Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Module 6 TH

Module 6 TH

Description: Module 6 TH

Search

Read the Text Version

กรอบเวลา • บทน้ีใชเ้ วลาศกึ ษาประมาณสปั ดาหล์ ะ 8 ชวั่ โมงค�ำถามท้ายบท • ผ้เู รยี นจะต้องตอบคำ� ถามทา้ ยบทน้ีด้วยตนเอง กอ่ นที่จะนำ� ไปเปรยี บเทยี บกับของเพอ่ื น ๆ และ อภิปรายคำ� ตอบกบั เพอ่ื น ๆ และผู้ประสานงานกล่มุ เมื่อมกี ารประชมุ ประจ�ำสปั ดาห์เอกสารอ่านเพ่มิ เติม (ไม่บงั คับ) เอกสารตอ่ ไปน้ีมอี ย่ใู นระบบอเี ลิรน์ นงิ ของหลกั สูตรการอบรมน้ี • Ministry of Foreign Affairs of Denmark (2006), Monitoring and indicators of the education sector. Technical Note. Copenhagen: Ministry of Foreign Affairs of Denmark, อา่ นไดท้ ่ี www.danidadevforum.um.dk/ • SIDA (2004a), Monitoring for education results. A study on results-orientation and the role of indicators. SIDA: Stockholm 50

ตอนที่ 1องคป์ ระกอบทางแนวคดิ ของระบบตวั ชี้วัดส�ำหรบั การกำ� กับติดตามและการประเมนิ ผล(Conceptual elements of indicator systems for M&E) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ไดก้ ล่าวน�ำถงึ การใช้ตัวช้ีวัดเป็นเครือ่ งมือวัดมติ ิส�ำคัญของระบบการศกึ ษา (การมีส่วนร่วม ประสทิ ธภิ าพภายใน คณุ ภาพและการเงิน) เช่นท่ีได้ใช้ในระยะการวิเคราะหป์ ญั หาสาขาการศึกษา(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) แต่ตัวช้ีวัดในแบบการก�ำกับติดตามและการประเมินผลของแผนการศึกษามีบทบาทต่างออกไป ตัวชว้ี ัดเหล่านี้ควรวดั ผลการปฏิบตั ิงานหลกั ของการแทรกแซง (intervention) ตามท่ีเสนอไวใ้ นแผนการศึกษา1.1 ตวั ชีว้ ัด (What is an indicator?) ตวั ชว้ี ดั เปน็ เครอ่ื งมอื ทางสถติ แิ ละการวเิ คราะหท์ ใ่ี ชก้ นั แพรห่ ลาย ซงึ่ ควรตอ้ งนยิ ามใหช้ ดั เจนกอ่ นทจี่ ะอภิปรายตัวช้ีวัดของแบบการติดตามและการประเมินผลในแผนการศึกษา อาจนิยามตัวช้ีวัดได้ว่า“ทางลัด”(shortcut) “ตวั ยอ่ ”(abbreviation) หรือ “ตัวใช้แทน” (substitute) ของความจริงซ่ึงค�ำนวณไดจ้ ากขอ้ มูลดิบด้วยเคร่ืองมือทางสถติ ิ เชน่ เปอรเ์ ซนต์ อัตรา อัตราส่วน และดชั นี แตไ่ ม่ใชข่ ้อมลู ดบิ หรอื จำ� นวนสัมบูรณ์ตามความหมายทแ่ี ทจ้ ริง (stricto sensu) เชน่ จ�ำนวนนักเรยี นในระบบการศกึ ษา แผนการศึกษามกั ระบวุ ัตถปุ ระสงคโ์ ดยเฉพาะผลผลติ เปน็ จำ� นวนสัมบรู ณอ์ ยู่เนือง ๆ (เช่น จ�ำนวนครทู ่ีตอ้ งเขา้ ฝกึ อบรม จำ� นวนโรงเรยี นทตี่ อ้ งสรา้ ง) จำ� นวนสมั บรู ณใ์ นกรณนี เี้ รยี กไดว้ า่ เปน็ ตวั ชว้ี ดั แมจ้ ะไมต่ รงตามความหมายเฉพาะของคำ� ก็ตาม ในขน้ั นจ้ี ำ� เปน็ ตอ้ งเนน้ วา่ ตวั ชว้ี ดั จะมคี วามหมายตอ่ เมอื่ นำ� ไปเปรยี บเทยี บกบั ผลการสงั เกตการณก์ อ่ นหน้าน้ัน (มีอนุกรมเวลาและเป้าหมาย) หรือเปรียบเทียบกับส่ิงที่สังเกตได้ในประเทศอ่ืน (หรือเปรียบเทียบระหว่างจังหวดั ในประเทศเดียวกัน) หรอื เปรียบเทียบทรัพยากรทีใ่ ชไ้ ปกบั ผลท่ไี ด้รบั1.2 จุดมุง่ หมายของตัวชว้ี ัดในแบบการก�ำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลของการวางแผนการศกึ ษา (Purpose of indicators in M&E design of ESP) ตวั ชวี้ ดั ใชว้ ดั ผลการปฎบิ ตั งิ านหรอื การบรรลเุ ปา้ ประสงค์ (ซงึ่ ในทน่ี เ้ี รยี กวา่ ตวั ชวี้ ดั ผลการปฏบิ ตั งิ าน) ซง่ึในบางคร้ังเกย่ี วข้องกบั ปัจจยั นำ� เขา้ ทีใ่ ชไ้ ป ตัวชี้วัดแสดงถงึ สถานการณก์ ่อนระยะการวางแผน หรือเมอ่ื ระยะการวางแผนเรม่ิ ตน้ ขนึ้ (คา่ ฐาน) สถานการณท์ ค่ี าดหวงั เมอื่ ดำ� เนนิ การตามแผนเรยี บรอ้ ยแลว้ (เปา้ หมาย) และเปา้ หมายระหวา่ งการด�ำเนนิ แผน คู่มือของยูเนสโกชื่อ Result-based planning handbook for national education sectordevelopment plan (2006) กลา่ วไวว้ า่ ตัวชีว้ ดั การกำ� กับตดิ ตามและการประเมนิ ผลมีจดุ มุ่งหมายท่ีจะ • ระบเุ ป้าหมายท่เี ปน็ จรงิ ได้ เพือ่ วัด หรอื ตัดสนิ ว่าได้บรรลวุ ัตถุประสงค์ทีก่ ำ� หนดไวแ้ ลว้ หรือไม่ • เป็นฐานส�ำหรับการก�ำกบั ติดตาม การทบทวนและการประเมนิ ผล และเปน็ ข้อมูลปอ้ นกลบั ไปยังฝา่ ย บรหิ ารขององคก์ ารหรอื โครงการ การเรียนรู้บทเรยี นและการวางแผนงานท่ีจะท�ำต่อไป • ชว่ ยสรา้ งความโปรง่ ใส ฉันทามติ และความเป็นเจ้าของวตั ถปุ ระสงค์และแผนโดยรวม 51

ตัวช้ีวัดควรให้ข้อมูลแก่กระบวนการตัดสินใจโดยผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจ คือท้ังรัฐบาลและผู้บริจาคจะใช้ตัวชี้วัดเหล่าน้นั เปน็ เคร่อื งมอื ในการสนทนานโยบายและการปรบั เปลย่ี นต่าง ๆ (SIDA,2004a)1.3 ตวั ช้ีวดั ประเภทตา่ ง ๆ (Different types of indicators) ตัวช้ีวัดแยกออกเปน็ ประเภทตามความแตกต่างได้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 ไดเ้ สนอการจดั ประเภทสง่ิ ที่ต้องการวัด (การมีส่วนร่วม ประสิทธิภาพภายใน คุณภาพ และการเงิน) แต่เกณฑ์การแบ่งประเภทตัวชี้วัดน้ันต่างออกไป ยูเนสโกได้แยกตัวช้ีวัดออกเป็นสามกลุ่ม ดังท่ีเสนอไว้ในคู่มือชื่อResults-based planninghandbook for national education sector plan (2006) คอื • ตวั ชว้ี ัดโดยตรง หรือ โดยอ้อม • ตวั ชวี้ ดั ปรมิ าณ และ คณุ ภาพ • ตัวชว้ี ดั ตามระดับการก�ำกับติดตาม ตวั ชวี้ ดั โดยตรง (direct indicator) คือตัวช้วี ดั ท่ีใชส้ �ำหรับวตั ถปุ ระสงค์ท่เี กย่ี วข้องกับผลของกิจกรรมหรอื ผลผลติ ทสี่ งั เกตเหน็ ไดโ้ ดยตรง ดงั เชน่ ถา้ ผลทคี่ าดหวงั คอื “ฝกึ อบรมผตู้ รวจการวางแผนและการบรหิ ารจดั การการศึกษาจำ� นวน 250 คน ในระยะเวลา 2 ป”ี จำ� นวนผู้ที่ไดร้ ับการฝกึ อบรมในดา้ นดังกล่าวในแต่ละภาคเรียน หรอื ปคี อื ตัวช้ีวดั ทางสถิติโดยตรง ตัวช้วี ัดโดยอ้อม (indirect indicator หรือ proxy indicator) เมอื่ ผลสมั ฤทธ์ิของวัตถุประสงค์เป็นสง่ิทไ่ี มส่ ามารถสงั เกตไดโ้ ดยตรง (เชน่ ระดบั คุณภาพชีวติ ดีขน้ึ หรอื ขีดความสามารถทางการบริหารจัดการการศกึ ษาทสี่ งู ขนึ้ ) หรอื ถา้ การวดั วตั ถปุ ระสงคจ์ ะใชง้ บประมาณมากเกนิ ไปเพราะมขี อ้ มลู ตอ้ งรวบรวมมากอาจตอ้ งใชต้ วั ชวี้ ดั โดยออ้ ม เครอ่ื งมอื ทใี่ ชร้ วบรวมขอ้ มลู ลกั ษณะนี้ คอื การสำ� รวจความพงึ พอใจ หรอื การตดิ ตามศกึ ษาการใชจ้ า่ ยภาครฐั เปน็ ตน้ ขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าสามารถนำ� มาคำ� นวณสรา้ งตวั ชวี้ ดั โดยออ้ มได้ เชน่ จำ� นวนรอ้ ยละของผูร้ ับการบรกิ ารธุรการที่มคี วามพึงพอใจ หรือจำ� นวนรอ้ ยละของเงินสนบั สนุนทไี่ ปถึงผรู้ ับประโยชนโ์ ดยตรง ตวั ชว้ี ดั ปรมิ าณ (quantitative indicator) เปน็ การวดั ทางสถติ ทิ แี่ สดงผลเปน็ รอ้ ยละ อตั รา อตั ราสว่ นและดัชนตี า่ ง ๆ และอาจเกย่ี วข้องกับ“ความถขี่ องการประชุม จำ� นวนบคุ คลท่ีได้รับการฝึกอบรม อตั ราการเตบิ โต จ�ำนวนปจั จัยน�ำเขา้ เชน่ เงนิ สนบั สนุน อาคาร และครู” การวดั ผลทค่ี าดหวงั ซง่ึ เปน็ ดา้ นคณุ ภาพ (การเปลยี่ นแปลงเจตคติ การสรา้ งเสรมิ ขดี ความสามารถ ฯลฯ)ตอ้ งใชแ้ นวทางทไ่ี มใ่ ชส่ ถติ ิ ตวั ชว้ี ดั คณุ ภาพ (qualitative indicaor) อาจหมายถงึ ระดบั ของการมสี ว่ นรว่ มของกลมุ่ ผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย ความคดิ เห็นและความพงึ พอใจของผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี ความสามารถในการตัดสนิ ใจฯลฯ ตวั ช้วี ดั คณุ ภาพวดั ผลในด้าน “การทำ� ตาม... คณุ ภาพของ เพยี งไร ระดบั ของ...” (UNDP, 2009, หนา้63) ซงึ่ ล้วนแตเ่ ป็นสิ่งที่วดั ไดย้ าก จึงจ�ำเป็นตอ้ งใช้การส�ำรวจหรือวจิ ยั จากนั้นจึงแปลงผลการส�ำรวจหรอื วจิ ัยนน้ั เป็นขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณ การจดั กลมุ่ ประเภทตวั ชวี้ ดั ตามแนวทางการบรหิ ารจดั การแบบมงุ่ ผลสมั ฤทธใิ์ ชล้ กู โซผ่ ลลพั ธเ์ ปน็ เกณฑ์(ปจั จยั นำ� เขา้ /กจิ กรรม-ผลผลติ -ผลลพั ธร์ ะยะยาว-ผลกระทบ) (European Commission, 2002) ดงั ทเ่ี หน็ ได้จากกรอบขอ้ ความที่ 10 52

กรอบข้อความที่ 10 การแบง่ ประเภทตัวชว้ี ดั ตามลูกโซ่ผลลัพธ์ ตวั ชี้วัดปัจจัยน�ำเข้า/กจิ กรรม วดั ทรพั ยากรการเงิน การบรหิ าร/ธุรการ และการควบคุมบังคบั ทัง้ จากรัฐบาลและผู้บรจิ าค ตัวอยา่ ง:สว่ นแบ่งของงบประมาณทใ่ี หก้ ับการศกึ ษา ตวั ช้ีวดั ผลผลิต วดั ผลทตี่ ามมาของมาตรการ หรอื ทรัพยากรท่ีใช้ซงึ่ เป็นผลทเ่ี ป็นรปู ธรรมและเกิด ขึน้ ทนั ที ตวั อย่าง:จ�ำนวนโรงเรียนที่กอ่ สรา้ ง จ�ำนวนนักวางแผนการศึกษาท่ีได้รบั การฝึกอบรม ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ วดั ผลลพั ธท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ในระดบั ของผทู้ ไ่ี ดร้ บั ประโยชนโ์ ดยตรงระหวา่ งการดำ� เนนิ แผน เทียบกบั วัตถุประสงคข์ องการปฏิบัติการ ตัวอย่าง:การเขา้ เรยี นในโรงเรียน ระดบั ผลสมั ฤทธ์ขิ องผเู้ รียน จำ� นวนร้อยละของเดก็ หญงิ ทเี่ ขา้ ชน้ั ปแี รกของประถมศึกษา ตวั ชวี้ ดั ผลกระทบ วัดผลลพั ธ์ที่เป็นผลสรปุ รวม (aggregated results) หรอื ความเปล่ียนแปลงของ กลุ่มในสังคมทีเ่ ป็นเปา้ หมายของการปฏิบตั ิการ ตัวอย่าง:อตั ราการรหู้ นังสอื ระดบั การศกึ ษาของประชากรอายุ 25-60 ปี ค่าจา้ งพเิ ศษ (premium wage)ท่เี พิ่มขนึ้ ตามระดบั การศกึ ษาทไี่ ด้รับ อตั ราการเติบโตของ GDP โดยหลกั การนนั้ KPI ในการรายงานผลการปฎบิ ตั งิ านประจำ� ปคี วรสมั พนั ธก์ บั ลกู โซผ่ ลลพั ธข์ องแผนการศกึ ษา (ปจั จยั นำ� เขา้ ผลผลิต ผลลพั ธ์ และผลกระทบ) และเนน้ ผลทร่ี ะดบั ตา่ ง ๆ (ผลผลติ ผลลัพธ์ และผลกระทบ) บทที่ 2 ไดอ้ ธิบายแลว้ ว่ารายงานความก้าวหนา้ ตามชว่ งเวลาเนน้ การกำ� กับตดิ ตามกิจกรรมตา่ ง ๆ จึงพดู ถงึ ปจั จยั นำ� เขา้ และผลผลติ บอ่ ยกวา่ เรอื่ งอน่ื สว่ นการทบทวนประจำ� ปเี นน้ ผลลพั ธ์ และการทบทวนเมอ่ื สน้ิระยะการดำ� เนินงานของแผนสนใจผลกระทบเป็นสำ� คญั ค�ำอธิบายข้างบนน้ีเป็นตัวอย่างของตัวชี้วัดลูกโซ่ผลลัพธ์ท่ีเป็นแบบฉบับ (typical indicator) ซ่ึงได้มาจากส่ิงท่ีเรียกได้ว่าเป็นการแทรกแซงตามแบบฉบับ (typical intervention) ในการศึกษา แต่ในท่ีสุดแล้ว การที่จะจัดตัวช้ีวัดใดไว้ในลูกโซ่ผลลัพธ์ระดับใดย่อมข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์เฉพาะที่ก�ำหนดไว้ในแผนฯเช่น ถ้าวัตถุประสงค์ประการสำ� คัญของแผนฯ คอื การเพ่ิมสว่ นแบง่ ของ GDP สำ� หรับการศกึ ษาตวั ชี้วัดนีน้ ่าจะถือว่าเป็นตัวชี้วัดผลผลิต (ไม่ใช่ตัวช้ีวัดปัจจัยน�ำเข้า) หรือแผนฯ อาจก�ำหนดวัตถุประสงค์ให้ครูต้องมีใบอนุญาตประกอบอาชีพ ฉะน้ัน สัดสว่ นของครูทไ่ี ด้รบั ใบอนญุ าตประกอบอาชีพจะเป็นตวั ชีว้ ัดผลผลิต แต่ถ้าไม่มวี ัตถุประสงค์เชน่ นั้น สดั สว่ นครูดงั กล่าวยอ่ มเปน็ เพยี งตัวชวี้ ดั ปจั จยั นำ� เข้าทสี่ มั พันธ์กับทรัพยากร ผมู้ บี ทบาทตา่ งคนตา่ งสนใจตวั ชวี้ ดั แตกตา่ งกนั ไป ผใู้ ชแ้ ผนปฎบิ ตั กิ ารประจำ� ปที งั้ หมดหรอื บางสว่ นของแผนสนใจการแปลงปจั จยั นำ� เข้าใหเ้ ปน็ ผลผลิต (และสนใจวา่ ได้ใชต้ น้ ทุนอย่างมีประสิทธิผลหรือไม่) ส่วนผู้มีอำ� นาจตดั สนิ ใจมกั สนใจผลผลติ ผลลพั ธ์ และผลกระทบมากทสี่ ดุ เจต คตทิ ต่ี า่ งกนั นสี้ อดคลอ้ งกบั กระบวนการคดิ ตามแนวทางการบรหิ ารจดั การแบบมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ นน่ั คอื สนใจการเปลยี่ นแปลงทร่ี ะดบั ของผไู้ ดร้ บั ประโยชน์โดยตรง ซง่ึ มักจะสอดคลอ้ งกบั ตัวช้วี ัดของการศกึ ษาเพือ่ ปวงชน และ เป้าหมายการพัฒนาแหง่ สหสั วรรษซึง่จะได้กล่าวตอ่ ไปในตอนท่ี 3 53

ตอนที่ 2 เกณฑท์ างวชิ าการสำ� หรบั การเลอื กตัวชว้ี ดั (Technical criteria for thechoice of indicators) การเลือก KPIส�ำหรับแบบการก�ำกับติดตามและการประเมินผลของแผนการศึกษานั้น เป็นท้ังกระบวนการทางวชิ าการและกระบวนการทางการเมอื ง ในดา้ นความเปน็ วชิ าการนนั้ เนอ่ื งจากแบบการกำ� กบัตดิ ตามและการประเมนิ ผลต้องสอดคลอ้ งกับเกณฑท์ างวิชาการ เชน่ ความตรงประเดน็ (relevance) ความตรง (validity) ความนา่ เช่อื มนั่ (reliability) และความแม่นยำ� (accuracy) รวมทง้ั แง่มมุ ตา่ ง ๆ ของความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ (practical feasibility) ส่วนในด้านที่เป็นกระบวนการทางการเมืองน้ันหมายถึงว่าการเลอื กตวั ชวี้ ดั ขน้ึ อยกู่ บั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของนโยบายทไี่ ดก้ ำ� หนดไวแ้ ลว้ และยงั เปน็ การตอ่ รองกนั ระหวา่ งรฐั บาลและหนุ้ สว่ นรว่ มพฒั นา นอกจากนแี้ ลว้ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี หลกั ยอมรบั ตวั ชวี้ ดั บางตวั ตามกรอบขอ้ ตกลงระหว่างประเทศไดง้ ่ายกว่าตัวอืน่ ๆ2.1 ความตรงประเดน็ และความตรงของตัวชี้วดั (Relevance and validity ofindicators) เกณฑ์การเลอื กตัวช้วี ดั ที่สำ� คัญท่สี ดุ คอื ความสามารถท่ีจะวดั สิง่ ท่ตี ้องการวดั ได้ (ความตรง) และต้องสอดคล้องกับเป้าประสงค์ และ/หรือวัตถุประสงค์ของแผนภาคการศึกษา (ความตรงประเด็น) หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 ไดอ้ ธิบายไว้แลว้ ว่าแผนภาคการศึกษาไมว่ ่าฉบบั ใดก็ประกอบด้วยเป้าประสงค์ วตั ถุประสงค์และเป้าหมาย และกลยทุ ธ์ เนื่องจากแผนฯ มีเปา้ หมายท่แี สดงออกมาเป็นปริมาณ คณุ ภาพ และเวลา ดังน้ัน KPIต่าง ๆ จะเลอื กมาจากเป้าหมายชุดทส่ี �ำคญั ที่สดุ (World Bank ไม่ระบปุ ี) รปู ที่ 6 คือเป้าหมายของแผนฯ แบบ “SMART” ซึง่ หมายความว่า • Specific (เจาะจง): ตวั ชวี้ ัดนัน้ เจาะจงมากพอที่จะวดั ความก้าวหน้าสู่ผลไดห้ รือไม่ • Measurable (วัดได้): ตวั ชว้ี ัดนัน้ เป็นการวัดผลทีเ่ ชื่อมั่นไดแ้ ละชัดเจนหรอื ไม่ • Attainable (บรรลไุ ด้): ผลที่ตัวชว้ี ัดต้องติดตามความกา้ วหน้านนั้ เปน็ ไดจ้ ริงหรอื ไม่ • Relevant (ตรงประเดน็ ): ตวั ช้ีวดั นน้ั เหมาะสมสำ� หรับผลผลิตและผลลัพธท์ ่ีต้องการ หรอื ไม่ • Time-bound (มกี ำ� หนดเวลา): มขี ้อมลู ทจ่ี ะใชส้ รา้ งตวั ชี้วัดไดด้ ว้ ยตน้ ทุนและความพยายามที่พอ เหมาะพอควรหรือไม่ 54

รปู ท่ี 6 วธิ สี ร้างเป้าหมาย / ตัวชวี้ ัด แบบSMART ต่อไปนี้คือตัวอย่างการศึกษาเพ่ือปวงชนท่ีเคยใช้แล้วในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 ซ่ึงแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเปา้ ประสงค์ วัตถปุ ระสงค์ ตัวช้ีวดั และเป้าหมายของการศึกษา (ดกู รอบข้อความท่ี 11) µÑǪ้ÇÕ Ñ´ ตัวชี้วัดพ้นื ฐาน มนี ักเรียนท่ไี ดร บั การฝก อบรมที่ดขี นึ้ ไดรบั ประกาศณียบัตรเปน จำนวนมากขนึ้ 1 บวกปริมาณ (เทาไร) จำนวนผเู รยี นสำเรจ็ ไดเพิ่มขน้ึ จาก 5,000 เปน 14,000คน 2 บวกคณุ ภาพ (การเปล่ยี นแปลงแบบไหน) จำนวนผเู รยี นจบทม่ี าจากครอบครัวรายไดต ำ่ ในภาค ก. ข. และ ค. ทีส่ อบผา น การสอบมาตรฐาน (ผหู ญงิ 40%/ผูช าย 60%) ไดเพม่ิ ขนึ้ จาก 5,000 เปน 14,000คน 3 บวกเวลา (ระยะเวลา) จำนวนผเู รยี นจบท่มี าจากครอบครัวรายไดตำ่ ในภาค ก. ข. และ ค. ท่สี อบผาน การสอบมาตรฐาน (ผูห ญงิ 40%/ผชู าย 60%) ไดเพ่มิ ขึน้ จาก 5,000 เปน 14,000 คน 4 ตอ ปนับตงั้ แตวันท่ีเรม่ิ แผนฯ แผนงาน โครงการกรอบขอ้ ความท่ี 11 เปา้ ประสงค์ วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย และตวั ช้ีวดั ในแผนการศกึ ษาเป้าประสงค์ วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ตัวช้วี ัดบรรลเุ ปา้ หมายการศกึ ษา เพ่ิมการเข้าถึงการศึกษา เพ่ิมอัตราการแรกเข้า อัตราการแรกเข้าเรียนเพื่อปวงชนภายในค.ศ. ระดับประถม เรียนสุทธิ (net intake สทุ ธิ (NIR)2015 rate) ชน้ั ประถม 1 จาก 85% ในปี ค.ศ. 2010 เป็น 100% ในปี ค.ศ. 2015 เพ่ิมอัตราการเข้าเรียน อัตราการเข้าเรียนสุทธิ สุทธิ (net enrolment (NER) rate) ในระดับประถม ศึกษาจาก 80% ในปี ค.ศ. 2010 เป็น 100% ภายในปี ค.ศ. 2015 ในการเตรยี มแผนการศกึ ษา จะตอ้ งคาดคะเนการเขา้ เรยี น (หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) ตามแนวโน้มทผ่ี า่ นมาแล้วดังที่สังเกตได้ในกรณีน้ีมีเป้าหมายรายปีท่ีใช้เป็นฐานส�ำหรับการก�ำกับติดตามในปีนั้น ๆ ได้ (กรอบขอ้ ความท่ี 12) 55

กรอบขอ้ ความท่ี 12 ตัวชีว้ ัดทีใ่ ช้เปน็ ค่าฐาน และเปา้ หมายวตั ถุประสงค์ คา่ ฐานNER เปา้ หมายNER เปา้ หมายNER เปา้ หมายNER เปา้ หมายNER เปา้ หมายNER ปี ค.ศ. 2010 ปี ค.ศ. 2011 ปี ค.ศ. 2012 ปี ค.ศ. 2013 ปี ค.ศ. 2014 ปี ค.ศ. 2015เพ่ิมการเข้า 80 % 84% 88% 92% 96% 100%ถึงการศึกษาระดับประถมศึกษา เนอื่ งดว้ ยอาจมตี วั ชว้ี ดั และเปา้ หมายหลายขอ้ ทเี่ ชอ่ื มโยงกบั วตั ถปุ ระสงคเ์ ดยี วกนั (เชน่ สำ� หรบั การเขา้ถงึ มอี ตั ราการเขา้ เรยี นแบบหยาบ(gross enrolment rate – GER) อัตราการเขา้ เรียนสทุ ธ(ิ NER) อตั ราการแรกเข้าเรียนปรากฏ (apparent intake rate)อัตราการแรกเข้าเรียนสทุ ธจิ �ำแนกตามเพศ ชั้น และภมู ภิ าค)จึงเป็นสิ่งส�ำคัญท่ีต้องเลือกตัวช้ีวัดท่ีมีความหมายมากท่ีสุดไม่ว่าจะเป็นเพราะการจัดกลุ่มข้อมูล (เช่น อัตราการเข้าเรียนแบบหยาบส�ำหรับการเข้าถึง) หรือเป็นเพราะตัวช้ีวัดนั้น ๆ เก่ียวข้องกับปัญหาเฉพาะของการศกึ ษาท่ีแผนฯ ตอ้ งแก้ไข หากประเทศหนง่ึ มปี ญั หาว่าเดก็ ท่เี ขา้ เรยี นชั้นประถม 1 มอี ายเุ กนิ เกณฑ์ ตัวชวี้ ดั ผลการปฏบิ ัตงิ านจะตอ้ งเป็นอตั ราการแรกเข้าเรยี นสทุ ธิชัน้ ประถม 1 หรอื จำ� นวนรอ้ ยละของเดก็ ที่มอี ายุสูงกวา่เกณฑ์ในบรรดานักเรยี นช้ันประถม 12.2 การมพี รอ้ ม ความนา่ เช่ือมัน่ และความคงเสน้ คงวาของขอ้ มูล (Data availability,reliability and consistency) ในบทท่ี 1 ของหนว่ ยการเรยี นรนู้ ไ้ี ดเ้ นน้ วา่ ระบบ EMIS ทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ลมคี วามสำ� คญั ในฐานะทเี่ ปน็ ฐานใหแ้ กก่ ารกำ� หนด KPIการท�ำรายงานผลการปฏิบตั ิงานประจ�ำปตี ้องใชผ้ ลการค�ำนวณทีล่ ะเอยี ดที่สุดของตวั ช้ีวดั ซงึ่ ตอ้ งไดม้ าทนั เวลา เพอื่ นำ� ไปเปรยี บเทยี บกบั ของปอี นื่ ๆ หลายปไี ด้ หรอื เปรยี บเทยี บของทง้ั ภมู ภิ าคเพอ่ืระบุอนกุ รมเวลาและแนวโน้มได้ หรอื เปรยี บเทยี บระหว่างภมู ภิ าคได้ น่คี ือเหตผุ ลวา่ ทำ� ไมจึงต้องเลอื กตวั ชีว้ ัดทีค่ �ำนวณได้จากข้อมลู ของ EMIS ซึง่ มกี ระบวนวธิ กี ารเกบ็ ข้อมลู ทุกปีโดยสมำ�่ เสมอ บทที่ 1 ของหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ไดก้ ล่าวถึงตวั ชวี้ ดั ตา่ ง ๆ ทีค่ ำ� นวณไดโ้ ดยง่ายจากข้อมูลของ EMIS(ประกอบกับขอ้ มูลประชากรและขอ้ มลู การเงนิ ) ไว้แล้ว ตัวชวี้ ัดในหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 นัน้ เกี่ยวกับการวัดสง่ิต่อไปนี้ คอื • การเขา้ ถึงและการมสี ว่ นรว่ ม (อตั ราการแรกเขา้ เรียนสทุ ธิ และปรากฏ อัตราการเข้าเรียนสุทธิ อัตรา การเขา้ เรยี นแบบหยาบและอัตราการเรียนต่อ) • ประสิทธิภาพภายใน (อตั ราการเลอื่ นไหล อตั ราการเหลอื รอด สัดสว่ นการสูญเสยี อตั ราการส�ำเร็จ การศกึ ษา ฯลฯ) • คณุ ภาพ (อัตราส่วนนกั เรียนต่อครู รอ้ ยละของครูโรงเรยี นประถมศึกษาทม่ี คี ุณวฒุ ิ และ/หรอื คณุ สมบัตทิ างวิชาชพี ตามกำ� หนด รอ้ ยละของเดก็ ในช้ันปสี ุดทา้ ยของช่วงชนั้ ทม่ี ีความสามารถการ เรยี นรูข้ น้ั พน้ื ฐานตามมาตรฐานของประเทศ) • การเงิน (รายจา่ ยภาครัฐเพอื่ การศึกษาคดิ เป็นร้อยละของ GDP รายจา่ ยภาครฐั เพอื่ การศึกษาคิด เป็นรอ้ ยละของรายจา่ ยของรฐั บาล รายจ่ายดำ� เนินการภาครัฐต่อนักเรยี นหนึง่ คนคิดเปน็ รอ้ ยละของ 56

รายได้ต่อคน รายจ่ายภาครัฐเพื่อการประถมศกึ ษาคิดเป็นร้อยละของรายจ่ายภาครฐั ท้งั หมด คา่ ตอบแทนครูคดิ เปน็ ร้อยละของรายจา่ ยด�ำเนนิ การภาครฐั เพื่อการศึกษา)2.3 ตน้ ทุนการผลิตตัวชีว้ ดั (Cost of indicator production) การผลิตตัวช้ีวัดอาจมีต้นทุนสูงมาก ฉะน้ัน ในการตัดสินใจเลือก KPI ควรค�ำนึงถึงต้นทุนการผลิตตัวชี้วัดท่ีจะเลือกใช้ด้วย ส�ำหรับการศึกษาระดับสูงขึ้น เช่น การศึกษาเทคนิค อาชีวศึกษา และการฝึกอบรม(technical and vocational education and training - TVET) รวมทัง้ ระดับอดุ มศึกษานนั้ อาจวางแผนไว้วา่ ผลลพั ธ์ คอื “บณั ฑติ มคี ณุ สมบตั พิ รอ้ มเขา้ ระบบแรงงานมากขนึ้ ”จงึ อาจมกี ารตดั สนิ ใจประเมนิ หลกั สตู รTVETหรอื อุดมศึกษาท้งั หมด โดยวิเคราะห์สถานการณก์ ารจา้ งงานของผทู้ ี่เรียนจบจากหลักสูตรดงั กลา่ ว แต่ในเม่อืระบบ EMIS ไมใ่ คร่เกบ็ ข้อมลู การเข้าตลาดแรงงาน การประเมนิ จึงจ�ำต้องอาศัยขอ้ มลู การสำ� รวจจากแหลง่อื่น (การส�ำรวจก�ำลังแรงงาน การส�ำรวจภาคครัวเรือน) เป็นต้นว่าการส�ำรวจของหน่วยสังเกตการณ์ตลาดแรงงาน (Labour Market Observatory) หรือสถาบันการศกึ ษาตา่ ง ๆ (โรงเรียนอาชวี ะ มหาวิทยาลยั ) ท่ีศกึ ษาตดิ ตามผล (tracer study) หรอื ส�ำรวจผู้จา้ งงาน การเข้าสู่ตลาดแรงงานเป็นเกณฑ์ที่น่าสนใจส�ำหรับการวัดประสิทธิภาพภายนอกของการศึกษาระดับทสี่ งู กวา่ มธั ยมศึกษา แตต่ ้องใช้การส�ำรวจที่ซบั ซ้อน และตอ้ งดำ� เนินการซำ้� ๆ ทั้งในระยะส้ันหลงั การจบการศกึ ษา และในระยะยาว (เชน่ สามปีต่อมา) การท่ีต้องติดตอ่ นักศกึ ษาทุกคนไดต้ ลอดเวลาและให้ทกุ คนตอบคำ� ถามตา่ ง ๆ เปน็ เรอื่ งยากและต้องใชง้ บประมาณจ�ำนวนมาก การจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของตวั ชว้ี ดั ซงึ่ ไดม้ าจากขอ้ มลู ทม่ี อี ยใู่ น EMIS และแหลง่ อนื่ ๆ และการรวบรวมขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ เฉพาะท่ีเกี่ยวข้องกับผลลัพธ์ส�ำคญั ของแผนการศึกษาน้ันเปน็ การด�ำเนินการทน่ี ่าชืน่ ชม2.4 ความเช่ือมโยงกบั แบบจำ� ลองสถานการณ์ (Link with the simulation model) แบบจ�ำลองสถานการณ์ที่พัฒนาข้ึนสนับสนุนแผนการศึกษาท�ำให้สามารถเลือกตัวชี้วัดต่าง ๆ ได้โดยสะดวก ดังที่ไดเ้ หน็ แลว้ ในหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 วา่ แบบจ�ำลองสถานการณน์ ั้นใชค้ าดคะเนการเขา้ เรยี น (จากการตดั สินใจดา้ นนโยบายเร่ืองการเขา้ ถึง และการเลื่อนไหลของนกั เรียน) ความตอ้ งการด้านบุคลากร (จากอตั ราสว่ นนกั เรยี นตอ่ เจา้ หนา้ ท)ี่ ความตอ้ งการโครงสรา้ งพน้ื ฐาน (จากอตั ราสว่ นนกั เรยี นตอ่ หนว่ ย) และความตอ้ งการด้านการเงนิ (จากราคาต่อหนว่ ย) เพราะฉะนัน้ แบบจ�ำลองสถานการณ์จงึ มีขอ้ มลู ฐาน และเปา้ หมายรายปตี ลอดระยะแผนนน้ั ขอ้ มลู ทมี่ คี ณุ คา่ เหลา่ นใ้ี ชเ้ ปน็ พน้ื ฐานกำ� หนด หรอื คำ� นวณKPI ในกรณที แี่ บบจำ� ลองไม่ได้ค�ำนวณให้ นอกจากนั้นแล้วการใช้ข้อมูลหรือตัวชี้วัดจากแบบจ�ำลองโดยตรงอาจช่วยท�ำให้ตัวช้ีวัดต่างๆ สัมพันธส์ อดคล้องกันมากข้ึน ท่ีจริงตวั ชีว้ ัดอาจต้องพึ่งพิงกัน เชน่ อัตราการรับเขา้ ตามปรากฏ (apparentadmission rate) และอัตราการเข้าเรียนแบบหยาบ การใช้ค่าฐานและเป้าหมายของตัวชี้วัดสองตัวขึ้นไปจากแบบจ�ำลองสถานการณ์ ทำ� ใหม้ นั่ ใจไดม้ ากขนึ้ ว่าตัวชีว้ ดั เหลา่ นน้ั ไม่แยง้ กัน เพราะวา่ ใชข้ ้อมูลชุดเดยี วกัน(ประชากร และการเขา้ เรยี น) เป็นฐาน 57

2.5 ความเชื่อมโยงกบั ยุทธศาสตรก์ ารลดความยากจน (Link with the PovertyReduction Strategy Paper) KPI ท่จี ะเลือกใช้ตอ้ งสอดคล้องกบั ระบบการกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลอืน่ ๆ ด้วย เชน่ ตัวช้ีวดัในยทุ ธศาสตรก์ ารลดความยากจนซง่ึ มเี ป้าประสงคก์ ารพฒั นาระยะหลายปที ท่ี กุ ประเทศเหน็ พ้องกนั แลว้ ในยทุ ธศาสตรน์ ี้มเี มทริกซ์นโยบายและตัวช้วี ัดหนง่ึ ชุด รวมท้งั แบบการก�ำกบั ติดตามและการประเมินผลเพอื่ วัดความก้าวหนา้ ประเทศยากจนท่ีมีภาระหน้สี ูง และตอ้ งการขอบรรเทาหนจี้ ากสถาบนั การเงนิ ระดับโลก ต้องปฏบิ ตั ติ ามเงอ่ื นไขตา่ ง ๆ ตามทส่ี ถาบนั การเงนิ กำ� หนด เงอื่ นไขขอ้ หนงึ่ คอื ประเทศดงั กลา่ วตอ้ งสามารถกำ� กบัตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานความพยายามในการปฏริ ปู รวมทง้ั ความกา้ วหนา้ ดา้ นการลดความยากจนได้ในเมอื่ กลยทุ ธข์ อ้ หนงึ่ ของยทุ ธศาสตรก์ ารลดความยากจนคอื การศกึ ษา (ขนั้ พนื้ ฐาน) จงึ มตี วั ชวี้ ดั ทเ่ี กยี่ วกบั การศกึ ษารวมอยใู่ นแบบการกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลยทุ ธศาสตรน์ น้ั ดว้ ย โดยหลกั การนน้ั วตั ถปุ ระสงคข์ องการวางแผนการศกึ ษา และองคป์ ระกอบดา้ นการศกึ ษาของยทุ ธศาสตรก์ ารลดความยากจนตอ้ งสอดคลอ้ งกนัเนือ่ งจากองค์ประกอบดังกล่าวน้ีตอ้ งพัฒนามาจากวัตถปุ ระสงคก์ ารวางแผน ดงั นัน้ ตวั ชี้วัดหลกั ทใี่ ช้ย่อมตอ้ งพอ้ งกนั ดว้ ย การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เดยี วกนั ใหก้ ารกำ� กบั ตดิ ตามทง้ั สองแผนนชี้ ว่ ยลดภาระการรวบรวมขอ้ มลูลงไดม้ าก2.6 คุณภาพและการกำ� กับดูแล: วัดยากแต่ต้องวดั (Two difficult, yet crucialdimensions to measure: quality and governance) การประเมนิ วัตถปุ ระสงคห์ รือผลลพั ธ์ทคี่ าดหวงั บางประการของแผนการศกึ ษา (เช่น การเพิ่มการเข้าถงึ การศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษา) ทำ� ไดง้ า่ ยดว้ ยตวั ชว้ี ัดเชงิ ปริมาณ แต่มีขอ้ ทป่ี ระเมินได้ยากเชน่ การยกระดบัคุณภาพของการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษา ดังที่ได้กล่าวไปแล้วว่าเป็นไปได้ที่จะระบุตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ แม้จะยุ่งยากซับซ้อนและต้องใช้ความระมดั ระวงั มากกวา่ การระบตุ วั ช้ีวัดอ่นื ๆ คณุ ภาพบางด้านมวี ธิ ีวดั ไดจ้ ริง แตท่ งั้ น้ีข้นึ อยูก่ ับนิยามของคณุ ภาพนน้ั ๆ ดังนัน้ “คุณภาพของการศกึ ษา” ทีจ่ ะวัดต้องมีความหมายทีช่ ดั เจน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ไดพ้ ดู ถงึ คณุ ภาพการศกึ ษาไปบา้ งแลว้ วา่ ประกอบดว้ ยดา้ นตา่ ง ๆ ซง่ึ เกยี่ วกบั ปจั จยันำ� เขา้ (เช่น ครแู ละคุณสมบัตขิ องครู) กระบวนการผลผลติ และผลลัพธ์ ถา้ “คณุ ภาพ” หมายถึงคุณภาพของครู การวดั ต้องวดั ที่คณุ สมบตั ขิ องครู ถ้าคุณภาพหมายถงึ ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผูเ้ รียน จะต้องวดั ทักษะด้านการรู้คิด และทักษะอ่ืน ๆ ท่ีได้มาจากการร�่ำเรียน แต่ถ้าคุณภาพหมายถึงคุณภาพของทรัพยากร ย่อมต้องวัดจ�ำนวนหนังสือเรียนต่อผู้เรียนหน่ึงคน ฯลฯ ส่วนคุณภาพขององค์ประกอบเชิงกระบวนการ เช่น บริการสนับสนุนส�ำหรับนักเรียน (การแนะแนวและการใหค้ �ำปรกึ ษา) เป็นสงิ่ ท่ปี ระเมินไดเ้ ช่นกนั และนอกจากนยี้ ังเป็นไปได้ที่จะรวมกลุ่มข้อมูลให้เป็นตัวช้ีวัดประกอบ (composite indicator) เพื่อใช้เปรียบเทียบระหว่างสถาบัน แต่ถึงอย่างไรก็มีส่วนประกอบด้านกระบวนการที่เป็นมิติส�ำคัญของคุณภาพซึ่งวัดเป็นปริมาณได้ยากเช่น คุณภาพของภาวะผู้น�ำของโรงเรียน ระดบั ของความร่วมมอื และความเปน็ เพื่อนรว่ มงานกนั ของครู และคณุ ภาพของความสมั พันธ์ระหวา่ งโรงเรยี นกับชุมชน แต่เปน็ ไปไดท้ ่ีจะศึกษาคณุ ภาพดว้ ยการสำ� รวจและวิจยัและสร้างตัวช้ีวดั จากข้อมลู การวจิ ัยน้นั 58

โดยสรุปแล้ว ลักษณะท่แี ยง้ กนั ของมติ ิทางคุณภาพและปริมาณนั้นพอจะแกไ้ ขได้ โดยการนยิ ามให้ชดั เจนว่าต้องวดั อะไร เพื่อทผ่ี มู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี จะไดเ้ ขา้ ใจกระจ่างถึงสถานภาพปัจจบุ ันของระบบการศึกษา แผนการศึกษาหลายฉบับมุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบการก�ำกับดูแล (governance) และการบรหิ ารจดั การ การกำ� กบั ดแู ลนน้ั เปน็ ประเดน็ ทสี่ ำ� คญั ยงิ่ ขนึ้ ไปอกี ในเมอ่ื การดำ� เนนิ งานมลี กั ษณะเปน็ การสนบั สนนุ แผนงานมากขน้ึ ทุกที ซึง่ การด�ำเนนิ งานแบบนี้ตอ้ งพง่ึ ระบบราชการมากขึ้น ดงั น้ัน แผนการศึกษาจงึ มักมสี ่วนทีเ่ กยี่ วกับการก�ำกบั ดแู ลอยดู่ ้วย พร้อมท้งั กำ� หนดให้มกี ารฝึกอบรมเพ่อื พัฒนาการบรหิ ารจดั การเพ่อื เปลี่ยนแปลงโครงสร้างองคก์ รของการบรหิ ารการศึกษา หรอื เพือ่ เปลี่ยนแปลงระบบกระบวนวธิ ี กฏและระเบียบต่าง ๆ แต่ในระบบการศึกษาน้ัน การวัดการก�ำกับดูแลที่ดีข้ึน และขีดความสามารถการจัดการท่ีสูงข้ึนไม่ใช่เรอื่ งงา่ ยโดยปกตจิ ะตอ้ งใชต้ วั ชวี้ ดั โดยออ้ ม สารสนเทศเกย่ี วกบั ประสทิ ธผิ ลของการกำ� กบั ดแู ลและการบรหิ ารจดั การมพี นื้ ฐานเปน็ ตวั ชว้ี ดั ดา้ นการเงนิ เพอื่ การศกึ ษา (งบประมาณการศกึ ษาคดิ เปน็ สว่ นแบง่ ของงบประมาณทง้ั หมด) และการใชเ้ งนิ นน้ั (สดั สว่ นทเี่ ปน็ เงนิ เดอื น สดั สว่ นของบคุ ลากรการศกึ ษาทง้ั หมดทเี่ ปน็ ครู อตั ราการเบกิ จา่ ยสำ� หรบั แผนงานเรง่ ดว่ น) ตวั ชว้ี ดั เหลา่ นสี้ ะทอ้ นการกำ� กบั ดแู ลในบางดา้ นไดเ้ มอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ระดบัการจัดสรรทรพั ยากรตามทร่ี ูส้ กึ วา่ ต้องการ กรอบขอ้ ความท่ี 13 คอื ตัวอยา่ งตวั ช้ีวดั ทใี่ ช้กำ� กับตดิ ตามขีดความสามารถการบริหารจดั การของการบรหิ ารการศกึ ษาในประเทศกมั พชู า 59

กรอบขอ้ ความที่ 13 ตวั ชี้วัดท่ใี ช้ก�ำกบั ตดิ ตามขดี ความสามารถการบรหิ ารจัดการของกระทรวงศึกษาฯประเทศกัมพชู าตัวชี้วัดขีดความสามารถการบริหารจดั การ ตาม ตาม ตาม เปา้ จริง จรงิ จริง หมาย 2ค0.0ศ9. 2ค0.ศ10. 2ค0.1ศ1. 2ค0.ศ11.19 งบด�ำเนินการสาขาการศึกษา (งบประมาณภาครัฐ 17.0% 16.4% 16.6% 19.0% และจากแหลง่ อน่ื ๆ) เทยี บกบั งบประมาณแผ่นดิน20 จ�ำนวนร้อยละของงบประมาณส�ำหรับแผนงานตาม 88.7% 91.3% 91.69% 95.0% จรงิ เทียบกบั งบประมาณแผนงานท้งั หมด21 จำ� นวนรอ้ ยละของหนว่ ยงานผใู้ ชง้ บประมาณทตี่ อ้ งได้ 16.7% 33.2% 64.8% 76.1% รับการตรวจสอบภายในต่อปี22 จ�ำนวนร้อยละของโรงเรียนและสถาบันการศึกษาที่ 1.1% 6.1% 7.2% 7.1% ตอ้ งไดร้ บั การตรวจสอบภายในตอ่ ปี23 จำ� นวนผชู้ ว่ ยดา้ นวชิ าการทง้ั ชาวกมั พชู า และชาวตา่ ง 516 323.43 257 450 ประเทศ (คน-เดอื น)24 จำ� นวนรอ้ ยละของบุคลากรการศึกษาทเ่ี ปน็ หญิง na 38.88% 39.73%บคุ ลากรครู 43.4% 39.82% 43.54%25 ผู้บริหารระดับกลาง (ผู้อ�ำนวยการ และรองผู้อ�ำนวย 10.3% 11.8% 10.5% การกอง ศึกษาธิการเทศบาลและจังหวดั )ความเป็นผูน้ �ำ (จากระดบั รองอธบิ ดขี นึ้ ไป) 7.7% 10% 7.89%บรรลุผลแล้ว นา่ จะบรรลุผล คงไมบ่ รรลผุ ล*งบดำ� เนินการของกระทรวงศึกษา เยาวชน และการกีฬา ตัวช้ีวัดความมีประสิทธิผลของการก�ำกับดูแลอาจได้จากการศึกษาเฉพาะด้าน เช่นการตรวจสอบการบรหิ ารซึ่งวเิ คราะห์ขอ้ ดขี อ้ เสียของระบบบรหิ าร การศึกษาเฉพาะดา้ นเป็นส่ิงจ�ำเปน็ ตอ่ การวเิ คราะห์ประเด็นสำ� คญั ตา่ ง ๆ เช่น ผไู้ ดป้ ระโยชน์ไดร้ ับบรกิ ารต่าง ๆ หรือไม่ และพงึ พอใจในบริการท่ไี ดร้ บั หรือไม่ สว่ นคำ� ถามชดุ สดุ ทา้ ยนนั้ อยา่ งนอ้ ยมบี างสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ความกงั วลทเี่ พมิ่ ขน้ึ เรอ่ื ย ๆ เรอ่ื งการใชท้ รพั ยากรในทางทผี่ ดิและการฉ้อฉล ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าจากการสำ� รวจความพงึ พอใจ หรอื การศกึ ษาตดิ ตามรายจา่ ยภาครฐั สามารถนำ� ไปใชส้ รา้ งตัวชว้ี ัดได้ (เช่น จ�ำนวนร้อยละของผ้ใู ช้บรกิ ารดา้ นธรุ การที่มคี วามพึงพอใจ จำ� นวนรอ้ ยละของงบประมาณที่ถึงผู้ไดป้ ระโยชนโ์ ดยตรง) 60

2.7 ระบบตวั ชีว้ ดั (Thinking in terms of an indicator system) ในการตัดสินใจเลอื กใช้ KPI ควรจ�ำกัดจำ� นวนไว้ทร่ี าว 20 ข้อ ตวั ช้วี ัดจำ� นวนมากทำ� ให้แปลผลได้ยากทำ� ใหไ้ ม่สามารถเนน้ ดา้ นทีส่ �ำคัญจริง ๆ ของแผนการศึกษาได้ และท�ำใหไ้ มม่ คี วามกระจ่างชดั เร่อื งผลลัพธ์ที่คาดหวงั ตามความตอ้ งการของแผนการศกึ ษา อกี ประการหนง่ึ การเลอื กตวั ชว้ี ดั ไวม้ ากเกนิ ไปจะเปน็ ภาระตอ่ระบบสถิตขิ องชาติ เนื่องจากจะต้องใชท้ รัพยากรส�ำหรบั การรวบรวมขอ้ มลู ท่ีมนี อ้ ยอยู่แล้วมาคำ� นวณตัวชวี้ ดัอยเู่ สมอ เมอ่ื ตดั สนิ ใจเลอื ก KPI ชดุ ใดชดุ หนง่ึ ตอ้ งระวงั วา่ ไดต้ วั ชวี้ ดั จำ� นวนไมม่ ากเกนิ ไป แตค่ รอบคลมุ ทกุ ระดบั(ปจั จัยน�ำเขา้ ผลผลติ ผลลพั ธ์ระยะยาว) และทกุ วตั ถปุ ระสงคห์ ลักของแผน (การเขา้ ถึง คุณภาพ การบริหารการจดั การ) ทส่ี �ำคญั ทสี่ ดุ คือ ในระบบการศกึ ษาทีม่ ีความเหลอ่ื มล�้ำท่สี �ำคัญ (เชน่ ระหวา่ งเพศ ภูมภิ าค สังคม-เศรษฐกจิ หรอื ชาตพิ นั ธ)์ุ จำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งใชต้ วั ชว้ี ดั ทค่ี ำ� นงึ ถงึ ความแตกตา่ งทางเพศ ชาตพิ นั ธ์ุ และระดบั ความยากจน และอาจต้องเสนอตัวช้ีวัดในลักษณะแยกกล่มุ (disaggregated) เพื่อท่จี ะไดว้ เิ คราะหแ์ นวโน้มความเหลื่อมล้�ำได้ สงิ่ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ตามมาคอื ความลำ� บากใจในการเลอื ก KPI ชดุ ทา้ ยทสี่ ดุ แนวโนม้ ในปจั จบุ นั คอื ตวั ชว้ี ดั ผลลพั ธท์ เี่ กย่ี วกบั เปา้ ประสงคแ์ ละวตั ถปุ ระสงคข์ องแผนฯ มลี ำ� ดบั ความสำ� คญั สงู กวา่ ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธเ์ หลา่ นร้ี วมตวัชว้ี ดั ปจั จยั นำ� เขา้ ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ เขา้ ไวด้ ว้ ย (จำ� นวนรอ้ ยละของครทู ม่ี คี ณุ สมบตั ติ รงตามความตอ้ งการ อตั ราสว่ นนกั เรยี นตอ่ ครู อตั ราสว่ นนกั เรยี นตอ่ หนังสือเรียน ฯลฯ) ซึ่งเป็นการถูกตอ้ ง โดยเฉพาะถา้ ตวั ชี้วัดดังกลา่ วคอืประเดน็ หลกั ในสาขาการศกึ ษา ในทา้ ยทสี่ ดุ จะตอ้ งมจี ดุ สมดลุ ระหวา่ งขอ้ ควรคำ� นงึ ดงั กลา่ ว กบั ความจำ� เปน็ ที่ต้องตกลงกนั ใหไ้ ดว้ ่าระบบตัวช้ีวัดใดจะให้ภาพเบด็ เสร็จของผลการปฏบิ ัติงานของสาขาการศึกษาตามแผนฯนนั้ ได้ การกำ� กบั ตดิ ตามอาจมตี วั ชวี้ ดั มากกวา่ หนง่ึ ชดุ เนอ่ื งจากควรมกี ารกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และระดบั ชาติ ทกุ ระดับการบรหิ ารอาจมตี ัวชวี้ ัดเฉพาะของระดบั น้นั ๆ เพราะผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในระดบั ตา่ ง ๆ ยอ่ มตอ้ งการขอ้ มลู ตา่ งกนั จงึ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ทตี่ อ้ งแยกแยะระหวา่ งชดุ ตวั ชว้ี ดั ผลงานระดบั ชาติ ซงึ่ เปน็ ฐานของการกำ� กบั ตดิ ตามผลการปฏบิ ตั งิ านประจำ� ปขี องทงั้ แผนฯ กบั ชดุ ตวั ชว้ี ดั ทกี่ ำ� หนดขนึ้ในระดับภมู ิภาคและทอ้ งถิน่ บทท่ี 2 ได้อธบิ ายไว้แลว้ ว่าตัวช้วี ดั สัมพันธ์กับกิจกรรมทีก่ �ำหนดไว้ในแผนปฏบิ ตั ิการประจำ� ปี ตวั ชวี้ ดั จึงตอ้ งเกีย่ วกับปัจจัยนำ� เขา้ และผลผลติ 61

ตอนท่ี 3เกณฑ์ทางการเมอื งส�ำหรบั การเลอื กตัวช้วี ัด(Politicalcriteria for the choice of indicators) การเลอื ก KPI สำ� หรบั แผนการศกึ ษาเปน็ เรอ่ื งการเมอื งเนอื่ งจากผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี อาจตอ้ งการอภปิ รายว่าตนคาดหวังผลการปฏิบัติงานเช่นไรจากแผนการศึกษา และอาจต้องขอความเห็นชอบจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี เมือ่ เลอื กตวั ชวี้ ดั KPI และเปา้ หมายท่เี ก่ียวขอ้ ง โดยเฉพาะในประเด็นทสี่ ำ� คัญทีส่ ุด เช่น การเพม่ิ การเข้าถงึ การศกึ ษาในระดับมัธยมศึกษาควรเน้นทอี่ ัตราการเขา้ เรียนสุทธิ (NER) หรอื อตั ราการเขา้ เรยี นแบบหยาบ(GER)คือควรเน้นอัตราจำ� เพาะอายุ (ASER) หรือไม่ ควรมีเป้าหมายเฉพาะส�ำหรับเพศชายและเพศหญิงแยกกนั หรอื ไม่ ควรกำ� หนดเปา้ หมายเฉพาะสำ� หรบั แตล่ ะพน้ื ท/ี่ ภมู ภิ าค หรอื ตง้ั เปา้ หมายคา่ เฉลยี่ ระดบั ชาตเิ ทา่ นนั้ค�ำถามต่าง ๆ เหล่าน้แี สดงถงึ มติ ิท่หี ลากหลายของเหตุผลในการเลือก KPI และเป้าหมายต่าง ๆ จดุ ยนื และความสนใจท่ีตา่ งกันของรฐั บาล และภาคเี ครือขา่ ยมกั เป็นที่ประจักษ์ในระหวา่ งการสนทนานโยบาย ความเหน็ ตา่ งซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ ความตงึ เครยี ดนจี้ ะเดน่ ชดั ยง่ิ ขนึ้ ในกรณที ข่ี อ้ ตกลงเรอ่ื งความชว่ ยเหลอื แก่สาขาการศกึ ษากำ� หนดใหก้ ารโอนเงนิ สนบั สนนุ แตล่ ะงวดขน้ึ อยกู่ บั การบรรลเุ ปา้ หมายทไ่ี ดก้ ำ� หนดไว้ เชน่ การสนบั สนนุ โดยสหภาพยโุ รปกำ� หนดวา่ การดำ� เนนิ งานตอ้ งบรรลเุ ปา้ หมายตามทต่ี กลงกนั ภายในระยะเวลาทที่ ง้ัสองฝ่ายเหน็ พอ้ งกนั (ทุกหกเดอื น หรือทกุ ปี) จงึ จะมีการโอนเงินสนบั สนุนตามงวด3.1 การควบคมุ การบรรลุเป้าหมายโดยกระทรวงศึกษาธิการ (Ministry control overtarget achievement) เจา้ หน้าทฝ่ี า่ ยรฐั ตอ้ งค�ำนึงถึงเกณฑข์ อ้ สำ� คญั คอื ต้องเลือก KPI ที่หนว่ ยงานการศกึ ษาควบคมุ ได้ โดยเฉพาะการเลอื กตวั ชวี้ ดั การมสี ว่ นรว่ มและการเขา้ เรยี น จรงิ อยทู่ อ่ี ตั ราการเขา้ เรยี นแบบหยาบขน้ึ อยกู่ บั อปุ สงค์และอุปทานทางการศึกษา อย่างน้อยในระดับการศึกษาภาคบังคับ แต่ผู้ท่ีมีอ�ำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสามารถด�ำเนินการด้านอุปทานและการใช้กฏหมายตามท่ีจ�ำเป็นเพื่อให้เด็ก ๆ ได้เข้าเรียนในระบบโรงเรยี น ส�ำหรับการศึกษาหลังจากการศึกษาภาคบังคับนั้นพบว่าส่วนมากมีวัตถุประสงค์ว่าผู้ส�ำเร็จอาชีวศึกษาหรืออุดมศึกษาต้องมีคุณสมบัติพร้อมเข้าระบบแรงงาน และวัดผลลัพธ์เป็นจ�ำนวนร้อยละของผู้ส�ำเร็จการศกึ ษาทไี่ ดง้ านภายในหกเดอื นหลงั สำ� เรจ็ การศกึ ษาแลว้ (หรอื นานกวา่ ) แตเ่ ปน็ การยากทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารจะประกนั การบรรลเุ ป้าหมายใดๆ ได้ ทงั้ นเ้ี พราะการบรรลุเป้าหมายไม่ไดข้ น้ึ อยกู่ บั ความสามารถของระบบการศกึ ษาทจ่ี ะฝกึ ฝนผเู้ รยี นใหไ้ ดม้ าตรฐานในสาขาทตี่ ลาดแรงงานตอ้ งการเทา่ นน้ั แตย่ งั ขนึ้ อยกู่ บั สถานการณ์ทางเศรษฐกจิ ในขณะนนั้ ดว้ ย เชน่ ในกรณที เ่ี กดิ ภาวะวกิ ฤตทางเศรษฐกจิ ผทู้ เี่ พง่ิ สำ� เรจ็ การศกึ ษาสงู กวา่ ระดบัมัธยมศึกษาหางานท�ำได้ยากกว่าปกติ แต่ไม่ใช่เพราะระบบการศกึ ษาท�ำหนา้ ทไ่ี ดไ้ มด่ ีพอ ดังน้ัน หากเงินสนับสนุนจากภายนอกข้ึนอยู่กับการบรรลุเป้าหมาย ตัวชี้วัดท่ีเลือกใช้ควรเป็นตัวชี้วัดที่กระทรวงฯ ควบคุมได้ดีพอสมควร เช่น “จ�ำนวนร้อยละของนักเรียนที่เข้าเรียนหลักสูตรวิชาชีพระดับอดุ มศกึ ษา” 62

3.2 ความเชอ่ื มโยงของตวั ชี้วดั กับกรอบระหว่างประเทศ (Linkage of indicators withinternational frameworks) นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว ปัจจุบันมีผู้มองว่าตัวชี้วัดบางตัวส�ำคัญเป็นพิเศษ รัฐบาลต่าง ๆ และภาคีเครอื ขา่ ยทวั่ โลกตา่ งไดใ้ หค้ ำ� มน่ั วา่ จะดำ� เนนิ การใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของการศกึ ษาเพอ่ื ปวงชนหรอื เปา้ หมายการพฒั นาแหง่ สหสั วรรษ (ดงั กลา่ วไวแ้ ลว้ ในหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1) หากประเทศใดปรารถนาจะไดร้ บั เงนิ สนบั สนนุจากกองทนุ เรง่ ด่วน ประเทศนน้ั กจ็ ำ� ต้องใส่ใจเกณฑ์มาตรฐานบง่ ชขี้ องกองทนุ ฯ เป็นพิเศษเป้าหมายและตัวชีว้ ัดการศกึ ษาเพ่ือปวงชน (EFA goals and indicators) ใน ค.ศ.2000 ตวั แทนจากทกุ ประเทศทว่ั โลกไดร้ ว่ มประชมุ ระดบั โลกดา้ นการศกึ ษา(World EducationForum)ท่ีเมืองดาการ์ประเทศเซเนกัล เพื่อส�ำรวจสถานะของพันธะสัญญานานาชาติเร่ืองการจัดการศึกษาข้นั พน้ื ฐานท่มี คี ณุ ภาพเพ่ือปวงชน ตามมติของการประชมุ ที่จอมเทยี น ประเทศไทยเม่ือสบิ ปกี ่อนนั้น บรรดาตวั แทนประเทศทั้งหลายในท่ีประชุมมมี ติรับเปา้ ประสงค์ดาการ์ 6 ประการ พรอ้ มท้งั ตัวชีว้ ดั แกนกลางอกี 18ตัวที่เชื่อมโยงกับเป้าประสงค์ต่าง ๆ นั้น พร้อมท้ังตกลงท่ีจะด�ำเนินการก�ำกับติดตามในระดับประเทศด้วย(ดกู รอบข้อความท่ี 14) 63

กรอบข้อความท่ี 14 เปา้ หมายดาการ์ 1. ขยายและปรบั ปรงุ การศึกษาและการดูแลเด็กเลก็ กอ่ นวัยเรยี นโดยเฉพาะเดก็ ทเี่ ปราะบางและดอ้ ยโอกาส ตวั ชวี้ ดั ท1่ี การเขา้ เรยี นแบบหยาบในหลกั สตู รการพฒั นาเดก็ เลก็ ทง้ั ในภาครฐั เอกชน และชมุ ชน ตวั ชวี้ ดั ท2่ี จำ� นวนรอ้ ยละของนกั เรยี นใหมใ่ นชนั้ ประถม 1 ทไี่ ดผ้ า่ นหลกั สตู รการพฒั นาเดก็ เลก็ ทเี่ ปน็ กจิ ลกั ษณะมาแลว้ 2. รับรองว่าภายในปีค.ศ. 2015 เด็กท้ังหมดโดยเฉพาะเด็กผู้หญิง เด็กที่อยูใ่ นสภาวะยากล�ำบาก และเดก็ ท่ี เป็นกลุ่มนอ้ ยทางเชอื้ ชาตสิ ามารถเขา้ ถึงและเข้าเรียนในระดับประถมศึกษาภาคบังคับทมี่ ีคุณภาพ ตัวชี้วดั ที่3 อัตราการแรกเข้าเรยี น(ท้งั หมด)ปรากฏ [apparent (gross) intake rate] ตวั ชว้ี ัดท4ี่ อัตราการแรกเขา้ เรียนสุทธิ (Net intake rate) ตวั ชวี้ ัดท่5ี อตั ราส่วนการเข้าเรียนแบบหยาบ (gross enrolment ratio) ตัวช้ีวดั ท6ี่ อตั ราสว่ นการเข้าเรยี นสุทธิ (net enrolment ratio) ตวั ช้ีวดั ท่ี7 รายจ่ายประจ�ำ (current expenditure) ภาครฐั เพ่อื การประถมศึกษา (ก) เป็นรอ้ ยละของ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมประชาชาติ (GNP) , (ข) เป็นร้อยละของรายไดต้ อ่ หวั (GNP per capita) ตัวชว้ี ดั ท8่ี จ�ำนวนรอ้ ยละของครชู ้ันประถมศึกษาท่ีไดร้ ับการรบั รอง (หรอื ฝึกอบรม) ใหส้ อนไดต้ าม มาตรฐานของประเทศ ตัวชีว้ ดั ท9่ี อัตราสว่ นนกั เรยี นต่อครู ตวั ช้ีวัดท่1ี 0 อัตราการซ้�ำช้ัน ตวั ชว้ี ัดที่11 อัตราการเหลือรอด ตัวชีว้ ดั ที่12 รายจา่ ยภาครฐั ส�ำหรบั การประถมศกึ ษาเปน็ รอ้ ยละของรายจ่ายภาครัฐเพื่อการศกึ ษาท้ังหมด ตัวชี้วัดที่13 จ�ำนวนรอ้ ยละของครชู น้ั ประถมศึกษาทม่ี คี ณุ วฒุ ิตามก�ำหนด ตวั ชี้วัดท1่ี 4 คา่ สมั ประสิทธ์ขิ องความมีประสทิ ธิภาพ13 3. รับรองว่าความต้องการการเรยี นรขู้ องเยาวชนและผ้ใู หญ่ท้ังหมดไดร้ บั การตอบสนองด้วยโครงการทกั ษะ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ อย่างเทา่ เทียมกัน ตวั ชี้วดั ที่15 อตั ราการร้หู นงั สือของผ้ทู มี่ อี ายุ 15 ถึง 24 ปี 4. พัฒนาอตั ราการรู้หนังสอื ของผู้ใหญ่ได้เพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 50 ภายในค.ศ. 2015 โดยเฉพาะสตรีและการ พัฒนาการเขา้ ถึงการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานและตอ่ เนื่องสำ� หรบั ผู้ใหญ่ท้งั หมดให้เท่าเทียมกนั ตวั ชี้วดั ท่1ี 6 อตั ราการรหู้ นงั สอื ของผใู้ หญ่ (จำ� นวนรอ้ ยละของประชากรทมี่ อี ายมุ ากกวา่ 15 ปี ทรี่ หู้ นงั สอื ) 5. ขจัดความเหลอื่ มล้�ำทางเพศในการศกึ ษาระดบั ประถมและมัธยมภายในปี ค.ศ. 2005 และท�ำใหเ้ กดิ ความเท่าเทียมทางเพศในการศึกษาภายในปี ค.ศ. 2015 โดยเนน้ การเข้าถงึ ของเดก็ ผหู้ ญงิ และทำ� ใหเ้ กิด การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานท่ีมีคุณภาพ ตวั ช้วี ัดท1่ี 7 ดัชนคี วามเสมอภาคระหวา่ งเพศ ด้านการรู้หนงั สอื6. พฒั นาคุณภาพการศึกษาในทกุ ด้านและรับรองความเปน็ เลิศท้ังหมดเพอ่ื ให้เกดิ ผลลัพธท์ างการเรยี นรู้ท่ีชดั เจนและสามารถวัดได้โดยเฉพาะในเรือ่ งการรูห้ นงั สอื การค�ำนวณตัวเลขและทักษะทจี่ �ำเปน็ ต่อชีวิต ตัวชว้ี ัดท1่ี 8 จ�ำนวนร้อยละของนกั เรยี นท่ีเรียนจบชั้นประถม 4 เปน็ ขัน้ ต�ำ่ ท่ีมคี วามสามารถการเรียนรขู้ น้ั พ้นื ฐานตามมาตรฐานของประเทศ13 คา่ สมั ประสทิ ธ์ของความมีประสิทธภิ าพ (coefficient of efficiency) คือจำ� นวนนักเรียน-ปีสูงสุดสำ� หรบั นักเรียนแต่ละรุน่ ทจี่ ะเรยี นจนจบ ระดับประถมศกึ ษา แสดงเปน็ จ�ำนวนรอ้ ยละของจำ� นวนนักเรียน-ปที ีไ่ ด้ใชไ้ ปจรงิ 64

รายการตัวช้ีวัดข้างบนนี้เป็นพื้นฐานส�ำหรับการเลือกตัวช้ีวัดเฉพาะท่ีเกี่ยวกับการศึกษาเพ่ือปวงชนในแผนการศกึ ษา และประเทศทงั้ หลายมกั ถอื ตามตวั ชวี้ ดั การศกึ ษาเพอื่ ปวงชนดงั กลา่ วในการกำ� กบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานในแผนการศกึ ษาของประเทศตน เน่ืองจากได้ให้ค�ำม่นั สญั ญาร่วมกันไว้แลว้วา่ จะถอื กรอบปฏบิ ตั กิ ารดาการ์เปน็ พันธกรณี และจะกำ� กบั ติดตามตวั ชีว้ ัดทง้ั 18 นั้นเป้าหมายการพฒั นาแหง่ สหสั วรรษ (The Millennium Development Goals) ในการประชุมสุดยอดสหัสวรรษ (Millennium Summit) เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 2000 ประเทศสมาชิกองคก์ ารสหประชาชาติไดล้ งมติรบั แถลงการณ์สหสั วรรษ (Millennium Declaration) และเป้าหมายการพฒั นาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals – MDGs) ทัง้ แปดข้อ ซง่ึ ในจำ� นวนนีม้ สี องขอ้ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษา และยงั ไดต้ กลงกนั วา่ จะถอื เปน็ พนั ธกจิ ทจ่ี ะกำ� กบั ตดิ ตามตวั ชวี้ ดั การศกึ ษาเพอ่ื ปวงชนท่เี กีย่ วขอ้ งกับเปา้ หมายการพฒั นาแหง่ สหสั วรรษด้วย ตอ่ ไปนคี้ ือตวั ช้วี ัดที่ไดเ้ ลอื กไว้ใช้วัดความกา้ วหน้าสู่การบรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาแหง่ สหสั วรรษ ทง้ั ในระดบั ประเทศและระดบั นานาชาติ (ดกู รอบขอ้ ความที่ 15)กรอบข้อความท่ี 15 เป้าประสงค์ เป้าหมาย และตวั ชว้ี ดั การพฒั นาแห่งสหัสวรรษทเ่ี กยี่ วกับการศกึ ษาเป้าประสงค์ เปา้ หมาย ตวั ชี้วัดเป้าประสงค์ 2 เด็กทุกคนได้เข้า ภายในค.ศ. 2015 เด็กท้งั หมดทัง้ อัตราส่วนการเข้าเรียนสุทธิในเรียนระดบั ประถมศึกษา ชายและหญิงจะได้เรียนจนจบ ระดับประถมศึกษา ระดบั ประถมศึกษา สดั สว่ นของนกั เรยี นทเ่ี รม่ิ เรยี นชน้ั ประถม 1 ทเ่ี รยี นจนจบชนั้ สดุ ทา้ ย (อตั ราการเหลือรอด)14 อัตราการรู้หนังสือของหญิงและ ชายที่มีอายุระหวา่ ง 15 ถึง 24 ปีเป้าประสงค์ 3 สง่ เสรมิ ความเป็น ขจัดความไม่เสมอภาคระหว่าง อัตราส่วนหญิงต่อชายในการธรรมทางเพศ และเสรมิ พลงั ความ ชาย-หญิงในการศึกษาระดับ ศึกษาระดับประถม มัธยม และสามารถใหผ้ ้หู ญงิ ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา อดุ มศกึ ษา ภายในปี ค.ศ. 2005 และในทุก ระดับภายในปี ค.ศ. 2015 อัตราส่วนการรู้หนังสือของหญิง ต่อชายวัย 15-24 ปี กรอบขอ้ ความที่ 15 ข้างบนนี้ระบตุ ัวชวี้ ดั ท่ีเก่ยี วกบั การศึกษาไว้ 5 ตวั ตวั ชี้วดั กลุ่มนี้เรียกกนั วา่ ตวั ชี้วดั ผลลัพธ์ (outcome indicator) ของการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานในแผนการศึกษา ซ่งึ ถือไดว้ า่ เป็น KPI ทส่ี ำ� คัญทส่ี ดุ ของแผนการศกึ ษาในมมุ มองทางการเมอื ง เพราะวา่ ประการแรก ตวั ชวี้ ดั เหลา่ นม้ี งุ่ ไปทผี่ ทู้ ไ่ี ดร้ บั ประโยชน์14 จำ� นวนนักเรยี นทงั้ หมดท่ีเรยี นจนส�ำเรจ็ ชนั้ สุดท้ายของโรงเรียนประถมศึกษาในปีหนึง่ ๆ หารด้วยจ�ำนวนประชากรเดก็ ทง้ั หมดทีม่ ีอายถุ ึงเกณฑ์ ท่ีควรเรยี นจบ ในประเทศท่ไี มม่ ีรายงานจ�ำนวนผ้เู รียนจบระดบั ประถมศกึ ษา ใหค้ ำ� นวณหาอัตราการส�ำเรจ็ ประถมศึกษาโดยออ้ ม (proxy primary completion rate) คือจำ� นวนนกั เรยี นท้ังหมดในชน้ั สดุ ทา้ ยของโรงเรยี นประถม ลบด้วยจำ� นวนนักเรยี นท่ีเรียนซำ้� ช้นั ในปปี กติ (typical year) หารด้วยจำ� นวนเดก็ ทงั้ หมดที่มีอายุเทา่ เกณฑก์ ารเรียนจบ อตั ราการสำ� เร็จการศึกษาระดับประถม (primary complation rate - PCR) นั้นคำ� นวณตามนยิ ามระดบั ประถมศึกษา (primary school cycle - PSC) ของแตล่ ะประเทศ การคำ� นวณ PCR ใหใ้ ชช้ ้ันท่ีใกล้ กบั ช้ันสดุ ทา้ ยมากทีส่ ุดหากไมม่ ขี ้อมลู สำ� หรับชน้ั สดุ ทา้ ยตามนยิ าม (European Commission, 2002) 65

โดยตรงจากบริการดา้ นการศกึ ษา (นักเรยี น นกั ศกึ ษา) ประการท่ีสอง ตัวชีว้ ดั เหล่านีเ้ ปน็ มาตรการท่บี รรดาผู้ท�ำงานพฒั นาเหน็ ชอบแลว้ สว่ นการบรรลผุ ลการศกึ ษาระดบั ประถมโดยทว่ั ถงึ นน้ั มกั จะตง้ั เปา้ หมายวา่ ตอ้ งมอี ตั ราการเขา้ เรยี นสทุ ธิเกือบ 100% สำ� หรบั สดั สว่ นของเด็กที่เข้าเรยี นชั้นประถม 1 ท่เี รยี นจนจบช้นั สดุ ทา้ ยของประถมศึกษาน้ันพอจะใช้อตั ราการเหลือรอดทค่ี �ำนวณได้จากการวเิ คราะหร์ นุ่ มาวัดได้ (ดูหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2) ปจั จบุ นั นี้ใชอ้ ัตราการส�ำเร็จการศกึ ษา [เรียกว่าอตั รารับเขา้ ทัง้ หมด (gross admission rate) ในชน้ั ปีสดุ ทา้ ยของระดบั ประถมศกึ ษา] เปน็ ตวั ชวี้ ดั โดยออ้ มสำ� หรบั วดั สดั สว่ นของนกั เรยี นทเี่ รยี นจนถงึ ชนั้ สดุ ทา้ ยของระดบั ประถมศกึ ษา ทงั้ น้ีเพื่อความสะดวกทางสถิติกองทุนเรง่ ด่วน หรอื Global Partnership for Education (The Fast Track Initiative (FTI) orGlobal Partnership for Education) การเลอื กใชต้ วั ชวี้ ดั เพอื่ การกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลขนึ้ อยกู่ บั เงอื่ นไขของแหลง่ เงนิ ทนุ สนบั สนนุด้วยใน ค.ศ. 2001 คณะกรรมการพัฒนาของธนาคารโลกเรียกร้องใหธ้ นาคารโลกจัดท�ำแผนด�ำเนนิ การเพื่อเรง่ รดั การกา้ วสเู่ ปา้ หมายการพฒั นาแหง่ สหสั วรรษในดา้ นการศกึ ษา ปตี อ่ มาแผนฉบบั ดงั กลา่ วไดร้ บั ความเหน็ชอบในเดือนเมษายน หลังจากน้นั จึงมกี ารตั้งกองทุนเร่งด่วน (Fast Track Initiative – FTI) เพื่อสนบั สนุนเปา้ ประสงคห์ ลกั ของการศกึ ษาเพอ่ื ปวงชนทกี่ ำ� หนดวา่ เดก็ ทกุ คนตอ้ งไดเ้ รยี นจนจบระดบั ประถมศกึ ษาภายในค.ศ. 2015 กองทนุ เรง่ ดว่ นใชเ้ กณฑม์ าตรฐานบง่ ชี้ (indicative benchmarks) เพอ่ื ปรบั ปรงุ ผลลพั ธข์ องการประถมศึกษามาจนถึง ค.ศ.2011 เกณฑม์ าตรฐานเหลา่ น้พี ฒั นาจากผลส�ำเร็จของการใชน้ โยบายการศกึ ษาเพ่อื ปวงชนในประเทศต่าง ๆ แตต่ ่อมาทัง้ ตวั ชี้วัดและเป้าหมายของกองทนุ เรง่ ด่วนก็โดนวิจารณ์วา่ ไม่ไดม้ พี นื้ ฐานบนหลักฐานเชิงประจกั ษ์ท่ีน่าเชอื่ ถอื (Klees, Winthrop and Adams, 2010) ใน ค.ศ. 2011 มกี ารเสนอให้ Global Partnership for Education (GPE) และประเทศตา่ ง ๆ ใช้กรอบใหมเ่ พ่อื ก�ำกับติดตามความกา้ วหน้าของตวั ชวี้ ัดผลลพั ธ์ (ดูกรอบขอ้ ความที่ 16)กรอบขอ้ ความที่ 16 กรอบของ Global Partnership for Education – ตวั ชว้ี ดั ผลการปฏบิ ตั งิ าน (KPI) เปา้ ประสงค์ คือ อตั ราการรหู้ นงั สือของเยาวชน (อายุ 15-24 ป)ี สงู ข้นึ ในประเทศที่ GPE สนับสนนุ วตั ถปุ ระสงค์ คอื จ�ำนวนเดก็ หญงิ และชายท่ีได้รับการศกึ ษาระดับประถมศึกษาท่ีมคี ุณภาพดี และไดเ้ รยี น ต่อในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และตอนปลาย ล�ำดบั ที่ ระดับผลลัพธ์ 1 อัตราส่วนการเข้าเรยี นแบบหยาบในช้ันก่อนประถมศึกษาปีที่ 1 2 อัตราการแรกเขา้ เรยี นทง้ั หมด (GIR) ระดับประถมศกึ ษา 3 รอ้ ยละของประเทศท่ี GPE สนบั สนนุ ทบี่ รรลคุ วามเสมอภาคระหวา่ งชาย-หญงิ ในอตั ราการแรก เขา้ เรยี นทงั้ หมด 4 อตั ราเดก็ ที่ไมไ่ ด้ไปโรงเรยี น 66

5 อตั ราการสำ� เร็จการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา 6 รอ้ ยละของประเทศท่ี GPE สนบั สนนุ ทบี่ รรลคุ วามเสมอภาคระหวา่ งชาย-หญงิ ในการสำ� เรจ็ การ ศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา 7 อัตราการเรยี นต่อจากระดับประถมศกึ ษาไประดบั มธั ยมศกึ ษา 8 รอ้ ยละของประเทศที่ GPE สนับสนนุ ทบ่ี รรลุความเสมอภาคระหวา่ งชาย-หญิงในการเรียนต่อ ระดบั มัธยมศึกษา 9 อัตราการส�ำเร็จการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 10 ร้อยละของประเทศท่ี GPE สนับสนุนที่บรรลุความเสมอภาคระหว่างชาย-หญิงในระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 11 สัดส่วนของนักเรยี นทเ่ี รียนจบชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2และสามารถอ่านและเข้าใจเนือ้ หาของช้ัน ปนี นั้ ได้ 12 สัดส่วนของนักเรียนที่จบช่วงชั้นประถมศึกษาหรือการศึกษาพื้นฐานท่ีแสดงว่ามีความสามารถ ในการอ่านและมีความเข้าใจตามท่ีนิยามไว้ในหลักสูตรของประเทศ หรือตามที่ผู้เช่ียวชาญใน ประเทศตกลงไวไ้ ด้ กรอบระหว่างประเทศข้างบนน้ีคือวัตถุประสงค์/ตัวช้ีวัด/เป้าหมายของประเด็นต่าง ๆ สามชุดท่ีทับซ้อนกัน แต่ต่างมุมมอง รายการเป้าประสงค์และตัวช้ีวัดของการศึกษาเพื่อปวงชนเป็นรายการท่ีครอบคลุมที่สุด เพราะรวมด้านท่ีส�ำคัญของการศึกษาขั้นพื้นฐานไว้ท้ังหมด (ปฐมวัย ประถมศึกษาและการรู้หนังสือ)ตวั ช้ีวดั ของ MDG นนั้ จำ� กดั กวา่ มาก แต่ดจู ะเป็นตัวชี้วดั บงั คับในดา้ นการศึกษาข้ันพื้นฐาน ส่วนตวั ช้ีวัดของกรอบผลลัพธข์ อง GPE น้นั เนน้ คุณภาพของประถมศึกษา การทีเ่ ด็กทกุ คนได้เรยี นระดับประถมศกึ ษา และความเสมอภาคชาย-หญิง การใช้ตัวชี้วัดตามกรอบระหว่างประเทศมีท้ังข้อดีและข้อเสีย กรอบระหว่างประเทศนี้ช่วยปรับข้อก�ำหนดของผูบ้ รจิ าคต่าง ๆ ใหส้ อดคล้องกันและทำ� ใหต้ ้องใชต้ ัวชีว้ ัดเหมอื นกัน ประเทศตา่ ง ๆ จงึ ไม่ตอ้ งสรา้ งระบบวดั ผลหลายระบบเพอ่ื สนองความตอ้ งการทแี่ ตกตา่ งกนั ของผบู้ รจิ าค แตข่ อ้ เสยี คอื ตวั ชว้ี ดั เหลา่ นอ้ี าจไม่ตรงกับความต้องการเฉพาะของประเทศนั้น ๆ และอาจดูเหมอื นถกู บังคับใหใ้ ชต้ วั ชวี้ ัดดงั กลา่ ว ซึ่งจะไมช่ ว่ ยส่งเสริมการมีส่วนรว่ ม หรอื สร้างความรู้สกึ เป็นเจา้ ของในหมผู่ มู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี ในท้ายทส่ี ดุ แลว้ มี KPI ด้าน EFA ใหเ้ ลือกไม่มากนัก อกี ท้งั ยังตอ้ งเปน็ ไปตามขอ้ ค�ำนงึ ทางวชิ าการและการเมอื งทไี่ ดก้ ลา่ วไวข้ า้ งบนนดี้ ว้ ย อยา่ งไรกต็ าม ประเทศตา่ ง ๆ สามารถเลอื กนโยบาย และตวั ชวี้ ดั การบรรลุเป้าประสงค์ส�ำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา (ตอนปลาย) อาชีวศึกษา และอุดมศึกษาได้เองมากกว่าส�ำหรับการศึกษาภาคบงั คบั ตัวชวี้ ดั ที่เลือกใชใ้ นระดับมัธยมศึกษาและระดบั ท่สี งู กวา่ ขึน้ อย่กู บั ขอ้ พจิ ารณาทางวิชาการ เช่นวัตถุประสงค์ข้อใดข้อหนึ่งของการศึกษา (ความตรงประเด็น) และการมีข้อมูลท่ีเชื่อม่ันได้ซึง่ เปน็ ขอ้ จำ� กัดส�ำคัญของการศกึ ษาในระดับน้ี 67

3.3 ข้อคดิ เรอื่ งตวั ชี้วัดสำ� หรับการกำ� กบั ตดิ ตามผลการปฏบิ ตั งิ านประจำ� ปี (Some criticalreflections on indicators for annual performance monitoring) การใชต้ วั ชวี้ ดั เพอื่ การกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลระบบการศกึ ษาเปน็ ทย่ี อมรบั กนั ทวั่ ไปในปจั จบุ นัแตต่ ลอดเวลากวา่ สองทศวรรษทผี่ า่ นมา ผู้ก�ำหนดนโยบาย นกั วิชาการ และนกั วจิ ัยไดถ้ กเถียงถงึ ขอ้ ดีข้อเสียของตวั ชวี้ ดั เพอื่ การกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลระบบ นโยบาย และแผนการศกึ ษา และขอ้ วพิ ากษห์ ลายประการยงั คงมเี หตุผลอยู่ ประการแรก ในการสร้างระบบการก�ำกับติดตามเพื่อสนับสนุนสาขาการศึกษาน้ันต้องไม่ลืมว่าส่ิงท่ีสำ� คญั คอื การกำ� กบั ตดิ ตามกจิ กรรมและกระบวนการทสี่ มั พนั ธโ์ ดยตรงกบั แผนการปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปี และงบประมาณแผนงาน ไม่ใชส่ าขาการศกึ ษาทั้งหมด ดังน้นั จะใช้ KPI แทนการก�ำกับติดตามผลการใชแ้ ผนปฏิบตั ิการประจ�ำปีไม่ได้ (ดูบทที่ 2) แต่การก�ำกบั ตดิ ตามชว่ ยท�ำใหเ้ ห็นภาพรวมของการปฏิบตั งิ านของทง้ั สาขาได้ ประการทีส่ อง ตวั ช้ีวัดสามารถเสนอแต่ภาพเพยี งบางสว่ นและผลการด�ำเนนิ งาน (เชิงปริมาณเป็นส่วนใหญ)่ แตไ่ มอ่ าจครอบคลุมความซับซอ้ นของสาขาการศกึ ษาได้ กฏของแคมป์เบล15 กลา่ วไว้วา่ การใชต้ วั ช้วี ดัเชงิ ปรมิ าณทางสงั คมตดั สนิ ใจเรอ่ื งทางสงั คมบอ่ ยมากขน้ึ เทา่ ไร ตวั ชว้ี ดั นน้ั กจ็ ะถกู กดดนั ใหบ้ ดิ เบอื น และทำ� ให้กระบวนการทางสงั คมทจ่ี ะกำ� กบั ตดิ ตามนน้ั เสอื่ มลงมากขน้ึ เทา่ นนั้ ดงั นน้ั จงึ จำ� ตอ้ งตระหนกั วา่ การเนน้ เฉพาะตวั ชว้ี ดั เพยี งจำ� นวนจำ� กดั สามารถเปลยี่ นพฤตกิ รรมการรายงาน และทำ� ใหก้ ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู สถติ ไิ มเ่ ปน็ กลางได้ ประการที่สาม ตัวชี้วัดเป็นสิ่งที่แปลผลได้ยาก โดยเฉพาะเวลาท่ีต้องให้ข้อสรุปเพิ่อใช้ตัดสินใจ เช่นตน้ ทุนตอ่ นักเรียนที่สูงอาจแปลผลไดว้ ่าคุณภาพดี หรอื เปน็ “การสิ้นเปลืองทรัพยากร”ซง่ึ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ตอ้ งใช้ตวั ช้ีวดั ทีส่ มั พนั ธ์กบั ประเดน็ อ้างอิงหลายตวั รว่ มกันจงึ จะให้ข้อมูลที่มีความหมาย ประการทส่ี ่ี การใชเ้ ฉพาะตวั ชวี้ ดั ทห่ี าขอ้ มลู ไดย้ อ่ มทำ� ใหต้ วั ชว้ี ดั นนั้ มคี วามแมน่ ยำ� เพยี งจำ� กดั และนำ� ผลไปใชไ้ ดไ้ ม่มากนกั เปน็ ความจริงทีต่ วั ชวี้ ดั วัดได้เฉพาะเรื่องทีม่ ีขอ้ มลู พรอ้ มเท่านัน้ และบางเรื่องวัดได้ยากมากเช่นคณุ ภาพของการศกึ ษา (ท่ีซบั ซอ้ น) และคุณภาพของการกำ� กับดูแล เพราะฉะน้นั การมขี ้อมลู จำ� กดั ทำ� ให้เกดิ ภาพผลการปฏบิ ตั ิงานท่ผี ดิ เพย้ี นไปได้ ประการทหี่ า้ ตวั ชวี้ ดั เพยี งแต“่ ชป้ี ญั หา”แตไ่ ม่ “อธบิ าย” สาเหตทุ ท่ี ำ� ใหส้ าขาการศกึ ษามผี ลการปฏบิ ตั ิงานต�ำ่ หรือสงู ตวั ชี้วัดชว่ ยบอกให้ผู้เกีย่ วขอ้ งทราบวา่ การดำ� เนนิ งานสู่เป้าหมายเชิงปริมาณมาถูกทางหรือไม่แต่ไม่สามารถยนื ยนั ไดว้ า่ การแทรกแซงตามแผนการศกึ ษาเปน็ สง่ิ ที่ท�ำใหบ้ รรลุเป้าประสงค์ เพราะอาจมีองค์ประกอบอน่ื มาสนับสนุน และตัวช้ีวัดไมอ่ าจบอกไดว้ า่ ส่ิงใดในการแทรกแซงน้ัน ๆ คอื สิง่ ท่ีทำ� ให้เกิดผลสำ� เร็จ(หรอื ไมส่ ำ� เร็จ) ตามเป้าประสงค์ ตวั ช้วี ัดเพียงแต่บอกว่า “มากเทา่ ไร” แตไ่ มเ่ คยบอกไดว้ า่ “อยา่ งไร” และ“ท�ำไม”เพราะเช่นน้ีเองตัวชี้วัดซึ่งเป็นเคร่ืองมือที่จ�ำเป็นส�ำหรับการก�ำกับติดตามจึงต้องมีการศึกษาประเมินผลมาเสรมิ และท้ายที่สุด ต้องเน้นอีกครั้งว่าKPI ไม่ได้เกี่ยวกับการศึกษาผลกระทบระยะยาวของแผนการศึกษาและไม่อาจแสดงผลกระทบระยะยาวได้ ผลกระทบระยะยาวของแผนการศึกษาเป็นเร่ืองของความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษา กบั การเตบิ โตทางเศรษฐกิจ สุขภาพ ประชาธิปไตย และการก�ำกบั ดแู ลซึ่งจะวิเคราะห์ได้ดว้ ยการประเมินผลผลกระทบ (impact evaluation) บนพ้ืนฐานของการวจิ ัยทางสังคมศาสตร์15 Campbell D.T. 1976. Campbell’s Lawดาวนโ์ หลดเม่อื วนั ท่ี 19 มถิ ุนายน ค.ศ. 2009 จาก http://en.wikipedia.org/wiki/ Campbell’s_Law 68

ค�ำถามทา้ ยบท 1.ส�ำหรับวตั ถปุ ระสงคน์ โยบายต่อไปนี้ ควรใช้ KPI ตวั ใดวัดความคบื หน้าจึงจะเหมาะสม จงระบุ KPI ที่ควรใช้วัดผลลพั ธ์สกั สองสามตัวสำ� หรับวตั ถปุ ระสงค์นโยบายแต่ละขอ้ วัตถปุ ระสงคน์ โยบาย ตัวชวี้ ดัใหท้ กุ คนไดเ้ รยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษาภายใน ค.ศ.2015เพมิ่ คณุ ภาพการศกึ ษาระดบั ประถมเสริมสร้างขีดความสามารถในการวางแผนและการจดั การของสาขาการศกึ ษา 2. Swedish International Development Agency ศกึ ษาแผนงานการศกึ ษาจำ� นวนทัง้ สนิ้ 11แผนงานทไี่ ดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จาก SIDA (2004b) และไดผ้ ลดงั ทแี่ สดงในแผนภมู ติ อ่ ไปน้ี แผนภมู นิ ว้ี เิ คราะหค์ วามถ่ีของการใชต้ วั ชว้ี ดั บางตวั ในแผนงานการศกึ ษา ทา่ นคดิ วา่ อะไรคอื เหตผุ ลทที่ ำ� ใหเ้ ลอื กใชต้ วั ชว้ี ดั ดงั กลา่ วแทนท่ีจะใช้ตวั อืน่ จงอา้ งถงึ เกณฑ์ทางวิชาการและทางการเมืองทไ่ี ดอ้ ภปิ รายไวใ้ นบทที่ 3ตัวช้ีวดั ที่ใชบ้ อ่ ยในโครงการการศกึ ษา อตั ราการเรียนซ้ำชั้นระดบั ประถม* อตั ราสวนการเขาเรียนแบบหยาบอตั ราการออกกลางคนั ระดับประถม** ผลสัมฤทธกิ์ ารเรยี นรู การสำเรจ็ การศกึ ษา (การคงอย)ู ครูที่มีคณุ สมบตั พิ รอ มอตั ราสว นนกั เรียนตอครูระดบั ประถม อตั ราสวนหนงั สือตอนักเรียน งบประมาณทจ่ี ดั สรรให... การสอบระดับประถม อัตราการรูห นงั สอื อัตราสวนการเขา เรียนสุทธิ 0 2 4 6 8 10 จำ� นวนแผนงานการศกึ ษา* ที่ชน้ั ใดช้ันหน่ึง หรือหลายชั้นในระดับประถมศึกษา ** ต�ำราเรียนแบบใดก็ได้ ***รายจา่ ยภาครฐั เพ่อื การศกึ ษา เป็นรอ้ ยละของ GDP หรอื ของงบประมาณรัฐกไ็ ด้ 69

บทสรุป หน่วยการเรียนรู้นี้มีวัตถุประสงค์ที่จะช่วยให้ผู้เรียนออกแบบระบบการก�ำกับติดตามและประเมินผลแบบมงุ่ ผลสมั ฤทธส์ิ ำ� หรบั แผนการศกึ ษาของประเทศของตนไดด้ งั นน้ั จงึ ไดเ้ สนอสาระสำ� คญั ของหลกั การทางวิชาการ และแนวทางส�ำหรับกระบวนการและโครงสร้างองคก์ รของระบบการกำ� กับตดิ ตามและการประเมนิผล รวมทั้งข้อส�ำคัญท่คี วรพจิ ารณาในการเลอื ก KPI ตามหลักสูตรการวางแผนการศึกษาน้ี ผู้เรียนจะต้องจัดท�ำแบบการก�ำกับติดตามและการประเมินผลส�ำหรับแผนการศกึ ษาของประเทศของตนกระบวนการกำ� กับติดตามและการประเมินผลแผนการศกึ ษาควรประกอบด้วยส่วนส�ำคญั ตอ่ ไปนี้ - การกำ� กบั ติดตามความกา้ วหนา้ ตามชว่ งเวลา - การก�ำกบั ตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ิงานรายปี - การประเมินผลแผนการศกึ ษาเพื่อปรบั ปรุงแกไ้ ข (formative evaluation) และเพ่อื ประเมิน ผลรวม (summative evaluation) โครงสรา้ งองคก์ รก�ำหนดวา่ ใครมีหน้าทใ่ี นการด�ำเนินการสว่ นใดของกระบวนการ จะผนวกหนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ ทไี่ ด้รบั โอนอำ� นาจและหน้าท่ไี ดอ้ ย่างไร จะนำ� ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียมาเกี่ยวขอ้ งในกระบวนการอยา่ งไร KPI ที่จะใช้ ค่าฐาน และเป้าหมายรายปี แบบการก�ำกับติดตามและการประเมินผลแผนการศึกษาควรตอ้ งคำ� นงึ ถงึ หลักการบางประการทีไ่ ดอ้ ภปิ รายไปแล้วในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้16 ซ่งึ พอสรปุ ได้ดงั นี้การตอ่ ยอดโครงสร้างและแหล่งข้อมูลปัจจบุ นั ส�ำหรับการกำ� กับติดตามและการประเมนิ ผล หลายประเทศจ�ำเป็นต้องทบทวนการท�ำหน้าท่ีของระบบการก�ำกับติดตามและการประเมินผล โดยเฉพาะโครงสร้างและกระบวนการปัจจุบันในสาขาการศึกษา เช่น ระบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารการศึกษา(ซงึ่ จำ� เปน็ ตอ้ งสรา้ งเสรมิ ใหเ้ ขม้ แขง็ ขน้ึ ) การตรวจราชการ รายงานการตรวจสอบการเงนิ หนว่ ยงานทดี่ แู ลเรอ่ื งการสอบ ฯลฯ โครงสรา้ งดงั กลา่ วเปน็ แหลง่ ขอ้ มลู และสารสนเทศทมี่ ปี ระโยชนส์ ำ� หรบั ระบบการกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลแบบมุ่งผลสมั ฤทธิแ์ บบบรู ณาการ การพฒั นาโครงสร้างเหลา่ นี้จึงเปน็ เร่ืองส�ำคญัการก�ำกับตดิ ตามความก้าวหนา้ ตามช่วงเวลาควรอ้างองิ แผนปฎิบตั ิการประจ�ำปี หนว่ ยการเรยี นรนู้ เี้ นน้ วา่ ตอ้ งมแี ผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปี และมงี บประมาณรายปขี องหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในกระทรวงฯ และของหนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ ทไี่ ดร้ บั โอนอำ� นาจและหนา้ ทไี่ วเ้ ปน็ ฐานของการรายงานความกา้ วหนา้ตามชว่ งเวลา การนำ� แผนการศกึ ษาไปใชบ้ รหิ ารการศกึ ษาอยา่ งเปน็ รปู ธรรมทง้ั ทสี่ ว่ นกลางและสว่ นทอ้ งถน่ิ ตอ้ งใชแ้ ผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปี เพอ่ื ทจี่ ะไดส้ ามารถกำ� กบั ตดิ ตามใหส้ อดคลอ้ งกบั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ทร่ี ะบไุ วใ้ นแผนฯ16 ภาคผนวกที่ 4 ของหนว่ ยการเรยี นรู้นม้ี สี าระสำ� คัญของเคร่อื งมอื การประเมนิ แผนสาธารณสุข ซึ่งประกอบดว้ ยคณุ ลักษณะและเกณฑ์ตา่ ง ๆ ที่ อาจน�ำไปพจิ ารณาเวลาทอ่ี อกแบบการกำ� กบั ติดตามและการประเมินผลแผนการศึกษาสำ� หรับระดับมธั ยมศกึ ษาได้ 70

การบรู ณาการการรายงานความกา้ วหนา้ เปน็ ระยะ การกำ� กบั ตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานรายปี และการประเมนิ ผล หนว่ ยการเรียนรูน้ ไี้ ดแ้ สดงใหเ้ หน็ แล้ววา่ ระบบการก�ำกบั ตดิ ตามและประเมินผลสำ� หรบั แผนการศึกษาคอื ชดุ กจิ กรรมทคี่ อ่ นขา้ งซบั ซอ้ นเกย่ี วพนั กนั กจิ กรรมเหลา่ นปี้ ระกอบดว้ ยการกำ� กบั ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของกจิ กรรมทว่ี างแผนไวเ้ ปน็ ระยะ ๆ และการเบกิ จา่ ยเพอ่ื จดั ทำ� รายงานรายเดอื นหรอื รายไตรมาส นอกจากนแี้ ลว้กย็ งั มีการก�ำกับตดิ ตามผลการดำ� เนินงานรายปี หรอื คร่ึงปี เชน่ ทป่ี ฏบิ ัตกิ นั โดยทว่ั ไปโดยเฉพาะในประเทศที่ต้องอาศัยความช่วยเหลอื จากภายนอกการสรา้ งการก�ำกบั ตดิ ตามและการประเมินผลใหเ้ ปน็ โครงสร้างสามระดบั ทมี่ ฝี ่ายวางแผนเป็นผู้ประสานงานหลัก หนว่ ยการเรยี นรนู้ สี้ นบั สนนุ ระบบการกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลทมี่ โี ครงสรา้ งองคก์ รสามระดบัแบบบรู ณาการ ซงึ่ ประกอบดว้ ยระดบั ปฏบิ ตั งิ านทรี่ บั ผดิ ชอบการกำ� กบั ตดิ ตามความคบื หนา้ ระดบั วชิ าการที่รบั ผดิ ชอบการประสานงานวชิ าการ และระดบั นโยบายซง่ึ รบั ผดิ ชอบการตดั สนิ ใจ ในโครงสรา้ งน้ี ผปู้ ฏบิ ตั งิ านระดบั ทอ้ งถนิ่ จะสง่ สารสนเทศและขอ้ มลู การดำ� เนนิ การตามแผนขน้ึ ไปใหผ้ มู้ อี ำ� นาจหนา้ ทตี่ ดั สนิ ใจใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจ และฝ่ายวางแผนจะเปน็ ตัวกลางสำ� คญั ทค่ี อยสนบั สนนุ ประสานงาน และติดตามผล ทงั้ นีอ้ าจมีหน่วยกำ� กบั ตดิ ตามและประเมินผลชว่ ยสนบั สนนุ ดว้ ยการออกแบบการเชอ่ื มโยงระหวา่ งระดับต่าง ๆ ในระบบการกำ� กบั ติดตามและการประเมินผล การก�ำกบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลแผนการศึกษายงั มีประเด็นการโอนสารสนเทศ และการน�ำไปใช้อยา่ งไมถ่ กู ตอ้ ง (exploitation) จากระดบั บรหิ ารหนง่ึ ไปยงั ระดบั ทส่ี งู กวา่ ประเทศสว่ นใหญย่ งั ไมม่ กี ารถา่ ยเทข้อมลู เปน็ ระบบนกั การก�ำกับติดตามผลการดำ� เนนิ งานประจำ� ปี (รายงานผลการด�ำเนนิ งานประจ�ำปี) ไมไ่ ด้สะทอ้ นขอ้ มลู จากระดบั ท้องถนิ่ ตามท่ีระบไุ วใ้ นรายงานความก้าวหน้า (เช่นรายงานรายไตรมาส) ดงั นั้น จงึ ยังคงตอ้ งใชว้ ธิ ลี งพนื้ ทร่ี ว่ มกนั เพอื่ ตรวจงานและหาขอ้ มลู การดำ� เนนิ งานในสว่ นตา่ ง ๆ ของแผนงานอยา่ งละเอยี ดส่วนในการประชุมทบทวนน้ัน ตัวแทนของหน่วยงานบริหารการศึกษาระดับท้องถิ่นได้รับการปฏิบัติราวกับเป็นหุน้ สว่ น ไมใ่ ชผ่ ้ดู �ำเนินงานคนสำ� คัญ เพราะฉะนนั้ จงึ จ�ำเป็นทต่ี ้องกำ� หนดจดุ เช่ือมโยงของส่วนต่าง ๆ ในโครงสรา้ งองคก์ รของระบบกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผล และจดั ใหม้ กี ารรายงานการใชแ้ ผนฯ ทเี่ ชอ่ื มโยงกันชัดเจนระหว่างชั้นตา่ ง ๆ ของการบรหิ ารการก�ำหนดกลไกท่เี หมาะสมเพ่อื ให้ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี มีส่วนรว่ มในระบบการกำ� กับตดิ ตามและการประเมนิ ผล โครงสรา้ งองคก์ รการกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งมกี ลไกทช่ี ว่ ยใหผ้ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยีโดยเฉพาะภาคเี ครอื ขา่ ยมสี ว่ นรว่ มในระดบั ทเี่ หมาะสม กลไกเชน่ การทบทวนประจำ� ปไี ดก้ ลายเปน็ ธรรมเนยี มปฏิบตั ิในประเทศทตี่ อ้ งพง่ึ พิงความร่วมมือเพอ่ื การพฒั นาการเลอื ก KPI จากมมุ มองทางวิชาการและทางการเมอื ง ภารกิจส�ำคัญชิ้นหนึ่งในการออกแบบการก�ำกับติดตามและการประเมินผลส�ำหรับแผนการศึกษาคือการพัฒนาระบบ KPI ให้เพียงพอส�ำหรับการก�ำกับติดตามผลการด�ำเนินงานตามแผนประจ�ำปี ตามเหตุผลแล้วตัวชี้วัดเหล่าน้ีควรสะท้อนวัตถุประสงค์หลักของแผนการศึกษา แต่การอภิปรายในหน่วยการเรียนรู้นี้ได้แสดงให้เหน็ แล้วว่า ในความจรงิ นน้ั มขี ้อควรพจิ ารณาทั้งทางด้านวชิ าการและดา้ นการเมืองหลายประการ ท่ีจำ� กดั จำ� นวนและลักษณะของ KPI ปัญหาใหญท่ เี่ กย่ี วกบั KPI ในประเทศทก่ี �ำลงั พฒั นาหลายประเทศยังคง 71

เปน็ การทีร่ ะบบ EMIS ของประเทศน้ัน ๆ มีขดี ความสามารถจ�ำกัดความสำ� คัญของการประเมนิ ผลสำ� หรับการเรยี นรู้และการสรา้ งขดี ความสามารถขององค์กร ประการสุดท้าย ยังมีข้อกังวลว่าระบบการก�ำกับติดตามและการประเมินผลในปัจจุบันขาดความใส่ใจเร่ืองการประเมินผล การก�ำกับติดตามผลในแต่ละปีของประเทศท่ีได้รับความสนับสนุนจากภายนอกสูงมากนั้น กลายเปน็ กิจกรรมหลกั ทกี่ ่อให้เกิดผลเสียแกก่ ารประเมนิ ผล (เพอื่ ปรบั ปรงุ ผลงาน) การก�ำกับตดิ ตามผลการด�ำเนินงานน้ันเป็นเร่ืองการประเมินเชิงปทัสถาน (บรรลุผลท่ีต้ังใจไว้แล้วหรือยัง) มากกว่าที่จะเป็นการสรา้ งความเขา้ ใจว่าท�ำไมบางองค์ประกอบจึงประสบความสำ� เรจ็ และบางองคป์ ระกอบลม้ เหลว เมื่อเปน็ เชน่น้ี ยอ่ มมโี อกาสนอ้ ยลงทอ่ี งคก์ รจะไดเ้ รยี นรแู้ ละหาขอ้ สรปุ ไวส้ ำ� หรบั การวางแผนครงั้ ตอ่ ไป หนว่ ยการเรยี นรนู้ ้ีสนบั สนุนการใช้การกำ� กับตดิ ตามและกิจกรรมการประเมนิ ผลอยา่ งสมดุล 72

กจิ กรรมกลุ่ม แผนยทุ ธศาสตรก์ ารศกึ ษาของ Vindoland ไดเ้ ลอื กใช้ KPI ดงั ตอ่ ไปนส้ี ำ� หรบั การกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลแผนฯ ตัวเลือกดงั กลา่ วควรใชเ้ กณฑด์ า้ นวิชาการและด้านการเมืองใดบา้ ง แกนการวเิ คระหด์ ังต่อไปนีจ้ ะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นตอบคำ� ถามขา้ งบนนีไ้ ด้ (1) ตวั ชี้วัดชดุ นี้แสดงถึงระดับของลกู โซ่ผลลพั ธ์ (ปัจจยั น�ำเขา้ /กิจกรรม ผลผลิต ผลลัพธ์ ผล กระทบ) ได้เพียงพอหรอื ไม่ (2) การจัดตวั ช้ีวดั ตาม “ประเด็นการก�ำกบั ตดิ ตาม” น้ันเหมาะสมหรือไม่ (3) การแยกกลมุ่ ข้อมูล (ตามเพศ ตามภมู ภิ าค) ทีใ่ ชน้ เี้ หมาะสมหรอื ไม่ (4) ระบบน้ีจะใช้ได้อยา่ งคุม้ ทุนหรอื ไม่ (มตี วั ชี้วัดใน EMIS หรือไม)่ (5) มีการค�ำนึงถึงข้อกงั วลทางการเมืองอย่างเหมาะสมหรือไม่ (การควบคมุ การบรรลุเปา้ หมาย การเชือ่ มโยงกับกรอบระหวา่ งประเทศ) จงท�ำรายงานความยาว 3-4 หน้า เปรียบเทียบ KPI ชุดต่อไปนี้กับเกณฑ์วิชาการและการเมืองที่ได้อภิปรายไปแล้วในบทท่ี 3KPI ส�ำหรบั แผนการศึกษาของ Vindolandประเดน็ การก�ำกับติดตาม ตัวชวี้ ดั KPI แหลง่ ข้อมลูการเขา้ ถงึ 1. อตั ราการแรกเขา้ เรยี น(ทง้ั หมด)ปรากฏ : นกั เรยี นใหมใ่ น EMIS ชั้นประถมปีท่ี 1 เป็นจำ� นวนร้อยละของประชากร VBOS - ชาย - หญิง EMIS 2. อัตราการแรกเขา้ เรียนสุทธิ (NIR) : นกั เรียนใหมใ่ นชั้น VBOS ประถมปที ี่ 1 ทอี่ ายถุ งึ เกณฑเ์ ขา้ โรงเรยี นประถมศกึ ษา เปน็ จำ� นวนร้อยละของประชากรที่อายถุ ึงเกณฑ์ - ชาย - หญิง 73

ประเดน็ การกำ� กบั ตดิ ตาม ตวั ชีว้ ดั KPI แหล่งขอ้ มูลคณุ ภาพ 3. อตั ราส่วนการเข้าเรียนแบบหยาบ (GER) EMIS ก. ระดับประถมศึกษา VBOS ระดบั มธั ยมศึกษา ข. หญิง ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษา ค. ชาย ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษา ง. รวมถงึ ระดบั ประถมศกึ ษา การเข้าเรียนของเด็กหญงิ เปน็ รอ้ ยละของการเขา้ เรยี นรวม การเขา้ เรียนของเดก็ ชายเป็นรอ้ ยละของการเข้าเรยี นรวม 4. อตั ราสว่ นการเข้าเรียนสทุ ธิ (NER) - ชาย - หญงิ อัตราสว่ นนกั เรยี นตอ่ ห้องเรียน - ประถมศกึ ษา - มัธยมศกึ ษา 1. จ�ำนวนร้อยละของครูโรงเรียนประถมท่ีมีคุณวุฒิตาม EMIS ก�ำหนด - ชาย - หญงิ 2. จ�ำนวนร้อยละของครโู รงเรียนประถมทีไ่ ด้รบั การรบั รอง EMIS ทางวิชาชีพให้สอนได้ตามมาตรฐานระดับชาติ เช่น มี คณุ สมบตั ทิ างวชิ าชพี ขั้นตำ่ (เกรด 3) - ชาย - หญิง 3.อัตราส่วนนกั เรยี นตอ่ ครู EMIS - ประถมศกึ ษา - มธั ยมศกึ ษา อัตราสว่ นนักเรยี นตอ่ หนังสอื เรยี น - ประถมศกึ ษาตอนตน้ - ประถมศึกษาตอนปลาย 74

ประเด็นการกำ� กบั ตดิ ตาม ตัวช้วี ัด KPI แหลง่ ข้อมูลประสิทธภิ าพ 4. (ก) จ�ำนวนร้อยละของนักเรียนที่ได้เรียนถึงอย่างน้อย NAPE ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ทม่ี คี วามสามารถการเรยี นรพู้ น้ื ฐานตาม VNEB มาตรฐานระดับชาติ - การรูห้ นังสอื - การรเู้ ลขคณิตพืน้ ฐาน - วทิ ยาศาสตร์ - SST (ข) จ�ำนวนร้อยละของนักเรียนที่ได้เรียนถึงอย่างน้อย ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ทมี่ คี วามสามารถการเรยี นรพู้ น้ื ฐานตาม มาตรฐานระดับชาติ - การรหู้ นังสือ - การรู้เลขคณิตพน้ื ฐาน - วิทยาศาสตร์ - SST 5. จ�ำนวนร้อยละของโรงเรียนท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน ส�ำนักผู้ตรวจ ขน้ั ต่ำ ราชการ 1. รายจา่ ยดำ� เนนิ การภาครฐั สำ� หรบั การศกึ ษาระดบั ประถม MTBF - เป็นร้อยละของ GDP - เป็นร้อยละของรายไดเ้ ฉล่ยี ต่อคน (GDP per capita) 2. รายจา่ ยดำ� เนนิ การภาครัฐสำ� หรับการศึกษาระดบั มัธยม MTBF - เปน็ รอ้ ยละของ GDP - เป็นร้อยละของรายได้เฉลย่ี ต่อคน (GDP per capita) 3. รายจ่ายด�ำเนนิ การภาครัฐสำ� หรับ EMIS ก. ประถมศึกษาเปน็ รอ้ ยละของรายจา่ ยด�ำเนินการภาครฐั สำ� หรับการศกึ ษาท้ังหมด ข. มัธยมศึกษาและอุดมศึกษาเป็นร้อยละของรายจ่าย ด�ำเนินการภาครฐั สำ� หรับการศึกษาท้ังหมด ค. รายจา่ ยด�ำเนนิ การรายปีตอ่ นกั เรียนหนง่ึ คน ในระดับ - ประถมศกึ ษา - มัธยมศึกษา และอุดมศกึ ษา 4. อัตราการซ้�ำชัน้ จ�ำแนกตามชัน้ EMIS ก) ประถมศกึ ษา - ชาย - หญิง 75

5. อัตราการเหลือรอดถึงประถมศึกษาปีท่ี 4 (ร้อยละของ EMIS รนุ่ ทกี่ �ำลงั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4) - ชาย - หญงิ 6. อัตราการเหลือรอดถึงประถมศึกษาปีที่ 7 (ร้อยละของ EMIS รุน่ ทีก่ �ำลังเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 7) - ชาย - หญงิ EMIS - ระบบสารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารการศึกษา (Education Management and Information System) VBOS - สำ� นักสถิติประเทศวนิ โดแลนด์ (Vindoland Bureau of Statistics) VAPE - การประเมนิ ประถมศกึ ษาของประเทศวนิ โดแลนด์ (Vindoland Assessment of Primary Education) VNEB - คณะกรรมการการสอบแห่งชาตปิ ระเทศวนิ โดแลนด์ (Vindoland National Examination Board)) 76

บรรณานกุ รมApolot, F.M. 2009. An analysis of the monitoring and evaluation function within the context of newaid modalities in the Ministry of Education and Sports, Uganda. Memoir presented within theframework of the IIEP 2008/2009 Advanced Training Programme in Educational Planning andManagement.Bangura Y.; Larbi G.A. 2006. Public sector reform in developing countries: Capacity challenges toimprove services. New York. UNRISD, Palgrave Macmillan.Booth, D.; Lucas, H. 2002. Good practice in the development of PRSP indicators and monitoringsystems. Working paper 172. ODI: London.European Commission/DG Development. 2002. Guidelines for the use of indicators in countryperformance assessment. Brussels.Hauge, A. 2001. Evaluation Capacity Development. Strengthening capacity for monitoring andevaluation in Uganda.: A results based management perspective. ECD Working Paper Series No.8.Washington DC: The World Bank.Holvoet N.; Inberg, L. 2009 Monitoring and evaluation at the sector level, Experiences from JointSector Reviews in the education sectors of Burkina Faso, Mali and Niger. Discussion Paper 2009.01,Antwerp; Institute of Development Policy and Management, University of Antwerp.IPDET (International Program for Development Evaluation Training) 2007: 14 Modules. Washington DC:Worldbank, available at: www.worldbank.org/ieg/ipdet/modules.htmlKlees, S.J.; Winthrop, R.; A. Adams. 2010. Many paths to UPE: Time to replace the Indicative Frameworkwith a real country driven approach. Washington: The Brookings Institution.Kusek, J.Z.; Rist, R.C. 2004. Ten steps to a results-based monitoring and evaluation system. WashingtonDC: The World Bank.Mackay, K. 2006. Evaluation Capacity Development. Institutionalization of Monitoring and EvaluationSystems to Improve Public Sector Management in Uganda. (ECD Working Paper Series No.15).Washington DC: The World Bank.Mackay, K. 2007. How to build a M&E system to support better government. Washington DC: TheWorld Bank Independent Evaluation Group. Available at: www.worldbank.org/iegMinistry of Education and Sports (Uganda). 2002. The monitoring and evaluation framework for theeducation sector. Kampala, Uganda.Ministry of Education Youth and Sports (Cambodia). 2009. Annual Operational Plan 2010, PhnomPenh: MOEYS.Ministry of Foreign Affairs of Denmark. 2006. Monitoring and indicators of the education sector.Technical Note. Copenhagen: Ministry of Foreign Affairs of Denmark.OECD. 2002. Glossary of key terms in evaluation and results-based management. Paris: OECD.OECD. 2006. Harmonizing donor practices for effective aid delivery. DAC Guidelines and Reference 77

Series. Volume 2. Budget Support, Sector Wide Approaches and Capacity Development in PublicFinancial Management. Paris: OECD.SIDA. 2004a. Monitoring for education results. A study on results-orientation and the role of indicators.SIDA: Stockholm.SIDA. 2004b. Results indicators. SIDA Working Paper, No.5. Prepared by Martin Schmidt. SIDA:Stockholm. 72United Nations Development Programme. 2009. Handbook on planning, monitoring and evaluatingfor development results. New York: UNDP. Available at: www.undp.org/eo/handbook.United Nations Population Fund. 2000. ‘Tool No.2: Defining evaluation’ in Monitoring and evaluationtoolkit for programme managers. New York: UNFPA. Available at: www.unfpa.org.United Nations Population Fund. 2001. ‘Tool No.1: ‘Glossary of monitoring and evaluation terms’ inMonitoring and valuation toolkit for programme managers. New York.UNFPA. Available at: www.unfpa.orgUnited Nations Educational, Scientific and Cultural Organization.2006. National Education SectorDevelopment Plan. A result-based handbook. Division for Policy and Educational Strategies. Paris:UNESCO.United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization/UIS. 2009. Education Indicators –Technical Guidelines. November 2009. Available under: www.uis.unesco.org/Library/Documents/eiguide09-en.pdfUnited Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. 2011. Systematic monitoring ofeducation for all. Training modules for Asia-Pacific. Bangkok: UNESCO Asia and Pacific regional Bureaufor EducationVan der Koelen, L.; van Roemburg, R. 2007. Reviewing the (education) reviews, A report on theexperiences of thematic experts working in Dutch embassies in 10 partner countries. University ofAntwerp, Available at: www.ua.ac.be/download.aspx?c=.IOB&n=77760&ct=71671&e=212944World Bank. 2004. Monitoring and evaluation: Some tools, methods and approaches. WashingtonDC: The World Bank (Operations Evaluation Department and Evaluation Capacity Development).World Bank. 2009. Institutionalizing impact evaluation within the framework of a monitoring andevaluation system. Washington DC: The World Bank (Operations Evaluation Department andEvaluation Capacity Development).World Bank and IDB (2010), Challenges in M&E. An opportunity to institutionalize M&E systems.Retrieved on 12 June 2012 from http://siteresources.worldbank.org/World Bank/IEG (n.d.), International Program for Development Evaluation Training (IPDET), IPDETHandbook Modules 1-14. Washington DC: The World Bank.Web sites:Global Partnerhsip for Education, Available under: www.globalpartnership.org/media/docs/aid_effectiveness_2011/Results_Framework_Website.pdf 78

ภาคผนวกท่ี 1 ตวั อยา่ เมทรกิ ซ์แผนปฏบิ ตั ิการประจ�ำปี และงบประมาณ ค.ศ.2010 ของสาขาการศึกษาประเทศกัมพชู า 79

ภาคผนวกที่ 2 โครงสร้างองค์กรการกำ� กับติดตามการใช้แผนการศึกษาในประเทศยูกานดาตามกระบวนการพัฒนาการศกึ ษาแบบบรู ณาการ (SWAp) 80

ภาคผนวกท่ี 3 การจดั การทบทวนการปฏิบตั งิ านประจ�ำปีของสาขาการศึกษาในประเทศยูกานดา 81

82

83

ภาคผนวกที่ 4 ตวั อย่างคณุ ลกั ษณะและเกณฑ์สำ� หรับแบบการก�ำกบั ติดตามและการประเมินผล การประเมินแผนและกลยุทธแ์ ห่งชาตดิ ้านสุขภาพ เครอื่ งมอื การประเมนิ :คณุ ลักษณะของกลยทุ ธท์ ี่ดี คณุ ลักษณะ เกณฑ์แผนการกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลทบ่ี รรยาย มกี รอบการกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิ ผลแบบเนน้ตัวช้ีวัดผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ ไว้อย่างชัดเจน การปฏิบัติงานโดยละเอียด ท่ีรวมถึงตัวช้ีวัดผลผลิตพร้อมด้วยเปา้ หมายที่เก่ยี วขอ้ งส�ำหรบั หลายปี ผลลพั ธ์ ผลกระทบทต่ี รง (valid) และรวบรวมขอ้ มลู ได้แผนการก�ำกับติดตามและการประเมินผลที่รวม การด�ำเนินงานก�ำกับติดตามและการประเมินผลใช้แหล่งข้อมูลส�ำหรับตัวชี้วัด และอธิบายการเลื่อน ระบบสารสนเทศการจัดการสาธารณสขุ และข้อมลูไหลของขอ้ มลู อน่ื ๆ ทแี่ ยกขอ้ มลู ตามกลมุ่ ความเปน็ ธรรมทอ่ี าจเปน็ ได้ (ชาย/หญงิ ภมู ิภาค)แผนการก�ำกับติดตามและการประเมินผลท่ีรวมค�ำ ระบุช่องว่างและข้อด้อยที่ส�ำคัญของแบบการก�ำกับบรรยายการรวบรวมข้อมูล/วิธีจัดการข้อมูล เครื่อง ตดิ ตามและการประเมนิ ผล บรรยายกลยทุ ธก์ ารแกไ้ ขมือ และกระบวนการวเิ คราะห์ ที่ชดั แจ้ง พรอ้ มท้งั บอกต้นทุนทตี่ ้องใช้ แผนฯระบุบทบาท และหน้าท่ีความรับผิดชอบ (โครงสร้าง) ของทุกระดับโดยละเอียดส�ำหรับการ จัดการข้อมูลทต่ี อ้ งการแตล่ ะส่วนมแี ผนสำ� หรบั การทบทวนผลการดำ� เนนิ งานตามชว่ ง ระบบการก�ำกับติดตามและการประเมินผลต้องได้เวลาร่วมกัน (การรายงานผลเทียบกับวัตถุประสงค์ รับการประเมินเป็นประจ�ำว่าก�ำกับติดตามความคืบและเป้าหมาย พร้อมท้ังอธิบายการเบี่ยงเบนใด ๆ หน้า และใหข้ ้อมูลท่ตี อ้ งการไดด้ ีเพียงไรท่ีเกิดข้ึน) และกระบวนการพัฒนามาตรการแก้ไขท่ีเก่ยี วเนอ่ื งกัน กลไกการทบทวน (ท่ีเป็นอิสระ เม่ือจ�ำเป็น) ภาคีท่ี ท�ำงานร่วมกันระยะหลายปี ป้อนข้อมูลอย่างเป็น ระบบสม�่ำเสมอให้แก่การประเมินการปฏิบัติงาน ของแผนงาน โดยเทียบกับเป้าประสงคป์ ระจ�ำปีและ ระยะยาว แผนฯให้รายละเอียดเรื่องกลไกท่ีเช่ือถือได้ ซ่ึง ประกอบด้วยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่ม กลไกน้ี ให้ข้อมูลป้อนกลับเรื่องการปฏิบัติงานแก่ผู้จัดการ ศึกษา (provider) ระดับภูมิภาคและระดับท้องถ่ิน เปน็ กิจวัตรแผนการก�ำกับติดตามและประเมินผลที่บรรยาย องคป์ ระกอบดา้ นการกำ� กบั ตดิ ตามและการประเมนิกระบวนการท่ีผลการก�ำกับติดตามมีอิทธิพลต่อการ ผลในแผนฯ อธิบายโดยละเอียดว่าจะรวมผลการตัดสินใจ (รวมทัง้ การเบิกจ่ายงบประมาณ) วิเคราะห์การปฏิบัติงานไว้ในการตัดสินใจในอนาคต ซ่ึงรวมถึงการจัดสรรทรัพยากร และการเบิกจ่ายงบ ประมาณใหแ้ กแ่ ผนงานและหนว่ ยงานระดบั ภมู ภิ าค และทอ้ งถิน่ อย่างเป็นทางการได้อยา่ งไร 84

85

86


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook