Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย ภาษาชาติ ปี 2559

ภาษาไทย ภาษาชาติ ปี 2559

Published by houseobec, 2019-05-02 02:59:42

Description: สถาบันภาษาไทย สพฐ.

Search

Read the Text Version

ภาษาไทย ภาษาชาติ เพื่อการอา นออกเขียนไดแ ละสงเสรมิ การคดิ วิเคราะห การพฒั นาคณุ ภาพ การเรียนการสอนภาษาไทย ปง บประมาณ ๒๕๕๙ สถาบนั ภาษาไทย สาํ นกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ภาษาไทย ภาษาชาติ เพื่อการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละส่งเสรมิ การคิดวิเคราะห์ การพัฒนาคณุ ภาพ การเรียนการสอนภาษาไทย ปงี บประมาณ ๒๕๕๙ สถาบนั ภาษาไทย ส�ำ นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

ภาษาไทย ภาษาชาติ เพ่ือการอ่านออกเขยี นไดแ้ ละส่งเสริมการคดิ วเิ คราะห์ จดั พิมพ ์ สถาบนั ภาษาไทย สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ จำ�นวน ๑,๐๐๐ เลม่ ทป่ี รึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ทปี่ รึกษาด้านพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา (นางสุกัญญา งามบรรจง) เรยี บเรียง/บรรณาธกิ าร นางสาวนิจสุดา อภนิ นั ทาภรณ ์ นางสาวพชั รา ตระกูลสิริพนั ธุ์ พิมพท์ ่ี หา้ งหุ้นสว่ นจำ�กัด โรงพมิ พอ์ ักษรไทย (น.ส.พ. ฟา้ เมืองไทย) เลขท่ี ๘๕, ๘๗, ๘๙, ๙๑ ซอยจรัญสนทิ วงศ์ ๔๐ ถนนจรญั สนิทวงศ์ แขวงบางยข่ี นั เขตบางพลัด กรงุ เทพมหานคร ๑๐๗๐๐ โทร. ๐-๒๔๒๔-๔๕๕๗, ๐-๒๔๒๔-๐๖๙๔ โทรสาร ๐-๒๔๓๓-๒๘๕๘ นายณัฐ ปวิณวิวฒั น์ ผพู้ ิมพผ์ โู้ ฆษณา พ.ศ. ๒๕๕๙

ค�ำ นำ� ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานเหน็ ความสำ�คญั ของภาษาไทยวา่ เป็นเคร่ืองมือแห่งการเรียนรู้ เป็นภาษาประจำ�ชาติ หากภาษาแม่แข็งแรงก็จะมีผลให้ การพัฒนาด้านความรู้อื่นมีประสิทธิภาพ โดยภาพรวมคุณภาพการอ่านรู้เรื่องและส่ือสาร ได้มีแนวโนม้ ดีขึ้นแตย่ ังต้องพฒั นาตอ่ ไป สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเห็นความจำ�เป็นจึงได้กำ�หนด นโยบายเร่งรัดคุณภาพการอ่านรู้เรื่องและส่ือสารได้ ซึ่งในปี ๒๕๕๙ มีโครงการหลากหลาย อาทิ รณรงค์ให้สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาตระหนักและเห็นความส�ำ คัญของการอ่าน การเขียนของนักเรียน ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาไทยให้สูงขึ้นอย่างน้อย รอ้ ยละ ๕ นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ ทุกคน อ่านออกเขยี นได้ นกั เรยี นชั้นประถม ศึกษาปีท่ี ๔ ขนึ้ ไป อ่านคลอ่ งเขยี นคล่อง ในโอกาสนข้ี อขอบคณุ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา และมัธยมศึกษา ผู้บรหิ ารโรงเรียน ครูภาษาไทย ทุกท่าน ท่เี ปน็ ก�ำ ลังส�ำ คัญในการพัฒนา ภาษาไทยมาอย่างตอ่ เน่ืองด้วยความมงุ่ ม่ัน ต้ังใจจริง เสยี สละ และอดทน เพอ่ื ให้เดก็ ไทย ทุกคนอ่านเขียนภาษาไทย เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้อย่างเข้มแข็ง เพื่อก้าวสู่การเป็น ผูน้ ำ�ในประชาคมอาเซยี นอย่างสมศกั ด์ิศรีความเป็นไทยตอ่ ไป (นายการุณ สกลุ ประดษิ ฐ์) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน



สารบญั การพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาไทย ปงี บประมาณ ๒๕๕๙ หน้า การดำ�เนินงานของส�ำ นักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา ๑ การดำ�เนนิ งานของส่วนกลาง ๓ ผลการประเมินผลสมั ฤทธภ์ิ าษาไทย ปีการศกึ ษา ๒๕๕๕ ถงึ ๔ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ภาคผนวก ๓๑ ๓๒

“ ภาษาไทยนน้ั เป็นเคร่อื งมอื อย่างหน่ึงของชาติ ภาษาท้งั หลายเป็นเครอ่ื งมอื ของมนษุ ย์ชนิดหน่ึง คือ เป็นทางสำ�หรับแสดงความคดิ เหน็ อย่างหนึง่ เป็นส่งิ สวยงามอย่างหนึ่ง เช่น วรรณคดี เปน็ ตน้ ฉะน้นั จงึ จำ�เป็นตอ้ งรักษาเอาไวใ้ หด้ ี ประเทศไทยเรานนั้ มีภาษาของเราเอง ซึง่ ต้องหวงแหน... ”เราตอ้ งพยายามหาหนทางสร้างภาษาของเราใหม้ น่ั คง... พระราชดำ�รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว ในการประชมุ ทางวิชาการ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วนั ที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕

การพฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทย ปงี บประมาณ ๒๕๕๙ ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน อนุมัติ งบประมาณดำ�เนนิ การโครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย เปน็ เงิน ๕๘,๐๖๔,๗๐๐ บาท โดยจดั สรรใหเ้ ขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา จ�ำ นวน ๓๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยมเี ปา้ หมายไดแ้ ก่นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่๑อา่ นออกทกุ คนการพฒั นาทกั ษะภาษาไทย แก่นักเรียนที่สนใจหรือมีความสามารถพิเศษภาษาไทย การส่งเสริมและพัฒนาโรงเรียน ทม่ี ีผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธภ์ิ าษาไทยต่าํ กวา่ เกณฑ์ การอา่ นและการร้หู นังสือ (Reading & Literacy) เป็นทักษะทจี่ ำ�เปน็ ยิ่งสำ�หรับ การเรียนรู้ และการพฒั นาชวี ติ สู่ความสำ�เรจ็ การอา่ นอยา่ งคลอ่ งแคลว่ และเข้าใจความหมาย จะน�ำ มาซึ่งความรู้ และสง่ เสริมใหเ้ กดิ การคดิ วเิ คราะห์ มีวจิ ารณญาณแยกแยะและประยุกต์ ใช้ข้อมูลที่เปน็ ประโยชน์ต่อชวี ิต พร้อมทง้ั สามารถถ่ายทอดส่อื สารให้ผู้อน่ื ทราบและเข้าใจได้ ซงึ่ เปน็ ทกั ษะส�ำ คญั ของศตวรรษท่ี ๒๑ หากผเู้ รยี นบกพรอ่ งหรอื ขาดความสามารถในการอา่ น การเรยี นรู้ไม่อาจก้าวหน้าได้ และจะประสบความยากลำ�บากในการดำ�รงชวี ติ จงึ เป็นหนา้ ที่ ของรฐั ทตี่ อ้ งพฒั นาความสามารถในการอา่ น การคดิ วเิ คราะห์ และการสอื่ สารใหแ้ กป่ ระชาชน ตง้ั แตว่ ยั เยาว์ เพอ่ื ใหส้ ามารถเรยี นรใู้ นระดบั ทซ่ี บั ซอ้ นขน้ึ เมอ่ื เตบิ ใหญ่ จนกระทงั่ สามารถดแู ล ตวั เอง มีอาชพี และมรี ายได้ เปน็ นกั คิดและเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ วัตถุประสงค์ ๑. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา ทกุ เขต ในการยกระดับผลสัมฤทธภ์ิ าษาไทยเพม่ิ ขึ้นอยา่ งน้อยรอ้ ยละ ๕ นกั เรยี นชั้นประถม ศึกษาปีท่ี ๓ ทุกคน อ่านออกเขียนได้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ ขึ้นไป อ่านคล่อง เขยี นคล่อง 1 ภาษาไทย ภาษาชาติ

๒. ดำ�เนินการเร่งรัดพัฒนาคุณภาพการอ่านรู้เรื่องและส่ือสารได้ในสถานศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ ๓. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ส�ำ นกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา โรงเรียน ครู และนกั เรยี น ตระหนักและเห็นความส�ำ คัญ ร่วมกันอนุรักษ์และใช้ภาษาไทยให้เหมาะสมถูกต้องในฐานะ ภาษาชาติ มีการบริหารจัดการท่ีดี การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยท่ีได้ผล การใช้ส่ือนวัตกรรม และองคค์ วามรภู้ าษาไทยทไี่ ดผ้ ลเผยแพรแ่ ละขยายผลตอ่ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาทกุ เขต ๔. เร่งรัดพัฒนารูปแบบวิธีสอน พัฒนาสื่อ เคร่ืองมือ และนวัตกรรมการจัด การเรียนการสอน รวมทั้งพัฒนาบุคลากร ศึกษานิเทศก์ และครูผู้สอนให้สามารถขยายผล การพฒั นาคณุ ภาพการอ่านรู้เร่อื งและสอื่ สารได้ ครอบคลมุ ทุกเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา ๕. พัฒนาทักษะภาษาไทยแก่นักเรียนที่สนใจหรือมีความสามารถพิเศษทาง ภาษาไทย ๖. ส่งเสริมและพัฒนาโรงเรียนที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ภาษาไทย ตํ่ากว่าเกณฑ์ ๗. ส่งเสริมและพัฒนาในการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยแก่นักเรียนในพื้นที่ ชายแดนหรอื พื้นทพี่ ิเศษที่ใชภ้ าษาถิน่ ในชีวิตประจำ�วนั ๘. พฒั นาระบบการตดิ ตาม และสรา้ งเครอื ขา่ ยการตดิ ตาม นเิ ทศ และชว่ ยเหลอื โรงเรียนตามความจำ�เป็นเร่งด่วน สรุปและรายงานผลการดำ�เนินงานอย่างเป็นระบบและ มปี ระสิทธภิ าพ เปา้ หมาย เชงิ ปริมาณ ๑) ส�ำ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา รวม ๒๒๕ เขต ๒) ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบสาระการเรียนรู้ภาษาไทยทุกคน ทุกเขต รวม ๒๒๕ เขต ๓) ครูผู้สอนทกุ กลุ่มสาระ ทุกเขต เขตละ ๕ คน รวม ๑,๑๒๕ คน ภาษาไทย ภาษาชาติ 2

เชงิ คณุ ภาพ ๑) ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาด�ำ เนนิ การพฒั นา ทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และส่ือสารได้ เพื่อบูรณาการกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้อ่ืน ในการพัฒนาขีดความสามารถของผู้เรียนให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพในประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก ๒) ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และครูผู้สอนทุกกลุ่ม สาระ พัฒนาวธิ สี อนการอา่ นรู้เรอ่ื งและส่ือสารได้ และเป็นวทิ ยากรแกนนำ� สามารถถา่ ยทอด องค์ความรขู้ ยายผลไปยงั โรงเรียนอ่ืน ๆ อย่างกวา้ งขวาง การด�ำ เนินงานของส�ำ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา การส่งเสริมและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยให้เกิดผลที่ดีเป็นรูปธรรม นอกจากโรงเรียนแล้ว ควรมีผู้รับผิดชอบที่มีบทบาทสำ�คัญท่ีจะนำ�นโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการและสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานไปสู่การปฏิบัติให้ถึงโรงเรียน และสดุ ทา้ ยตอ้ งถงึ หอ้ งเรยี น หนว่ ยงานส�ำ คญั กค็ อื ส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา และมัธยมศึกษา ซ่ึงหากสำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาให้ความสำ�คัญและเอาใจใส่ต่อ การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยของโรงเรียนอย่างจริงจัง ย่อมส่งผลดีต่อการพัฒนา ภาษาไทยของเขตพืน้ ท่ีการศึกษาอยา่ งแน่นอน ดังนั้น เพ่ือให้การดำ�เนินงานพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยของสำ�นักงาน เขตพื้นที่การศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา จึงส่งเสริมและสนับสนุนให้สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ดำ�เนินงานพัฒนาภาษาไทยอย่างจริงจังต่อเนื่อง โดยการจัดสรรงบประมาณมากกว่า รอ้ ยละ ๗๐ ของงบประมาณในแต่ละปีใหแ้ ก่สำ�นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาดำ�เนินการพฒั นา ภาษาไทย ซ่ึงปีงบประมาณ ๒๕๕๙ จัดสรรงบประมาณให้แก่สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นเงิน ๓๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยมเี งือ่ นไขการดำ�เนนิ งาน ดังนี้ ๑) ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย ตามกลยุทธ์จุดเน้นของ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ภาษาไทยเพิ่มข้ึน 3 ภาษาไทย ภาษาชาติ

อย่างน้อยร้อยละ ๕ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ทุกคน อ่านออกเขียนได้ นักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ ขึน้ ไป อา่ นคลอ่ งเขยี นคลอ่ ง ๒) ส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาทกุ เขต มขี อ้ มลู นกั เรยี นชนั้ ประถม ศึกษา สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาทุกเขต มีข้อมูลนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ท่มี ีปัญหาอา่ นเขยี นภาษาไทยไมค่ ลอ่ งตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตร ๓) สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทุกเขต จัดทำ�แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม พัฒนาภาษาไทยของเขตพื้นที่การศึกษาตามสภาพบริบท ปัจจัย และปัญหาของเขตพ้ืนที่ มกี ารกำ�กับ นิเทศ ติดตาม ให้ความชว่ ยเหลอื โรงเรยี นอยา่ งใกลช้ ิด ๔) จัดทำ�สรปุ และรายงานผลการดำ�เนินงานต่อ สพฐ. ภายในเดอื นกนั ยายน ๒๕๕๙ การด�ำ เนนิ งานของสว่ นกลาง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา โดยสถาบัน ภาษาไทย ได้รับงบประมาณโครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย เป็นเงิน ๕๘,๐๖๔,๗๐๐ บาท ในส่วนกลางได้รับงบประมาณเป็นเงิน ๒๔,๐๖๔,๗๐๐ บาท ได้ด�ำ เนินการดังน้ี กิจกรรมที่ ๑ ส่งเสริมเติมความเข้มแข็งเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนและการเรยี นรภู้ าษาไทยในฐานะภาษาชาติ โดยด�ำ เนนิ การ ดงั นี้ ภาษาไทย ภาษาชาติ 4

๑) พัฒนาทักษะภาษาไทยแก่ครูและนักเรียน ทุกระดับชั้น จัดแข่งขันทักษะภาษาไทยเน่ืองในวันภาษาไทย แห่งชาติ ปี ๒๕๕๙ และจดั มหกรรมพฒั นาการบริหารจดั การ และการส่งเสริมคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย เนื่อง ในวันภาษาไทยแห่งชาติ ปี ๒๕๕๙ และจัดนิทรรศการของ โรงเรียนที่ประสบผลสำ�เร็จในการพัฒนาการเรียนการสอน ภาษาไทย ๒) พัฒนาการบริหารจัดการส่งเสริมและพัฒนา ภาษาไทย โดยการคัดเลือกผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ศึกษานิเทศก์ภาษาไทย และโรงเรยี นทป่ี ระสบผลส�ำ เรจ็ ในการพฒั นาการเรยี นการสอน ภาษาไทยทไ่ี ดผ้ ล เพอื่ รบั โลร่ างวลั เนอื่ งในวนั ภาษาไทยแหง่ ชาต ิ ปี ๒๕๕๙ 5 ภาษาไทย ภาษาชาติ

ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา ผู้สง่ เสริมและพฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทยประสบผลสำ�เรจ็ นายไสว สารบี ท ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต ๑ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี าร ศกึ ษาประถมศกึ ษาสระแกว้ เขต ๑ ไ ด้ ดำ � เ นิ น ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ภ า ษ า ไ ท ย โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม ได้แก่ เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา โรงเรยี น ชมุ ชน และผู้ปกครอง ส่งเสริมสนับสนุน ให้โรงเรียนพัฒนาการอ่านการเขียนโดยการปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน ผลงานท่ีสำ�คัญ อาทิ การพฒั นาความสามารถดา้ นการอา่ นการเขยี นสำ�หรบั นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ โดยใช้ รูปแบบการบริหารจดั การแบบผ้ปู กครองมีสว่ นร่วม ใช้แบบกระชบั พนื้ ที่ เป็นต้น การบริหาร จดั การได้ประสบผลส�ำ เร็จมาอยา่ งต่อเนอื่ งตั้งแตป่ ี ๒๕๕๗ นายเกดิ มี สอนเมอื ง ผ้อู ำ�นวยการสำ�นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๔ สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต ๔ ได้นำ�หลักการคิดและทำ�ร่วมกันภายใต้ พันธสัญญาภาคี ๔ ฝ่าย (ฝ่ายบริหาร ฝ่ายปฏิบัติการสอน ฝ่ายนิเทศการสอน ฝ่ายตรวจสอบผู้ปกครองและชุมชน) โดยยึดสูตร คอื : ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ มาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ โดย ๑. ครูต้องสอนนักเรียนให้อ่านออกเขียนได้ทุกคน ๒. ผู้บริหารต้องอยู่โรงเรียนนิเทศครู ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ภาษาไทย ภาษาชาติ 6

๓. ศึกษานิเทศก์ต้องนิเทศให้ถึงห้องเรียนทั้ง ๓ ระยะ ๔. ผู้บริหารสถานศึกษาต้องรับผิดชอบโรงเรียนท่ีมีนักเรียน อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ๕. ผู้ปกครอง ชุมชนต้องตรวจสอบ และรบั ผดิ ชอบ ยินดรี ่วมกันด�ำ เนนิ กิจกรรมท่เี ป็นจดุ เด่นส�ำ คัญ คือ กิจกรรมท้าพิสูจน์ห้องเรียนปลอดนักเรียนอ่านไม่ออก เขียนไมไ่ ด้ ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ นายจุฬา ชณิ วงศ์ ผู้อ�ำ นวยการสำ�นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ น�ำ แนวทางการพฒั นา คุณภาพการศกึ ษา นำ�รูปแบบ SAKON ๓’S Model มาใช้ ซงึ่ มีวธิ กี าร ดังนี้ ๑. กำ�หนดจุดเน้นเด่นชัด (Shave Vision) คือ กำ�หนดเป้าหมายเดียวกัน โดยกำ�หนดวิสัยทศั น์ พนั ธกจิ ค่านยิ ม กลยทุ ธ์จดุ เนน้ ให้ผูเ้ กีย่ วขอ้ งนำ�ไปสู่การปฏบิ ัติ ๒. พัฒนาอาวธุ วิชาการ (Academy’s Weapon) คอื การเสริมสรา้ งองคค์ วามร ู้ แก่ผู้นำ�องค์กร ผู้บริหารให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนให้สูงขึ้น โดยจัดประชุมสัมมนาเพ่ือวิเคราะห์สภาพปัญหา ส่งเสริมสนับสนุน ให้โรงเรยี นสามารถน�ำ แนวทางไปสู่การปฏบิ ตั ไิ ด้ ๓. การท�ำ งานไปด้วยกัน (Keep to Gether) คอื การทำ�งานเปน็ ทีม เพื่อนิเทศ ช่วยเหลือโรงเรียนในระดับสำ�นักงาน ระดับศูนย์เครือข่าย และระดับสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครูวิชาการ และผู้ทรงคุณวุฒิใน ท้องถิน่ เป็นต้น ๔. แบง่ ปนั เรยี นรู้ (Object Lesson) คือ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ระหวา่ งนกั เรยี น ครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ศึกษานิเทศก์ เพื่อถอดประสบการณ์ 7 ภาษาไทย ภาษาชาติ

ประกวดผลงาน แลกเปลี่ยนข้อมูลวิธีการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ สำ�หรับโรงเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสงู ขน้ึ ๕. เชิดชู ช่นื ชม (Near our Heart) คอื การให้การยอมรบั ยกย่อง เชิดชเู กียรติ แก่ครู นักเรียน ผู้บริหาร ท่ีมีผลงานดีเด่น เป็นแบบอย่างที่ดีแก่คนอ่ืนได้ เพ่ือเสริมสร้าง ขวัญก�ำ ลงั ใจในการปฏบิ ตั ิงาน นางลออตา พงษฤ์ ทศั น์ ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลำ�ภู เขต ๑ ส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลำ�ภู เขต ๑ ไดด้ �ำ เนนิ การ ดงั นี้ ๑. เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาแจง้ โรงเรยี นด�ำ เนนิ การคดั กรองนกั เรยี นปกตแิ ละนกั เรยี น ท่ีมีความบกพรอ่ งลงระบบ SET พรอ้ มกนั ทกุ โรงเรยี น และจดั ท�ำ ขอ้ มูลสารสนเทศ ๒. เขตพ้ืนท่ีการศึกษากำ�หนดและทดสอบเพื่อจัดระดับคุณภาพการอ่าน การเขียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖ จัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศเป็นรายบุคคล และรายงานผลการอ่านการเขียนทางเว็บไซต์ห้องนิเทศออนไลน์ของศึกษานิเทศก์และ แจง้ ผเู้ กยี่ วขอ้ งทราบ รว่ มกนั พฒั นาสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเขยี นได้ อา่ นคลอ่ งเขยี นคลอ่ ง และอ่านรู้เรอ่ื งและสื่อสารได้ ๓. เขตพื้นท่ีการศึกษากำ�หนดและจัดกิจกรรม “ท้าพิสูจน์” ห้องเรียนและ โรงเรียนที่ปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ โดยศึกษานิเทศก์ออกทดสอบนักเรียน ด้วยตนเองและสรุปรายงานผล จัดเรียงลำ�ดับห้องเรียนและโรงเรียนท่ีปลอดนักเรียน อา่ นไม่ออกเขียนไมไ่ ด้ ภาษาไทย ภาษาชาติ 8

ศึกษานิเทศก์ ผู้สง่ เสรมิ และพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยประสบผลสำ�เร็จ นางเกษมณี ประเสรฐิ ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๔ ส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๔ ได้นำ� นโยบายสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม ภายใตก้ ระบวนการท�ำ งาน ๔ ขนั้ ตอน (VISS Model) ๑) ชดั เจนในเปา้ หมาย (Vision) ๒) ขยายองค์ความรู้ (Instruction) ๓) ก้าวสู่ห้องเรียน (Supervision) ๔) ศกึ ษานเิ ทศกเ์ ปลยี่ น ครูเปลีย่ น ห้องเรยี นเปล่ียน เด็กเปล่ยี น (Succession) นางประไพ ฉายอรณุ ศกึ ษานเิ ทศก์ สำ�นักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสระแกว้ เขต ๑ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสระแก้ว เขต ๑ ได้ดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพการจัด การเรียนการสอนภาษาไทยโดยยึดหลัก การมีส่วนร่วมของผู้นิเทศ ผลงาน ทสี่ �ำ คญั อาทิการนเิ ทศแบบกระชบั มติ ร รายงานการพัฒนาประสิทธิภาพ แบบฝึกทักษะการเรียนรู้ภาษาไทยสำ�หรับนักเรียนท่ีใช้ ภาษาเขมรในชวี ติ ประจำ�วนั ชดุ นเิ ทศ การจดั การเรยี นการสอนเพอ่ื พฒั นาสมรรถนะการอา่ น โดยใชแ้ บบฝกึ สมรรถนะการอา่ น โดยเทคนคิ การใชค้ �ำ ถามแบบสอบวดั คณุ ภาพการอา่ นรเู้ รอื่ ง และส่ือสารได้ (Literacy) กจิ กรรม “เวทีไทย” เปน็ ต้น 9 ภาษาไทย ภาษาชาติ

นางสิรมิ ณี โอฬารวตั ศกึ ษานิเทศก์ สำ�นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรุ ี เขต ๒ กระบวนการนวตั กรรม “๕๕ วนั อ่านออกเขยี นได้” ทกุ ข์ สมุทยั นักเรยี นอา่ นไม่ออก วิธกี ารจัดการเรยี นรู้ เขยี นไม่ได้ ของครู นิโรธ มรรค นวัตกรรม ๕๕ วัน การใชน้ วัตกรรม ๕๕ วัน อ่านออกเขียนได้ อ่านออกเขียนได้ นางสุภาพ รตั นประภา ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาน่าน เขต ๒ สำ�นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๒ นำ�วิธีการนิเทศใกล้ชิด และสร้างเครือขา่ ยมาใชใ้ นการพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาไทย โดยการ ๑. ประกาศนโยบายและมาตรการการอา่ นออกเขียนได้ ใหเ้ ปน็ วาระส�ำ คญั ของเขตพื้นที่ ๒. สรา้ งนวตั กรรมแก้ปญั หาและพฒั นาการอา่ นการเขียนเร่มิ ต้ังแต่ ชั้นอนบุ าลปที ี่ ๒ ถึงชัน้ ป. ๖ พัฒนารูปแบบและจดั ท�ำ เป็นคู่มือการนิเทศแบบใกล้ชิดและสร้างเครือข่าย จัดทำ� แผนและปฏทิ นิ การนเิ ทศ โดยมนี วตั กรรมทส่ี รา้ งเปน็ ฐาน ในการพาคิดพาทำ�ให้กับเครือข่ายแต่ละกลุ่มโรงเรียน รว่ มกนั สร้างและพฒั นาตอ่ ยอดต่อไป ดงั นี้ ๑) ชุดฝึกกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เริม่ เรียนเขียนอา่ นตง้ั แตช่ ้ันอนุบาลปีท่ี ๒ ๒) ชดุ ฝกึ เสรมิ ทกั ษะการอา่ นการเขยี นส�ำ หรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๓) คมู่ อื การนเิ ทศแบบใกล้ชดิ และสรา้ งเครือขา่ ย ภาษาไทย ภาษาชาติ 10

โรงเรยี นประถมศึกษา ทสี่ ่งเสริมและพฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทยประสบผลสำ�เร็จ โรงเรียนอนุบาลด่านชา้ ง สำ�นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต ๓ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต ๓ ดำ�เนนิ การพัฒนา การเรียนการสอนภาษาไทย โดยกำ�หนดแผนงานและกิจกรรม ดงั น้ี ๑. รายงานฐานข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนด้านภาษาไทยเป็นรายบุคคล มปี ฏทิ นิ การจดั เกบ็ เครือ่ งมอื คดั กรองนกั เรยี น การวเิ คราะหแ์ ละการจดั เกบ็ ระบบข้อมลู ๒. ขอ้ มลู การจดั สรรงบประมาณ ทง้ั จากตน้ สงั กดั /หนว่ ยงานอน่ื /บคุ คลภายนอก ๓. การมีสว่ นร่วมของผปู้ กครอง ชมุ ชน ภาครัฐ ภาคเอกชน ๔. รายงานข้อมลู การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การประกวดหรือการแขง่ ขันทักษะภาษาไทย ๕. กำ�หนดปฏิทิน/ตารางการนิเทศ ติดตาม และตรวจสอบ บันทึกการนิเทศฯ พร้อมรายงานการน�ำ ผลไปใช้ โรงเรยี นวัดดอนคา สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์ เขต ๓ สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๓ ได้นำ�วิธีการ จัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นการฝึกทักษะ 11 ภาษาไทย ภาษาชาติ

ความสามารถในการฟงั พูด อา่ น เขยี น และคิด มาชว่ ยพัฒนาทกั ษะในการจัดการเรยี นรใู้ ห้ผูเ้ รยี น ได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี อยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษ ที่ ๒๑ ที่มุ่งให้ความสำ�คัญในการฝึกทักษะ การเรียนรู้ให้นักเรียนมากกว่าการมอบความรู้ และน�ำ วธิ กี ารจดั การเรยี นรรู้ ว่ มสมยั เชน่ ชมุ นมุ แห่งการเรียนรู้ Professional Learning Community (PLC) โดยการแลกเปลี่ยนเรียนร ู้ ในทุกวันศุกร์ และสรปุ รว่ มกันกบั เพือ่ นครู โดยมีกติการว่ มกนั ดังน้ี ๑) เลา่ ประสบการณข์ อง ตนเอง (Story telling) ๒) ฟงั อย่างตัง้ ใจ (deep listening) ๓) แลกเปลีย่ นประสบการณ์ (sharing) และ ๔) สะทอ้ นการเรยี นรู้ (reflection) โรงเรียนบางสะพาน สำ�นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาประจวบครี ีขันธ์ เขต ๑ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถม ศกึ ษาประจวบคีรขี ันธ์ เขต ๑ น�ำ นโยบายหลัก มาแก้ไขปัญหาการอ่านการเขียนภาษาไทย อันเป็นกลยุทธ์ขับเคล่ือนต่อเนื่องมาต้ังแต่ ปี ๒๕๕๔ มีนโยบายเร่งรัดการยกระดับ ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ก า ร เ รี ย น ภ า ษ า ไ ท ย ใ ห้ สู ง ขึ้ น ร้อยละ ๕ กำ�หนดมาตรการป้องกันแก้ไขและ พัฒนาโดยการสอนซ่อมเสริมตอนเช้า ตั้งแต่ เวลา ๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น. ทุกวนั และใหค้ รู พเี่ ลย้ี งเขา้ ไปชว่ ยนกั เรยี นทมี่ ภี าวะเสยี่ งการเปน็ LD. สัปดาห์ละ ๑๕ ชั่วโมงต่อ ๑ ชั้นเรียน ทางโรงเรียนจะเร่ิมป้องกันแก้ไขและพัฒนาต้ังแต่ เดือนพฤษภาคม - เดือนมกราคม และได้คิด ภาษาไทย ภาษาชาติ 12

วธิ กี ารทจ่ี ะชว่ ยเหลอื เพม่ิ เตมิ โดยใหม้ เี วลาเรยี นภาษาไทยเพมิ่ ขนึ้ อกี วนั ละ ๑ ชวั่ โมง ในระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ - ๓ และจัดกจิ กรรมโดยใชส้ ือ่ การสอนทหี่ ลากหลาย โดยเริม่ ในเวลา ๐๘.๐๐ น. - ๐๙.๐๐ น. ของทกุ วนั รวมท้ังการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนการอา่ นค�ำ และเขยี นค�ำ ของเดก็ บกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ โดยใชส้ อ่ื ประสมในการสอนซอ่ มเสรมิ การใชส้ อื่ ทหี่ ลากหลายมาประกอบการเรียนการสอน ท�ำ ใหก้ ารเรียนน่าสนใจ สามารถเรยี นได้ง่ายขึ้น เข้าใจเนื้อหาได้ง่าย เรยี นได้อย่างรวดเรว็ ผู้เรยี นสามารถฝึกฝนได้ดว้ ยตนเอง โรงเรยี นบา้ นสะเดา (สามคั คีวิทยา) สำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาบรุ รี ัมย์ เขต ๓ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบรุ รี มั ย์ เขต ๓ ไดน้ �ำ ชดุ กจิ กรรมการแตง่ กลอนสุภาพโดยออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับนักเรียนมาให้นักเรียนฝึกปฏิบัติทักษะ ท้ังรายบุคคลและฝึกในรูปกิจกรรมกลุ่ม ซ่ึงพบว่านักเรียนสามารถเรียนได้อย่างมีความสุข ได้ใช้ความคิดอย่างอิสระและสร้างสรรค์ นักเรียนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน เกิดความคิดท่ีหลากหลาย นักเรียนที่เรียนอ่อนสามารถมองเห็นแนวทางที่จะพัฒนาและ สรา้ งความคดิ ของตนเอง รวมทง้ั เปน็ การฝกึ ใหน้ กั เรยี นรจู้ กั การท�ำ งานโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ ยอมรับฟังความคิดเห็นจากสมาชิกในกลุ่ม และมีกิจกรรมที่กระตุ้นให้นักเรียนสนใจ เพลิดเพลินไม่เบื่อหน่าย รู้จักการทำ�งานเป็นหมู่ กระตุ้นให้ผู้เรียนมีปฏิกิริยาและตอบสนอง ต่อความรู้และประสบการณ์ ความคิดเห็นของครูและเพ่ือน ๆ ผู้เรียนได้ฝึกการจัดระบบ ความคดิ การโตแ้ ยง้ อยา่ งมเี หตผุ ล พฒั นาทกั ษะทางสงั คม ดงั นน้ั ผเู้ รยี นจงึ จ�ำ บทเรยี นไดด้ ขี น้ึ ไมเ่ บอื่ หนา่ ย ไดร้ บั ความสนกุ สนาน มคี วามสนใจในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ สง่ ผลใหผ้ ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นสงู ข้นึ 13 ภาษาไทย ภาษาชาติ

โรงเรยี นบา้ นสนั โค้งเชียงราย (จรูญราษฎร์) ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต ๑ สำ�นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑ ได้นำ�นวัตกรรม การบริหารจัดการแบบ BSK Model มาช่วยในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ภาษาไทย ซ่ึงสถานศึกษาได้นำ�นวัตกรรม ๔ E-BSK-LMS เป็นระบบการเรียนรู้ผ่านระบบ เครอื ข่าย LMS (Learning Management System) โดยการจดั การเรียนรู้ผา่ นระบบ ICT มาพฒั นาคุณภาพกล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๑. Every where - ทุกที่ ทุกคนสามารถเรยี นรไู้ ด้ทกุ ๆ ที่ ๒. Every time - ทุกเวลา ทุกคนสามารถเขา้ ถงึ ระบบการเรียนรไู้ ด้ทุกเวลา ๓. Every one - ทุกคน ทกุ คนสามารถเขา้ ถึงระบบการเรียนรู้ได้ ๔. Every things - ทุกส่ิง ทกุ สง่ิ สามารถค้นหาจาก E-LMS ภาษาไทย ภาษาชาติ 14

โรงเรียนมธั ยมศกึ ษา ทีส่ ่งเสรมิ และพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยประสบผลส�ำ เรจ็ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั นครปฐม (พระต�ำ หนกั สวนกุหลาบมธั ยม) ส�ำ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๙ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำ�หนักสวนกุหลาบมัธยม) มุ่งม่นั ส่งเสริมและพฒั นาผเู้ รยี นตามวิสยั ทัศน์ทีว่ า่ “แสวงหาความรู้ ควบคคู่ ณุ ธรรม เลิศล้าํ ทักษะทางภาษา ธำ�รงค่าความเป็นไทย” โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะ ทางภาษาไทยให้แกน่ ักเรยี น ดังนี้ - การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย เช่น เทคนิคการสอนแบบ TGT เทคนิคการสอนแบบ SQ ๔ R และเทคนิคการสอนแบบ STAL ซึง่ ประยกุ ต์จาก STEM โดยน�ำ Social Technology Art และ Language มาผสมผสาน ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ท่ีเน้นทักษะในด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ โดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ และรวบรวมผลงานเปน็ รูปเล่มวารสาร - ส่งเสริมและสนับสนุนนักเรียนที่มีความสามารถทางด้านทักษะภาษาไทย เข้ารว่ มแขง่ ขนั ทักษะทางวิชาการร่วมกบั หน่วยงานต่าง ๆ - จัดสอนเสริมโดยครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและวิทยากรจาก ภายนอก เพอ่ื เพ่มิ ผลสัมฤทธิ์ในการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) 15 ภาษาไทย ภาษาชาติ

สำ�นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาทีม่ ผี ลการทดสอบการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ สงู กว่าคา่ เฉลี่ยระดบั ประเทศ ๑๐ อนั ดับแรก ๓ ปี ตอ่ เนอ่ื ง ปีการศกึ ษา ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ ส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอ็ด เขต ๒ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต ๒ ไดน้ �ำ ยทุ ธการ ๓ : ๔ : ๕ เปดิ ประตู สู่ความสำ�เรจ็ เพื่อเด็กไทยอ่านออกเขยี นได้ ๑๐๐% มาใช้ ดงั นี้ ๓ หมายถึง ๓ กระบวนการ ประกอบดว้ ย ๑. กระบวนการบริหาร ๒. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ๓. กระบวนการนเิ ทศตดิ ตาม ๔ หมายถงึ ๔ กจิ กรรม ประกอบด้วย ๑. กจิ กรรมรับร้แู นวทาง (Recognize Guidelines) ๒. กิจกรรมร่วมสรา้ งสูก่ ารปฏิบตั ิ (Collaborative Action) ๓. กิจกรรมเรง่ รดั การติดตาม (Accelerated Monitoring) ๔. กจิ กรรมสง่างามส่คู วามสำ�เร็จ (Graceful to the Success) ๕ หมายถึง ๕ ขน้ั สเู่ ปา้ หมาย ประกอบด้วย ๑. ขัน้ วางแผนแบบมีส่วนร่วม (Participatory Planning) ๒. ข้ันลงมือปฏิบตั ิ (Take Action) ๓. ขั้นวัดและประเมินผล (Evaluation) ๔. ขั้นสะท้อนผลการปฏิบตั ิ (Reflecting Performance) ๕. ข้นั ประยกุ ต์ใช้ (Apply) ภาษาไทย ภาษาชาติ 16

สำ�นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาทม่ี ีผลการทดสอบการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ และ ๖ สงู กวา่ ค่าเฉล่ียระดบั ประเทศ ๑๐ อันดบั แรก ๓ ปี ต่อเนือ่ ง ปีการศกึ ษา ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ ส�ำ นกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๔ สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ภาษาไทย ภาษาชาติ มธั ยมศกึ ษาเขต๑๔ใชร้ ปู แบบการพฒั นาคณุ ภาพ หรือวงจรของเดมมิ่ง (PDCA) เป็นรูปแบบ ในการพฒั นา คอื ๑) การวางแผนการด�ำ เนนิ งาน พัฒนา (Plan) ๒) การดำ�เนินงานตามแผน (Do) ๓) การนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ การดำ�เนินงานของครู (Check) และ ๔) การ ปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Act) โดย ดำ�เนินการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและ พฒั นาขอ้ สอบมาตรฐาน ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้กับครูผู้สอนภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นและตอนปลาย 17

ส�ำ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ที่มผี ลการประเมนิ การอา่ นการเขียนนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ มคี ่าเฉลีย่ สูง ๑๐ อนั ดบั แรก สำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต ๑ สำ�นกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต ๑ ไดส้ ง่ เสริมสนับสนนุ ความแข็งแกร่งในการพัฒนาคุณภาพภาษาไทย โดยมีโครงการพัฒนาคุณภาพภาษาไทย เป็นโครงการต่อเนื่อง มีกิจกรรมท่ีช่วยสนับสนุน เช่น การเข้าค่ายปลูกปัญญา การแข่งขัน ทกั ษะความเปน็ เลศิ ดา้ นภาษาไทย และอกี หลายกจิ กรรม เพอ่ื มงุ่ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ผลการพฒั นา ที่เป็นรูปธรรมและมีความย่ังยืน โดยยึดการทำ�งานแบบมีส่วนร่วม มีประสานความร่วมมือ จากทุกภาคส่วนในการร่วมมือพัฒนา เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารโรงเรียน ครู ผปู้ กครอง เป็นต้น ในการน้ี ไดน้ �ำ กระบวนการพฒั นาการสอนภาษาไทยโดยใช้รปู แบบ VIWS Model ให้อา่ นออกเขียนได้ ๑๐๐% ดงั น้ี ๑. ชดั เจนในเปา้ หมาย (Vision) ๒. มากมายองคค์ วามรู้ (Instructions) ๓. ทำ�งานร่วมกับครูในห้องเรียน (Working with the teacher in the classroom) ๔. ปรับเปลย่ี นการสอน (Succession) ภาษาไทย ภาษาชาติ 18

ส�ำ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาชมุ พร เขต ๑ ส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชมุ พร เขต ๑ ด�ำ เนนิ การพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษาของโรงเรยี นในสังกดั จ�ำ นวน ๑๒๑ โรงเรียน โดยเนน้ การมีสว่ นร่วมของโรงเรยี น ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทุก ๆ ภาคส่วน ภายใต้กรอบแนวคิด ซึ่งเป็นจุดเน้นของสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและสำ�นักงานเขตพื้นท่ี การศึกษา เพ่ือใช้เปน็ แนวทางใหโ้ รงเรยี นดำ�เนินการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ดังน้ี ๑. เรง่ รัดผลสัมฤทธ ์ิ ๒. คิดอา่ นเขียนคลอ่ ง ๓. ผา่ นรบั รองมาตรฐาน ๔. สืบสานคุณธรรม ๕. น้อมนำ�หลักปรชั ญา ๖. นำ�พาสคู่ วามเป็นเลศิ ๗. เปิดโอกาสใหถ้ ว้ นท่ัว ๘. เตรยี มตวั ส่อู าเซียน 19 ภาษาไทย ภาษาชาติ

สำ�นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี วิธีดำ�เนินการพัฒนานกั เรยี นให้อ่านออกเขียนได้ ของ สพป.สิงห์บุรี สร้างความเข้าใจ สร้างความตระหนัก และส่งเสริมพัฒนา นิเทศ ตดิ ตาม กำ�กบั ครผู ูส้ อนในการพฒั นานกั เรียนใหอ้ า่ นออกเขียนได้ อย่างตอ่ เน่อื ง ซ่อมเสรมิ นักเรยี นท่อี า่ นไม่ออกเขยี นไมไ่ ด้ อย่างนอ้ ย ตลอดปีการศึกษา ท�ำ แผนการซ่อมเสริมรายวนั ภาคเรยี นละ ๒ ครง้ั และประเมินความก้าวหน้าการอา่ นการเขยี นรายสปั ดาห์ /โรงเรยี น รายเดือน โดยครผู สู้ อน และโดย ศน.ประจ�ำ โรงเรียน โดย ผอ.สพป. จัดให้มเี วทกี ารแขง่ ขันความสามารถทางภาษาไทย รอง ผอ.สพป. แบบเปิดกว้างใหท้ ุกโรงเรยี นมโี อกาสเข้ารว่ มกิจกรรม ศน.โรงเรียน และมีการบูรณาการ เพ่ือให้เกิดการพฒั นาในทุกโรงเรียน ประสานความรว่ มมือกบั เครอื ข่าย เช่น ชมรมวชิ าชพี ครภู าษาไทย เครอื ข่ายกลมุ่ โรงเรียน สสส. สนบั สนนุ งบประมาณในการจดั ทำ�ส่ือ แบบฝกึ ให้แก่ครนู ำ�ไปใช้ พัฒนานกั เรยี นอยา่ งหลากหลายตามสภาพความตอ้ งการ ประเมินผลสำ�เร็จ ภาษาไทย ภาษาชาติ 20

ส�ำ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต ๓ สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต ๓ ใช้กระบวนการ ควบคุมคุณภาพงาน (Quality Control Circle : QCC) ตามวงจรเดมม่ิง (Deming Cycle) สรุปเปน็ กรอบแนวคดิ การด�ำ เนนิ งานได้ ดังน้ี INPUT PROCESS PRODUCT - วเิ คราะห์ผลการอ่านเดมิ ใช้กระบวนการควบคุมคณุ ภาพ นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ พจิ ารณาจดุ เด่น ดอ้ ย งาน Quality Control Circle มจี �ำ นวนนักเรยี นปกติ - วเิ คราะห์นโยบาย กลยุทธ ์ (QC.C) ตามวงจรเดมมิง่ จำ�นวน ๑,๘๕๙ คน จุดเน้น ปงี บประมาณ ๒๕๕๘ (Deming Cycle) - อา่ นไม่ออก จำ�นวน ๑๘ คน และ สปพ.มค.๓ ประกอบดว้ ย คิดเป็นรอ้ ยละ ๐.๙๗ - ศกึ ษารูปแบบการพัฒนา ๑. การวางแผน (P) - เขียนไม่ได้ จ�ำ นวน ๒๕ คน ๒. การปฏบิ ัติ (D) การอา่ น การเขยี นท่ปี ระสบ ๓. การประเมนิ (C) คิดเปน็ ร้อยละ ๑.๓๔ ผลส�ำ เร็จ ๔. การแกไ้ ขปรับปรุง (A) - ศกึ ษาหลกั การ แนวคิด ดว้ ยรูปแบบเครือขา่ ยการนิเทศ ทฤษฎี เกย่ี วกบั การพัฒนา ศูนยพ์ ัฒนาคุณภาพ และชมรม การอ่านออกเขียนได้ ทางวิชาการ 21 ภาษาไทย ภาษาชาติ

สำ�นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต ๑ สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๑ ได้ดำ�เนินการพัฒนา การอ่านการเขียนของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ดงั นี้ ๑. จดั อบรมปฏบิ ตั กิ าร “พลกิ โฉมโรงเรยี น ป. ๑ อา่ นออกเขยี นไดใ้ น ๑ ป”ี ใหแ้ ก ่ ครูผสู้ อนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ และผู้บริหารสถานศึกษาทุกโรงเรยี นในสังกัด ตามนโยบาย ของ สพฐ. ๒. จดั อบรมปฏบิ ตั กิ าร “ใชห้ นงั สอื แบบเรยี นเรว็ ใหม”่ ใหแ้ กค่ รผู สู้ อนชนั้ ประถม ศกึ ษาปีท่ี ๑ ทกุ คน เพ่ือสร้างความรู้ความเขา้ ใจในการแจกลูกสะกดค�ำ ตามแนวทางที่ถูกต้อง ๓. จดั สรรงบประมาณสนบั สนนุ ใหโ้ รงเรยี นในสงั กดั ทกุ โรงเรยี นดำ�เนนิ การพฒั นา ฐานการเรียนรแู้ ละห้องเรียนที่สอดคลอ้ งกบั พัฒนาการทางสมอง ๔. ด�ำ เนนิ การประเมนิ สภาพการอา่ นการเขยี นของนกั เรยี นชนั้ ป. ๑ ทกุ ภาคเรยี น ๕. จัดทำ�โปรแกรมประมวลผลข้อมูลการอ่านการเขียนของนักเรียน เพื่อให้ โรงเรียนกรอกคะแนนการประเมินนักเรียนเป็นรายบุคคลให้เขตพื้นท่ีตรวจสอบข้อมูล และน�ำ ไปรายงานทางระบบ e-MES ๖. มอบหมายให้รอง ผอ.สพป. และศกึ ษานิเทศก์ที่รับผดิ ชอบโรงเรยี น ดำ�เนิน การนเิ ทศ ติดตาม การด�ำ เนินงานแกป้ ัญหาการอา่ นการเขียนของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ภาษาไทย ภาษาชาติ 22

กิจกรรมท่ี ๒ พฒั นาสื่อการเรียนร้ภู าษาไทย หนงั สืออา่ นเพ่ิมเติม และหนังสอื เสริมการเรียนรู้ โดยจดั ทำ� - หนังสืออ่านเพ่ิมเตมิ มานะ มานี สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษา ปีท่ี ๓ และ ๔ - หนังสือ ทำ�อย่างไรให้อ่านออกเขียนได้ : ส่ือ/นวัตกรรมพัฒนาการอ่าน การเขยี นภาษาไทยที่ประสบผลสำ�เรจ็ - หนังสือ หลกั ภาษาไทย : เรื่องท่ีครภู าษาไทยต้องรู้ 23 ภาษาไทย ภาษาชาติ

การด�ำ เนนิ งานพัฒนาการอา่ นออกเขยี นได้ นับแต่ต้ังปีงบประมาณ ๒๕๕๘ กระทรวงศึกษาธิการ เห็นความสำ�คัญเร่ืองการ อา่ นออกเขยี นได้ ด้วยตระหนกั ว่าจะเป็นพน้ื ฐานส�ำ คัญท่ีนำ�ไปสกู่ ารพัฒนาองค์ความรู้อืน่ ๆ ในการเรยี นรขู้ องเดก็ และเยาวชน โดยก�ำ หนดนโยบายนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เมอื่ จบ ป. ๑ อา่ นออกเขยี นได้ และมมี าตรการประเมนิ ผลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ซง่ึ จากการประเมนิ ผลการอา่ น การเขยี นภาษาไทยของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ พบวา่ ยงั มนี กั เรยี น ทีอ่ า่ นไมอ่ อกเขยี นไม่ไดเ้ ม่อื ส้นิ ปกี ารศึกษา ประมาณ ๑๘,๐๐๐ คน และปญั หาสว่ นใหญเ่ ปน็ นักเรียนในพนื้ ที่ชายแดนภาคใตแ้ ละชายแดนภาคเหนอื ซงึ่ พลเอกสรุ เชษฐ์ ชยั วงศ์ รัฐมนตรี ชว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร นายการณุ สกลุ ประดษิ ฐ์ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษา ขน้ั พ้นื ฐาน และนายบญุ รักษ์ ยอดเพชร ผู้ช่วยเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ไดล้ งพนื้ ทร่ี ว่ มระดมความคดิ เหน็ เพอื่ เรง่ รดั พฒั นาใหผ้ อู้ ำ�นวยการส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาและผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี น ด�ำ เนนิ การแกไ้ ขปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ ทง้ั การวเิ คราะห ์ ผลการประเมินและแก้ไขปัญหานักเรียนเป็นรายบุคคล รวมท้ังส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ชุมชนท้องถิน่ ดังนี้ พลเอกสรุ เชษฐ์ ชยั วงศ์ รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธาน เปิดการประชุมและบรรยายพเิ ศษ เรอื่ ง นโยบายการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ : การอ่านออกเขียนได้ และการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนจากผลการ ประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ : เข้าใจ เข้าถงึ และพัฒนา ระหว่างวนั ท่ี ๒๙ พฤษภาคม - ๑ มิถุนายน ๒๕๕๙ ณ ศูนย์ประชุม สยามนครินทร์ คอมเพล็กซ์ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา ภาษาไทย ภาษาชาติ 24

นอกจากนี้เป็นประธานพิธีเปิดการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “ประชารัฐ รว่ มคดิ แกไ้ ขใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเขยี นได”้ วนั ท่ี ๒ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙ ณ โรงเรยี นหอ้ งสอนศกึ ษา ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต ๑ ไดม้ อบนโยบาย การยกระดบั การอ่านออกเขียนได้ โดยให้หน่วยงานต่างๆ และทุกคนร่วมกันแก้ไขอย่างเร่งด่วน และ ยึดหลกั การทำ�งานตามแนวพระราชด�ำ รใิ นการพฒั นาทว่ี า่ “เขา้ ใจ เข้าถึง และพฒั นา” และเปน็ ประธานเปดิ การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นายกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา เขตพื้นที่สูงจังหวัดชายแดนภาคเหนือ ระหว่างวันที่ ๑๗ - ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๙ ณ โรงแรมคุ้มภูคำ� อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมิน การอ่านเขียนภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ และผลคะแนน O - NET ในกล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย คณิตศาสตร์ สงั คมศึกษา วิทยาศาสตร์ และภาษาองั กฤษ นำ�ไปสู่การกำ�หนดแผนงาน/โครงการพัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษาเขตพื้นที่สูง จังหวัดชายแดนภาคเหนอื ตามแนวพระราชด�ำ ริ “เข้าใจ เขา้ ถงึ และพฒั นา” 25 ภาษาไทย ภาษาชาติ

นายการุณ สกุลประดิษฐ์ เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เป็น ประธานในพิธีเปิดการประชุมสัมมนายกระดับคุณภาพการศึกษาในศตวรรษท่ี ๒๑ วันท่ี ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๙ ณ ศนู ยป์ ระชุมและแสดงสินคา้ นานาชาติ เฉลมิ พระเกยี รติ ๗ รอบ พระชนมพรรษา จังหวัดเชียงใหม่ เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้พัฒนาการบริหารและการจัด การเรียนการสอนให้สอดคล้องตามนโยบายของรัฐบาล ผ่านกระบวนการพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษาให้สามารถพัฒนานักเรียนให้มีความรู้และทักษะสำ�หรับอนาคตใหม่ ในศตวรรษท่ี ๒๑ นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร ผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ การประชมุ สมั มนาพฒั นาการศกึ ษาพน้ื ทสี่ งู จงั หวดั ชายแดนภาคเหนอื ซึ่งครอบคลุมจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยา และตาก ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมริมกก จังหวดั เชียงราย เพอื่ พฒั นาพนื้ ทส่ี งู และจงั หวดั ชายแดนภาคเหนือ กำ�หนดแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์พระราชทาน เข้าใจ เขา้ ถงึ และพฒั นา ในการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาเขตพนื้ ทส่ี งู ชายแดนภาคเหนอื ใหด้ ำ�เนนิ การพัฒนาคุณภาพวิชาการและการบริหารจดั การให้มีประสทิ ธภิ าพ ภาษาไทย ภาษาชาติ 26

การประชมุ เพื่อพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนภาษาไทย ๑. ประชุมปฏิบัติการจัดทำ�คู่มือการสอนอ่านเขียนแบบแจกลูกสะกดคำ� เพ่ือการอ่านออกเขียนได้ ครงั้ ท่ี ๑ ระหวา่ งวันที่ ๑๓ - ๑๘ ธนั วาคม ๒๕๕๘ ครัง้ ที่ ๒ ระหวา่ ง วนั ที่ ๑๗ - ๒๒ มกราคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมฮพิ กรุงเทพมหานคร ๒. ประชุมปฏิบัติการพิจารณาปรับปรุงหนังสือเรียนและจัดทำ�คู่มือการจัด กจิ กรรมการใชห้ นงั สอื เรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๐ - ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ณ โรงแรมฮพิ กรงุ เทพมหานคร 27 ภาษาไทย ภาษาชาติ

๓. ประชุมพัฒนาวิทยากรแกนนำ�การเรียนการสอนอ่าน คิดวิเคราะห์ โดย ใช้วรรณคดไี ทยเปน็ ฐาน เพอ่ื พฒั นาครแู ละศกึ ษานเิ ทศกใ์ ห้มีความรูค้ วามเข้าใจในการพฒั นา การเรยี นการสอนภาษาไทย สามารถใชเ้ ทคนคิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ โดยใชว้ รรณคดเี ปน็ ฐาน และนำ�ไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาอื่นให้มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น แบ่งเป็น ๕ รุ่น ๔ ภูมิภาค ๔. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาองค์ความรู้การนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ นกั เรียนใหอ้ ่านออกเขียนได้ใน ๑ ปี ระหวา่ งวันที่ ๒๑ - ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรม คมุ้ ภคู �ำ จังหวดั เชยี งใหม่ ภาษาไทย ภาษาชาติ 28

๕. ประชุมอบรมให้ความรู้แก่ศึกษานิเทศก์และครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เร่ือง การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยตามแนวทางพัฒนาสมอง (BBL) ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น ซ่ึงแบง่ เปน็ ๒ รุ่น รุ่นที่ ๑ ระหวา่ งวนั ท่ี ๖ - ๙ เมษายน ๒๕๕๙ และ รนุ่ ที่ ๒ ระหว่างวนั ท่ี ๔ - ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมคิงปารค์ อเวนวิ กรงุ เทพมหานคร กิจกรรมท่ี ๓ ส่งเสริมและวิจัยการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้ ภาษาถ่นิ ร่วมจัดการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ ๑. ประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารพจิ ารณาสอื่ วดี ทิ ศั นก์ ารสอนและสอื่ การเรยี นรู้ (ภาษาไทย - ท้องถิ่น) เพ่ือเผยแพร่โดยช่องทาง DLIT ระหว่างวันที่ ๑๗ - ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ณ โรงแรมแกรนด์ ไชน่า กรุงเทพมหานคร 29 ภาษาไทย ภาษาชาติ

๒. ประชุมปฏิบัติการจัดทำ�ส่ือการเรียนรู้ (ภาษาไทย - ท้องถ่ิน) โรงเรียน แนวชายแดน พ้ืนที่สูง และพื้นท่ีพิเศษ ระหว่างวันที่ ๑๖ - ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมฮิพ กรงุ เทพมหานคร กิจกรรมที่ ๔ ตดิ ตามประเมนิ และสรปุ รายงานผล ได้แก่ ประชุมสัมมนาแลกเปล่ียนเรียนรู้การดำ�เนินงานพัฒนาการเรียนการสอน ภาษาไทย ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๗ - ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมฮพิ กรุงเทพมหานคร ภาษาไทย ภาษาชาติ 30

ผลการประเมนิ ผลสัมฤทธภิ์ าษาไทย ปีการศกึ ษา ๒๕๕๕ ถึงปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ การปร ะเมิน ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ NT ๕๐.๔๒ ๔๒.๓๖ ๔๕.๓๐ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๔๒.๙๔ O - NET ๔๔.๘๘ ๔๙.๓๓ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๔๕.๖๘ ๔๕.๐๒ O - NET ๔๔.๒๕ ๓๕.๒๐ ๔๒.๖๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๕๔.๔๘ O - NET ๔๙.๒๖ ๕๐.๗๖ ๔๙.๓๖ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๔๗.๑๙ ผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิภาษาไทย ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ถึงปี ๒๕๕๘ พบว่า นักเรียนยังมีปัญหาการเรียนภาษาไทยอยู่มาก มีเด็กท่ีอ่านหนังสือไม่ออก อาจเน่ืองมาจาก การเปล่ียนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว และความนิยมการใช้เทคโนโลยีอย่างไม่มีขีดจำ�กัด ขาดการฝึกฝนทักษะอย่างต่อเนื่อง รวมท้ังปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นสำ�คัญ เช่น ปัญหา การวา่ งงานของคนจ�ำ นวนมาก ความยากจนของคนสว่ นใหญใ่ นพื้นท่ีชนบท ในถ่ินทรุ กนั ดาร หรือแม้พ้ืนท่ีใกล้กรุงเทพฯ บางแห่งก็ยังมีความลำ�เค็ญ ส่งผลกระทบถึงปัญหาโภชนาการ และจิตใจของเด็กและเยาวชน ท�ำ ให้ลดความสนใจอยากเรยี นรู้ ปัญหาการเมือง การก่อการรา้ ย ทำ�ให้เกิดความรุนแรงและความไม่ปลอดภัยของคนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นเหตุ ต้องปิดเรียนบ่อยครั้ง เมื่อเด็กไม่อาจเรียนได้ตามปกติ ครูและผู้ปกครองซ่อมเสริมไม่ได้ เทา่ ทค่ี วรเดก็ จ�ำ นวนมากในพนื้ ทน่ี จี้ งึ อา่ นหนงั สอื ไมอ่ อกเขยี นหนงั สอื ไมไ่ ด้เมอื่ เฉลยี่ ทวั่ ประเทศ แล้วส่งผลให้มีจำ�นวนเด็กอ่านเขียนต่ํากว่าเกณฑ์มาตรฐานสูงมาก สถาบันครอบครัว ในประเทศไทยปัจจุบัน การหย่าร้างมีอัตราสูง การอพยพย้ายถ่ินตามผู้ปกครองกระทบต่อ ความเป็นอยแู่ ละการเรียนของเดก็ ท�ำ ให้การศึกษาเล่าเรียนกลายเปน็ เรือ่ งห่างไกลตัวเด็ก 31 ภาษาไทย ภาษาชาติ

ภาคผนวก โครงการรกั ษภ์ าษาไทย เนือ่ งในวันภาษาไทยแหง่ ชาติ ปี ๒๕๕๙ ประเภท รางวลั ช่อื – สกลุ โรงเรียน/สพป./สพม. โรงเรียนเมอื งสมทุ รสงคราม คัดลายมอื ชนะเลิศ เดก็ หญิงนันทพร สะอุบล สพป. สมทุ รสงคราม ชั้นประถมศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลวงั สมบูรณ์ ปีท่ี ๑-๓ สพป. สระแกว้ เขต ๑ รางวัลที่ ๒ เด็กหญิงฤดพี ร รอ้ งจิก โรงเรียนบา้ นหนองกระทงุ ตากแดง สพป. สรุ นิ ทร์ เขต ๒ โรงเรียนประชาเกษตรพัฒนา รางวัลท่ี ๓ เดก็ หญิงหนึ่งฤทัย โลนชุ สพป. สระแกว้ เขต ๒ โรงเรียนบา้ นยาง สพป. ศรสี ะเกษ เขต ๒ คัดลายมอื ชนะเลิศ เดก็ หญงิ ธนวรรณ ฆ้องสะเทอื น โรงเรียนอนุบาลนางรอง ช้ันประถมศกึ ษา สพป. บรุ รี มั ย์ เขต ๓ ปีที่ ๔-๖ โรงเรียนนาหนองทุม่ วิทยา รางวัลที่ ๒ เดก็ หญงิ ชนมช์ นก ยางงาม สพม. เขต ๓๐ โรงเรียนบ้านมะโบ ่ สพป. มหาสารคาม เขต ๒ รางวัลที่ ๓ เดก็ หญงิ รตั นาวลี ผิวผอ่ ง โรงเรียนบ้านควนประกอบ สพป. พทั ลงุ เขต ๒ คดั ลายมอื ชนะเลศิ เดก็ หญงิ วรรณษา เกิดโมลี ชนั้ มธั ยมศกึ ษา ปีที่ ๑-๓ รางวลั ท่ี ๒ เด็กหญงิ อิศริยา สงั สวุ รรณ ์ รางวลั ท่ี ๓ เดก็ หญิงพิยดา โสบผอม ภาษาไทย ภาษาชาติ 32

ประเภท รางวลั ชอ่ื – สกุล โรงเรียน/สพป./สพม. โรงเรียนศรียานสุ รณ์ คดั ลายมอื ชนะเลิศ นางสาวชนดิ า ไทรม่วง สพม. เขต ๑๗ ชนั้ มธั ยมศึกษา โรงเรียนธนาคารออมสิน ปที ่ี ๔-๖ สพป. ประจวบครี ีขันธ์ เขต ๑ รางวัลท่ี ๒ นางสาวพชั ราภา ลมิ้ เจริญ โรงเรียนโกสมุ วทิ ยาสรรค์ สพม. เขต ๒๖ รางวลั ท่ี ๓ นางสาวณฐั ฐนิ ันท์ คุณแกว้ ประเภท รางวลั ชอื่ – สกลุ โรงเรียน/สพป./สพม. โรงเรียนอนบุ าลวานรนิวาส เขียนตามคำ�บอก ชนะเลศิ เดก็ หญงิ วิมลสริ ิ บณั ฑิต (ราษฎรบ์ �ำ รงุ ) ชน้ั ประถมศึกษา สพป. สกลนคร เขต ๓ ปีที่ ๑-๓ รางวลั ที่ ๒ เด็กหญงิ พัชรีพนั ธ์ุ เพ็งประโคน โรงเรียนอนบุ าลเชียงใหม่ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ รางวลั ที่ ๓ เดก็ หญิงภทั รนษิ ฐ์ พลพฒุ ินนั ท์ โรงเรียนอนบุ าลพุทไธสง (โอภาสประชานุกูล) สพป. บรุ รี ัมย์ เขต ๔ เขียนตามคำ�บอก ชนะเลิศ เดก็ ชายตณิ ณ์ อุสาพรหม โรงเรียนเมอื งเลย ช้ันประถมศึกษา สพป. เลย เขต ๑ ปีที่ ๔-๖ โรงเรียนบา้ นท่งุ กระโตน รางวลั ท่ี ๒ เดก็ หญิงณัฐนรี พรหมเกดิ สพป. ประจวบครี ีขนั ธ์ เขต ๑ โรงเรียนบา้ นท่าโสม สพป. อดุ รธานี เขต ๔ รางวัลท่ี ๓ เดก็ หญงิ พชิ ญานันท์ แสงแก้ว 33 ภาษาไทย ภาษาชาติ

ประเภท รางวัล ชอื่ – สกลุ โรงเรยี น/สพป./สพม. เขยี นตามค�ำ บอก ชนะเลิศ เด็กหญิงภานชุ ญา ดษิ ยตรยั โรงเรียนเพชรพทิ ยาคม ชั้นมัธยมศกึ ษา สพม. เขต ๔๐ ปีท่ี ๑-๓ รางวัลที่ ๒ เด็กหญิงเบญจพร วงษก์ ระสันต์ โรงเรียนนารีรัตน์จังหวดั แพร่ สพม. เขต ๓๗ รางวลั ท่ี ๓ เดก็ ชายชัยยทุ ธ์ ศรบี ญุ พมิ พส์ วย โรงเรียนอดุ รพทิ ยานุกลู สพม. เขต ๒๐ เขยี นตามค�ำ บอก ชนะเลิศ นายรชั พล มูลเพญ็ โรงเรียนเรณนู ครวทิ ยานุกลู ช้นั มธั ยมศึกษา สพม. เขต ๒๒ ปที ี่ ๔-๖ โรงเรียนขอนแกน่ วิทยายน รางวลั ที่ ๒ นางสาวคณินวศา เชียงอนิ ทร์ สพม. เขต ๒๕ โรงเรียนจฬุ าภรณราชวิทยาลัย ตรงั สพม. เขต ๑๓ รางวัลที่ ๓ นางสาวมทั นาวดี เอียดสีทอง ประเภท รางวัล ชอื่ – สกุล โรงเรยี น/สพป./สพม. อ่านเอาเรอื่ ง ชนะเลศิ เดก็ หญิงวภิ าวี จันทร์อดุ ม โรงเรียนอนบุ าลเชียงคำ� ชน้ั ประถมศกึ ษา (วดั พระธาตุสบแวน) ปีที่ ๑-๓ สพป. พะเยา เขต ๒ รางวลั ท่ี ๒ เด็กหญงิ ภูษณศิ า รงุ่ กจิ ธนารกั ษ์ โรงเรียนวัดโบสถ ์ สพป. สงิ หบ์ ุรี รางวัลที่ ๓ เด็กหญิงรมดิ า ลมิ ป์ไพบูลย์ โรงเรียนอนุบาลล�ำ ปาง สพป. ล�ำ ปาง เขต ๑ ภาษาไทย ภาษาชาติ 34

ประเภท รางวัล ชอ่ื – สกุล โรงเรยี น/สพป./สพม. โรงเรียนอนุบาลอ�ำ นาจเจริญ อา่ นเอาเรอื่ ง ชนะเลิศ เด็กหญงิ จนั ตจ์ ุฑา ปรปิ ุรณะ สพป. อำ�นาจเจริญ ชั้นประถมศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลลำ�ทบั ปีที่ ๔-๖ สพป. กระบ่ี รางวลั ท่ี ๒ เดก็ หญิงกนกรดา กฐนิ หอม โรงเรียนบ้านบอ่ แสง สพป. เชียงราย เขต ๔ โรงเรียนสตรที งุ่ สง รางวัลที่ ๓ เดก็ หญงิ โกมลชนก เมืองมูล สพม. เขต ๑๒ โรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี สพม. เขต ๓๙ อ่านเอาเร่ือง ชนะเลศิ เดก็ หญิงพมิ ลพรรณ แก้วสขุ โรงเรียนพรหมานุสรณ์ ชั้นมธั ยมศกึ ษา สพม. เขต ๑๐ ปที ี่ ๑-๓ โรงเรียนชลกนั ยานกุ ลู รางวลั ที่ ๒ เด็กหญิงไพลนิ ไตต่อผล สพม. เขต ๑๘ โรงเรียนสหราษฎรร์ งั สฤษดิ์ สพม. เขต ๒๒ รางวัลท่ี ๓ เด็กหญิงบุณยดา เลาหภกั ดี โรงเรียนสตรพี ัทลุง สพม. เขต ๑๒ อ่านเอาเรอื่ ง ชนะเลิศ นายจกั รี ปานสมยั ชั้นมัธยมศกึ ษา ปีท่ี ๔-๖ รางวลั ท่ี ๒ นางสาวชยมล ลปิ หู นอง รางวัลท่ี ๓ นางสาวอาภัสรา เข็มทอง 35 ภาษาไทย ภาษาชาติ

ประเภท รางวลั ชอื่ – สกลุ โรงเรียน/สพป./สพม. เขียนเรียงความ ชนะเลิศ ไมม่ ผี ู้ไดร้ บั รางวลั ชน้ั ประถมศึกษา ปที ่ี ๔-๖ รางวัลที่ ๒ เดก็ หญิงพนั ธติ า เอกนคิ ม โรงเรียนชุมชนบ้านหนองงาแซง สพป. อุทยั ธานี เขต ๒ โรงเรียนมลู นธิ ิวดั ศรอี บุ ลรตั นาราม รางวัลที่ ๓ เด็กหญิงบัณฑติ า ภานมุ นต์วาท ี สพป. อุบลราชธานี เขต ๑ เขยี นเรียงความ ชนะเลิศ เดก็ หญิงขวัญฤดี สเุ ดช โรงเรียนชุมชนบา้ นดอนตนั ชนั้ มธั ยมศกึ ษา สพป. น่าน เขต ๒ ปีที่ ๑-๓ โรงเรียนดงหวายดงขวาง รางวลั ท่ี ๒ เดก็ หญิงสุพตั รา พรมกลู สพป. อุดรธานี เขต ๔ โรงเรียนศรีสวสั ด์ิวิทยาคารจง้ หวัดนา่ น สพม. เขต ๓๗ รางวลั ที่ ๓ เดก็ ชายณฐั พล ทะลอื เขียนเรียงความ ชนะเลิศ นางสาวชตุ ิมา ปรชี าชาญพชิ ิต โรงเรียนหาดใหญ่วทิ ยาลยั ชั้นมธั ยมศกึ ษา สพม. เขต ๑๖ ปีท่ี ๔-๖ โรงเรียนสกลราชวิทยานุกลู รางวัลที่ ๒ นางสาวสุทติ า สิงห์สวสั ด์ิ สพม. เขต ๒๓ โรงเรียนโคกส�ำ โรงวิทยา สพม. เขต ๕ รางวลั ที่ ๓ นางสาวนชิ เอม มาเจรญิ ภาษาไทย ภาษาชาติ 36

ประเภท รางวลั ชือ่ – สกลุ โรงเรยี น/สพป./สพม. เขียนเรียงความ ชนะเลิศ นางสาวกนกพร วิงวอน โรงเรียนพิบลู วิทยาลัย ครูผ้สู อน สพม. เขต ๕ ภาษาไทย รางวลั ที่ ๒ นายประกอบ ตันมลู โรงเรียนเชิงชุมราษฎร์นุกูล สพป. สกลนคร เขต ๑ รางวัลที่ ๓ นางสาวศรพี ระจนั ทร์ สถาพรวนิ จิ งาม โรงเรียนวดั ศรีสำ�ราญราษฎรบ์ ำ�รุง สพป. สมุทรสาคร ประเภท รางวลั ช่อื – สกลุ โรงเรยี น/สพป./สพม. โรงเรียนอนุราชประสทิ ธ ิ์ แตง่ คำ�ประพันธ ์ ชนะเลิศ เดก็ หญงิ กาญจนา วงษ์ถนอม สพป. นนทบุรี เขต ๑ ชั้นประถมศึกษา โรงเรียนบา้ นเปา้ (ส�ำ ราญไชยวทิ ยา) ปีท่ี ๔-๖ รางวลั ที่ ๒ เดก็ ชายกอ้ งฟ้า ฦาฤทธิ ์ สพป. ชยั ภูมิ เขต ๒ โรงเรียนอนุบาลเพชรบรุ ี รางวัลท่ี ๓ เด็กหญิงอาภาภทั ร เดชศริ ิ สพป. เพชรบรุ ี เขต ๑ โรงเรียนปากเกร็ด สพม. เขต ๓ แตง่ คำ�ประพันธ ์ ชนะเลศิ เด็กชายกติ ตพิ ันธ์ บุบผานนท ์ โรงเรียนศรียานสุ รณ ์ ชน้ั มัธยมศึกษา สพม. เขต ๑๗ ปที ี่ ๑-๓ รางวลั ที่ ๒ เด็กหญิงธนพร ลม้ิ ภกั ดสี วสั ด ิ์ โรงเรียนศรทั ธาสมุทร สพม. เขต ๑๐ รางวลั ท่ี ๓ เดก็ หญิงพชั รพร ขันธะรัก โรงเรียนศรียานุสรณ์ สพม. เขต ๑๗ โรงเรียนบ่อกรวุ ิทยา แตง่ คำ�ประพันธ ์ ชนะเลศิ นางสาวชมนภสั ค้าผล สพม. เขต ๙ ช้นั มัธยมศึกษา โรงเรียนชลกันยานกุ ูล ปีท่ี ๔-๖ รางวัลที่ ๒ นางสาวธนชั พร กาฬภกั ด ๊ สพม. เขต ๑๘ รางวลั ที่ ๓ นางสาวกรกนก รุจเิ พิ่มพูน ภาษาไทย ภาษาชาติ 37

ผลการคดั เลอื กผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา ศกึ ษานิเทศกภ์ าษาไทย ท่ีด�ำ เนนิ การสง่ เสรมิ และพัฒนา การเรยี นการสอนภาษาไทยประสบผลสำ�เรจ็ ประเภท รางวลั ชือ่ – สกุล สพป./สพม. ผอู้ �ำ นวยการ ยอดเย่ยี ม นายไสว สารบี ท สพป. สระแกว้ เขต ๑ สพป./สพม. สพป. อุดรธานี เขต ๔ ดี นายเกิดมี สอนเมือง สพป. สกลนคร เขต ๓ ชมเชย นายจุฬา ชิณวงศ์ สพป. ชยั ภูมิ เขต ๑ สพป. หนองบวั ล�ำ ภู เขต ๑ นายธนชน มทุ าพร สพป. อดุ รธานี เขต ๔ สพป. ชยั ภูมิ เขต ๑ นางละออตา พงษฤ์ ทัศน์ สพป. สระแก้ว เขต ๑ สพม. เขต ๓๕ ศึกษานิเทศก ์ ยอดเย่ียม นางเกษมณี ประเสริฐ สพป. เพชรบุรี เขต ๒ รบั ผิดชอบ ดเี ด่น นางประภสั สร สิตวงษ ์ สพป. นา่ น เขต ๒ กลุม่ สาระ นางประไพ ฉายอรณุ สพม. เขต ๒๘ การเรยี นร้ ู ด ี นางศรจี นั ทรรัตน์ กนั ทะวัง สพม. เขต ๑๓ ภาษาไทย นางสริ มิ ณี โอฬารวตั นางสภุ าพ รัตนประภา ชมเชย นางยพุ ิน กองรักษา นางสมคดิ ศรีแก้ว ภาษาไทย ภาษาชาติ 38

โรงเรียนทดี่ �ำ เนินการสง่ เสรมิ และพฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทย ประสบผลสำ�เร็จ ประเภท รางวัล ชอื่ – สกลุ สพป./สพม. โรงเรียน ประถมศกึ ษา ยอดเยยี่ ม โรงเรียนอนุบาลด่านชา้ ง สพป. สุพรรณบรุ ี เขต ๓ ดีเด่น โรงเรียนวัดดอนคา สพป. นครสวรรค์ เขต ๓ โรงเรียนบางสะพาน สพป. ประจวบคีรีขนั ธ์ เขต ๑ ด ี โรงเรียนบ้านควนพลี สพป. พทั ลุง เขต ๑ โรงเรียนบ้านสะเดา (สามคั ควี ทิ ยา) สพป. บุรรี มั ย์ เขต ๓ โรงเรียนบ้านสันโค้งเชียงราย สพป. เชียงราย เขต ๑ (จรญู ราษฎร์) โรงเรียน ม ัธยมศกึ ษา ชมเชย โรงเรียนบา้ นโคกสะอาด สพป. สระบรุ ี เขต ๒ โรงเรียนบา้ นเนินดินแดง สพป. สระแกว้ เขต ๑ โรงเรียนวดั บุญญราศร ี สพป. ชลบุรี เขต ๑ ยอดเย่ยี ม โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สพม. เขต ๙ ดเี ดน่ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี สพม. เขต ๘ โรงเรียนสริ ธิ ร จงั หวัดสุรินทร ์ สพม. เขต ๓๓ ดี โรงเรียนพรตพิทยพยัต สพม. เขต ๒ โรงเรียนสอาดเผดิมวทิ ยา สพม. เขต ๑๑ โรงเรียนสตรนี ครสวรรค ์ สพม. เขต ๔๒ ชมเชย โรงเรียนสุโขทยั วิทยาคม สพม. เขต ๓๘ โรงเรียนพบิ ลู วทิ ยาลัย สพม. เขต ๕ โรงเรียนหนองคูวิทยา สพม. เขต ๒๘ 39 ภาษาไทย ภาษาชาติ

ส�ำ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา ทีม่ ผี ลการประเมินคณุ ภาพ การศึกษาขนั้ พื้นฐาน (NT) ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย (ดา้ นภาษา) มคี ะแนนเฉล่ียสูงกว่าระดบั ประเทศ ๑๐ อนั ดบั แรก ๑ สพป. อุดรธานี เขต ๒ ๖ สพป. สงขลา เขต ๒ ๒ สพป. กรุงเทพมหานคร ๗ สพป. ระยอง เขต ๒ ๓ สพป. ร้อยเอด็ เขต ๒ ๘ สพป. พัทลุง เขต ๒ ๔ สพป. สพุ รรณบรุ ี เขต ๑ ๙ สพป. พัทลุง เขต ๑ ๕ สพป. จนั ทบุรี เขต ๑ ๑๐ สพป. เพชรบุรี เขต ๑ สำ�นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา ทีม่ ีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติ (O-NET) ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย มคี ะแนนเฉล่ียสงู กว่าระดบั ประเทศ ๑๐ อันดบั แรก ๑ สพป. พัทลงุ เขต ๑ ๖ สพป. เพชรบรุ ี เขต ๑ ๒ สพป. กรงุ เทพมหานคร ๗ สพป. ชุมพร เขต ๑ ๓ สพป. แพร่ เขต ๑ ๘ สพป. นครศรธี รรมราช เขต ๑ ๔ สพป. พทั ลงุ เขต ๒ ๙ สพป. อุดรธานี เขต ๒ ๕ สพป. จนั ทบรุ ี เขต ๑ ๑๐ สพป. พะเยา เขต ๑ ภาษาไทย ภาษาชาติ 40

สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาทีม่ ีผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (O-NET) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย มคี ะแนนเฉลยี่ สูงกว่าระดับประเทศ ๑๐ อนั ดับแรก ๑ สพป. เชียงใหม่ เขต ๒ ๖ สพป. พะเยา เขต ๑ ๒ สพม. เขต ๒ ๗ สพม. เขต ๑๔ ๓ สพม. เขต ๓๗ ๘ สพม. เขต ๓๖ ๔ สพป. สพม. เขต ๑ ๙ สพป. แพร่ เขต ๒ ๕ สพม. เขต ๓๕ ๑๐ สพม. เขต ๑๖ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาทม่ี ีผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉลยี่ สูงกว่าระดับประเทศ ๑๐ อันดับแรก ๑ สพม. เขต ๑ ๖ สพป. นนทบรุ ี เขต ๑ ๒ สพม. เขต ๒ ๗ สพม. เขต ๑๘ ๓ สพป. เชยี งราย เขต ๓ ๘ สพป. สมุทรสาคร ๔ สพม. เขต ๑๖ ๙ สพม. เขต ๓๗ ๕ สพม. เขต ๑๔ ๑๐ สพป. อุดรธานี เขต ๑ 41 ภาษาไทย ภาษาชาติ

ส�ำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาท่ีมผี ลการประเมินการอ่านการเขียน นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ มคี า่ เฉล่ียสูง ๑๐ อนั ดบั แรก ๑ สพป. เพชรบรู ณ์ เขต ๑ ๖ สพป. พิจติ ร เขต ๒ ๒ สพป. ชมุ พร เขต ๑ ๗ สพป. มหาสารคาม เขต ๓ ๓ สพป. กรุงเทพมหานคร ๘ สพป. มหาสารคาม เขต ๑ ๔ สพป. สงิ หบ์ ุร ี ๙ สพป. หนองบัวล�ำ ภู เขต ๑ ๕ สพป. กาฬสนิ ธ์ุ เขต ๒ ๑๐ สพป. ตาก เขต ๑ ภาษาไทย ภาษาชาติ 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook