Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทฤษฎีดนตรี

ทฤษฎีดนตรี

Published by สโรชา บุญยะพานิชย์, 2020-02-26 09:16:57

Description: ทฤษฎีดนตรี

Search

Read the Text Version

ทฤษฎดี แนนวปตฏบิ รัติี สมนกึ อ่นุ แกว้



ทฤษฎดี นตรี แนวปฏบิ ตั ิ สมนึก อุน่ แกว้ [email protected]

ข้อมลู ทางบรรณานุกรมของส�ำ นกั หอสมุดแหง่ ชาติ สมนึก อนุ่ แกว้ . ทฤษฎีดนตรีแนวปฏบิ ัติ.-- พมิ พค์ รง้ั ที่ 9.-- อดุ รธานี : มวิ สิคโก, 2555. 160 หน้า. 1. ดนตรี--ทฤษฎี. I. ช่ือเรอ่ื ง. 781 ISBN 978-616-305-842-3 © สงวนลิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. 2536 โดย นายสมนึก อนุ่ แก้ว ตามพระราชบัญญตั ิลิขสทิ ธิ์ 2537 ราคา 125 บาท พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2536 พมิ พ์ครั้งท่ี 6 มถิ ุนายน 2544 พิมพ์ครงั้ ที่ 2 มีนาคม 2537 พมิ พ์คร้ังท่ี 7 มีนาคม 2547 พิมพ์คร้ังที่ 3 กรกฎาคม 2537 พมิ พ์คร้งั ที่ 8 มีนาคม 2549 พิมพค์ รง้ั ที่ 4 พฤษภาคม 2538 พิมพ์ครง้ั ที่ 9 พฤศจิกายน 2555 พิมพค์ รง้ั ท่ี 5 ตุลาคม 2539 จดั พิมพโ์ ดย : มวิ สิคโก อุดรธานี โทรศัพท์ 0-8672-3908-5 พมิ พ์ท่ี : ส.เอเซยี เพรส (1989) กรงุ เทพมหานคร โทรศัพท์ 0-2732-3101-6 จดั จ�ำ หน่ายโดย : บรษิ ทั ดวงกมลสมัย จ�ำ กดั 15/234 ซอยเสอื ใหญ่อุทิศ ถนนรชั ดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตจุ ักร กรงุ เทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : 0-2541-7375-6, 0-2930-6215-8 โทรสาร : 0-2541-7377, 0-2930-7733 อเี มล : [email protected], [email protected] เวบ็ ไซต์ : www.dktoday.net

ค�ำ นำ� ก ความเข้าใจเก่ียวกับทฤษฎีดนตรีนั้น นับว่ามีความสำ�คัญอย่างมากสำ�หรับผู้ท่ี เล่นดนตรี อย่างน้อยที่สุดก็ควรจะอ่านโน้ตได้ เพราะโน้ตเป็นภาษาท่ีใช้เขียนบันทึก เสยี งดนตรีให้อยู่ในรูปของสัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ท�ำ ให้สามารถศกึ ษาดนตรไี ด้เข้าใจง่ายขึน้ และผู้ทีอ่ า่ นโนต้ ไดย้ อ่ มสามารถพฒั นาทกั ษะทางด้านดนตรไี ด้ดีขน้ึ ดว้ ย ในการเรียนรู้เรื่องโน้ตจนสามารถเล่นดนตรีตามโน้ตได้น้ัน จะต้องอาศัยเวลา ความมานะพยายาม และต้องศึกษาอย่างต่อเน่ืองตามขั้นตอนจึงจะได้ผล การศึกษา ด้วยตนเองอาจทำ�ได้ แต่ต้องมีตำ�ราท่ีดีและมีผู้แนะนำ�ในช่วงเร่ิมต้น เพ่ือวางพ้ืนฐาน กอ่ น แล้วจึงไปศึกษาหาความรู้และประสบการณ์ตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเองได้ หนังสอื ทฤษฎีดนตรีแนวปฏบิ ัติ ไดเ้ รยี บเรียงจากต�ำ ราหลาย ๆ เลม่ จาก ประสบการณก์ ารสอนดนตรี และได้ทำ�การปรับปรุงแกไ้ ขหลายคร้ังกวา่ จะออกมาเปน็ รูปเล่มที่เห็นอยู่นี้ เพ่ือให้ได้เนื้อหาที่ถูกต้องสมบูรณ์เมื่ออ่านแล้วสามารถนำ�ไปปฏิบัติ ได้ทันที เนื้อหาเรียงลำ�ดับจากง่ายไปหายาก และครอบคลุมหลักทฤษฎีดนตรีสากล ขั้นพ้ืนฐาน สามารถใช้เป็นหนังสือประกอบการเรียนการสอนวิชาทฤษฎีดนตรีสากล ในระดบั มธั ยมศกึ ษาและอดุ มศึกษาได้ หรอื ใชเ้ ป็นคมู่ อื สำ�หรบั นกั เรยี นดนตรี ครดู นตรี นกั ดนตรี ตลอดจนผู้ท่ีสนใจโดยทัว่ ไป ในการจัดพิมพ์คร้ังนี้ได้ทำ�การปรับปรุงแก้ไข คำ�ศัพท์ สัญลักษณ์ของคอร์ด ให้เป็นมาตรฐานสากล ได้เพ่ิมเติมเน้ือหาเรื่องการดำ�เนินคอร์ด และเฉลยแบบฝึกหัด ไว้ในภาคผนวก นอกจากนี้ยังได้ปรับปรุงคำ�อธิบายเน้ือหาในบางส่วนเพื่อให้มีความ รดั กุม สมบูรณ์ อา่ นแลว้ เขา้ ใจในเน้อื หาไดง้ า่ ยขน้ึ ผู้เขียนขอขอบพระคุณครูบาอาจารย์ท่ีท่านได้ประสิทธิ์ประศาสน์วิชาความรู้ ทางด้านดนตรี โดยเฉพาะผู้ชว่ ยศาสตราจารยว์ ิเชยี ร วรนิ ทรเวช ทีก่ รณุ าให้คำ�แนะนำ� และตรวจแก้ต้นฉบับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำ�นวย บรรลือวงศ์ ท่ีเป็นผู้จุดประกายใน การจัดทำ�เอกสารทางดนตรีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ตลอดจนผู้เขียนตำ�ราท่ีได้นำ�มา อ้างอิงในบรรณานุกรม ขอขอบพระคุณเป็นพิเศษในความกรุณาของคุณอรประไพ ธรรมตระกล ทีช่ ว่ ยตรวจสอบข้อผิดพลาดในการจัดพิมพค์ ร้ังกอ่ น ๆ ใหถ้ ูกต้องย่งิ ขึน้ ถึงแม้ไม่เคยรู้จักกันท่านก็มีน้ําใจ ตรวจสอบทุกตัวอักษรจนได้หนังสือดนตรีที่มีเน้ือหา ถูกต้องสมบูรณ์และเป็นมาตรฐานเล่มนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มน้ีคงจะนำ� ประโยชน์มาสูผ่ ูท้ ี่มใี จรกั ในดนตรกี ารตลอดไป

แด่ คณุ พ่อ - คุณแม่ ครู - อาจารย์ และผมู้ ีพระคุณ

สารบัญ ค หน้า ค�ำ น�ำ ��������������������������������������������������������������������������������������������������������������� ก สารบญั ............................................................................................................... ค บทน�ำ ช��������������������������������������������������������������������������������������������������������������� ช บทที่ 1 จงั หวะ 1. ความหมาย........................................................................................1 2. ตัวโนต้ และตัวหยดุ ...........................................................................2 3. การเพิม่ ค่าความยาวของโนต้ .............................................................3 4. โนต้ สามพยางค.์ .................................................................................4 5. ห้องเพลง...........................................................................................5 6. เครอ่ื งหมายประจำ�จงั หวะ6�����������������������������������������������������������������6 7. เคร่ืองหมายประจ�ำ จังหวะอน่ื ๆ9��������������������������������������������������������9 8. การจัดกล่มุ โนต้ ............................................................................... 10 9. การเขียนจงั หวะทำ�นอง1������������������������������������������������������������������ 12 10. หลกั การปฏบิ ัตจิ ังหวะตามโน้ต....................................................... 14 11. การอา่ นจังหวะโนต้ ......................................................................... 15 แบบฝกึ หดั ที่ 1................................................................................ 17 บทที่ 2 ระดับเสยี ง 1. ความหมาย..................................................................................... 19 2. บรรทดั หา้ เส้น................................................................................. 20 3. เส้นน้อย.......................................................................................... 20 4. กุญแจประจำ�หลกั 2��������������������������������������������������������������������������� 21 5. เปรียบเทยี บระดบั เสยี งของกญุ แจประจำ�หลัก2������������������������������� 24 6. กุญแจประจ�ำ หลักอน่ื ๆ2������������������������������������������������������������������ 25 7. หลกั การบนั ทึกโนต้ ......................................................................... 26 8. ระยะห่างของระดบั เสียง................................................................. 27 9. เครอื่ งหมายแปลงเสยี ง................................................................... 28

ง 10. เคร่ืองหมายแปลงเสียงบนคยี ์เปียโน............................................... 29 11. ขอ้ ควรจ�ำ เกี่ยวกบั เครื่องหมายแปลงเสยี ง3�������������������������������������� 30 แบบฝกึ หดั ท่ี 2................................................................................ 31 บทท่ี 3 บนั ไดเสยี ง 1. ความหมาย..................................................................................... 33 2. ช่ือล�ำ ดบั ข้ันของโน้ตในบันไดเสียง3�������������������������������������������������� 34 3. บันไดเสียงเมเจอร.์ .......................................................................... 35 4. เททราคอร์ด.................................................................................... 36 5. การสร้างบนั ไดเสยี งเมเจอร์............................................................. 36 6. บนั ไดเสยี งเมเจอร์ทง้ั หมด............................................................... 39 7. เครอ่ื งหมายประจำ�กุญแจเสียง และกญุ แจเสียง4����������������������������� 41 8. เครอื่ งหมายประจำ�กญุ แจเสยี งเมเจอร์4������������������������������������������� 42 9. วิธหี าชอื่ กญุ แจเสยี งเมเจอร.์ ............................................................ 42 10. วธิ หี าเคร่อื งหมายประจ�ำ กญุ แจเสียงเมเจอร4์ ����������������������������������� 43 11. บันไดเสยี งไมเนอร.์ ......................................................................... 44 12. การสร้างบนั ไดเสียงไมเนอร.์ ........................................................... 48 13. บันไดเสียงฮาร์โมนิกไมเนอร.์ .......................................................... 49 14. บนั ไดเสียงเมโลดกิ ไมเนอร.์ ............................................................. 51 15. เครือ่ งหมายประจ�ำ กุญแจเสยี งไมเนอร์5������������������������������������������� 53 16. วิธหี าชอื่ กุญแจเสียงไมเนอร์............................................................ 53 17. กุญแจเสยี งคู่ขนาน.......................................................................... 54 18. กญุ แจเสยี งร่วม............................................................................... 55 19. วงจรคูห่ า้ ........................................................................................ 56 20. บันไดเสยี งโครมาตกิ ....................................................................... 57 21. บันไดเสียงอ่ืน ๆ.............................................................................. 58 แบบฝึกหดั ที่ 3................................................................................ 61

จ บทที่ 4 ขัน้ ค่เู สียง 1. ความหมาย..................................................................................... 65 2. ชือ่ ข้ันคเู่ สยี ง.................................................................................... 66 3. ชนดิ ของข้ันค่เู สยี ง.......................................................................... 67 4. ขัน้ ค่เู สยี งผสม................................................................................. 70 5. การพลกิ กลบั ของขั้นคู่เสยี ง............................................................. 71 6. ขน้ั คูเ่ สียงบนโนต้ ของบนั ไดเสียงเมเจอร์.......................................... 74 7. ขัน้ ค่เู สยี งบนโน้ตของบนั ไดเสยี งไมเนอร์......................................... 75 8. คณุ ภาพเสยี งของขน้ั คู่เสียง............................................................. 77 9. การวเิ คราะหข์ นั้ คู่เสยี ง................................................................... 78 10. การทดกุญแจเสียง.......................................................................... 80 แบบฝกึ หัดที่ 4................................................................................ 81 บทที่ 5 คอรด์ 1. ความหมาย..................................................................................... 83 2. ทรยั แอด......................................................................................... 84 3. คอรด์ ซัสเปนเดด............................................................................. 86 4. คอรด์ เซเวนธ.์ .................................................................................. 87 5. คอร์ดซิกธ์....................................................................................... 90 6. คอรด์ ไนธ์........................................................................................ 91 7. คอรด์ อิเลเวนธ์................................................................................ 93 8. คอร์ดเธอทนี ธ์................................................................................. 94 9. คอรด์ เทนชัน................................................................................... 95 10. โครงสร้างคอรด์ .............................................................................. 96 11. การสรา้ งคอรด์ ................................................................................ 98 12. คอร์ดพลิกกลบั .............................................................................100 13. คอร์ดในกญุ แจเสยี งเมเจอร.์ ..........................................................102 14. คอรด์ ในกุญแจเสียงไมเนอร.์ .........................................................106 15. คอรด์ กบั โมด.................................................................................108

ฉ 16. การด�ำ เนินคอร์ด1���������������������������������������������������������������������������110 แบบฝกึ หัดที่ 5..............................................................................113 ภาคผนวก ก. ชื่อโน้ตในภาษาต่าง ๆ...................................................................116 ข. ศพั ท์ดนตร.ี ...................................................................................117 ค. เครอื่ งหมายทางดนตรี..................................................................119 ง. เฉลยแบบฝกึ หดั ............................................................................125 จ. ฝกึ ปฏิบัติจงั หวะ...........................................................................137 ฉ. ฝกึ อ่านโน้ตออกเสยี ง....................................................................140 บรรณานกุ รม .....................................................................................................146 ดรรชน ี .....................................................................................................148

บทนำ� ช ข้าวรพทุ ธเจ้า เอามโนและศิระกราน นบพระภมู ิบาล บุญดเิ รก..... เมื่ออ่านประโยคสองบรรทัดข้างบน เป็นเพียงแค่บทร้อยกรองธรรมดาไม่มี จังหวะท่ีแน่นอน และไม่มีระดับเสียงสูง - ต่ํา แต่ถ้านำ�มาร้องเป็นเพลงก็คือเพลง สรรเสริญพระบารมี ซ่ึงแตกต่างจากบทร้อยกรอง เพราะมีจังหวะและระดับเสียง สูง - ต่าํ ซงึ่ เปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะของเพลงหรือดนตรี จังหวะก็คือ ความส้ัน - ยาว ของเสียง เมื่อร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี โดยเคาะเทา้ เปน็ จังหวะพร้อมกนั ไปดว้ ยจะได้ความส้ัน - ยาวของเสียง ดงั น้ี ค�ำ รอ้ ง ขา้ ว ร พุท ธ เจ้า จังหวะเคาะ 1 2 3 4 5 6 7 8 ความส้ัน - ยาวของเสียง ข้า ยาวสองจังหวะ ออกเสยี งตรงจังหวะเคาะท่ี 1 ว ยาวครง่ึ จงั หวะ ออกเสียงตรงจังหวะเคาะท่ี 3 ร ยาวครง่ึ จงั หวะ ออกเสยี งตรงจงั หวะยกท่ี 3 พทุ ยาวคร่ึงจงั หวะ ออกเสียงตรงจังหวะเคาะที่ 4 ธ ยาวครง่ึ จงั หวะ ออกเสียงตรงจังหวะยกท่ี 4 เจา้ ยาวสามจังหวะ ออกเสียงตรงจงั หวะเคาะท่ี 5 ในขณะทรี่ อ้ งเพลงจะมีระดบั เสยี งสูง - ตํา่ สลบั กันไป ซึง่ เป็นลักษณะเฉพาะ ของแต่ละเพลง ระดับเสียงของดนตรีนั้นมีช่ือเรียกเรียงตามลำ�ดับจากเสียงตํ่าไปหา เสียงสงู ดงั นี้คอื โด เร มี ฟา ซอล ลา ที เมอื่ รอ้ งเพลงสรรเสรญิ พระบารมีประโยคแรก จะไดร้ ะดับเสียง ดังนี้ ค�ำ รอ้ ง ข้า ว ร พุท ธ เจ้า ระดบั เสยี ง โด เร โด เร มี โด จังหวะเคาะ 1 2 3 4 5 6 7 8 ความสั้น - ยาว และความสงู - ต่ําของเสยี ง

ซ เพ่ือให้มีความเข้าใจและเห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น จึงนำ�ความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวะกับระดับเสียง มาเขยี นเปน็ ภาพแผนภมู ไิ ดด้ ังน้ี ระดับเสียง ฟา มี ธ เร ว พทุ โด ขา้ ร เจ้า 1 2 3 4 5 6 7 8 จังหวะเคาะ จงั หวะ และระดับเสยี ง (ทำ�นองเพลง) ในการร้องเพลงน้ันต้องมีจังหวะและระดับเสียงควบคู่กันไปตลอด ซ่ึงเรียกว่า ทำ�นองเพลง (Melody) สามารถเขียนบันทกึ โดยใช้สญั ลักษณท์ เ่ี รียกวา่ โนต้ (Note) ดงั น้นั เพลงสรรเสริญพระบารมีเขยี นบนั ทกึ เป็นโนต้ ได้ดังน้ี สรรเสริญพระบารมี ท�ำ นอง : นายเฮวตุ เซน ค�ำ รอ้ ง : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจา้ ฟา้ กรมพระยานริศรานวุ ัดติวงศ ์ ขา้ ว ร พุท ธ เจ้า เอา ม โน และ ศ ิ ระ กราน นบ พระ ภ ู มิ บาล บ ุ - ญ ด ิ เรก เอก บ ร ม จ ั - กรนิ พระ ส ยา - มินทร์ พระ ย ศ ยงิ่ ยง เยน็ ศ ิ ระ เพราะ พระ บ ร ิ บาล ผล พระค ุณ ธ รกั ษา ปวง ประ ชา เป็น ส ุ ข ศานต์ ขอ บัน ดาล ธ ประ สงค์ - ใด จง สฤษด์ิ ดงั หวัง ว ร ห ฤ ทยั ดุ จ ถ วายช ัย ช โย จงั หวะ หรอื ความส้ัน - ยาวของเสียง เขียนบันทึกดว้ ย ตัวโนต้ ระดบั เสียง หรือ ความสูง - ตา่ํ ของเสียง เขยี นบันทึกดว้ ย บรรทดั ห้าเสน้

1จ(งัTIหMวE)ะ 1. ความหมาย จังหวะ1 หมายถึง ช่วงเวลาที่ดําเนินอยู่ในขณะที่บรรเลงดนตรี จะสิ้นสุดลง ก็ต่อเมือ่ จบบทเพลงนน้ั ๆ แล้ว จังหวะมีหนา้ ทคี่ อยควบคมุ การเคล่ือนที่ของทาํ นอง และแนวประสานเสียงต่าง ๆ ให้มีความสัมพันธ์กัน การเดินของจังหวะจะดำ�เนินไป อย่างสม่ําเสมอ จงึ เปรียบเทียบจังหวะเหมอื นกบั เปน็ เวลาหรอื ชพี จรของดนตรี จังหวะเป็นองค์ประกอบที่สำ�คัญของดนตรี และเป็นทักษะขั้นพื้นฐานของ ผู้เล่นดนตรี จังหวะทีค่ วรท�ำ ความเข้าใจและปฏบิ ตั ิให้ถกู ต้อง ไดแ้ ก่ 1.1 จังหวะเคาะ (Beat) เป็นหน่วยบอกช่วงเวลาของดนตรี ปฏิบัติโดย การเคาะจังหวะใหด้ ําเนินไปอยา่ งสมํ่าเสมอขณะที่เลน่ ดนตรี จนกว่าจะจบบทเพลง ยก ยก ยก ยก การเคาะจังหวะ ความ ยาวของ จังหวะ ตก ตก ตก ตก จงั หวะเคาะ 1 & 2 & 3 & 4 & การเคาะจังหวะ 1.2 จังหวะทำ�นอง (Rhythm) เป็นช่วงเวลาทเ่ี สยี งดงั ออกมา มีทั้งเสยี งสั้น เสียงยาวสลับกันไปหรือบางครั้งอาจสลับด้วยความเงียบด้วยก็ได้ ซ่ึงมีความแตกต่าง กันไปแลว้ แต่บทเพลง ความส้นั - ยาวของจังหวะทำ�นองใชจ้ ังหวะเคาะเป็นเครื่องวดั จงั หวะทำ�นอง ขา้ ว ร พุท ธ เจ้า จงั หวะเคาะ 1 2 3 4 5 6 7 8 (ความเงียบ) ความส้ัน - ยาว ของจงั หวะทำ�นอง ความสนั้ - ยาว ของเสยี งหรือความเงียบในจงั หวะท�ำ นองน้นั สามารถเขียน บันทกึ ได้ โดยใชส้ ัญลักษณ์ที่เรียกว่า ตัวโน้ต และตัวหยดุ 1ส.สุรรัตน.์ ค่มู อื สอบภาคทฤษฎดี นตรสี ากล. 2529. หน้า 32.

2 ทฤษฎีดนตรแี นวปฏบิ ัติ 2. ตวั โน้ต และตัวหยุด ตวั โนต้ (Note) เปน็ สัญลักษณ์ท่เี ขยี นบนั ทึกความส้นั - ยาว ของเสยี ง ตัวหยดุ (Rest) เป็นสัญลักษณ์ทเ่ี ขยี นบันทกึ ความสน้ั - ยาว ของความเงยี บ ลกั ษณะและช่อื ของตัวโน้ต และตัวหยดุ 1 ชอื่ อเมริกัน ตัวโนต้ ตัวหยดุ ชอื่ ไทย ชอ่ื องั กฤษ Whole Semibreve w ตัวกลม h หรือ H ตัวขาว Minim Half q หรอื Q e หรือ E Î ตวั ดํา Crotchet Quarter x หรือ X ä เขบต็ หนง่ึ ชน้ั Quaver Eighth Å เขบต็ สองชัน้ Semi Quaver Sixteenth เปรยี บเทยี บคา่ ความยาวของตัวโนต้ w h h q q q q e e e e e e e e x x x x x x x x x x x x x x x x จะเหน็ ว่า โนต้ ตวั ขาว มีคา่ เทา่ กับ 118121146 ของโน้ตตวั กลม โน้ตตัวดํา มีคา่ เท่ากบั ของโนต้ ตัวกลม โนต้ เขบ็ตหนง่ึ ชนั้ มีค่าเท่ากบั ของโนต้ ตวั กลม โนต้ เขบต็ สองช้ัน มีคา่ เท่ากบั ของโนต้ ตัวกลม หรือ w = 2h = 4q = 8e = 16x ส่วนตัวหยุด ให้เปรียบเทยี บคา่ เหมือนกบั ตวั โนต้ 1พชิ ัย ปรชั ญานุสรณ.์ ทฤษฎดี นตรีระดบั เกรดหนง่ึ . 2531. หนา้ 8, 13.

จังหวะ 3 3. การเพิ่มค่าความยาวของโน้ต โดยปกติแล้วค่าความยาวของโน้ต (คำ�ว่า โน้ต ในที่นี้มีความหมายรวมไปถึง ตัวโนต้ และตัวหยดุ ) จะลดลงครึ่งหนึ่งไปตามลำ�ดับ เชน่ โน้ตตวั ขาวยาวเท่ากบั ครงึ่ หนึ่ง ของโน้ตตัวกลม โน้ตตัวดำ�ยาวเท่ากับคร่ึงหนึ่งของโน้ตตัวขาว โน้ตเขบ็ตหนึ่งช้ันยาว เทา่ กับคร่ึงหนง่ึ ของโน้ตตวั ด�ำ เป็นตน้ นอกจากน้ียังสามารถเพม่ิ ค่าความยาวของโนต้ ให้มีความแตกต่างกัน เพ่ือให้คา่ ความยาวของโนต้ มคี วามหลากหลายมากข้ึนได้ดงั นี้ 3.1 เพิ่มค่าความยาวของโน้ตให้เพ่ิมข้ึนเท่ากับโน้ตสองตัวรวมกัน โดยใช้ เคร่อื งหมายโยงเสยี ง (Tie) เขียนโยงเสียงโน้ตสองตัวรวมกัน Q_ Q h( h หรอื มคี ่าเท่ากับ w ( h( q หรอื มีคา่ เท่ากบั h + q(q q q( h q( q (h hหรือ   มคี ่าเท่ากับ h q( e หรือ มคี า่ เทา่ กับ q+e (ให้เขียนหเรคอื ร่ือQง_หQม)ายสโ่วยนงตเสัวียหงยกุดําไกมับ่ตไ้อวง้บใชนเ้ หคัวรต่อื ัวงหโนม้ตาเยทโ่ายนงเั้นสียไงม่ให้เขียนบนหาง ตัวโน้ต 3.2 เพ่ิมค่าความยาวของโน้ตให้เพ่ิมขึ้นอีกคร่ึงหนึ่ง โดยใช้เคร่ืองหมายจุด (Dot) ประไวท้ ี่หลงั ตัวโนต้ หรือตวั หยดุ เรยี กว่า โนต้ ประจุด1 (Dotted note) ซ่ึง เครอื่ งหมายจดุ จะมีค่าเทา่ กบั คร่งึ หนึ่งของตัวโน้ตหรือตัวหยดุ h. = h( q หรอื q_ q_ q . = Î หรอื Î Î Î q. = q ( e หรือ e_e_e Î. = Î ä หรือ ä ä ä e. = e ( x หรือ x_x_x ä. = ä Å หรือ Å Å Å ถา้ มสี องจดุ จดุ ตัวหลงั จะมีคา่ เท่ากบั ครง่ึ หน่ึงของจุดตัวแรก เช่น h.. เทา่ กบั h( q_e .. เท่ากับ Î ä q.. เท่ากับ q( e_x Î.. เท่ากบั Î ä Å e.. เทา่ กบั e( x_y ä.. เท่ากบั ä Å ¨ 1พชิ ยั ปรชั ญานุสรณ์. ทฤษฎีดนตรรี ะดบั เกรดสอง. 2532. หน้า 10-11.

4 ทฤษฎีดนตรแี นวปฏบิ ัติ 4. โน้ตสามพยางค์ โดยปกตแิ ล้ว ถา้ แบ่งโนต้ ตัวกลมออกเป็น 2 สว่ นเทา่ ๆ กัน จะได้โนต้ ตัวขาว 2 ตัว ถา้ แบ่งออกเป็น 4 สว่ นเทา่ ๆ กนั จะไดโ้ น้ตตวั ดำ� 4 ตัว ถ้าแบง่ ออกเป็น 8 ส่วนเทา่ ๆ กัน จะไดโ้ นต้ เขบต็ หนงึ่ ช้นั 8 ตวั และถ้าแบง่ ออกเป็น 16 ส่วนเท่า ๆ กนั จะไดโ้ นต้ เขบ็ตสองชน้ั 16 ตวั นอกจากนีย้ งั สามารถแบง่ ออกเป็น 3 สว่ นเทา่ ๆ กัน ไดอ้ กี เรียกวา่ โน้ตสามพยางค์ (Triplet) โดยสังเกตจากเลข 3 ท่เี ขยี นกำ�กับไว้บน กลุ่มของโนต้ ดงั นั้นสามารถแบง่ โน้ตออกเปน็ 3 สว่ น 5 ส่วน 6 ส่วน หรือ 7 สว่ น กไ็ ด้ ซ่ึงโน้ตที่แบ่งสว่ นไมป่ กตเิ หลา่ นีจ้ ะเขียนตัวเลขทแี่ บง่ สว่ นก�ำ กบั ไวบ้ นกลุม่ โนต้ เสมอ การแบ่งสว่ นของตัวโนต้ แบง่ เป็น 3 ส่วน แบง่ เป็น 4 สว่ น ตวั โน้ต แบง่ เป็น 2 ส่วน h hJ h q q q q w h h h q q q qJ q iiiq * q e e iiJ q jjjq e x x jJjq kkkq รูปแบบของโนต้ สามพยางค์ ทนี่ ิยมใช้ 1. q qJ q 5. ä iJ q 2. e qJ 6. ä qJ 3. q J e 7. Î J e 4. iJiq 8. q. J qq * โนต้ เขบ็ตต้งั แต่ 2 ตวั ขึ้นไป ใหเ้ ขียนเสน้ รวบเขบต็ (Beam) เ+ขา้ ดว้ ยกัน + j ส่วนประกอบของโน้ต e =  เขบต็ ตวั โน้ต หัว หาง (Flag) (Note) (Head) (Stem)

จงั หวะ 5 5. หอ้ งเพลง ในการเคาะจังหวะจะมกี ารเน้นจงั หวะหนกั - เบา สลบั กันไปเปน็ กล่มุ ๆ ดังน1้ี กลุ่มละ 2 จังหวะ หนัก เบา หนกั เบา หนัก เบา หนัก เบา จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 กลุ่มละ 3 จงั หวะ หนัก เบา เบา หนัก เบา เบา หนัก เบา เบา จังหวะเคาะ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 กลุม่ ละ 4 จงั หวะ (จงั หวะหนกั ท่ี 3 เบากวา่ จังหวะหนกั ที่ 1) หนัก เบา หนัก เบา หนัก เบา หนัก เบา จงั หวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 - เใบนากาขรอบงันจทังหกึ วโนะ้ตเคเพาะลงโดตยอ้ ใชงจ้เสัดน้ กตลรุ่มงตตวั ั้งโฉนาต้ กออ( ก เ ป็นก ล) มุ่ ซๆึ่งเตรยีามกกว่าารเเสน้นน้ กจ้นั งั หหวอ้ ะง หนัก เมื่อจบ (ทB่อaนrเพliลnงeให) ก้ ก้นั ั้นดไว้วย้หเนส้า้นจคังู่ หวะแเลนะ้นถขา้ จอบงแบตท่ลเพะกลลงใุ่มห้ก(นั้ยดก้วเวย้นเสก้นารคเู่ น้นคเสร้น้ังแคร่ทู กงั้ ) 2 แบบนี้ เรยี กว่า เส้นกั้นห้องคู่ (Double bar) q qเ ส้น กนั้ หq้อ ง qเส ้น กนั้ หq้อง ค ู่ qเ ส้น ก้นั qหอ้ ง qเ สน้ กัน้ห้องคู่ กล่มุ ล ะ 2 จังหวะ หนัก เบา หนัก เบา หนัก เบา หนกั เบา จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 เมื่อใช้เส้นกั้นห้องแล้วจะเกิดเป็นช่องว่างขึ้นเรียกว่า ห้องเพลง (Measure) หรอื เรยี กสนั้ ๆ ว่า ห้อง (Bar) หอ้ งท่ี 1 q หqอ้ งที่q2 q q หq้องทq่ี 3 q q หq้องที่q4 q q  หอ้ งละ 4 จังหวะ q q q จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 เมือ่ แบ่งเป็นหอ้ งเพลงแลว้ จังหวะแรกของห้องจะเปน็ จงั หวะหนกั เสมอ 1ดุษฎี พนมยงค์. สานฝันด้วยเสยี งเพลง มาฝกึ ร้องเพลงกันเถดิ . 2542. หนา้ 37.

6 ทฤษฎดี นตรีแนวปฏบิ ัติ 6. เครอื่ งหมายประจ�ำ จังหวะ กลุ่มของโน้ตที่เกิดจากการแบ่งห้องเพลงตามจังหวะเคาะน้ัน ในแต่ละเพลง สามารถแบง่ ออกเป็นหอ้ งละ 2 จงั หวะ 3 จังหวะ หรอื 4 จังหวะ แตกต่างกันไป และ มีการกำ�หนดตัวโน้ตเป็นเกณฑ์ในการเคาะจังหวะด้วย ซ่ึงกำ�หนดโดยเครื่องหมาย ที่มีลักษณะคล้ายเลขเศษส่วนแต่ไม่ขีดเส้นคั่น เรียกว่า เคร่ืองหมายประจำ�จังหวะ (Time signature) เชน่ เป็นตน้ ตัวเลขบน บอกจํานวนตวั โนต้ หรือจงั หวะในแตล่ ะห้อง เลข 2 มีตวั โนต้ ได้ 2 ตวั เลข 6 มตี ัวโนต้ ได้ 6 ตวั เลข 3 มีตัวโน้ตได้ 3 ตัว เลข 9 มีตวั โนต้ ได้ 9 ตวั เลข 4 มีตวั โนต้ ได้ 4 ตวั เลข 12 มีตวั โน้ตได้ 12 ตวั ตวั เลขล่าง กาํ หนดลกั ษณะตัวโน้ตทีใ่ ชเ้ ปน็ เกณฑ์ เลข 2 แทนโนต้ h เลข 8 แทนโน้ต e เลข 4 แทนโน้ต q เลข 16 แทนโนต้ x ตัวอย่าง จังหวะ q q  iq iq  q iq  h  จงั หวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 อา่ นวา่ จงั หวะสอง-สี่ กาํ หนดใหแ้ ต่ละห้องมโี น้ต q (ตามเลข 4 ล่าง) ได้ 2 ตัว (ตามเลข 2 บน) ปฏิบัติหอ้ งละ 2 จังหวะ โดยให้โน้ต q เปน็ ตัวละ 1 จงั หวะ ตัวอยา่ ง จังห วะq. q.  iiq iiq  q. q e  h.  จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 อา่ นวา่ จงั หวะหก-แปด กาํ หนดให้แตล่ ะหอ้ งมโี นต้ e (ตามเลข 8 ล่าง) ได้ 6 ตัว (ตามเลข 6 บน) แบง่ เป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 3 ตัว ปฏิบตั หิ ้องละ 2 จังหวะ โดยให้ โน้ต q. เปน็ ตวั ละ 1 จงั หวะ จากตวั อยา่ งจงั หวะ และจังหวะ สามารถแบ่งเครอื่ งหมายประจำ�จังหวะ ออกเป็น 2 ประเภท คือ อตั ราจังหวะธรรมดา และ อตั ราจงั หวะผสม

จังหวะ 7 6.1 อตั ราจงั หวะธรรมดา1 (Simple time) สองจงั หวะ สามจงั หวะ สจ่ี งั หวะ h h h h h h h h h q q q q q q q q q e e e e e e e e e ตวั อยา่ ง อัตราจงั หวะธรรมดา จงั หhว ะส อ ง-สhอ ง ให ้แตqล่ ะหq้องมhีโ นต้ h  ได้ 2qตวั qปฏqบิ ัต ิห้อ งwล ะ 2 จัง ห วะ q 1 2 จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 จงั หqว ะส อqง- ส่ี ให้แqต ่ละ หÎอ้ งม โี นi้ต qq ได้ 2 ตัว hป ฏ ิบ ตั หิ อ้ งละ 2 จังหวะ iq จังหวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 จังหqวะสqาม-qส ี่ ให ้แตhล่ ะห อ้ งมÎีโนต้  iq qไดi้ 3 qตวั iปฏqบิ ตั หิ h้อ.ง ล ะ 3 จงั หว ะ จังหวะเคาะ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 จังหวะสาม-แปด ใหq้แ ต่ล ะ ห้อäงมโี นe้ต e ไดj้ 3qตัว qป.ฏ ิบ ัตหิ ้อ งล ะ3 จงั หวะ eee e จงั หวะเคาะ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 จังหวะสี-่ ส่ี ให้แต่ละห้องมีโน้ต q ได้ 4 ตัว ปฏิบัตหิ อ้ งละ 4 จงั หวะ q q q q  h h  iiiq iiiq  w  จงั หวะเคาะ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 เครื่องหมายประจำ�จังหวะ เป็นเครื่องหมายประจำ�จังหวะที่นิยมใช้ใน บทเพลงโดยทั่วไป อาจใช้เคร่ืองหมาย  เขียนแทนก็ได้ ( เป็นตัวย่อของคำ�ว่า Common time) ถ้าขีดเส้นแบ่งคร่ึงตรงกลาง จะเป็นเครื่องหมาย  ใช้แทน เครื่องหมายประจำ�จังหวะ 1James Murray Brown. A Handbook of Musical Knowledge. 1987. p. 15.

8 ทฤษฎดี นตรีแนวปฏบิ ตั ิ 6.2 อัตราจังหวะผสม1 (Compound time) สองจงั หวะ สามจังหวะ สี่จงั หวะ h. h. h. h. h. h. h. h. h. q. q. q. q. q. q. q. q. q. e. e. e. e. e. e. e. e. e. ตวั อย่าง อัตราจังหวะผสม จงั หวะหก-แปด ใหแ้ ตล่ ะหอ้ งมโี นต้ e ได้ 6 ตวั แบง่ เปน็ 2 กล่มุ ๆ ละ 3 ตัว จะได้โน้ต q. 2 ตวั ปฏบิ ตั หิ ้องละ 2 จงั หวะ iiq iiq  q. q.  iiq q.  q. Î.  จงั หวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 จังหวะหก-สิบหก ใหแ้ ตล่ ะหอ้ งมีโน้ต x ได้ 6 ตวั แบ่งเปน็ 2 กลุม่ ๆ ละ 3 ตวั จะไดโ้ นต้ e. 2 ตัว ปjฏjบิ ัตqิหอ้ งeละ. 2 จงั eห.ว ะ  jjq e.  e. ä.  jjq จงั หวะเคาะ 1 2 1 2 1 2 1 2 จงั หวะเก้า-แปด ใหแ้ ตล่ ะห้องมีโน้ต e ได้ 9 ตัว แบง่ เป็น 3 กลมุ่ ๆ ละ 3 ตัว จะไดโ้ นต้ q. 3 ตัว ปiฏiิบตั qิหอ้ iงลiะ 3qจังหqวะ eq. Î.  1 2 3 iiq จงั หวะเคาะ 1 2 3 จังหวะสิบสอง-แปด ใหแ้ ต่ละหอ้ งมโี น้ต e ได้ 12 ตวั แบ่งเปน็ 4 กลุ่ม ๆ ละ 3 ตัว จะไดโ้ น้ต q. 4iตวั iปqฏบิ iตั หิiอ้ งqละi4iจงั qหวะ q. iiq q. Î.  iiq 1 2 3 4 จังหวะเคาะ 1 2 3 4 ในอัตราจังหวะผสมนั้นให้ปฏิบัติเป็นโน้ตสามพยางค์ เพราะใน 1 จังหวะ จะแบ่งย่อยจงั หวะออกเปน็ 3 สว่ นเทา่ ๆ กนั ลกั ษณะเหมือนกับโนต้ สามพยางค์ ถึงแมจ้ ะไมไ่ ดเ้ ขยี นเลข 3 ก�ำ กับไว้ทีต่ วั โน้ตกต็ าม 1James Murray Brown. A Handbook of Musical Knowledge. 1987. p. 24.

จังหวะ 9 7. เค7ร.1ื่อ เงครหอ่ื งมหมาายยปปรระจะ�ำ จจังำ�หวจะงั ห1 ปวระะกออบื่นด้วๆยอัตราจังหวะสองกลุม่ รวมกัน คอื อตั ราจงั หวะ + หรือ + h q q q  q iq q h  q q q h  q iq q h  1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 q. eq h  q. eiq h  q. eq q q  q. eiq h  1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 7.2 เครือ่ งหมายประจำ�จังหวะ 2 ประกอบด้วยอัตราจงั หวะสองกลุ่มรวมกัน คือ อัตราจงั หวะ + หรือ + q iiiq h q q  q q q iiiq h  1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 q q h q. eq  q. eq q h.  1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 7.3 เครือ่ งหมายประจำ�จังหวะ ประกอบด้วยอัตราจงั หวะสองกลมุ่ รวมกนั คือ อัตราจงั หวะ + หรอื + iiq q q  iiq q. e  iiq q q  iiq h  1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 q q q e  q q iiq  q q q e  q q q.  1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 7.4 เครื่องหมายประจ�ำ จงั หวะผสม (Mixed time) ในบางครงั้ เพลงหน่ึง ๆ อาจใช้เคร่อื งหมายประจ�ำ จังหวะหลาย ๆ แบบแทรกในบางหอ้ งกไ็ ด้ h q q  h q q  h  q q iq q  q q iq q  q iq q  q q iq q  h h  1พระเจนดรุ ิยางค์. แบบเรยี นดรุ ยิ างคศ์ าสตร์สากล. 2531. หน้า 65. 2แหลง่ เดิม. หนา้ 66.

10 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 8. การจดั กลุ่มโนต้ การเขียนโน้ตที่ถูกต้องน้ัน นอกจากเขียนโน้ตได้ครบตามเครื่องหมายประจำ� จังหวะแล้ว และท่ีสำ�คัญต้องจัดกลุ่มโน้ตให้ถูกต้องด้วย เพ่ือสะดวกในการอ่านและ ความถูกตอ้ งแมน่ ยำ�ในการปฏบิ ตั ิ โดยให้ยึดหลักเกณฑ์ดงั นี้ เครอื่ งหมายประจำ�จังหวะ ให้จัดเปน็ 2 กล่มุ เคร่อื งหมายประจำ�จงั หวะ ใหจ้ ดั เป็น 3 กลุ่ม เคร่อื งหมายประจ�ำ จงั หวะ ให้จัดเป็น 4 กล่มุ ii11 qq8.1ii22 ตqqัวโi3น ้ตq1  หหรรออืื ii11 iiii22 iq i3 q  ไม่ใช่ i1 iq2 ii3 q  q1 . 2 e i3 q  ไมใ่ ช ่ q1 . 2 ii3 q  (ให้จดั เปน็ 3 กลุ่ม ๆ ละ 2e) i1 iq i2 iq  ไม่ใช ่ i1 q iq2 iq  (ให้จัดเปน็ 2 กลุม่ ๆ ละ 3e) q1 . 2i iq  ไมใ่ ช ่ q1 . e2 iq  (ให้จดั เป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 3e) q1 i2 q i3 q q4  ไม่ใช ่ q1 i2 ii3 q q4  (ห้ามรวมจงั หวะที่ 2 กบั 3) q1 e i2 iq q3 .  ไมใ่ ช ่ q1 ii2 iq q3 .  (จัดเป็น 3 กล่มุ ๆ ละ 3e) ควรหลีกเลี่ยงโน้ตโยงเสียง เพื่อใหแ้ สดงเฉพาะโนต้ ที่ตอ้ งปฏบิ ัติเทา่ นนั้ q. e แทน q( iq q. eq แทน q( iq q eq. แทน iq_q q q. e แทน q q( iq eq e แทน iq_iq q q. eq แทน q q( iq q q eq e แทน q iq_iq q h q แทน q q( q q 1Eric Taylor. The AB Guide to Music Theory Part I. 1989. p. 33.

จังหวะ 11 8.2 ตัวหยุด1 Îq111111111hqqeÎ อ ä ัต ÎÎ222 22 ร2222ÎÎÎä า จ h 33333eÎÎัง ห q33Îว qq 44444ะ ธ ร ร ม  ด า ไไไไไไไไไมมมมมมมมม่่ใ่ใใ่ใใ่ใ่ใ่ใ่่ใชชชชชชชชช ่่่่่่่่่ 11Îqqhäq11e11111 ÎÎ . Î22222 2222 . h Î33333e ä q33 q qÎ44444 หห รร ืืออ((แแเเ(แ(ต(ต(( ใใไไจจไปปลลลววััหหมมมงััง็น็นลละะะค่่คค่หหแ้้แ11eÎกกะะวววยยวว334 ลล.รรรกกะะ11 ่มมุุ่รรรเเเ ททตตปปป Îวววเเจจ ัวัวีี่่ดดน็็น็นมมม.31งังัหหียยี หหกกกยยจจจววแแ22 ลลลววกกังังังุดดุลละะุุ่่มมมุ่หหหันนัออะะ))เเเวววออไไดดดe 24ดดะะะกกีียยยี ททท)้้)เเวววรรปป ี่ี่่ีววกกก212็นน็มมันนััน,, )))32 q1 อäตั 2Îร .าจงั หว ะผหสรมือ q1 ä2Î ä  ไม่ใช่ q1 Î2 Î  หรอื 1q 2  e1 ää2Î .  หรือ e1 ää2Î ä  ไม่ใช่ e1 Î 2Î .  หรือ 1e ä 2  q1 . 2Î . 3Î .  หรอื q1 . Î2 ä 3Î ä  ไม่ใช ่ q1 . 2 . 3  Î1. 2Î . 3q .  หรือ Î1 ä Î2 ä 3q .  ไม่ใช ่ 1 . 2 3q.  q1 . 2Î . 3Î . q4 .  หรือ q1 . 2Î ä 3Î ä q4 .  ไมใ่ ช ่ q1 . 2 .3 q4.  1Eric Taylor. The AB Guide to Music Theory Part I. 1989. p. 34-36.

12 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏิบัติ 9. การเขียนจังหวะท�ำ นอง การเขยี นจงั หวะท�ำ นองงา่ ย ๆ เพียง 4 หอ้ ง จะท�ำ ใหเ้ ขา้ ใจและสามารถเขยี น จงั หวะท�ำ นองที่มีความซับซ้อนมากขึ้นได้ หลักการเขยี นจังหวะทำ�นองพอสรุปได้ดงั น1้ี 9.1 ซํา้ จังหวะท�ำ นองของห้องที่ 1 และ 2 ในหอ้ งที่ 3 และ 4 q q q q q q q q  q Î  q q q q q q q q  q Î  q q q q q  q Î  q q q q q  q Î  9.2 ซาํ้ จงั หวะท�ำ นองของห้องท่ี 1 ในห้องท่ี 3 q q q q q  q q  q q q q q  h  q q q q q q  h h  q q q q q q  w  9.3 ซา้ํ จังหวะทำ�นองของหอ้ งที่ 2 ในหอ้ งท่ี 3 q q q q  q q q q q q q  q q q q q q q  h.  q. eq q  q q q q q  q q q q q  w  9.4 ซํ้าจงั หวะทำ�นองในรูปแบบอ่ืน ๆ q q q q q  q q q q q  q q q q q  h  q q q q q q  q q q q  q q q q  h h  9.5 ไมม่ กี ารซํ้าจงั หวะท�ำ นอง h q  q q q  q q q q q  h.  q q q h  q q q h  q q q q q q  w  9.6 พลกิ กลบั จังหวะทำ�นองของห้องแรก ในหอ้ งที่ 3 q q q  q q q q q  q q q  h  q q q q q  q q q  q q q q q  h  1Loh Phaik Kheng. A Handbook of Music Theory. 1991. p. 18-20.

จงั หวะ 13 9.7 ห้องท่ี 3 ใช้โน้ตทม่ี คี ่านอ้ ยกวา่ โนต้ ในหอ้ งแรก q q  q q q  q q q q q q q q  h  q q q q  h h  q q q q q q q q  w  9.8 หอ้ งที่ 3 ใชโ้ น้ตท่ีมีค่ามากกว่าโน้ตในหอ้ งแรก q q q q q q  q q  q q q  h  q q q q q q q q q q  q q q  q q q q q  h.  9.9 ซาํ้ ตัวโน้ตในจงั หวะตา่ ง ๆ ด้วยตวั หยดุ q q q q  q q  q q Î  h  q. e q. e  q q h  q. e q Î  w  9.10 ซ้ําตวั หยุดในจังหวะต่าง ๆ ดว้ ยตัวโน้ต q q q q Î  q q  q q q q q q  h  q q q Î q q q Î  q q q q h  q q q q q q q q q q  w  การลงจบ ในการเขียนจงั หวะท�ำ นอง 4 ห้อง จะมกี ารลงจบในหอ้ งท่ี 4 ตรงจังหวะเคาะ ที่ 1, 2 หรือ 3 ไมค่ วรลงจบด้วยโน้ตเขบ็ต เพราะให้ความร้สู กึ เหมอื นยังไม่จบ q q q  q q  q q q  q q q q  ไม่ดี q q q  q q  q q q  h  ใช้ได้ ตัวอยา่ ง การลงจบในห้องท่ี 4 h  q Î  h.  h Î  q Î Î  h h  h. Î  q Î  q q  w 

14 ทฤษฎีดนตรแี นวปฏิบตั ิ 10. หลกั การปฏิบัตจิ ังหวะตามโน้ต 10.1 โน้ตตวั กลม  (2)  จ งั หวะเคาะ w1 ( 2 ( 3 ( 4* (1) (3) (4)** เครอื่ งหมายประจำ�จงั หวะ กาํ หนดใหแ้ ตล่ ะหอ้ งมีโน้ต w ได้ 1 ตวั ปฏิบตั ิ ครั้งเดียว ตรงจังหวะที่ 1 แลว้ ลากเสยี งยาวออกไปจนครบ 4 จงั หวะ ตวั หยดุ มีความยาวของจังหวะเทา่ กับโน้ต w แตไ่ ม่ต้องออกเสียง จ ังหวะเค1าะ0 .2h1 ( โน 2้ต ตัวh3ข ( า ว4  h1 ( 2  (3) (4) เครอื่ งหมายประจ�ำ จงั หวะ กาํ หนดใหแ้ ต่ละห้องมีโนต้ h ได้ 2 ตวั ปฏบิ ตั ิ 2 คร้งั ตรงจงั หวะท่ี 1 กับจังหวะที่ 3 แตล่ ะครงั้ ให้ลากเสยี งยาวเท่ากับ 2 จังหวะ ตวั หยดุ มคี วามยาวของจังหวะเทา่ กับโน้ต h แต่ไม่ต้องออกเสียง 10.3 โน้ตตัวดํา  q Î Î q  q Î q Î  q q q Î  q q q q จังหวะเคาะ 1 2 3 4 1 (2) (3) 4 1 (2) 3 (4) 1 2 3 (4) เคร่อื งหมายประจำ�จงั หวะ กาํ หนดใหแ้ ต่ละห้องมีโนต้ q ได้ 4 ตัว ปฏิบัติ 4 คร้ัง ตรงจงั หวะท่ี 1, 2, 3 และ 4 แตล่ ะคร้ังใหล้ ากเสยี งยาวเทา่ กับ 1 จงั หวะ ตัวหยดุ Î มคี วามยาวของจงั หวะเทา่ กบั โน้ต q แต่ไมต่ ้องออกเสียง 10 .4i โiนต้ iเขqบต็ iหนiึง่ ชiัน้ q  q  e  e q  จงั หวะเคาะ 1 & 2 & 3 & 4 & 1 (2) & (3) & 4 เครื่องหมายประจำ�จังหวะ กาํ หนดให้แต่ละหอ้ งมโี นต้ e ได้ 8 ตัว ปฏิบัติ 8 ครัง้ ภายใน 4 จงั หวะ หรอื ปฏบิ ัติ 2 ครง้ั ภายใน 1 จังหวะ ตวั หยุด  มีความยาวของจังหวะเทา่ กับโน้ต e แต่ไมต่ ้องออกเสียง * จังหวะเคาะท่ีมเี ครือ่ งหมายโยงเสยี ง หมายถงึ จังหวะท่ีมเี สียงยาวติดตอ่ กัน ** จงั หวะเคาะทอ่ี ย่ใู นวงเลบ็ หมายถึง จังหวะท่ไี ม่ตอ้ งออกเสียง หรือจังหวะของตวั หยดุ

จังหวะ 15 10.5 โนต้ เขบ็ตสองชั้น jjjq jjjq jjjq jjjq  xxxjq q Î  จังหวะเคาะ 1 - & - 2 - & - 3 - & - 4 - & - 1 & 2 & - 3 (4) เคร่อื งหมายประจ�ำ จงั หวะ กําหนดให้แตล่ ะห้องมีโนต้ x ได้ 16 ตัว ปฏิบัติ 1ต6ัวหคยรงั้ดุ ภายในม4ีควจางั มหยวาะวขหอรงอืจังปหฏวบิ ะตั เทิ 4่ากคบั รโง้ั นภ้ตายใxน 1 จงั หวะ แต่ไมต่ ้องออกเสยี ง เครื่องหมายประจำ�จังหวะ เป็นเครื่องหมายประจำ�จังหวะในข้ันพื้นฐานที่ นิยมใช้ในบทเพลงท่ัวไปซ่ึงเหมาะสำ�หรับผู้ที่เริ่มต้นฝึกหัดเล่นดนตรี ส่วนเคร่ืองหมาย ประจำ�จังหวะอ่ืน ๆ ทีพ่ บบอ่ ย คอื และ มีหลกั การปฏิบตั ิเหมอื นกบั เครอื่ งหมาย ประจำ�จงั หวะ แตกตา่ งกนั เฉพาะจำ�นวนจงั หวะในแต่ละห้องเท่าน้ัน 11. การอา่ นจังหวะโน้ต การอ่านจังหวะโน้ต ให้อ่านออกเสียงเป็นตัวเลขตามจังหวะโน้ต โดยใช้เท้า เคาะเป็นจังหวะเคาะใหส้ ม่ําเสมอพรอ้ มกันไปด้วย ส่วนจงั หวะในวงเล็บไมต่ อ้ งอา่ น 11.1 รูปแบบของโนต้ เขบ็ตหนึง่ ช้นั และวธิ อี า่ นจงั หวะโนต้ 1 อ่านวา่ หqนง่ึ แqละ สqอง แqละ  ร ูปแบบท่ี 1 q q q  ไดม้ าจาก iiiq อ่านว่า หนึ่ง สอง และ 1 & 2 & ร ูปแบบที่ 2 อ่านวา่ หeนึง่ แqละ (ส อ ง) แeละ  ได้มาจาก i1 _i i2 q& ร ูปแบบที่ 3 ไดม้ าจาก i1 i& _(i2) q&  ได้มาจาก ร ูปแบบท่ี 4 q q q i1 i& i2 _q อ่านว่า หนง่ึ และ สอง อา่ นวา่ หqนงึ่. (ส อ ง) แeละ  ร ูปแบบท่ี 5 ได้มาจาก i_i_iq 1 (2) &  ไ ด้มาจาก ร ูปแบบท่ี 6 e q. i1 i& _(i2)_ q อา่ นวา่ หนึ่ง และ (สอง) 1Laurence Canty. How to play Bass Guitar. 1989. p. 43.

16 ทฤษฎีดนตรีแนวปฏบิ ตั ิ 11.2 รปู แบบของโน้ตเขบ็ตสองชน้ั และวธิ ีอา่ นจังหวะโนต้ รปู แบบท่ี 1 หนjงึ่ กjะ แjละq ละ ได้มาจาก j1 j- j& q- หรือ xxxx รูป แบบที่ 2 หqน่งึ แqละ qละ ได้มาจาก j1 _j j& q- หรือ e xx รปู แบบท่ี 3 q q q ได้มาจาก jj_jq หรอื xe x หนึง่ กะ ละ 1 - - รปู แบบที่ 4 หนqง่ึ กqะ แqละ ได้มาจาก j 1 j- j&_ q หรอื xxe รปู แบบที่ 5 หqนึง่. ลqะ ได้มาจาก j 1 _j _ jq- หรอื e. x รปู แบบที่ 6 q q. ไดม้ าจาก j 1 j- _j _q หรอื x e. หนึง่ กะ โน้ตเขบ็ตสองช้ัน ปฏิบตั ิ 4 ครง้ั เทา่ กับ โนต้ เขบต็ หน่งึ ช้นั 2 ตัว หรือเทา่ กับ โนต้ ตัวด�ำ 1 ตวั jjjq เทา่ กับ iq หรอื q การอา่ นจงั หวะโนต้ เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มใหส้ ามารถแบง่ อตั ราสว่ นจงั หวะ ของโน้ตไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและแมน่ ย�ำ ส�ำ หรบั นำ�ไปใช้ในการปฏิบัตเิ ครอ่ื งดนตรีตามโน้ต เพราะจังหวะเป็นองค์ประกอบที่สำ�คัญของดนตรี ท่ีผู้เล่นดนตรีต้องฝึกให้เกิดความ เคยชินจนขนึ้ ใจ และมที ักษะในด้านจังหวะทีถ่ กู ตอ้ ง สรปุ จังหวะ เป็นองคป์ ระกอบดนตรใี นแนวนอน ซึ่งเป็นคณุ สมบัติข้อแรกของผู้เรยี น ดนตรีที่จะต้องท�ำ ความเข้าใจจนสามารถปฏิบัติจังหวะตามโน้ตได้ ตัวโน้ตและตัวหยุด เป็นสัญลักษณ์ท่ใี ชเ้ ขียนบันทึกความส้ัน - ยาว ของจงั หวะท�ำ นอง โดยใช้จงั หวะเคาะ เปน็ เครอื่ งวัดอัตราความสน้ั - ยาว เม่อื เขา้ ใจเรือ่ งจงั หวะกส็ ามารถเรยี นรู้ดนตรไี ด้ดขี ึ้น

จังหวะ 17 แบบฝกึ หดั ท่ี 1 1. จงเติม ตัวโน้ต ลงในช่องว่างใต้เครื่องหมายดอกจัน (*) โดยให้มีจํานวนจังหวะ ถูกต้องตามเครอื่ งหมายประจ�ำ จังหวะที่กําหนดให้ *  q h  q q * e  q q Î  1.1 q q q *  q q h  q q q q Î  q * Î  1.2 q q q 1.3 q q q q.  * eÎ.  q q q q q q   *  q. 1.4 * Î.  q q q q. q.  q q q * q.  q q q q. Î.  q q q 2. จงเติม ตวั หยดุ ลงในชอ่ งว่างใตเ้ ครอ่ื งหมายดอกจัน (*) โดยให้มจี ํานวนจงั หวะ ถูกตอ้ งตามเครอื่ งหมายประจ�ำ จังหวะทีก่ าํ หนดให้  *  q q *  q h  2.1 q q q q 2.2 *  q q h  q q q q q  q * q  q q 2.3 q. q q q  q * q q q  q. q e  *  eq. 2.4 * q.  q q q q. q.  *  q q q q. q.  q q q q. 3. จงเขียนเครอ่ื งหมายประจำ�จังหวะทีถ่ ูกต้องไว้หน้าหอ้ งของแตล่ ะขอ้ 3.1 q q q q 3 .2 q q q q q q 3. 3 q q q q q 3 .4 q Î q Î  3.5 3.6 3.7 3.8 q q q  q q q q q q   eq q  q q q q. q. 

18 ทฤษฎีดนตรแี นวปฏบิ ตั ิ 4. จงแบ่งห้องของโน้ตต่อไปนี้ ให้ได้จํานวนจังหวะตามเคร่ืองหมายประจำ�จังหวะ ทีก่ ําหนดให้ 4.1 h q q q h q q 4.2 q q q q q q q q q Î Î h. 4.3 q Î Î q q q q q  eh h w 4.4 q q q q eq q q q. q q q q. q eq. 4.5 q q q q. q. q q q q. Î. q q q q. Î eq. q. Î. 5. จงเขยี นตัวโนต้ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ลงในแต่ละหอ้ งให้ไดจ้ ํานวนจงั หวะตามเครอ่ื งหมาย ประจ�ำ จังหวะท่กี ําหนดให้ และถูกตอ้ งตามหลักการเขียนจงั หวะท�ำ นอง 5.1     5.2     5.3     5.4     5.5     6. ฝึกปฏบิ ัตจิ ังหวะ ในภาคผนวก จ.



ทฤษฎีดนตรีแนวปฏบิ ัติ ISBN 978-616-305-842-3 125www.dktoday.net 9 7 8ร า6ค 1า 6 3 0 5 8บ 4า 2ท 3 หมวดดนตรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook