Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่7 หลีกเลี่ยงอันตรายภาคเรียนที่ 2

เล่มที่7 หลีกเลี่ยงอันตรายภาคเรียนที่ 2

Published by สายัณห์ นิชารัมย์, 2021-05-21 04:17:26

Description: เล่มที่7 หลีกเลี่ยงอันตรายภาคเรียนที่ 2

Search

Read the Text Version

กล่มุ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 จดั ทาํ โดย นางสาวนัยนา ศิริมูล ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ โรงเรยี นปากช่อง ๒ สํานกั การศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดนครราชสมี า กระทรวงมหาดไทย

คํานาํ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือเชิงสร้างสรรค์ ชุด ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ชุดที่ 6 ลดความเสี่ยง จัดทําข้ึนเพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีเน้นนักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูเป็นผู้แนะนําเพ่ือให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ สาระท่ี 5 ความปลอดภัยในชีวิต มุ่งเสริมพัฒนาความคิด เสริมสร้างสมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน แล้วสามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้ ดังน้ัน ครูผู้สอนเห็นความสําคัญการเรียนรู้ สาระท่ี 5 ความปลอดภัยในชีวิตจึงนํามา จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ให้แก่นักเรยี น หวังว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนและผู้ท่ีสนใจ ได้เป็นอยา่ งดยี งิ่ นยั นา ศิรมิ ลู

สารบัญ หนา้ คํานํา 1 สารบญั 3 คําแนะนํา 4 บทบาทของครผู ้สู อน 5 บทบาทของนกั เรียน 5 สาระและมาตรฐาน 5 ตัวช้วี ัด 5 สาระสาํ คัญ 6 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 8 เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือ 11 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 12 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 13 ชนั้ ท่ี 1 ช้แี จงเตรยี มบทเรียน 27 ข้ันท่ี 2 นําสอนเนือ้ หา 32 ข้นั ที่ 3 จัดกิจกรรมฝึกฝนเรียนรู้สู่ทมี 39 ข้ันที่ 4 นําไปใชแ้ ละตรวจสอบ 41 ขนั้ ที่ 5 สรุปบทเรียนและประเมินผลการทาํ งานกลุ่ม 44 แบบทดสอบหลังเรียน 45 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น 46 ตารางบันทกึ คะแนน บรรณานกุ รม

1 คําแนะนํา การใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมอื เชงิ สรา้ งสรรค์ เรื่อง ใส่ใจสุขภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชดุ น้ีเปน็ ชุดท่ี 7 หลกี เลี่ยงอนั ตราย สรา้ งข้ึนเพ่ือนําไปเป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ กระบวนการกลุ่ม ให้นักเรียนได้ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่ม ยึดหลักการทํางาน รว่ มกนั ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ชดุ การสอนนี้ครูเป็นผู้แนะนํานักเรียน ฉะนั้นครูจะต้อง ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนอย่างเคร่งครัด จึงจะทําให้การเรียนการสอนเกิด ประสิทธิภาพ สงู สดุ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ มที งั้ หมด 7 ชดุ ดังน้ี ชุดท่ี 1 การเลือกใชบ้ รกิ ารทางสุขภาพ ชุดท่ี 2 เทคโนโลยีท่มี ีผลต่อสขุ ภาพ ชดุ ท่ี 3 สุขภาพกายและสุขภาพจิต ชุดที่ 4 การจดั การกับความเครียด ชดุ ที่ 5 ห่างไกลยาเสพติด ชดุ ท่ี 6 ลดความเสี่ยง ชุดท่ี 7 หลกี เลี่ยงอันตราย ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้แต่ละชุด ประกอบด้วย 1. คําชแี้ จง 2. บทบาทครูผู้สอน 3. บทบาทนกั เรียน 4. ขน้ั ตอนการจดั กจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือเชงิ สร้างสรรค์ 5. สาระ / มาตรฐาน / ตวั ชวี้ ัด 6. สาระสําคัญ 7. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 8. แบบทดสอบกอ่ นเรียน จาํ นวน 10 ขอ้ 9. บตั รเนื้อหา

2 10. บตั รกิจกรรม 11. เฉลยบตั รกจิ กรรม 12. แบบทดสอบหลงั เรยี น จาํ นวน 10 ขอ้ 13. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 14. เกณฑก์ ารประเมินผล / แบบบนั ทึกผลการประเมนิ ผล

3 บทบาทของครูผสู้ อน การใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนร้โู ดยใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมอื เชงิ สรา้ งสรรค์ ชดุ ที่ 7 หลีกเล่ียงอันตราย 1. ครศู ึกษาวธิ ีใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนร้ตู ลอดจนการจัดการ เรยี นรโู้ ดยใช้เทคนิคการเรียนแบบรว่ มมอื เชงิ สร้างสรรค์ 2. ค้นคว้าและอา่ นเนอ้ื หาทเ่ี กี่ยวขอ้ งเพมิ่ เติม 3. เตรียมการสอนล่วงหน้า เตรยี มสถานที่ ส่ือการสอนตา่ ง ๆ ตลอดจนวสั ดอุ ุปกรณ์ อ่ืน ๆ 4. การจัดห้องเรียนควรแบ่งนกั เรียนออกเป็นกลมุ่ จํานวน 6 กลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆ กัน จดั วางส่อื การสอนตามแผนผังการจัดชั้นเรียน (อาจเปลีย่ นแปลงได)้ 5. ครจู ดั เตรียมชดุ กิจกรรมการเรียนร้โู ดยใชก้ ระบวนการกลุ่มเทคนิคเชิงสร้างสรรค์ ให้ครบถว้ น 6. แนะนําวิธีการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนคิ การเรียนแบบร่วมมือเชิง สรา้ งสรรค์เพื่อใหน้ ักเรียนปฏิบัติได้ถูกตอ้ ง 7. ดาํ เนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่กําหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ตามข้ันตอนการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการเรยี นแบบรว่ มมือเชงิ สร้างสรรค์โดยมี 5 ขนั้ ตอน ดังนี้ ข้ันท่ี 1 ชี้แจงเตรียมบทเรียน ข้นั ที่ 2 นําสอนเน้ือหา ขน้ั ที่ 3 จดั กจิ กรรมฝกึ ฝนเรียนรูส้ ู่ทีม ขนั้ ท่ี 4 นําไปใชแ้ ละตรวจสอบผลงาน ขนั้ ท่ี 5 สรปุ บทเรียนและประเมนิ ผลการทาํ งานกลุ่ม 8. หากนกั เรียนบางกลมุ่ หรือบางคนเรยี นไม่ทนั ครูควรให้คําแนะนําเพม่ิ เติมให้เกดิ ความ เขา้ ใจ และใหท้ นั กบั เวลาทก่ี าํ หนด 9. ประเมินผลการเรยี นของนกั เรียนหลังใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือการพฒั นาและ ความก้าวหน้าของ ผเู้ รียน 10. ดูแล สอ่ื และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่มีอยู่ในชดุ การสอนให้เรยี บรอ้ ยก่อนและหลงั การใช้ ทกุ คร้งั

4 บทบาทของนักเรียน การใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใช้เทคนคิ การเรียนแบบร่วมมอื เชงิ สร้างสรรค์ ชดุ ที่ 7 หลีกเล่ยี งอนั ตราย 1. นักเรียนแบง่ กลุ่ม โดยคละความสามารถของนกั เรียน เก่ง ปานกลาง และอ่อน ออกเปน็ กลมุ่ เลอื กหวั หน้ากลุม่ เลขานุการ และตงั้ ชื่อกล่มุ 2. ในการปฏิบัตกิ ิจกรรมให้เปน็ ไปตามขนั้ ตอนอยา่ งเคร่งครัด 3. นักเรยี นศกึ ษาชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ และทาํ กจิ กรรมไปตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู้ โดยใช้เทคนคิ การเรียนแบบร่วมมือเชิงสรา้ งสรรค์ โดยมี 5 ขั้นตอน ดงั นี้ ข้ันที่ 1 ชแี้ จงเตรียมบทเรียน ขนั้ ที่ 2 นําสอนเนื้อหา ขั้นที่ 3 จัดกจิ กรรมฝกึ ฝนเรยี นรู้สู่ทีม ขั้นท่ี 4 นําไปใช้และตรวจสอบผลงาน ข้ันท่ี 5 สรปุ บทเรียนและประเมนิ ผลการทาํ งานกลุ่ม 3. นักเรียนพยายามทําให้เสร็จตามกําหนดเวลา อ่านคําช้ีแจงแต่ละกิจกรรม และ ปฏิบัติตามคําสั่งทีละขั้นตอน คือ ทดสอบความรู้ก่อนเรียน ทํากิจกรรม ตรวจคําตอบจากเฉลย ทบทวนความรู้ และทําขอ้ สอบหลังเรียน 4. คําถามจากบทเรียน ไมใ่ ช่ขอ้ สอบ แตเ่ ปน็ ส่วนหน่งึ ของการเรียนรู้ หากมี ข้อสงสัยในการใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ให้ถามครูผู้สอนได้ทนั ที 5. การศึกษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้เลม่ นี้ จะไมบ่ รรลุผลสําเร็จ ถ้านกั เรียนขาด ความซอ่ื สัตย์ในการปฏบิ ัติกิจกรรม 6. ใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิกจิ กรรม และห้ามขดี เขยี นข้อความใด ๆ ลงใน ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้เล่มน้ี

5 สาระท่ี 5 ความปลอดภยั ในชีวิต มาตรฐาน พ 5.1 ปอ้ งกันและหลกี เลยี่ งปัจจัยเส่ยี ง พฤตกิ รรมเส่ียงตอ่ สขุ ภาพ อุบัตเิ หตุ การใช้ยา สารเสพตดิ และความรนุ แรง ตัวช้วี ัด 3. ใชท้ ักษะชวี ิตในการป้องกันตนเองและหลีกเลีย่ งสถานการณ์ทคี่ บั ขนั ที่อาจนําไปสู่ อนั ตราย สาระสําคญั ทักษะชวี ติ ในการป้องกันภัยอันตรายและสถานการณ์ทีค่ บั ขันเป็นความสามารถในการ ตดั สนิ ใจในการ แกไ้ ขและการปรบั ตัวเพือ่ ป้องกนั อนั ตรายที่เกดิ จากสถานการณ์ทีบ่ คุ คลกําลัง เผชญิ กับอุบตั เิ หตหุ รอื ปญั หาตา่ ง ๆ ซึ่งต้องได้รับการช่วยเหลอื อย่างเร่งดว่ น เพื่อใหร้ ะดับความ รนุ แรงลดลงหรอื ไมก่ ่อใหเ้ กิดผลกระทบทั้งต่อชวี ติ และทรัพย์สนิ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของคําทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ทกั ษะชวี ิตในการปอ้ งกนั ภัยอันตรายและ สถานการณ์ที่คับขันอยา่ งถกู ตอ้ งได้ 2. อธิบายและระบุแนวทางในการใช้ทกั ษะชีวติ เพ่ือแกไ้ ขปัญหาและผลกระทบที่เกิดจาก ภัยอันตรายและสถานการณท์ ี่คบั ขนั อย่างถกู ต้องได้ 3. แสดงทกั ษะชีวติ ในการป้องกันภัยอันตรายและสถานการณ์ทีค่ บั ขนั อย่างถูกต้องได้

6 เทคนิคการเรียนแบบรว่ มมอื การจัดการเรยี นร้แู บบรว่ มมือ หมายถึง การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้สําหรับผเู้ รียนตั้งแต่ สองคนข้ึนไปหรือโดยการแบง่ ผู้เรยี นออกเป็นกลุ่มย่อยๆ สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนทํากิจกรรมรว่ มกนั โดยในกลมุ่ ประกอบดว้ ยสมาชิกทมี่ คี วามสามารถแตกตา่ งกนั มีการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ มี การช่วยเหลือพ่ึงพากัน มีความรบั ผดิ ชอบร่วมกัน ท้ังในส่วนตนและส่วนรวม เพอื่ ให้ตนเองและ สมาชิกทกุ คนในกลุ่มประสบความสาํ เรจ็ ตามเปา้ หมายทก่ี ําหนด ซง่ึ ตรงขา้ มกบั การเรียนท่ีเน้น การแข่งขนั และการเรยี นตามลําพงั สาํ หรับการจดั การเรียนการสอนสขุ ศกึ ษา ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ผสู้ อนได้บูรณาการ วิธกี ารจัดการเรยี นร้แู บบร่วมมอื ทง้ั 6 วิธมี าเปน็ เทคนิคการเรียนแบบร่วมมอื เชิงสร้างสรรค์ เทคนิคการเรียนแบบรว่ มมือเชิงสร้างสรรค์ ขั้นที่ 1 ช้ีแจงเตรยี มบทเรียน 1. ให้นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 3 – 4 คน โดยคละความสามารถเก่ง ปานกลางและออ่ น 2. ครูแจกสื่อการเรียนใหค้ รบทุกกล่มุ 3. ครนู ําเขา้ สู่บทเรียนเพอ่ื กระตนุ้ ความสนใจใหก้ บั นกั เรยี น โดยมีการใช้ส่ือเช่น เกม เพลง กจิ กรรมอ่นื ๆ ขั้นที่ 2 นาํ สอนเนือ้ หา 1. ครทู บทวนเน้ือหาท่ีเรยี นมา 2. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาเนอื้ หาของบทเรยี น และครอู ธิบายเพิม่ เติมและเสริมความรู้ ข้นั ที่ 3 จัดกจิ กรรมฝึกฝนเรียนรู้สูท่ มี 1. ให้นักเรียนทาํ ใบงานหรอื กิจกรรม นําคําตอบของแต่ละคน ในกลมุ่ มารวมเปน็ คําตอบที่ สมบูรณ์

7 ขัน้ ที่ 4 นําไปใช้และตรวจสอบผลงาน 1. นักเรียนศกึ ษาความรเู้ พ่มิ เตมิ เพือ่ ขยายความรูแ้ ละนาํ ความรู้ทไ่ี ด้ไปปรบั ใช้ใน ชวี ติ ประจาํ วัน 2. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันอภปิ รายการทาํ กจิ กรรมท่ีได้จนเป็นที่เข้าใจของทกุ คนในกล่มุ 3. นกั เรยี นตรวจสอบผลงาน ขน้ั ท่ี 5 สรปุ บทเรียนและประเมินผลการทํางานกลมุ่ 1. ให้นักเรยี นสรปุ บทเรียนท่ีเรยี นมา 2. ใหแ้ ต่ละกลมุ่ รายงานผลการสรปุ เนอ้ื หาชองบทเรยี น และการทํากิจกรรม โดยให้คาํ ชมเชยและรางวัลแก่กลุม่ ท่ถี ูกต้องทส่ี ดุ

8 แบบทดสอบก่อนเรยี น กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา สาระท่ี 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค เรอื่ ง หลกี เลี่ยงอนั ตราย เวลา 10 นาที ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 คําชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนกาเคร่ืองหมาย x ทบั ตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความท่ถี กู ตอ้ งเพียงขอ้ เดยี ว (10 คะแนน) 1. ถ้าเห็นคนร้ายเขา้ มาในบ้านพร้อมอาวุธครบมือ นักเรยี นจะปฏิบตั ิตามขอ้ ใด ก. หลบในทที่ ่ีปลอดภัย ข. ตะโกนร้องขอความช่วยเหลอื ค. ต่อสกู้ บั คนรา้ ย ง. เจรจาต่อรองกบั คนรา้ ย 2. ข้อใดสําคัญท่สี ดุ เมื่อตกอยู่ในสถานการณค์ ับขนั ก. ความสามารถเฉพาะตัว ข. การหนีเอาตัวรอด ค. สติสมั ปชัญญะ ง. วิชาความรู้ 3. ข้อใดเปน็ วธิ กี ารปอ้ งกนั การทะเลาะววิ าท ก. ใชอ้ าวุธข่มขู่ ข. แสดงให้เห็นวา่ เราไม่กลวั ค. เรียกเพื่อนมาชว่ ย ง. ใช้คําพดู สภุ าพ

9 4. ขอ้ ใดเป็นวิธปี อ้ งกันปญั หาการทะเลาะววิ าทกันระหวา่ งสถาบัน ก. แสวงหาจุดเดน่ ทีถ่ ูกตอ้ ง ข. อดทนอดกลั้นต่อการถกู ยั่วยุ ค. ไม่ไปรว่ มทํากิจกรรมนอกโรงเรียน ง. สะสมอาวุธไวเ้ พือ่ ปอ้ งกันตนเอง 5. ข้อใดไมใ่ ช่ขัน้ ตอนการปฏเิ สธ ก. การขอปฏเิ สธ ข. ใชค้ วามรสู้ กึ ประกอบเหตผุ ล ค. ใช้อารมณ์ในการตดั สินใจ ง. การต่อรองขอความเหน็ ชอบ 6. ขอ้ ใดเป็นคําพดู ในการปฏิเสธท่ดี ีท่ีสดุ ก. “วันนฉี้ ันไมว่ ่าง ไว้วันหนา้ นะ” ข. “ขอทําการบ้านก่อน เสรจ็ แลว้ จะตามไป” ค. “อยากไปนะ แตข่ อชวนเพือ่ นไปด้วยนะ” ง. “ขอไม่ไปนะ พ่อกําลังจะมารบั กลับบ้าน” 7. ข้อใดเป็นทกั ษะชวี ติ ในการหลีกเล่ียงสถานการณ์ทค่ี ับขัน ก. คบเพื่อนตา่ งเพศ ข. รูจ้ กั เอาตวั รอด ค. รู้จกั ขอความช่วยเหลือ ง. การปฏเิ สธและตอ่ รอง

10 8. เมอ่ื ต้องอยู่ในสถานท่ีแออัด ผ้คู นเบยี ดเสียดกนั เป็นจํานวนมาก นักเรียนควรปฏิบตั ิตน อย่างไร เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยตอ่ ชวี ติ ของนกั เรียน ก. ผลกั หรือดนั ผู้อน่ื ข. จดจําเสน้ ทางเข้าออก ค. ต่ืนตระหนกเมอื่ เกดิ เหตุการณ์ทไ่ี ม่คาดคิดข้ึน ง. ตะโกนหรือกรดี รอ้ งเมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณ์ที่ไม่คาดคดิ ขึ้น 9. บุคคลทมี่ ีทกั ษะชีวิตท่ดี ีจะควรเป็นอยา่ งไร ก. เปน็ คนดี ข. เปน็ คนเก่ง ค. เป็นคนท่มี ีคนรักมาก ง. เป็นคนท่ีอยู่ในสังคมอย่างมคี วามสขุ 10. ทักษะการปฏิเสธในข้อใดมีความสําคญั ในการหลกี เลี่ยงสถานการณ์เส่ยี งมากทส่ี ุด ก. ปฏิเสธทจ่ี ะใช้สารเสพติด ข. ปฏเิ สธที่จะใชอ้ นิ เทอร์เน็ต ค. ปฏเิ สธที่จะไปมัว่ สุมเล่นการพนัน ง. ปฏเิ สธทจี่ ะแขง่ ขันรถจกั รยานยนต์

11 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น เรื่อง หลีกเลย่ี งอันตราย 1. ก 2. ค 3. ง 4. ข 5. ค 6. ง 7. ง 8. ข 9. ง 10. ก

12 ขนÊั ทÉี ř ชÊีแจงเตรยี มบทเรยี น นกั เรียนดภู าพและแสดงความคิดเหน็ การใชท้ กั ษะปอ้ งกนั ตนเองจาก สถานการณค์ บั ขันมอี ะไรบ้าง





15 บัตรเน้อื หา ทักษะการป้องกนั ตนเองและหลกี เล่ียงสถานการณ์คบั ขนั ความหมายของทกั ษะชีวติ คําว่า ทักษะ (Skill) หมายถึง ความชัดเจน และความชํานิชํานาญในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง ซ่งึ บคุ คลสามารถสรา้ งขนึ้ ไดจ้ ากการเรียนรู้ ได้แก่ ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทํางานร่วมกับ ผู้อื่น การอ่าน การสอน การจัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร์ ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใช้ เทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเป็นทักษะภายนอกท่ีสามารถมองเห็นได้ชัดเจน จากการกระทํา หรือจาก การปฏิบัติ ซ่ึงทักษะดังกล่าว นั้นเป็นทักษะท่ีจําเป็นต่อการดํารงชีวิตที่จะทําให้ผู้มีทักษะ เหล่าน้ัน มีชีวิตท่ีดี สามารถดํารงชีพอยู่ในสังคมได้ โดยมีโอกาสท่ีดีกว่าผู้ไม่มีทักษะดังกล่าว ซึ่ง ทักษะประเภทน้ีเรียกว่า Livelihood skill หรือ Skill for living ซึ่งเป็น คนละอย่างกับทักษะ ชวี ิต ที่เรียกว่า Life skill ดังนั้น ทักษะชีวิตหรือ Life skill จึงหมายถึง คุณลักษณะ หรือความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา (Phychosoclal competence) ที่เป็นทักษะภายในท่ีจะช่วยให้บุคคลสามารถเผชิญ สถานการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจําวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสําหรับ การปรับตัวในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการดูแลสุขภาพ เอดส์ ยาเสพติด ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม คุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพ่ือให้สามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข หรือ จะกล่าวง่ายๆ ทักษะชีวิต ก็คือ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ต้องเผชิญในชีวิตประจําวัน เพอ่ื ให้อยู่รอดปลอดภัย และสามารถอยูร่ ว่ มกับผอู้ ่นื ได้อยา่ งมคี วามสุข

16 องค์ประกอบของทกั ษะชีวติ องค์ประกอบของทักษะชีวิตจะมคี วามแตกตา่ งกันตามวฒั นธรรมและสถานทีแ่ ตท่ ักษะ ชีวติ ทจี่ ําเปน็ ทีส่ ดุ ที่ทุกคนควรมี ซึง่ องค์การอนามัยโลกได้สรปุ ไว้ และถอื เปน็ หัวใจสาํ คัญใน การดาํ รงชวี ิต ดงั น้ี ทักษะการตดั สินใจ ทกั ษะการเขา้ ใจผอู้ ื่น ทักษะการตระหนกั รู้ในตน ทักษะการจัดการกับความเครียด ทักษะการคดิ สรา้ งสรรค์ องค์ประกอบของทักษะชวี ิต ทกั ษะการแกป้ ญั หา ทักษะการคดิ อย่างวิจารณญาณ ทกั ษะการจดั การกบั อารมณ์ ทักษะการสรา้ งสมั พันธภาพระหวา่ งบุคคล ทักษะการสอ่ื สารอย่างมีประสิทธภิ าพ 1. ทกั ษะการตัดสินใจ (Decision making) เป็นความสามารถในการตดั สินใจเก่ียวกับ เรอื่ งราวตา่ งๆ ในชวี ิตได้อยา่ งมรี ะบบ เช่น ถา้ บุคคลสามารถตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั การกระทําของ ตนเองทีเ่ ก่ียวกบั พฤตกิ รรมดา้ นสขุ ภาพ หรอื ความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือกและ ผลท่ีได้จากการตัดสินใจเลือกทางทีถ่ กู ตอ้ งเหมาะสม ก็จะมีผลตอ่ การมีสุขภาพท่ีดีทั้งรา่ งกาย และจติ ใจ 2. ทักษะการแก้ปัญหา (Problem Solving) เป็นความสามารถในการจดั การกับปญั หา ทีเ่ กิดขน้ึ ในชีวิตได้อย่างมีระบบ ไมเ่ กิดความเครียดทางกายและจิตใจ จนอาจลุกลามเปน็ ปัญหา ใหญโ่ ตเกินแก้ไข 3. ทักษะการคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative thinking) เป็นความสามารถในการคิดที่จะเป็น ส่วนช่วยในการตดั สนิ ใจและแกไ้ ข ปญั หาโดยการคดิ สรา้ งสรรค์ เพ่อื ค้นหาทางเลอื กต่าง ๆ รวมทง้ั ผลทจ่ี ะเกดิ ขึ้นในแต่ละทางเลือก และสามารถนาํ ประสบการณ์มาปรับใชใ้ น ชวี ิตประจําวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

17 4. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ข้อมลู ตา่ ง ๆ และประเมนิ ปัญหา หรอื สถานการณ์ท่ีอยรู่ อบตัวเราท่มี ีผลต่อการดําเนนิ ชวี ิต 5. ทกั ษะการสอ่ื สารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เป็น ความสามารถในการใช้คําพูดและทา่ ทางเพ่ือแสดงออกถงึ ความรูส้ ึกนกึ คิดของตนเองได้อยา่ ง เหมาะสมกับวัฒนธรรม และสถานการณต์ า่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการแสดงความคิดเห็น การแสดง ความตอ้ งการ การแสดงความช่ืนชม การขอร้อง การเจรจาตอ่ รอง การตกั เตือน การช่วยเหลอื การปฏเิ สธ ฯลฯ 6. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relationship) เป็น ความสามารถในการสร้างความสมั พนั ธ์ท่ีดรี ะหวา่ งกันและกัน และสามารถรกั ษาสัมพันธภาพไว้ ไดย้ นื ยาว 7. ทักษะการตระหนักรู้ในตน (Self awareness) เป็นความสามารถในการค้นหารู้จัก และเข้าใจตนเอง เช่น รู้ข้อดี ข้อเสียของตนเอง รู้ความต้องการ และส่ิงท่ีไม่ต้องการของตนเอง ซึ่งจะช่วยให้เรารู้ตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียดหรือสถานการณ์ ต่าง ๆ และทักษะน้ียังเป็น พ้ืนฐานของการพัฒนาทักษะอ่ืน ๆ เช่น การสื่อสาร การสร้างสัมพันธภาพ การตัดสินใจ ความเห็นอกเหน็ ใจผู้อ่ืน 8. ทักษะการเข้าใจผู้อ่ืน (Empathy) เป็นความสามารถในการเข้าใจความเหมือนหรือ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ในด้านความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ช่วยให้สามารถยอมรับบุคคลอื่นที่ต่างจากเรา เกิดการช่วยเหลือบุคคลอ่ืนที่ ดอ้ ยกว่าหรอื ได้รับความเดอื ดร้อน เช่น ผู้ติดยาเสพตดิ ผ้ตู ดิ เช้ือเอดส์ 9. ทักษะการจัดการกับอารมณ์ (Coping with emotion) เป็นความสามารถในการ รับรอู้ ารมณข์ องตนเองและผูอ้ ืน่ รู้วา่ อารมณม์ ผี ลตอ่ การแสดงพฤติกรรมอย่างไร รู้วิธีการจัดการ กับอารมณ์โกรธ และความเศรา้ โศก ทส่ี ่งผลทางลบต่อรา่ งกาย และจิตใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 10. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with stress) เป็นความสามารถในการ รับรู้ถึงสาเหตุของความเครียด รู้วิธีผ่อนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับ ความเครียด เพ่ือให้เกิดการเบ่ียงเบนพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกต้องเหมาะสมและไม่เกิดปัญหา ด้านสขุ ภาพ

18 กลวธิ ีในการสร้างทักษะชวี ติ จากองค์ประกอบของทักษะชีวิต 10 ประการ เม่ือจะนําไปจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะ ชวี ิตให้กบั กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ส่วน ดังนี้ 1. ทักษะชวี ติ ทัว่ ไป คอื ความสามารถพืน้ ฐานทใี่ ชเ้ ผชญิ ปญั หาปกตใิ นชีวิตประจําวันเช่น ความเครยี ด สขุ ภาพ การคบเพือ่ น การปรับตัว ครอบครวั แตกแยก การบริโภคอาหาร ฯลฯ 2. ทักษะชีวิตเฉพาะ คือ ความสามารถที่จําเป็นในการเผชิญปัญหาเฉพาะ เช่น ยาเสพ ตดิ โรคเอดส์ ไฟไหม้ น้ําท่วม การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ฯลฯ เน้ือหาทเี่ ปน็ จุดเนน้ ในการพัฒนาทกั ษะชีวิต จากองค์ประกอบของทักษะชีวิต 10 ประการ กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้กําหนด เนอื้ หาทเ่ี ปน็ จดุ เน้นในการพัฒนาทกั ษะชีวติ 4 ดา้ น โดยมีจุดม่งุ หมายเพอ่ื การสง่ เสรมิ การป้องกันและการแก้ไขที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการขอ งกลุ่มเป้าหมายใน แต่ละพ้ืนที่ ดงั นี้ 1. ด้านสขุ ภาพอนามัย มีจุดมงุ่ หมายเพื่อส่งเสริมให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจและตระหนักใน การดแู ลตนเอง ใหม้ สี ุขภาพอนามัยที่ดีทั้งร่างกายและจติ ใจ มบี คุ ลกิ ภาพทเ่ี หมาะสม รวู้ ธิ ี ปอ้ งกันไม่ให้เกิดโรคภัยไขเ้ จ็บ และสามารถแกไ้ ขปญั หาพฤติกรรมทีไ่ ม่พึงประสงคท์ จ่ี ะนาํ ไปสู่ โรคภยั ไขเ้ จ็บได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม 2. ด้านความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สนิ มีจดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ส่งเสริมใหม้ ีความรู้ความ เข้าใจและตระหนกั ใน ภัยอันตรายท่ีอาจจะเกิดข้นึ ในชวี ิตประจําวนั รู้วธิ ปี อ้ งกันภัยอนั ตรายท่ี จะเกดิ ขน้ึ และสามารถแกไ้ ขปัญหาที่เกดิ ขึ้นจากภยั อันตรายไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม 3. ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม มจี ดุ ม่งุ หมายเพอ่ื ส่งเสรมิ ให้มคี วามรู้ ความ เข้าใจและตระหนกั ในคุณคา่ ของทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม มจี ิตสํานึกในการร่วม อนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ร้วู ธิ ีใชท้ รัพยากรอยา่ งประหยัดและคุม้ ค่า รู้วิธี ปอ้ งกันไม่ใหเ้ กดิ สภาพแวดลอ้ มเป็นพษิ และสามารถแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมเป็นพษิ ใน ชมุ ชนไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม

19 4. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ มจี ดุ มงุ่ หมาย เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสาํ คญั ของการมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทถี่ ูกตอ้ ง และคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของคนในสงั คมไทย รวู้ ธิ ีปอ้ งกันไม่ให้ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนเขา้ ไปเก่ียวข้องกับอบายมุข สามารถปฏิบัตติ ัวเป็นแบบอย่างที่ดขี องครอบครัว ชมุ ชน และสามารถแกไ้ ขปญั หาพฤติกรรมที่ไมพ่ ึงประสงค์ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม ทีม่ า : http://www.nfe.go.th/0405/NFE-note/SkillLife.html

20 การปอ้ งกนั และหลีกเล่ยี งสถานการณ์คับขนั ความหมายและอนั ตรายของสถานการณค์ ับขั ความหมายและอันตรายของสถานการณค์ ับขัน สถานการณค์ ับขนั หมายถึง ภาวะหรือ เหตุการณ์ทก่ี ําลงั ประสบอยู่ ณ เวลานน้ั ซงึ่ จะก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายหรอื ความไมป่ ลอดภัย อนั ตรายของสถานการณ์คับขันมดี ังนี้ 1. ทําให้เกดิ การบาดเจบ็ สญู เสยี อวยั วะ เกดิ ความพิการ และเสยี ชวี ิต 2. ทําให้เสยี ใจ เศร้าโศก ซมึ เศรา้ 3. ทําให้ครอบครวั ต้องรับภาระหนักหากผูน้ ําครอบครวั ต้องเสยี ชวี ติ หรอื พกิ ารสังคม ขาดคนทํางาน 4. เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ แนวปฏบิ ัตเิ มอ่ื อยูใ่ นสถานการณค์ บั ขนั 1. แนวปฏิบตั ิของผปู้ ระสบภัย 1.1 ตั้งสตใิ ห้ดี แลว้ คิดหาทางว่าจะทําอย่างไรตอ่ ไป 1.2 ถา้ ถูกบคุ คลจบั บังคบั หรอื จะทําร้าย ให้ใช้วิธกี ารตอ่ รอง 1.3 ถ้าเปน็ อุบัติเหตุที่ไดร้ ับบาดเจ็บ ใหใ้ ชห้ ลกั การปฐมพยาบาลเทา่ ทจ่ี ะทําได้ 1.4 ควรหว่ งชีวิตของตนเองมากกวา่ ทรัพย์สิน 1.5 สงั เกตและจดจาํ เหตุการณ์ทเี่ กิดขึ้นใหไ้ ดม้ ากทีส่ ุด 1.6 ควรรอ้ งขอความชว่ ยเหลือด้วยการตะโกน การใช้โทรศพั ท์ หรือวิธกี ารอ่นื ๆ 2. แนวปฏบิ ัตขิ องผู้ชว่ ยเหลือ แนวปฏิบัตเิ มอื่ อยใู่ นสถานการณค์ บั ขนั 2.1 ตั้งสตใิ หด้ ี คิดหาทางช่วยเหลอื ก่อน 2.2 การเขา้ ไปช่วยเหลือจะตอ้ งไมเ่ ปน็ อันตรายตอ่ ตนเอง 2.3 การเขา้ ไปชว่ ยเหลือจะต้องไม่ทําใหส้ ถานการณ์แยล่ ง 2.4 ถ้าผปู้ ระสบภัยได้รบั บาดเจบ็ ควรใชห้ ลักการปฐมพยาบาลและการเคลอ่ื นยา้ ย ผปู้ ว่ ย

21 2.5 สังเกตและจดจาํ เหตุการณ์ท่ตี นเองเหน็ ใหม้ ากท่ีสดุ เพื่อเปน็ ประโยชนใ์ นการตดิ ตาม คนรา้ ย 2.6 ควรตะโกนเรยี กให้คนอืน่ มาชว่ ยในกรณที ี่ตอ้ งใช้คนชว่ ยเหลือหลายคน การป้องกนั และหลกี เลีย่ งสถานการณค์ บั ขนั ทีอ่ าจนาํ ไปสู่อันตราย สถานการณค์ บั ขันท่พี บในสงั คมไทยและกอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายต่อผ้ปู ระสบภัย มี หลากหลายผู้ประสบภยั จะตอ้ งรู้จกั การปอ้ งกนั ตนเองและหลกี เลี่ยงสถานการณ์คบั ขัน เพื่อให้ ตนเองปลอดภัย หรือเพื่อลดระดับความรนุ แรงทจ่ี ะเกิดขน้ึ ดังน้ี การปอ้ งกันและหลีกเลย่ี ง สถานการณ์คับขนั ท่อี าจนําไปสูอ่ นั ตราย 1. ภยั จากบคุ คล 1.1 ถูกคนร้ายจับเปน็ ตวั ประกันอยา่ ตกใจ ต้ังสติให้ดี 1.2 ถูกคนรา้ ยจ้ีหรือปลน้ อย่าตอ่ ส้เู พราะเสียดายทรัพย์ 1.3 ถกู บังคับและข่มขนื พยายามพูดขอรอ้ งดว้ ยคําสุภาพ เพื่อให้คนร้ายใจอ่อน 1.4 คนรา้ ยเข้าบ้านขณะเราอยู่ในบ้าน ให้ตะโกนไล่คนร้าย และพยายามโทรศัพท์ 191 เพ่อื แจ้งตาํ รวจ 1.5 ถกู หาเรอ่ื งหรอื ไปมีเร่ืองทะเลาะวิวาท ควรมคี วามอดทน อดกลัน้ ก่อนที่จะเกิดเรือ่ ง ลกุ ลามจนเกดิ เหตรุ ุนแรง 1.6 อย่ใู นเหตุการณ์ท่ีมคี นทะเลาะวิวาททาํ ร้ายกนั ถ้าเป็นคนรู้จกั ตอ้ งหา้ มปรามด้วย คาํ พูด หากไม่ได้ผล ใหแ้ จง้ เจ้าหนา้ ท่ีตาํ รวจ 2. ทกั ษะชีวิตทีส่ าํ คัญในการปอ้ งกนั และหลีกเล่ยี งสถานการณ์คบั ขนั 2.1 ทักษะการเจรจาต่อรอง การเจรจาตอ่ รองถอื เปน็ การเจรจาเพ่ือให้ สถานการณ์ท่คี บั ขนั ดีขึ้น หรอื เจรจาเพอ่ื หลีกเลยี่ งสถานการณ์เสี่ยง 2.2 ทักษะการปฏเิ สธ ทักษะการปฏิเสธ สามารถใชไ้ ด้กบั ทุกเร่อื ง ทพ่ี บในชีวิตประจํา วนั คอื การปฏเิ สธการใช้ สารเสพติด การปฏิเสธทจ่ี ะเล่นการพนัน การปฏเิ สธทีจ่ ะไปอยู่ใน สถานการณ์เส่ียงต่อการ มีเพศสัมพนั ธ์

22 2.3 ทักษะการเอาตวั รอด การระวังตัวไม่ใหต้ ัวเองตกอยู่ในอันตราย เปน็ สิ่งแรกทีเ่ รา ต้องกระทํา รวมถึงการไม่พกของมคี ่าตดิ ตัวโดยเปิดเผย แต่งตัวมดิ ชดิ ไมเ่ ดนิ ในทเี่ ปล่ียว หรอื มดื 3. การป้องกนั ตัวด้วยมอื เปล่า หากไมส่ ามารถหลกี เลี่ยงการตอ่ สู้ใหต้ ้งั สตใิ หด้ ีแล้วสงั เกตว่า คนร้ายมีอาวุธหรือไมม่ ี มีจาํ นวนกี่คน ประเมินสถานการณ์ เพื่อเตรียมรับมือกบั คนร้าย ตวั อยา่ งสถานการณ์ วธิ ีปอ้ งกันตวั ด้วยมอื เปลา่ : เมอ่ื คนร้ายจับมือขา้ งหน่ึง 1) ถ้าคนรา้ ยคว้าข้อมอื ข้างหน่ึงของเราไว้ 2) ใหใ้ ช้มอื อกี ขา้ งจ้ิมไปที่ดวงตา ของคนรา้ ยอย่างแรง 3) ใหใ้ ชม้ ืออกี ข้างจิม้ ไปท่ีดวงตา ของ คนร้ายอย่างแรง และยกเขา่ ขน้ึ มากระแทก

23 นักเรยี นคิดวา่ บคุ คลดงั กลา่ วขาดทักษะชีวิตในเรอ่ื งใด ถ้าป้องกนั ไม่ให้เรอื่ งนเี้ กิดข้นึ นกั เรยี นมแี นวทางแนะนําอย่างไร ภาพท่ี 1 สาเหตขุ องความเส่ยี ง ท่มี า : https://www.dltv.ac.th/utils/files/download/62665

24 การหาทางออกเมอ่ื ถกู รบเร้า 1. ปฏิเสธซํ้า โดยไมต่ ้องใช้ขอ้ อ้างอกี 2. ต่อรอง โดยการชักชวนไปทําอย่างอื่น ทีเ่ หมาะสมกว่า 3. การผัดผอ่ น การขอยดื เวลาไปกอ่ นเพ่อื ให้ อีกฝ่ายเปล่ยี นใจ ภาพท่ี 2 ตวั อยา่ งทกั ษะการปฏเิ สธ ทม่ี า : https://www.dltv.ac.th/utils/files/download/62665

25 ทกั ษะการป้องกนั ตนเอง การใช้ทักษะตา่ ง ๆ 1. การปฏิเสธ - ต้งั จติ ใหแ้ น่วแนท่ ่จี ะปฏเิ สธ - พูดปฏิเสธอยา่ งสุภาพ แตจ่ ริงจัง - ออกจากทต่ี รงนัน้ ทนั ที ปอ้ งกนั การคล้อยตาม กรณีตัวอยา่ งการใชท้ ักษะชวี ิต สถานการณ์ที่ควรปฏิเสธ ตวั อย่างการใชท้ ักษะปฏเิ สธ เพอ่ื นชวนไปเล่นการพนัน “ไมล่ ่ะ การพนันเป็นส่งิ ผดิ กฏหมายอกี อยา่ ง เรากลวั ถูกตาํ รวจจบั ดว้ ย” เพอ่ื นชวนไปร้านเกมหนา้ โรงเรียน “วนั น้ีเราจะรบี กลับ เพราะการบ้านยงั ไม่ เสรจ็ เลย ส่งพรุ่งนดี้ ้วยสิ” 2. การต่อรอง เมอ่ื ปฏิเสธไม่ไดผ้ ล ให้ต่อรองโดยการขวนไปทาํ กจิ กรรมอย่างอ่ืนทไี่ ม่เสี่ยง 3. การตัดสนิ ใจ การตัดสินใจขน้ึ อยู่กบั สถานการณ์จริง สิ่งสําคัญท่สี ุด คอื ตอ้ งรบี ออกจากสถานการณ์ นนั้ ให้เร็วที่สดุ เพราะเราอาจจะหลงเชอื่ และคล้อยตาม 4. การขอความชว่ ยเหลอื เมื่อตกอยูใ่ นอนั ตราย ให้ตั้งสตแิ ลว้ เข้าไปในท่ีท่ีมีคนอยู่จํานวนมากแลว้ แจง้ ตํารวจหรอื ผูป้ กครอง https://www.dltv.ac.th/utils/files/download/62665

26 หมายเลขโทรศพั ทฉ์ กุ เฉนิ 191 – เหตดุ ว่ นเหตรุ า้ ย 199 – โทรหาดบั เพลิง 1669 – สถาบันการแพทย์ฉกุ เฉินแห่งชาติ 1554 – หน่วยแพทยก์ ชู้ ีวิต วชริ พยาบาล 1543 – อบุ ตั เิ หตุบนทางด่วน 1155 - ตํารวจทอ่ งเที่ยว 1300 – แจง้ คนหาย

27 ขนัÊ ทีÉ ś จดั กิจกรรมฝึ กฝนเรยี นรสู้ ทู่ ีม ให้นกั เรียนทาํ กจิ กรรมลงในบตั รกจิ กรรม ใหน้ ักเรียนนําคาํ ตอบของแตล่ ะคนในกลุ่ม มารวมเปน็ คาํ ตอบที่สมบรู ณ์









32 ขนัÊ ทÉี Ŝ นําไปใชแ้ ละตรวจสอบผลงาน ให้นกั เรียนตรวจผลงานการทํากรอบแบบฝกึ หัด ให้นกั เรียนอา่ นโปสเตอร์ทักษะการป้องกันตนเองใช้ อวยั วะเปน็ อาวุธ