Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนิเทศ โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์

คู่มือนิเทศ โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์

Published by Wittawat Swatpunyachote, 2021-10-02 06:34:59

Description: ปีการศึกษา 2563 - 2564

Search

Read the Text Version

คู่มอื นเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรวี ดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ ก ลุ่ ม บ ริ ห า ร วิ ช า ก า ร ง า น นิ เ ท ศ ติ ด ต า ม แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ชุ ม ช น ก า ร เ รี ย น รู้ ( P L C )

ก คำนำ คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ฉบับนี้ จัดทำข้ึนเพื่อให้ครูและ บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนได้นำไปใช้เป็นแนวทางในการนิเทศภายในโรงเรียน เพื่อสร้างรูปแบบและ กระบวนการนิเทศ ติดตามและประเมินผลภายในโรงเรียนตามบริบทของโรงเรยี น ให้ดำเนนิ การได้อย่างเป็นระบบและ มคี วามเขม้ แชง็ และเกดิ การเปล่ียนแปลงในทางทด่ี ีขนึ้ เพ่ือพัฒนาครูใหม้ ีความรู้ทันต่อการเปลยี่ นแปลงต่าง ๆ ใช้ทักษะ ในการปฏิบัติการและมีเจตคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน อีกทั้งยังเป็นการสร้างขวัญกำลังใจ สร้างความมั่นใจในการ ปฏิบัติงานครู ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู ให้มีประสิทธิภาพส่ง ผลให้ นกั เรยี นมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสูงข้นึ และคุณภาพของนกั เรียนไดเ้ ป็นไปตามมาตรฐานท่ีโรงเรียนกำหนด งานนเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการศึกษา กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ โรงเรยี นสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

ข สารบัญ คำนำ ..................................................................................................................................................................... ก ตอนที่ 1 ข้อมลู ทัว่ ไปของสถานศกึ ษา ............................................................................................................................1 1.1 ขอ้ มลู ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา .....................................................................................................................2 1.1.1) ตารางแสดงจำนวนบุคลากร จำแนกตามตำแหน่ง (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 21 กรกฎาคม 2564)................................................2 1.1.2) ขอ้ มูลแสดงจำนวนครูและบคุ ลากร จำแนกตามวุฒกิ ารศึกษา (ขอ้ มูล ณ วันที่ 21 กรกฎาคม 2564).................................2 1.1.3) ตารางแสดงจำนวนบคุ ลากร จำแนกตามวทิ ยฐานะ (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 21 กรกฎาคม 2564) .............................................3 1.2 จำนวนนกั เรยี น ................................................................................................................................................3 ตอนท่ี 2 ผลการดำเนินงานดา้ นนเิ ทศภายในของสถานศกึ ษา .............................................................................................4 2.1 รปู แบบ...........................................................................................................................................................4 2.2 สภาพปัจจบุ นั / ปัญหา ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา ............................................................................................4 2.3 รูปแบบหรือกระบวนการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา ...................................................................................................7 2.4 วธิ กี ารดำเนินการ..............................................................................................................................................9 2.5 การกำกับ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล ..........................................................................................................10 การกำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการนเิ ทศ ..............................................................................................................10 การรายงานผลการนิเทศ...................................................................................................................................11 2.6 ผลสำเร็จทไี่ ด้และการนำไปใช้ ...........................................................................................................................12 ตอนที่ 3 ขอ้ มลู อน่ื ๆ เพ่ิมเติม ....................................................................................................................................20 รูปแบบ (Model) การนเิ ทศของโรงเรียนสตรวี ดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ ....................................................20 แบบฟอร์มเอกสารรายงานการนิเทศของโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์.......................................21 ตวั อย่างการนเิ ทศภายในสถานศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563............................................................................27 รายการอ้างองิ ........................................................................................................................................................32

ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของสถานศกึ ษา ช่ือสถานศึกษา โรงเรียนสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ ตง้ั อยู่ เลขที่ 519 – 519/1 ถนนมหาพฤฒาราม แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศพั ท์ 0 – 2236 – 5758 โทรสาร 0 – 2236 – 5740 เวบ็ ไซต์ http://www.mps.ac.th เปดิ สอน ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 – 6 เขตพน้ื ทบ่ี รกิ าร 1. เขตบางรัก แขวงมหาพฤฒาราม แขวงสลี ม แขวงบางรัก 2. เขตสัมพนั ธวงศ์ แขวงจกั รวรรดิ แขวงสัมพันธวงศ์ แขวงตลาดน้อย 3. เขตปทมุ วัน แขวงรองเมือง แขวงปทุมวัน แขวงวังใหม่ ผู้อำนวยการโรงเรยี นคนปจั จบุ นั นางสาวระววี รรณ เลขนาวิน ตราสญั ลักษณ์ประจำโรงเรียน อักษรยอ่ โรงเรียน ม.พ. สีประจำโรงเรียน กรมทา่ - ฟ้า วิสัยทัศนโ์ รงเรยี น เป็นโรงเรียนชั้นแนวหน้าในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ให้นักเรียนมีความเป็นเลิศเต็มตามศักยภาพ เป็นคนดี มีความสุข ตามวิถีไทยในความเป็นสากล คู่มอื นเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ 1

1.1 ข้อมูลครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 1.1.1) ตารางแสดงจำนวนบคุ ลากร จำแนกตามตำแหนง่ (ข้อมูล ณ วันที่ 21 กรกฎาคม 2564) ตำแหนง่ จำนวน (คน) ผบู้ ริหาร 5 ครูประจำการ 93 ครูอตั ราจา้ ง 9 พนกั งานราชการ 1 เจ้าหนา้ ที่ธรุ การ 2 ลูกจ้างประจำ 6 ลูกจ้างชั่วคราว 7 123 รวม 1.1.2) ขอ้ มูลแสดงจำนวนครูและบคุ ลากร จำแนกตามวุฒกิ ารศึกษา (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 21 กรกฎาคม 2564) วฒุ กิ ารศกึ ษา จำนวน (คน) ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ปริญญาเอก 1 1% ปริญญาโท 33 ปรญิ ญาตรี 74 31% 108 รวม 68% คู่มือนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 2

1.1.3) ตารางแสดงจำนวนบคุ ลากร จำแนกตามวิทยฐานะ (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 21 กรกฎาคม 2564) ตำแหน่ง/วิทยฐานะ ท่ี กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กจิ กรรมแนะแนว ครู ครผู ้ชู ว่ ย ค.ศ.1 ค.ศ.2 ค.ศ.3 รวม อัตราจ้าง 5 1 ผู้บรหิ าร - - - 41 2 6 2 กจิ กรรมแนะแนว - 1 1-- 10 11 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา 1 1 4-- 16 23 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1 - 5 31 13 9 5 กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษาฯ 1 1 6 12 9 4 6 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 1 5 64- 108 7 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 - 12 8 1 8 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ - 6 4 12 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ท่ี 2 2 3 4-- 9 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ 2 - 4 12 10 กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ - 1 3-- รวมทั้งหมด 10 18 49 22 9 1.2 จำนวนนักเรยี น ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศกึ ษา 2564 (ข้อมลู ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2564) ระดับช้ัน จำนวนหอ้ ง เพศ รวม ชาย หญิง มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 8 - 302 302 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 8 - 315 315 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 8 - 318 318 มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 11 - 366 366 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 11 - 403 403 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 11 - 357 357 รวม 56 - 2,061 2,061 คูม่ ือนิเทศภายในสถานศึกษา โรงเรียนสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ 3

ตอนที่ 2 ผลการดำเนินงานดา้ นนิเทศภายในของสถานศึกษา 2.1 รปู แบบ โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ดำเนินการนิเทศภายในของสถานศึกษาด้วยรูปแบบ MPS Supervision Model ประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบคอื 1. การนิเทศอย่างเปน็ กลั ยาณมติ ร (M : Mentoring) 2. การมีสว่ นร่วมจากทุกฝ่าย (P : Participation) 3. คุณภาพมาตรฐานของครแู ละผลลัพธ์ทจ่ี ะเกิดข้นึ กับผเู้ รียน (S : Standard) 2.2 สภาพปัจจุบัน / ปัญหา ข้อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความ สมดุลทั้งด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม ระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติที่จำเป็นต่อ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคน สามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2551) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพ ในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชพี (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2551) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ให้ความหมายของ การศึกษาไว้ว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสบื สานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจาก การจัดสภาพแวดลอ้ ม สังคม การเรยี นรู้และปจั จัยเกอื้ หนนุ ให้บุคคลเรียนร้อู ยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ให้ความหมายของครู หมายความวา่ บคุ ลากรวิชาชพี ซึ่งทำหน้าที่หลักทางดา้ นการเรยี นการสอนและสง่ เสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการ ตา่ ง ๆ ในสถานศกึ ษาทัง้ ของรฐั และเอกชน ดงั นั้น การพฒั นาผู้เรียน ครูจงึ ตอ้ งมกี ารพัฒนาไปด้วย การจัดการเรียนรู้ เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐานเป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็นเป้าหมายสำหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชน ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายาม คัดสรรกระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กำหนดไว้ในหลักสูตร 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่าง ๆ อันเป็นสมรรถนะสำคัญให้กับผู้เรียน บรรลตุ ามเป้าหมาย (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551) ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรูท้ ี่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดย เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ และบรรลุตามเปา้ หมายท่กี ำหนด (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2551) คูม่ อื นิเทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ 4

ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาน้นั ต้องอาศัยกระบวนการสำคญั คือ กระบวนการเรยี นการสอน การท่ีจะทำให้ ครูมีศักยภาพ มีประสิทธิภาพที่ดีและสามารถสร้างผู้เรียนให้ไปถึงจุดหมายได้อย่างมีคุณภาพนั้น ครูต้องมีการพัฒนา ตนเองเช่นกัน หนึ่งในกระบวนการพัฒนาครูนั้นคือ การนิเทศการศึกษา วงการการศึกษาได้ยอมรับแล้วว่าการนิเทศ การศึกษาช่วยพัฒนาปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพการศกึ ษาใหด้ ีขนึ้ การนิเทศการศกึ ษาในปัจจบุ ันเป็นลักษณะของการร่วมมือ เป็นการแนะนำช่วยเหลอื กันระหว่างผนู้ เิ ทศกบั ครู เพอื่ ให้ครไู ด้พฒั นาความรู้ ความสามารถ ทักษะต่าง ๆ อัญชลี ธรรมะวิธีกุล (2552) ให้ความหมายของการนิเทศการศึกษาว่าเป็นกระบวนการพัฒนาครูเพื่อให้ครู ปรับปรุงและพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้ การนิเทศการศึกษา จึงเป็นกระบวนการในการแนะนำช่วยเหลอื ครู ใหส้ ามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นรูไ้ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ซง่ึ การนเิ ทศน้ัน อยู่บนหลักการของประชาธิปไตย คือ หลักของการยอมรับนับถือในความเท่าเทียมกันในความมีศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์รู้จักเคารพสิทธิ์ของผู้อื่น มีความเมตตากรุณา อดทน อดกลั้น และมีความซื่อสัตย์ หลักของการใช้ปัญญาในการ ตดั สนิ หรอื แกป้ ัญหา เพื่อเปน็ วิถขี องการปฏิบัติ หลักการมสี ่วนร่วม หลกั การแบง่ ปนั เปน็ การแบ่งปนั ประโยชน์สำหรับ ทุกคนและหลักของการประสาน ซึ่งเป็นกลไกสำคัญทำให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกันและมีความเข้าใจในงานที่เป็น หนา้ ที่ของตน และทำงานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ไดอ้ ย่างราบรืน่ บัณฑูร มนตรานนท์ (2556) กล่าวว่า การนิเทศการศึกษามีความสำคัญและมีความจำเป็นอยา่ งยิ่ง เนื่องจาก สภาพสังคมปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็วในทุกขณะ องค์ความรู้ต่าง ๆ มีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ดังนั้นเทคนิค วิธีการสอนรวมทั้งความรู้ต่าง ๆ จึงต้องปรับเปลีย่ นเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน เพื่อคงไว้ซึ่งมาตรฐานการศึกษา นอกจากน้กี ารนิเทศการศกึ ษายังเปน็ การลดช่องว่างระหว่างครูกับผู้บรหิ าร และยังเปน็ การสรา้ งขวัญและกำลงั ใจในการ ทำงานใหแ้ กค่ รอู ีกทางหนง่ึ ด้วย ประเสริฐ เชษฐพันธ์ (2542, หน้า 145 อ้างถึงใน บัณฑูร มนตรานนท์ 2556, หน้า 14) กล่าวถึงความจำเป็น ท่ตี ้องมีการนิเทศการศกึ ษาเนื่องจากเหตผุ ล ดงั นี้ 1. สภาพสังคมเปลี่ยนไปทุกขณะ การศึกษาจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ สังคมดว้ ย การนเิ ทศการศกึ ษาจะช่วยให้เกิดการเปลีย่ นแปลงขึ้นในองคก์ ารทเ่ี กี่ยวข้องกับการศึกษา 2. ความรู้ในสาขาต่าง ๆ เพิ่มขึ้นโดยไมห่ ยุดยั้งแม้แนวคิดในเรื่องการเรียนการสอนก็เกิดขึ้นใหม่อยูต่ ลอดเวลา การนเิ ทศการศกึ ษาจะชว่ ยใหค้ รมู คี วามรูท้ ันสมัยอยู่เสมอ 3. การแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ เพือ่ ใหก้ ารเรยี นการสอนพฒั นาข้ึนจำเป็นต้องได้รับการช้ีแนะ หรือการ นเิ ทศจากผูช้ ำนาญการโดยเฉพาะ จึงทำใหแ้ กไ้ ขปัญหาไดส้ ำเร็จลลุ ว่ ง 4. การศึกษาของประเทศไทยไม่อาจรักษามาตรฐานไว้ได้ จะต้องมีการควบคุมดูแลด้วยระบบการนิเทศ การศกึ ษา 5. การนิเทศการศึกษาเป็นงานที่มีความจำเป็นต่อความเจริญงอกงามของครู แม้ว่าครูจะได้รับการฝึกฝนมา อย่างดแี ล้วกต็ าม แต่ครกู ต็ อ้ งปรับปรงุ ฝกึ ฝนตนเองอย่เู สมอ ในขณะทท่ี ำงานในสถานการณจ์ ริง 6. การนิเทศการศึกษาแบบประชาธิปไตยจะช่วยลดช่องว่างระหว่างผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครู และบุคลากร อื่น ๆ ของโรงเรียน ทุกคนจะตระหนักถึงปัญหาการเรยี นการสอนที่เกิดขึ้นร่วมกัน และพร้อมใจกันแก้ไขปัญหา ไม่โยน ค่มู ือนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสตรวี ดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 5

ความรับผิดชอบให้แก่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด ความรู้สึกว่าผู้บริหารหรือศึกษานิเทศก์คอยจับผิดจะหมดไป แต่มีหน้าที่ในการ สนบั สนนุ สง่ เสริมให้ครูและบคุ ลากรอนื่ ๆ ได้ปฏบิ ัติหน้าทอ่ี ยา่ งเตม็ ความสามารถ สงดั อุทรานนั ท์ (2530) กล่าววา่ การนิเทศการศกึ ษามีจดุ มงุ่ หมายทส่ี ำคัญ 4 ประการ ต่อไปนี้คือ - เพ่ือพัฒนาคน - เพื่อพฒั นางาน - เพอ่ื สร้างการประสานสัมพนั ธ์ - เพอ่ื สรา้ งขวญั และกำลงั ใจ การทก่ี ล่าววา่ การนิเทศการศึกษาได้มุง่ “พัฒนาคน” กค็ ือ การนเิ ทศการศึกษาเป็นกระบวนการทำงานร่วมกับ ครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อให้ครูและบุคลากรเหล่านั้นได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น ประการที่ 2 เนื่องจากการนิเทศการศึกษาได้มีเป้าหมายสูงสุดอยู่ที่นักเรียนซึ่งเป็นผลผลิตจากการสอนของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา โดยเหตุนี้ การนิเทศที่จัดขึ้นจึงมีจุดมุ่งหมายที่จะ “พัฒนางาน” ซึ่งได้แก่งานสอนให้ดีขึ้นนั่นเอง สำหรับการ “สร้างการประสานสัมพันธ์” นั้นจะเป็นผลที่เกิดขึ้นจากกาทำงานร่วมกัน รับผิดชอบร่วมกัน ผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้นำ และผู้ตาม ซึ่งไม่ใชเ่ ปน็ การทำงานภายใต้การถูกบังคับและคอยตรวจตราหรือคอยจับผิด และประการสดุ ทา้ ยคือ “สร้าง ขวัญและกำลังใจ” นน้ั ถอื เป็นจดุ มงุ่ หมายที่สำคัญอีกประการหน่ึงของการนิเทศ ทั้งนี้เพราะว่าขวัญและกำลังใจเป็นสิ่ง สำคญั ท่ีจะทำให้บุคคลมีความตง้ั ใจทำงาน หากการนิเทศไมไ่ ด้ทำการสรา้ งขวัญและใหก้ ำลงั ใจแกผ่ ปู้ ฏบิ ัตแิ ลว้ การนิเทศ การศกึ ษากย็ อ่ มจะประสบผลสำเรจ็ ได้ยาก (สงดั อุทรานันท์. 2530) นอกจากน้นั แล้วเม่ือวิเคราะหป์ ัญหาทีเ่ กิดข้ึนในโรงเรียนสตรวี ดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ พบว่า ปัญหาดังกล่าว มีดังน้ี 1) ผู้บริหารและครูยังไม่สามารถนำระบบการนิเทศภายในมาพัฒนางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) แม้โรงเรียนจะมกี ารพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องแต่ครูยังไมส่ ามารถนำความรูท้ ักษะมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนไม่เต็มตามตามศักยภาพ 3) ครูมีความสามารถใน การผลติ สอ่ื และนวตั กรรมทางการศึกษา แตค่ รไู ม่เหน็ ถงึ ความสำคัญและไม่มีเวลาในการจัดทำสื่อการสอนใหม่ ๆ ส่งผล ให้สื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนไม่เพียงพอกับความต้องการ 4) ครูที่ปฏิบัติการสอนมานานไม่ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนให้เป็นแบบผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ เน้นการสอนแบบการเป็นผู้บอกหรือผู้แสดงมากกวา่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติและเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 5) โรงเรียนมีครูและบุคลากรบรรจุใหม่จำนวนมาก หรือครู บางสว่ นยังมีประสบการณ์ในการสอนน้อย จงึ ทำใหก้ ารจัดการเรียนการสอนยังไม่เกดิ ผลเท่าที่ควร จากความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น งานนิเทศ ติดตามการจัดการศึกษา กลุ่มบริหาร วิชาการ โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จึงจัดทำ คู่มือนิเทศภายในสถานศึกษา โรงเรียนสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ ในรูปแบบ MPS Supervision Model เพ่อื ให้การนเิ ทศภายใน มีความสำคัญและมีประสิทธิภาพมากข้ึนในการนำไปพัฒนาการศกึ ษา คู่มือนิเทศภายในสถานศึกษา โรงเรียนสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 6

2.3 รปู แบบหรือกระบวนการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา รูปแบบของการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้ คำนึงถึงความสำคัญในการนิเทศตามองค์ประกอบโรงเรียนที่ประกอบไปด้วยการนิเทศอย่างเป็นกัลยาณมิตร (M : Mentoring) การมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย (P : Participation) และ คุณภาพมาตรฐานของครูและผลลัพธ์ที่จะเกิด ข้ึนกบั ผู้เรยี น (S : Standard) ดังน้ี การนิเทศอย่างเป็นกัลยาณมิตร (M : Mentoring) การนิเทศภายในของโรงเรียนนั้น เน้นเพื่อให้ครูได้พัฒนา กิจกรรมและรูปแบบในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ทันกับยุคสมัย สภาพการเรียนในปัจจุบัน โดยการนิเทศแต่ละครั้ง ผนู้ ิเทศจะให้ข้อมลู ชแ้ี นะ รวมไปถงึ แลกเปลย่ี นเรียนรู้อยา่ งเป็นกลั ยาณมิตรกับผู้ที่ได้รบั การนเิ ทศ เพ่ือให้ผู้รับการนิเทศ รู้สึกเป็นกันเอง สามารถเปดิ ใจพูดคุย ปรกึ ษา หรอื พร้อมท่จี ะรบั คำชี้แนะจากการสะท้อนคดิ มาเพื่อปรับประยุกต์ในการ จัดการเรียนรู้ในครง้ั ถัด ๆ ไปได้ โดยใชห้ ลกั CQCD ประกอบดว้ ย C: Compliment (ชมเชย) Q: Question (สอบถาม) C: Correct (แก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง) D: Demonstrate (สาธิต) โดยโรงเรยี นสตรวี ดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีการนิเทศ 2 ส่วน ได้แก่ 1. การนิเทศการจัดการเรียนการสอนของครู เป็นการนิเทศทัว่ ไป โดยครูผู้สอนเป็นผูร้ ับการนิเทศ ฝ่ายบริหาร หรือหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือครูผู้ใหญ่ท่ีมีประสบการณ์ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นผู้นิเทศ โดยให้คำ ชี้แนะ รับฟงั แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ โดยนเิ ทศทงั้ สามองค์ประกอบ 1.1 การนเิ ทศการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1.2 การประเมินแผนการจัดการเรยี นรู้ 1.3 การประเมนิ การใช้สือ่ นวตั กรรมและแหลง่ เรียนรูใ้ นการเรยี นการสอน เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ในแต่ละครั้งของครูผู้รับการนิเทศ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดต่อผู้เรียน และโรงเรยี น 2. การนิเทศ “ผู้นิเทศรอง” ด้วยสภาพปัญหาของโรงเรียน คือ มีครูที่มีประสบการณ์ในการสอนสูงในปริมาณ จำนวนท่ีนอ้ ย ทำให้ภาระการนเิ ทศนนั้ ตกอยู่กบั ครูกลุ่มนี้เปน็ จำนวนมาก และมีครอู กี จำนวนหน่งึ ท่ีเริ่มมีประสบการณ์ สอนอย่างน้อย 3 ปี ในโรงเรียนจำนวนมากขึ้น เริ่มมีประสบการณ์จากที่ครูรุ่นพี่เคยปลูกฝัง รวมถึงสามารถปรับตัวกับ สถานการณ์ปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม และเข้าถึงครูรุ่นใหม่ได้ง่ายกว่า จึงให้ครูกลุ่มนี้เป็น “ผู้นิเทศรอง” คือ ให้ครู ผู้นิเทศรองเข้านิเทศการจัดการเรียนรู้ของครูด้วย โดยที่มีผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูที่ได้รับมอบหมาย เป็น “ผู้นิเทศหลัก” ของการนิเทศการสอนของผู้นิเทศรองอีกครั้งถึงความเหมาะสม และเทคนิควิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ “ผูน้ ิเทศรอง” ไดม้ ีประสบการณก์ ารเป็นผู้นเิ ทศ และก้าวขนึ้ มาเปน็ “ผ้นู เิ ทศหลกั ” คมู่ ือนิเทศภายในสถานศึกษา โรงเรยี นสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 7

ผ้นู ิเทศหลัก ผ้นู ิเทศรอง ผรู้ ับการนิเทศ กำกบั แนะนำ ช่วยเหลอื นิเทศการจดั การเรยี น จัดการเรยี นการสอนตาม การปฏิบตั หิ น้าท่นี เิ ทศ การสอนของ “ผรู้ ับการ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ของ “ผนู้ ิเทศรอง” นิเทศ” วางแผนไว้ การมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย (P : Participation) การนิเทศภายในของโรงเรียนนั้น ตั้งแต่กระบวนการแรกจนถงึ กระบวนการสุดท้ายนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้ซึ่งเป็นผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศได้มีการปฏิบัติงานร่วมกัน ส่งเสริมให้มีการจัดการนิเทศภายในโรงเรียนเพื่อให้เกิดการพัฒนาตนเอง ตอบสนองการดำเนินงานตามนโยบายของ โรงเรียน สง่ เสริมการใช้นวตั กรรม เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาทีเ่ หมาะสมกับบรบิ ทของโรงเรียนในการพัฒนาศักยภาพครู พร้อมทั้งติดตามประเมินผล ซึ่งจะช่วยให้ครูพัฒนาศักยภาพได้ดีขึ้น เกิดการพัฒนาเชิงสร้างสรรค์ พร้อมทั้งสร้างขวัญ และกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน เช่น ยกย่องชื่นชมในที่ประชุม นำผลสำเร็จของการปฏิบัติงานมาแสดงให้เพื่อนครูได้เห็น และร่วมช่นื ชม คุณภาพมาตรฐานของครูและผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน (S : Standard) การนิเทศภายในของโรงเรียนนั้น มีวตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนของครูให้มปี ระสิทธิภาพและสอดคล้องกบั ยุคสมัยในปัจจุบัน ทำใหค้ รูมกี ารจัดการเรยี นการสอนที่มีคณุ ภาพและมาตรฐาน โดยกระบวนการจดั การเรยี นการสอนของครนู ั้น จะส่งผล ใหเ้ กิดผลลัพธ์ทเ่ี กดิ ข้ึนกบั ผูเ้ รยี น ทงั้ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียน สง่ เสรมิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ พฒั นาการ อ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ รวมถึงได้พัฒนาตนเองตามสมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน เพื่อให้นักเรียนมีความเป็น เลิศ ไดพ้ ัฒนาเต็มตามศักยภาพ เป็นคนดี มีความสุข ตามวิถไี ทยในความเป็นสากล ตามวิสัยทัศนข์ องโรงเรยี น คูม่ ือนิเทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ 8

2.4 วิธีการดำเนินการ กระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษาของโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ได้ใช้วงจร คุณภาพ (Deming Cycle) โดยคำนงึ ถงึ องค์ประกอบของรปู แบบ MPS Supervision Model โดยมีกระบวนการดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 ดำเนินการวางแผน เป็นขั้นเตรียมการนิเทศโดยผู้บริหารและคณะครูร่วมกันศึกษาข้อมูล สารสนเทศ ประมวลสภาพปัญหาและความตอ้ งการในการพัฒนาการศึกษา แล้วนำมาวิเคราะห์ ระดมสมองเพ่อื กำหนด จุดประสงค์ในการพัฒนาครู พัฒนาโรงเรียน กำหนดจุดมุ่งหมายของการนิเทศร่วมกันตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน เพื่อ สร้างความเข้าใจระหวา่ งผนู้ เิ ทศและผ้รู บั การนิเทศ หลังจากกำหนดจุดมุ่งหมายการนิเทศ จึงได้กำหนดเนื้อหาการนิเทศ ออกแบบการนิเทศ สื่อการนิเทศ จัดเตรยี มเครอ่ื งมือนิเทศ กำหนดกรอบและเกณฑ์การประเมิน วิธกี ารตดิ ตาม การรายงานผลการนิเทศ ขั้นตอนที่ 2 ดำเนินการตามแผนนิเทศ โดยประชุมเพื่อทบทวนจุดมุ่งหมายการนิเทศ ให้ความรู้ความเข้าใจถึง สิ่งที่จะดำเนินงาน ขั้นต้องการดำเนินงานที่จะทำให้ไดผ้ ลงานออกมาอย่างมคี ุณภาพ แบ่งหน้าที่ ภาระงานในการนิเทศ ประชุมเพื่อจัดทำปฏิทินการนิเทศของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อจับคู่ผู้นิเทศหลัก ผู้นิเทศรอง ผู้รับการนิเทศ แล้ว นำมาจัดทำคำสั่งและนิเทศตามแผนด้วยรปู แบบ เทคนคิ วิธกี ารท่ีกำหนด ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผล เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามจุดมุ่งหมาย หรือไม่ มสี ภาพการจัดการเรยี นการสอนท่ีครูปฏบิ ัติจริง ปญั หา อุปสรรค ท่เี ป็นข้อมูลสารสนเทศที่ต้องตรวจสอบดูใหม่ แล้วปรับปรุงการนิเทศต่อไป พร้อมทั้งเสริมกำลังใจให้ผู้รับการนิเทศมีความมั่นใจและเกิดความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 4 การนำผลการประเมินมาปรับปรุง เมื่อสิ้นสุดการนิเทศ มีการรายงานผลให้ผู้บังคับบัญชาทราบ โดยจัดทำเป็นบันทึกข้อความและจัดทำแบบรายงานที่กำหนดไว้ในหัวข้อประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ ผู้รับการนิเทศ ผู้นิเทศ หลัก ผนู้ ิเทศรอง วนั เดอื นปที ีน่ ิเทศ คาบท่ี ห้องเรียน รหัสวิชา รายวชิ า ผลคะแนนการนเิ ทศ พรอ้ มแนบแบบนิเทศของ ครูทุกคนที่รายงานถึงกิจกรรมที่นิเทศ เนื้อหาสาระที่นิเทศ การประเมินผลของผู้รับการนิเทศ และข้อควรพัฒนา โดย การดำเนินการตามกระบวนการน้เี ปน็ ไปอยา่ งต่อเน่ือง เพื่อพฒั นาให้ผูร้ ับการนเิ ทศบรรลสุ ำเรจ็ ตามจุดมุ่งหมาย คมู่ ือนเิ ทศภายในสถานศึกษา โรงเรยี นสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ 9

2.5 การกำกบั ติดตาม ประเมินและรายงานผล การกำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการนเิ ทศ การประเมินผลการนิเทศภายในโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์มีความจำเป็นและ สำคัญยิ่ง โดยต้องประเมินจากปัจจยั นำเข้าต่าง ๆ ประเมินกระบวนการนิเทศการสอนซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงที่สำคัญของการ นิเทศการศึกษา ประเมินผลลัพธ์ทั้งผลลัพธ์ของโครงการนิเทศ ผลลัพธ์ของกระบวนการนิเทศการสอนที่ครูได้รับการ นิเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินและวิธีการประเมินที่เหมาะสมกับการนิเทศ โดยพิจารณาควบคู่กับหลักสูตร เพ่ือ ปรับประยุกตใ์ หเ้ หมาะสมและสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์และเปา้ หมายของการประเมิน และผลลพั ธท์ เ่ี กิดข้ึนกับผู้นิเทศ ด้วย เพ่ือทจ่ี ะนำไปสกู่ ารปรับปรงุ และพฒั นากระบวนการนเิ ทศให้มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ลยงิ่ ข้ึนไป การกำกับ ติดตาม ประเมินผลการนิเทศภายในโรงเรียน เพื่อตรวจสอบกิจกรมการนิเทศว่าสนองต่อ วัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการนิเทศมากน้อยเพียงใด โดยมกี ารประเมนิ 3 ขน้ั ตอน ดังน้ี ข้นั ท่ี 1 กำกบั ติดตาม ประเมินก่อนการดำเนนิ การ ขัน้ ที่ 2 กำกับ ติดตาม ประเมนิ ระหว่างดำเนินการ ขัน้ ที่ 3 กำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ หลงั ดำเนนิ การ ซ่ึงมรี ายะเอียด ดงั นี้ ข้นั ท่ี 1 กำกับ ติดตาม ประเมินก่อนการดำเนนิ การ เป็นการกำกับ ติดตาม ประเมินความพร้อมก่อนการดำเนินงานของผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการ เรียนรู้และครูที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ เพื่อตรวจสอบถึงการปฏิบัติจริงของการนิเทศถึงความเป็นไปได้ ความเหมาะสมสอดคล้องของตัวบ่งชี้แต่ละประเด็นในเครื่องมือการนิเทศหัวข้อต่าง ๆ และระยะเวล า แล้วกำหนด ผูร้ ับผดิ ชอบ จดั ทำเป็นคำสัง่ แต่งตง้ั ของโรงเรียน ขน้ั ที่ 2 กำกับ ติดตาม ประเมนิ ระหว่างดำเนนิ การ เป็นการกำกับ ติดตาม ประเมินขณะปฏิบัติงานตามแผนการนิเทศภายในโรงเรียน ให้ครอบคลุมว่า เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ของการนิเทศ รปู แบบวธิ ีการนิเทศ เครือ่ งมอื นเิ ทศ ผลการนิเทศและการใหข้ ้อมูลย้อนกลับแก่ผู้ นิเทศรองและผู้รับการนิเทศอย่างเป็นกัลยาณมิตร ส่งเสริมและให้ขวัญกำลังใจ เพื่อให้ผู้นิเทศรองและผู้รับการนิเทศมี กำลังใจและตอ้ งการจะพัฒนาตนเองในลำดับตอ่ ไป ขน้ั ที่ 3 กำกับ ติดตาม ประเมินหลังดำเนินการ เป็นการประเมินผลสำเรจ็ ภายในโรงเรียน ว่าผรู้ บั การนิเทศ ผนู้ ิเทศรองเกดิ การพฒั นาหรอื ไม่ สง่ ผลต่อ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น สมรรถนะสำคัญตา่ ง ๆ อยา่ งไร ประเมินความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของครู แล้ว นำผลการประเมินต่าง ๆ มาจัดทำเป็นรายงาน เพื่อนำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา แล้วนำข้อมูลต่าง ๆ มาวิเคราะห์และ ปรบั ปรงุ รปู แบบการนิเทศในครง้ั ตอ่ ไป คมู่ อื นเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ 10

การรายงานผลการนเิ ทศ การรายงานผลการนิเทศเปน็ ขนั้ ตอนเม่ือส้ินสุดการดำเนินงานตามแผนการนิเทศ จะมีการสรปุ และรายงานผล การดำเนินงานให้หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ และผู้อำนวยการโรงเรียน โดยใช้ รปู แบบการรายงาน โดยการรายงานการนิเทศของโรงเรียนสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ประกอบด้วย 1. บันทึกขอ้ ความรายงานผลการนเิ ทศ 2. ปกหน้า 3. ตารางสรปุ ผลนเิ ทศการสอน 4. ตารางสรปุ ผลประเมินการใชส้ ่อื นวตั กรรมและแหล่งเรยี นรูใ้ นการเรยี นการสอน 5. แบบประเมนิ ผลการนเิ ทศการสอนรายบุคคล 6. แบบประเมนิ ผลการประเมินการใช้สือ่ นวัตกรรมและแหล่งเรียนรู้ในการเรยี นการสอน 7. ภาพกจิ กรรมการนิเทศการสอน 8. แผนการจดั การเรยี นรใู้ นคาบท่ีรบั การนิเทศ โดยมีการสรุปแบบประเมินผู้นิเทศรองอีกฉบับ เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาผู้นิเทศรองให้สามารถเป็นผู้ นเิ ทศหลกั ไดใ้ นเวลาทีเ่ หมาะสม ตวั อย่างเล่มรายงานการนิเทศแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ค่มู อื นเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ 11

2.6 ผลสำเร็จทีไ่ ด้และการนำไปใช้ ผลสำเรจ็ ทีเ่ กิดข้ึนกับนักเรยี น นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเฉล่ียทุกรายวชิ าผ่านคา่ เป้าหมายที่โรงเรียนได้ ตั้งไว้ รวมไปถึงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ที่มีค่าเฉล่ีย รายวชิ าสงู กว่าระดบั ประเทศทุกรายวชิ า ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 กลุม่ สาระ จำ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน ร้อยละ ร้อยละของ การเรยี นรู้ นวน จำนวนนักเรียนทมี่ ผี ลการเรยี นรู้ นร. ทไ่ี ด้ ของ น.ร. ท่ไี ด้ระดับคณุ ภาพ ที่ ระดบั 3 นร. ที่ได้ ตามเกณฑท์ ี่ รร. กำหนด เขา้ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ข้ึนไป ระดับ 3 สอบ ข้นึ ไป เกณฑ์ท่ี รอ้ ยละของ นร. รร. ท่ีมีระดบั คณุ ภาพ ภาษาไทย 315 60 70 88 52 25 15 3 2 218 69.21 คณิตศาสตร์ 315 25 16 18 35 59 82 67 13 59 18.73 กำหนด ตามเกณฑ์ วทิ ยาศาสตร์ 315 108 126 46 28 7 0 0 0 280 88.89 สงั คมศกึ ษาฯ 315 92 64 48 42 24 15 2 2 204 67.76 3.00 69.21 สขุ ศึกษาฯ 315 211 43 55 3 2 0 0 1 309 98.10 2.00 48.57 247 78.41 2.50 97.78 ศิลปะ 315 91 78 78 67 47 5 1 0 215 92.06 3.00 67.76 การงานอาชพี ฯ 315 81 134 75 22 3 0 0 0 275 87.30 3.00 98.10 ภาษาต่างประเทศ 315 166 58 51 26 11 3 0 0 3.00 78.41 3.00 92.06 3.00 87.30 จำ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน ร้อยละ รอ้ ยละของ จำนวนนกั เรยี นทม่ี ผี ลการเรียนรู้ นร. ที่ได้ ของ น.ร. ท่ไี ด้ระดับคณุ ภาพ กลุ่มสาระการ นวน ระดับ 3 นร. ท่ีได้ ตามเกณฑท์ ี่ รร. กำหนด เรยี นรู้ ที่ 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ขน้ึ ไป ระดับ 3 เขา้ ข้นึ ไป เกณฑ์ท่ี รอ้ ยละของ นร. สอบ 4 0 รร. ท่มี ีระดบั คณุ ภาพ ภาษาไทย 315 83 38 50 50 49 25 16 3 171 54.29 กำหนด ตามเกณฑ์ คณิตศาสตร์ 315 90 72 75 22 13 8 10 24 237 75.24 วทิ ยาศาสตร์ 315 56 48 65 83 31 15 12 4 169 53.65 3.00 54.29 สังคมศึกษาฯ 315 177 43 28 31 14 8 5 8 248 78.73 2.00 86.35 สขุ ศกึ ษาฯ 315 58 27 171 58 0 0 0 0 256 81.27 2.50 80.00 84 55 28 19 16 10 1 240 76.19 3.00 78.73 ศลิ ปะ 315 101 65 30 18 10 1 0 0 285 90.48 3.00 81.27 การงานอาชพี ฯ 315 190 49 32 39 19 7 2 0 247 78.41 3.00 76.19 ภาษาต่างประเทศ 315 166 3.00 90.48 3.00 78.41 คู่มือนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ 12

ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 จำ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน ร้อยละ รอ้ ยละของ นร. ทไ่ี ด้ ของ น.ร. ที่ได้ระดบั คุณภาพ กล่มุ สาระการ นวน จำนวนนักเรยี นทม่ี ีผลการเรยี นรู้ ระดบั 3 นร. ทไ่ี ด้ ตามเกณฑท์ ่ี รร. กำหนด เรยี นรู้ ที่ 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ขน้ึ ไป ระดบั 3 เขา้ ข้ึนไป เกณฑ์ที่ ร้อยละของ นร. สอบ 4 0 รร. ทม่ี ีระดับคุณภาพ ภาษาไทย 318 103 37 70 41 43 15 9 0 210 66.04 กำหนด ตามเกณฑ์ คณิตศาสตร์ 318 37 27 41 69 49 20 46 29 105 33.02 วทิ ยาศาสตร์ 318 85 40 53 46 48 24 22 0 178 55.97 3.00 66.04 สังคมศกึ ษาฯ 318 66 70 49 41 43 33 11 5 185 58.17 2.00 70.13 สขุ ศกึ ษาฯ 318 239 21 10 10 8 17 13 0 270 84.91 2.50 70.44 2 221 69.50 3.00 58.17 ศิลปะ 318 77 85 59 16 6 4 9 0 239 75.16 3.00 84.91 การงานอาชพี ฯ 318 116 54 69 8 26 27 18 3 206 64.78 3.00 69.50 ภาษาต่างประเทศ 318 88 44 74 40 27 26 16 3.00 75.16 3.00 64.78 จำ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน รอ้ ยละ ร้อยละของ นร. ท่ไี ด้ ของ น.ร. ท่ีได้ระดบั คุณภาพ กลมุ่ สาระการ นวน จำนวนนกั เรียนทมี่ ีผลการเรียนรู้ ระดบั 3 นร. ท่ไี ด้ ตามเกณฑท์ ี่ รร. กำหนด เรยี นรู้ ท่ี 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ขึ้นไป ระดบั 3 เข้า ขึ้นไป เกณฑ์ท่ี ร้อยละของ นร. สอบ 4 0 รร. ทีม่ ีระดบั คณุ ภาพ ภาษาไทย 318 110 49 72 48 28 7 3 0 231 72.64 กำหนด ตามเกณฑ์ คณิตศาสตร์ 318 41 27 35 49 55 52 41 17 103 32.39 วิทยาศาสตร์ 318 100 40 52 38 36 25 26 0 192 60.38 3.00 72.64 สังคมศกึ ษาฯ 318 107 42 45 39 37 23 17 7 194 61.06 2.00 65.09 สุขศกึ ษาฯ 318 177 68 53 14 1 3 1 0 298 93.71 2.50 72.33 6 239 75.16 3.00 61.06 ศิลปะ 318 216 20 3 19 11 22 20 0 302 94.97 3.00 93.71 การงานอาชีพฯ 318 275 19 8 9 2 4 0 0 219 68.87 3.00 75.16 ภาษาต่างประเทศ 318 132 45 42 41 28 19 10 3.00 94.97 3.00 68.87 คมู่ ือนิเทศภายในสถานศึกษา โรงเรียนสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 13

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 จำ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน รอ้ ยละ รอ้ ยละของ จำนวนนกั เรียนท่ีมีผลการเรียนรู้ นร. ที่ได้ ของ น.ร. ทีไ่ ด้ระดับคณุ ภาพ กลุ่มสาระการ นวน ระดับ 3 นร. ทไ่ี ด้ ตามเกณฑ์ที่ รร. กำหนด เรียนรู้ ที่ 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ขน้ึ ไป ระดับ 3 เขา้ ขน้ึ ไป เกณฑท์ ี่ ร้อยละของ นร. สอบ 4 0 รร. ทมี่ รี ะดับคุณภาพ ภาษาไทย 302 145 87 46 19 5 0 0 0 278 92.05 กำหนด ตามเกณฑ์ คณติ ศาสตร์ 302 68 41 50 68 45 20 9 1 165 54.64 วทิ ยาศาสตร์ 302 47 32 64 70 51 26 12 0 143 47.35 3.00 92.05 สังคมศกึ ษาฯ 302 76 54 78 40 26 20 18 8 208 68.87 2.00 90.07 สุขศึกษาฯ 302 293 7 2 0 0 0 0 0 302 100.00 2.50 70.53 72 34 12 2 3 7 0 278 92.05 3.00 68.87 ศิลปะ 302 172 74 40 22 11 2 2 0 265 87.75 3.00 100.00 การงานอาชีพฯ 302 151 36 43 53 25 11 19 14 180 59.60 3.00 92.05 ภาษาตา่ งประเทศ 302 101 3.00 87.75 3.00 59.60 จำ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน ร้อยละ ร้อยละของ นร. ท่ีได้ ของ น.ร. ท่ไี ด้ระดับคุณภาพ กลมุ่ สาระการ นวน จำนวนนักเรียนที่มผี ลการเรยี นรู้ ระดบั 3 นร. ท่ีได้ ตามเกณฑ์ที่ รร. กำหนด เรยี นรู้ ที่ ข้นึ ไป ระดบั 3 เขา้ 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ขึ้นไป เกณฑ์ท่ี รอ้ ยละของ นร. สอบ 4 0 รร. ท่มี รี ะดับคณุ ภาพ 51 64 28 32 8 11 ภาษาไทย 302 108 24 30 42 51 47 29 0 223 73.84 กำหนด ตามเกณฑ์ คณิตศาสตร์ 302 79 35 39 38 43 32 28 0 133 44.04 วทิ ยาศาสตร์ 302 86 72 66 35 23 15 17 1 160 52.98 3.00 73.84 สังคมศกึ ษาฯ 302 73 30 25 7 0 0 0 1 211 69.97 2.00 74.83 สขุ ศกึ ษาฯ 302 240 51 22 15 5 5 16 0 295 97.69 2.50 65.56 31 32 18 19 21 7 0 261 86.42 3.00 69.97 ศิลปะ 302 188 54 43 35 33 14 9 0 237 78.48 3.00 97.69 การงานอาชีพฯ 302 174 0 211 69.87 3.00 86.42 ภาษาต่างประเทศ 302 114 3.00 78.48 3.00 69.87 ค่มู ือนเิ ทศภายในสถานศึกษา โรงเรียนสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ 14

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 กลมุ่ สาระการ จำ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน ร้อยละ รอ้ ยละของ เรียนรู้ นวน จำนวนนกั เรียนท่มี ผี ลการเรียนรู้ นร. ทไี่ ด้ ของ น.ร. ที่ได้ระดับคณุ ภาพ ที่ ระดบั 3 นร. ท่ีได้ ตามเกณฑ์ท่ี รร. กำหนด เขา้ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขึน้ ไป ระดบั 3 สอบ ข้ึนไป เกณฑท์ ่ี ร้อยละของ นร. รร. ทม่ี ีระดับคณุ ภาพ ภาษาไทย 407 140 103 84 55 18 4 2 0 327 80.34 คณิตศาสตร์ 407 93 57 63 64 55 39 7 1 213 58.68 กำหนด ตามเกณฑ์ วทิ ยาศาสตร์ 407 146 93 89 42 19 9 1 2 328 81.39 สงั คมศึกษาฯ 407 55 55 76 77 37 33 10 19 186 51.24 3.00 80.34 สขุ ศกึ ษาฯ 407 338 46 13 5 3 25 1 0 397 97.54 2.00 81.57 378 92.87 2.50 90.90 ศลิ ปะ 407 247 81 50 15 7 3 2 0 212 99.07 3.00 51.24 การงานอาชพี ฯ 214 177 18 17 2 0 0 0 0 270 66.34 3.00 97.54 ภาษาตา่ งประเทศ 407 159 34 77 47 51 21 16 2 3.00 92.87 3.00 99.07 3.00 66.34 จำ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน รอ้ ยละ รอ้ ยละของ จำนวนนักเรียนท่มี ีผลการเรียนรู้ นร. ท่ีได้ ของ น.ร. ที่ได้ระดับคณุ ภาพ กลุ่มสาระการ นวน ระดับ 3 นร. ทีไ่ ด้ ตามเกณฑ์ที่ รร. กำหนด เรยี นรู้ ที่ 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ขึ้นไป ระดับ 3 เข้า ขึน้ ไป เกณฑท์ ่ี ร้อยละของ นร. สอบ 4 0 รร. ท่มี รี ะดบั คณุ ภาพ ภาษาไทย 407 246 60 41 26 16 5 7 3 347 85.26 กำหนด ตามเกณฑ์ คณิตศาสตร์ 407 98 26 32 63 80 75 27 3 156 38.33 วทิ ยาศาสตร์ 407 221 44 43 40 30 26 24 3 308 75.68 3.00 85.26 สังคมศกึ ษาฯ 407 156 79 54 31 30 23 13 18 289 71.00 2.00 73.46 สุขศึกษาฯ 407 268 46 24 13 24 1 0 0 338 83.05 2.50 85.50 29 24 1 4 4 5 5 358 87.96 3.00 71.00 ศลิ ปะ 407 305 38 16 2 3 5 3 2 174 92.06 3.00 83.05 การงานอาชีพฯ 189 120 63 78 49 52 13 5 16 268 65.85 3.00 87.96 ภาษาต่างประเทศ 407 127 3.00 92.06 3.00 65.85 คูม่ ือนิเทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ 15

ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 จำ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน ร้อยละ รอ้ ยละของ จำนวนนกั เรียนทีม่ ผี ลการเรียนรู้ นร. ท่ีได้ ของ น.ร. ท่ีได้ระดับคุณภาพ กลุ่มสาระการ นวน ระดับ 3 นร. ท่ีได้ ตามเกณฑท์ ่ี รร. กำหนด เรียนรู้ 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ขึน้ ไป ระดับ 3 ที่ ข้ึนไป เกณฑท์ ี่ ร้อยละของ นร. รร. ท่ีมรี ะดับคณุ ภาพ เขา้ 4 0 สอบ กำหนด ตามเกณฑ์ ภาษาไทย 357 116 74 63 54 25 15 8 1 253 71.07 3.00 71.07 คณติ ศาสตร์ 357 59 31 37 39 61 37 14 5 127 44.88 2.00 63.59 วิทยาศาสตร์ 357 158 64 63 54 10 3 2 2 285 79.83 2.50 94.96 สงั คมศึกษาฯ 357 152 112 48 17 15 9 3 0 312 87.64 3.00 87.64 สขุ ศกึ ษาฯ 159 149 7 2 0 0 0 1 0 158 99.37 3.00 99.37 3.00 91.88 ศลิ ปะ 357 146 110 72 17 6 3 1 1 328 91.88 3.00 100.00 การงานอาชีพฯ 117 112 4 1 0 0 0 0 0 117 100.00 3.00 69.10 ภาษาตา่ งประเทศ 357 81 56 109 67 39 4 0 0 246 69.10 จำ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน ร้อยละ รอ้ ยละของ นร. ทไี่ ด้ ของ น.ร. ท่ไี ด้ระดบั คณุ ภาพ กลมุ่ สาระการ นวน จำนวนนักเรียนทม่ี ีผลการเรียนรู้ ระดับ 3 นร. ทไ่ี ด้ ตามเกณฑท์ ่ี รร. กำหนด เรยี นรู้ ท่ี 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ขึ้นไป ระดับ 3 เข้า ขึน้ ไป เกณฑท์ ี่ รอ้ ยละของ นร. สอบ 4 0 รร. ทีม่ รี ะดับคุณภาพ ภาษาไทย 357 149 62 61 37 28 9 9 1 272 76.19 กำหนด ตามเกณฑ์ คณติ ศาสตร์ 357 75 35 29 54 57 81 20 5 139 38.94 วทิ ยาศาสตร์ 357 161 52 50 42 21 6 22 2 263 73.67 3.00 76.19 สงั คมศึกษาฯ 357 168 70 44 36 14 8 11 5 282 78.99 2.00 70.03 สขุ ศกึ ษาฯ 357 252 56 28 8 9 1 2 0 336 94.12 2.50 85.43 3 310 86.83 3.00 78.99 ศลิ ปะ 357 171 81 58 17 4 1 2 0 235 98.33 3.00 94.12 การงานอาชีพฯ 239 202 23 10 3 0 1 0 0 322 90.20 3.00 86.83 ภาษาตา่ งประเทศ 357 166 96 60 30 4 0 0 3.00 98.33 3.00 90.20 คู่มือนเิ ทศภายในสถานศึกษา โรงเรยี นสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 16

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 จำ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน รอ้ ยละ รอ้ ยละของ จำนวนนกั เรยี นที่มผี ลการเรยี นรู้ นร. ท่ไี ด้ ของ น.ร. ทไี่ ด้ระดบั คุณภาพ กลมุ่ สาระการ นวน ระดับ 3 นร. ที่ได้ ตามเกณฑท์ ี่ รร. กำหนด เรียนรู้ 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ขนึ้ ไป ระดับ 3 ที่ ข้ึนไป เกณฑท์ ี่ ร้อยละของ นร. รร. ทีม่ รี ะดับคณุ ภาพ เขา้ 4 0 สอบ กำหนด ตามเกณฑ์ ภาษาไทย 364 79 93 96 66 22 4 4 0 268 73.63 3.00 73.63 2 2.00 99.18 คณิตศาสตร์ 364 160 57 62 50 32 1 3 0 279 76.65 2.50 78.32 1 3.00 94.48 วทิ ยาศาสตร์ 143 39 29 24 20 21 7 0 0 92 64.34 3.00 100.00 0 3.00 97.80 สังคมศึกษาฯ 364 176 122 47 10 4 4 - 0 345 94.48 1 -- สุขศึกษาฯ 364 339 23 2 0 0 0 0 364 100.00 3.00 75.27 ศิลปะ 364 295 50 11 3 1 0 0 356 97.80 การงานอาชีพฯ - - - - - - - -- - ภาษาตา่ งประเทศ 364 105 66 103 61 24 4 0 274 75.27 จำ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน ร้อยละ รอ้ ยละของ จำนวนนกั เรยี นทม่ี ผี ลการเรียนรู้ นร. ทไ่ี ด้ ของ น.ร. ทไี่ ด้ระดบั คณุ ภาพ กลุ่มสาระการ นวน ระดบั 3 นร. ทไี่ ด้ ตามเกณฑ์ที่ รร. กำหนด เรยี นรู้ 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ขึน้ ไป ระดับ 3 ที่ ข้ึนไป เกณฑท์ ่ี รอ้ ยละของ นร. รร. ท่มี รี ะดับคณุ ภาพ เข้า 4 0 สอบ กำหนด ตามเกณฑ์ ภาษาไทย 364 119 87 83 43 19 12 1 0 289 79.40 3.00 79.40 คณติ ศาสตร์ 364 143 30 37 34 49 37 34 0 210 57.69 2.00 77.75 วทิ ยาศาสตร์ 364 - - - - - - - - - - - - สงั คมศกึ ษาฯ 364 231 62 38 21 3 5 4 0 331 90.93 3.00 90.93 สุขศึกษาฯ 364 362 2 0 0 0 0 0 0 364 100.00 3.00 100.00 ศลิ ปะ 364 331 16 9 3 4 0 1 0 356 97.80 3.00 97.80 การงานอาชพี ฯ - - - - - - - - - - - - - ภาษาตา่ งประเทศ 364 146 63 59 40 33 8 14 1 268 73.63 3.00 73.63 ค่มู อื นเิ ทศภายในสถานศึกษา โรงเรียนสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 17

แผนภมู แิ สดงร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ไี ดร้ ะดบั คณุ ภาพตามเกณฑท์ โี่ รงเรยี นกำหนด แผนภูมิแท่งแสดงร้อยละของจานวนนักเรียนท่ีได้ระดับคุณภาพตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด ปีการศึกษา 2563 ภาษาไทย 74.33 คณิตศาสตร์ 76.30 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 82.49 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 70.09 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 95.37 ศิลปะ 87.06 การงานอาชีพ 90.20 ภาษาต่างประเทศ 72.42 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 100.00 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 รายวิชา จำนวน คะแนนเฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบน คะแนนเฉลีย่ ผลต่างระหว่างคะแนนเฉลยี่ ผูเ้ ข้าสอบ ระดบั โรงเรยี น มาตรฐาน ประเทศ จงั หวัด ระดบั โรงเรยี นและประเทศ ภาษาไทย 100 68.51 10.23 54.29 59.51 14.22 ภาษาอังกฤษ 99 50.13 15.94 34.38 43.87 15.75 คณติ ศาสตร์ 101 37.54 20.64 25.46 31.61 12.08 วทิ ยาศาสตร์ 99 34.78 11.25 29.89 33.02 4.89 จากตารางสรปุ ได้ว่า 1. กลุ่มสาระการเรียนรทู้ ่ีมีคะแนนเฉลยี่ ไม่ต่ำกว่า 50 คะแนน ได้แก่ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 2. ทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ ได้ระดับคะแนนเฉลยี่ ระดบั โรงเรยี น มากกวา่ คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ 3. ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ได้ระดบั คะแนนเฉล่ียระดับโรงเรียน มากกว่าคะแนนเฉล่ียระดับจงั หวดั คมู่ อื นิเทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ 18

ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 รายวชิ า จำนวน คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบน คะแนนเฉลย่ี ผลต่างระหว่างคะแนนเฉล่ยี ผเู้ ขา้ สอบ ระดับโรงเรียน มาตรฐาน ประเทศ จังหวดั ระดบั โรงเรียนและประเทศ ภาษาไทย 359 61.30 13.15 44.36 51.46 16.94 สังคมศกึ ษาฯ 363 41.05 7.66 35.93 39.36 5.12 ภาษาองั กฤษ 356 41.22 14.82 29.94 40.97 11.28 คณิตศาสตร์ 364 39.19 21.05 26.04 34.35 13.15 วิทยาศาสตร์ 349 40.48 14.25 32.68 37.94 7.80 จากตารางสรปุ ได้วา่ 1. กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ีม่ ีคะแนนเฉล่ยี ไม่ต่ำกว่า 50 คะแนน ไดแ้ ก่ ภาษาไทย 2. ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ได้ระดับคะแนนเฉลยี่ ระดับโรงเรียน มากกว่าคะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ 3. ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ได้ระดับคะแนนเฉลี่ยระดบั โรงเรยี น มากกวา่ คะแนนเฉลี่ยระดับจงั หวดั คมู่ ือนิเทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ 19

ตอนที่ 3 ขอ้ มลู อนื่ ๆ เพิม่ เติม รปู แบบ (Model) การนเิ ทศของโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ คู่มือนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสตรวี ดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ 20

เอกสารต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกับการนิเทศของโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถมั ภ์ คำสง่ั ที่ 107/2564 แต่งต้งั คณะกรรมการดำเนนิ การนเิ ทศภายในและนิเทศออนไลนภ์ ายในโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา 2564 คู่มือนเิ ทศภายในสถานศึกษา โรงเรยี นสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 21

ตารางสรปุ ผลการนเิ ทศ คำสงั่ ที่ 6/2564แต่งตง้ั คณะกรรมการนเิ ทศภายใน ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 ตารางสรุปผลการประเมนิ การใช้สอ่ื นวตั กรรมและ แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียน บนั ทกึ ข้อความรายงานผลการนเิ ทศ คู่มือนเิ ทศภายในสถานศึกษา โรงเรียนสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ 22

แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม

ม การจัดการเรยี นรู้ คู่มือนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรวี ดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ 23

แบบประเมนิ แผน

นการจัดการเรยี นรู้ คู่มอื นเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ 24

แบบประเมนิ การใช้ส่ือ นวัตกรรมแล

ละแหล่งเรยี นรใู้ นการเรยี นการสอน คู่มอื นิเทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 25

แบบประเมนิ

นผ้นู เิ ทศรอง ค่มู ือนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรวี ัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ 26

ตวั อย่างการนเิ ทศภายในสถานศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ค่มู ือนิเทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินปู ถมั ภ์ 27

ค่มู ือนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ 28

ค่มู ือนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ 29

ค่มู ือนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ 30

ค่มู ือนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสตรีวดั มหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ 31

รายการอ้างอิง บัณฑูร มนตรานนท์. การศึกษาการนิเทศภายในของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครูผู้สอน โรงเรียนมัธยมศึกษาใน จังหวัดสมุทรสงคราม. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ, 2556. ศึกษาธิการ, กระทรวง. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด, 2553. ศกึ ษาธิการ, กระทรวง. พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. สงดั อทุ รานันท์. การนเิ ทศการศึกษาหลักการทฤษฎีและการปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์มติ รสยาม, 2530. กรงุ เทพมหานคร, 2553. อัญชลี ธรรมะวธิ กี ลุ . ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกบั การนิเทศการศึกษา. [ออนไลน]์ . 2552. แหลง่ ที่มา: https://panchalee.wordpress.com/2009/03/30/supervision/ คูม่ อื นเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ 32

ปรัชญาโรงเรยี น ค ว า ม รู้ คู่ ค ว า ม ดี