Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำสรรพนาม

คำสรรพนาม

Published by Nuengrutai Meethong, 2022-07-20 15:06:40

Description: คำสรรพนาม

Search

Read the Text Version

คำสรรพนาม หมายถึง? คำที่ใช้แทนคำนามที่กล่าวมาแล้ว เพื่อจะได้ไม่ต้องกล่าวซ้ำอีก

๑. ๒. ๓. บุรุษสรรพนาม ปฤจฉาสรรพนาม วิภาคสรรพนาม (บุ-หรุด-สับ-พะ-นาม) (ปริด-ฉา-สับ-พะ-นาม) (วิ-พาก-สับ-พะ-นาม) คำสรรพนาม ๕. ๔. นิยมสรรพนาม อนิยมสรรพนาม (นิ-ยะ-มะ-สับ-พะ-นาม) (อะ-นิ-ยะ-มะ-สับ-พะ-นาม)



๑. บุรุษสรรพนาม(บุ-หรุด-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้เรียกบุคคล แบ่งได้ ๓ ลักษณะ ได้แก่ บุรุษที่ ๑ แทนผู้พูด เช่น ฉัน ผม หนู ข้าพเจ้า พวกเรา ดิฉัน บุรุษที่ ๒ แทนผู้ฟัง เช่น เธอ ท่าน นาย คุณ แก พวกเธอ พวก คุณ บุรุษที่ ๓ แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง เช่น ท่าน มัน เขา พวกนั้น

บุรุษที่ ๑ แทนผู้พูด ตัวอย่าง ครูครับ ผมไม่อยากเรียน ??

บุรุษที่ ๑ แทนผู้พูด ตัวอย่าง สวัสดีค่ะ หนูเป็นนักเรียนชั้น ป.๕ ค่ะ ??

บุรุษที่ ๑ แทนผู้พูด ตัวอย่าง เพื่อน ๆ วันนี้พวกเราจะกินอะไรกันดี ??

บุรุษที่ ๒ แทนผู้ฟัง ตัวอย่าง ญาณินท์ เธอชอบเจนวิทย์ใช่ไหม ??

บุรุษที่ ๒ แทนผู้ฟัง ตัวอย่าง ประยุทย์ เราเลิกกันเถอะ นายดีเกินไป ??

บุรุษที่ ๒ แทนผู้ฟัง ตัวอย่าง พวกเธอนี่พูดแข่งกับครูทุกคาบเลยนะ ??

บุรุษที่ ๓ แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง ตัวอย่าง พี่สาวของหนูเขาชอบโดดเรียน ??

บุรุษที่ ๓ แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง ตัวอย่าง ถึงวาฬจะอยู่ในทะเล แต่มันไม่ใช่ปลา ??

บุรุษที่ ๓ แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง ตัวอย่าง หนูรักแม่ของหนูมาก เพราะท่านเลี้ยงดูหนูมาอย่างดี ??



๒. ปฤจฉาสรรพนาม(ปริด-ฉา-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้แสดงคำถาม เช่น ใคร อะไร ไหน ตัวอย่าง ใครหยิบหนังสือของเราไป

๒. ปฤจฉาสรรพนาม(ปริด-ฉา-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้แสดงคำถาม เช่น ใคร อะไร ไหน ตัวอย่าง อะไรอยู่ในห้อง

๒. ปฤจฉาสรรพนาม(ปริด-ฉา-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้แสดงคำถาม เช่น ใคร อะไร ไหน ตัวอย่าง ไหนอะเงินที่ยืมไป



๓. วิภาคสรรพนาม (วิ-พาก-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้ชี้ซ้ำ เพื่อแยกส่วนคำนามที่อยู่ด้านหน้า เช่น ต่าง บ้าง กัน ตัวอย่าง ถ้าอยู่ด้วยกันไม่ได้ก็ต่างคนต่างอยู่

๓. วิภาคสรรพนาม (วิ-พาก-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้ชี้ซ้ำ เพื่อแยกส่วนคำนามที่อยู่ด้านหน้า เช่น ต่าง บ้าง กัน ตัวอย่าง ใครจะกินขนมบ้าง เดี๋ยวแม่ซื้อมาฝาก

๓. วิภาคสรรพนาม (วิ-พาก-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้ชี้ซ้ำ เพื่อแยกส่วนคำนามที่อยู่ด้านหน้า เช่น ต่าง บ้าง กัน ตัวอย่าง เราจะกินข้าวกันตอนไหน

๓. วิภาคสรรพนาม (วิ-พาก-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้ชี้ซ้ำ เพื่อแยกส่วนคำนามที่อยู่ด้านหน้า เช่น ต่าง บ้าง กัน ตัวอย่าง เพื่อน ๆ ไปไหนกันหมด



๔. อนิยมสรรพนาม(อะ-นิ-ยะ-มะ-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้คำแสดงคำถามมาแทนคำนามโดยไม่กำหนดชี้เฉพาะ และไม่ถือว่าเป็นประโยคคำถาม ใคร อะไร ไหน ตัวอย่าง ใครจะอยากทำการบ้านเยอะ ๆ

๔. อนิยมสรรพนาม(อะ-นิ-ยะ-มะ-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้คำแสดงคำถามมาแทนคำนามโดยไม่กำหนดชี้เฉพาะ และไม่ถือว่าเป็นประโยคคำถาม ใคร อะไร ไหน ตัวอย่าง อะไร ๆ ก็หนู แม่ก็ว่าน้องบ้างสิ

๔. อนิยมสรรพนาม(อะ-นิ-ยะ-มะ-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้คำแสดงคำถามมาแทนคำนามโดยไม่กำหนดชี้เฉพาะ และไม่ถือว่าเป็นประโยคคำถาม ใคร อะไร ไหน ตัวอย่าง ไหน ๆ ก็มาแล้ว มากินข้าวด้วยกันสิ



๕. นิยมสรรพนาม(นิ-ยะ-มะ-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามเพื่อบอกระยะใกล้-ไกล เช่น นี่ นั่น โน่น ตัวอย่าง นี่ไง สมุดของเธอ

๕. นิยมสรรพนาม(นิ-ยะ-มะ-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามเพื่อบอกระยะใกล้-ไกล เช่น นี่ นั่น โน่น ตัวอย่าง นั่นใช่แม่เธอไหม

๕. นิยมสรรพนาม(นิ-ยะ-มะ-สับ-พะ-นาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามเพื่อบอกระยะใกล้-ไกล เช่น นี่ นั่น โน่น ตัวอย่าง โน่นไง เพื่อน ๆ เดินมาแล้ว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook