผ้ใู หญ่ รักพ่อแมแ่ ละสมาชกิ ในครอบครัว -การเปล่ยี นแปลงทางด้านสงั คม

เด็กมีสังคมกว้างข้ึนเพราะรู้จักบุคคลนอกครอบครัว เด็กจะปรับตัวเข้ากับบุคคลอื่นๆ ไดด้ หี รอื ไมข่ ึ้นอยู่กับการอบรมของครอบครวั กลุ่มเพื่อนมอี ิทธพิ ลมากขึ้น -การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นสตปิ ญั ญา เด็กวัยน้ีมีการรับรู้ มองเห็นความแตกต่างของสิ่งของ มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบ แก้ปัญหาเอง สนใจธรรมชาติรอบตัว มีความสนใจระยะสั้น ใช้ภาษาแสดงความรู้สึกได้ดีข้ึน มีความ รบั ผิดชอบ ช่างสงั เกต พยายามทาสง่ิ ทีต่ ้ังใจใหส้ าเร็จ มีความคิดสร้างสรรค์ สนใจสิ่งแปลกๆ ใหม่ๆ

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรอ่ื ง ช่วงชีวติ และการเปลี่ยนแปลในแตล่ ะชว่ ง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ชุดท่ี 1 ช่วงชีวติ และการเปลย่ี นแปลในแต่ละช่วง คาชีแ้ จง กาเคร่ืองหมาย ( x ) ข้อท่ีถกู ท่สี ดุ เพยี งขอ้ เดียว 1. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องเกยี่ วกบั วยั ทารก ก. ร่างกายมีการเจรญิ เติบโตชา้ ข. โกรธง่ายหายเรว็ ค. เป็นวัยทเี่ ร่มิ ต้นของพัฒนาการทางสังคม ง. ไว้ใจทุกคน 2. วยั ก่อนเรียนมกี ารเปล่ียนหลายๆด้านของใดกลา่ วถูกต้องเกยี่ วกบั การเปล่ียนของวยั นี้ ยกเวน้ ก. การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นร่างกายตอ้ งการความเป็นอิสระ อยากรอู้ ยากเหน็ ข. การเปลีย่ นแปลงทางดา้ นอารมณ์และจิตใจไมป่ ดิ บงั แปรปรวนงา่ ย หงุดหงิด โกรธง่ายหาย เร็ว ค. การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นสงั คมเร่ิมออกจากสังคมบา้ นเข้าสสู่ ังคมโรงเรียน เริ่มรูจ้ ักเลน่ และ คบเพ่อื น ง. การเปลยี่ นแปลงทางด้านสตปิ ญั ญาความอยากรู้อยากเห็น ช่างสงสัย จงึ ทาใหเ้ ดก็ แสดงออกโดยการซักถาม 3. ข้อใดกล่าวถงึ ปจั จัยภายในท่มี อี ิทธพิ ลตอ่ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของเด็กวัยเรียนได้ ถูกตอ้ งทสี่ ุด ก. เปน็ ผลกระทบท่ีเกิดจากการอบรมเลย้ี งดู ข. เปน็ ผลกระทบที่เกิดมาจากภาวะด้านสขุ ภาพ ค. เป็นปัจจยั ท่ีเกดิ จากสภาพทางธรรมชาตขิ องคนเรา ง. เป็นปจั จยั ทส่ี ่งผลกระทบมาจากอิทธิพลของส่ิงแวดลอ้ ม

4. ขอ้ ใดคือแนวทางที่ถูกตอ้ งในการปรบั ตวั ของวัยรุ่นตอ่ การเปล่ยี นแปลงทางด้านอารมณ์ และจติ ใจ ก. พยายามหาภาพโป๊เปลือยมาศกึ ษา ข. พยายามฝึกจิตใจให้มคี วามสงบ รา่ เริง ค. พยายามฝึกตนเองใหส้ ูค้ นโดยนัดชกต่อยกับเพอื่ นโรงเรยี นอืน่ ง. ไมม่ ขี ้อใดถูก 5. ข้อใดถกู ตอ้ ง ก. วัยรุ่นตอนตน้ 10 – 14 ปี ข. วัยร่นุ ตอนกลางเป็นระยะทด่ี ือ้ รั้น โมโหง่าย มักจะมีความขัดแยง้ กับพ่อแม่สูง ค. วันรนุ่ ตอนปลายการเปลยี่ นแปลงทางร่างกายเร่ิมสมบรู ณ์เตม็ ท่ีเปน็ ระยะที่เริม่ ทดลอง เก่ียวกับเพศ ง. วยั รนุ่ ตอนต้นรจู้ ักบทบาทของเพศเองเตม็ ที่ มีความเปน็ อิสระเต็มที่ในการดารงชวี ติ และการประกอบอาชพี 6. ขอ้ ใดเปน็ สิ่งท่ีเชอ่ื มโยงไปถงึ สภาพจติ ใจและอารมณข์ องวัยรุ่น ก. ความดื้อรัน้ ข. ความกา้ วร้าว ค. ความวติ กกงั วล ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก 7. วัยรุ่นมีการเปลีย่ นแปลงด้านจิตใจและอารมณ์ในลกั ษณะใดต่อไปนี้ ก. ดา้ นร่างกายที่เกดิ ขนึ้ อย่างรวดเร็ว ทาให้วยั รุน่ เกดิ ความรู้สึกวติ กกงั วล ข. หน้าตาของตน และย่งิ เกดิ ปัญหาสิวหนมุ่ สวิ สาว ความวติ กกังวลกจ็ ะยิง่ มมี ากข้ึน ค. มีความรนุ แรงแต่ อ่อนไหวไมม่ ่ันคง ถ้าต้องการจะทาอะไรก็ตอ้ งทาให้ได้ ง. ถูกทกุ ข้อ 8. ข้อใดคอื ลักษณะสาคัญของวยั ผู้ใหญ่ ก. รา่ งกายเส่อื มสภาพ ข. จริงจังกับการทางาน ค. หมดกาลังใจในชีวิต ง. เปน็ ท่ีรักใครข่ องบุตรหลาน

9. ข้อใดกล่าวถูกต้องทส่ี ดุ ก. การควบคุมอารมณ์ได้ดขี ึ้น มคี วามมน่ั คงทางจิตใจดกี วา่ วัยรนุ่ คานงึ ถึงความรสู้ กึ ของ ผอู้ ืน่ ร้สู กึ ยอมรับผู้อ่ืนได้ดขี ึน้ เปน็ การเปลี่ยนแปลงของวยั รนุ่ ข. สมองฝ่อและมีนา้ หนกั ลดลง มีเลอื ดมาเลีย้ งสมองน้อยลง เซลล์ประสาทตายเพม่ิ ขน้ึ และจานวนเซลลล์ ดลงตามอายเุ ป็นการเปลย่ี นแปลงทางด้านร่างกายของวยั ผู้ใหญ่ ค. ถ้าถูกขัดขวางจะตอบโตอ้ ยา่ งรนุ แรง แต่ความต้องการนัน้ จะเปลี่ยนแปลงได้งา่ ย หันเห ไปส่คู วามตอ้ งการความสนใจ ใหม่ ๆ อยู่เสมอเปน็ การเปล่ียนแปลงทางดา้ นจิตใจและอารมณ์ของ วยั รุ่น ง. ถกู ทกุ ข้อ 10. การเปลีย่ นแปลงทางด้านอารมณข์ องวัยรอู้ ายุยกเวน้ ข้อใด ก. เปน็ วยั ทีต่ อ้ งการความสงบ ต้องการพกั ผอ่ น ข. สญู เสียความสามารถทางรา่ งกาย สูญเสียมรรควธิ ีในการปลดปลอ่ ยแรงขบั พ้นฐาน สูญเสยี ในวฒั นธรรมทีส่ นใจ ค. ผวิ หนังเหีย่ วยน่ มจี ุดตกกระเพ่ิมข้ึน ผมจะบางและจะเปล่ยี นเปน็ สีเทาหรอื สีขาว หลงั โกง การเคล่ือนไหวเช่ืองชา้ พละกาลงั นอ้ ยลง ง. ถูกข้อ ก และขอ้ ข

เฉลย แบบทดสอบเรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสติปญั ญาแต่ ละชว่ งของชีวิต 1. ค 6. ค 2. ก 7. ง 3. ค 8. ข 4. ข 9. ค 5. ข 10. ค

บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธกิ าร. ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรียนรู้ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพ ฯ : โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศ ไทยจ ากดั , 2551. . หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพ ฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด, 2552. ธงชยั หวงพล. แบบวดั ผลและบันทกึ ผลการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3. กรุงเทพ ฯ : อกั ษรเจริญทัศน์, ม.ป.ป. . หนังสอื เรยี นรายวิชาสุขศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพ ฯ : อกั ษรเจรญิ ทศั น์, ม.ป.ป. https://sites.google.com/site/karceriyteibtokhxngmnusy/home/kar-ceriy-teibto-laea-phathnakar-khxng- way-chra https://sites.google.com/site/lekdee447/kar-ceriy-teibto-laea-phathnakar-khxng-way-run


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook