Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง ทช 21001 ม.ต้น

เศรษฐกิจพอเพียง ทช 21001 ม.ต้น

Published by กศน.ตําบลปากแคว, 2022-05-16 14:55:25

Description: เศรษฐกิจพอเพียง ทช 21001 ม.ต้น

Search

Read the Text Version

46 นายเล็ก กดุ วงคแกว เปนบคุ คลท่ีสมควรไดรับการยกยอ งในฐานะท่ีทา นเปน “ปราชญ ชาวบา น” และเปนผูนําตามธรรมชาตขิ องชมุ ชน ผลงานทโี่ ดดเดน ของนายเล็ก คือ การเผยแพร ความคิดในการอนุรักษท รพั ยากรธรรมชาติ โดยประยุกตภูมิปญ ญาทอ งถ่ินผสานกับแนวคิดทาง พทุ ธศาสนา แนวความคิดของนายเล็กสามารถนําไปปฏิบัติและกอใหเกิดผล อีกทั้งยังสัมพันธ กับวถิ ีเศรษฐกจิ ของชาวบาน บนพืน้ ฐาน ของการใชชวี ติ อยา งพออยู พอกนิ ปจจุบันนายเล็ก สามารถสรางเครือขายการเรียนรูเพื่อการ “พ่ึงพาตนเอง พึ่งพา ธรรมชาติดวยความเคารพ” ในกวา 300 หมูบาน 94 อําเภอ ในจังหวัด 3 จังหวัด และเปน คณะกรรมการและวิทยากรใหหลายหนว ยงาน ท้งั ภาครฐั หนวยงานเอกชนและองคกรชาวบาน หลายแหงทว่ั ประเทศ นายเล็ก ใหความสําคัญตอการเรียนรู สูการปฏิบัติจริง โดยใชวิธีการรวมกลุม เพ่ือจัด กระบวนการเรียนรู ปลกู จิตสาํ นกึ พรอมขยายเครอื ขายการเรยี นรู ดังคํากลาวของนายเล็กที่วา “อยากไดชางปา ก็เอาชางไปตอ ถาอยากไดคนชนิดเดียวกัน ก็ตองเอาคนไปตอ คนแบบ เดียวกบั เรามอี ยดู วยกันทุกชมุ ชน เพยี งแตเ ราตอ งไปคน หาเขาทั้งน้ัน” จนเกิดกลุมอินแปงอยูใน สมาชิกเครือขายภูมิปญญาไท ซ่ึงถือเปนเครือขายระดับชาติ มีสมาชิกเปนเครือขายองคกร ชุมชน ระดับอําเภอ และจังหวัดอยูทุกภาคของประเทศ มีการเดินทางไปศึกษาดูงาน แลกเปลย่ี นความรู และในป พ.ศ. 2541 เครอื ขา ยภูมิปญญาไทไดรวมกันพัฒนา “แผนแมแบบ ชมุ ชน” ขน้ึ มาจากประสบการณข องชมุ ชนเพ่ือเปน กรอบและทศิ ทางในการพัฒนาชมุ ชน โดยแบงเปน 7 ประเด็น คือ การเกษตร สิ่งแวดลอม สุขภาพชุมชน อุตสาหกรรม ธุรกิจชุมชน กองทุนและสวัสดิการชุมชนและการเรียนรู ปจจุบัน บทบาทหลักของนายเล็ก กุดวงคแกว ในขณะนี้ คอื การขยายแนวความคิดและสรางเครือขาย สวนงานภายในกลุมอินแปง สามารถ ดาํ เนนิ งานละกาํ หนดแนวความคิดของตนเอง รวมทงั้ กลุมเยาวชน “เด็กกะเลงิ รักปา ” ท่ีมีกิจกรรมหลักเพื่อใหเยาวชนไดสืบทอดแนวคิด วิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน นับเปนการ เผยแพร ถา ยทอด ผลงานท่ีประสบผลสาํ เรจ็ จากรุนสูรุน

47 2. ชุมชนที่ประสบผลสําเร็จและไดรับการเผยแพร ผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ชุมชนบา นจํารงุ ตนแบบเศรษฐกิจพอเพียง บานจํารุง ต้ังอยูหมู ที่ 7 ตําบลเนินฆอ อําเภอแกลง จังหวัดระยอง ภาคตะวันออกของประเทศไทย ดวยสภาพความเปนอยูในชุมชน เนนการพง่ึ พาตนเอง จนเปน ทีย่ อมรบั และเปน ตวั อยา งที่ดี มผี มู าศกึ ษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู ตลอดทั้งป หมบู า นจาํ รงุ สง เสริมใหประชาชน ไดน ําผักพื้นบานมารับประทาน อาทิ ดอกอัญชัน ยอดมะระ ขม้นิ ชนั ชะอม ใบชะพลู ใบบัวบก ยอดเสม็ดแดง ฯลฯ ใชประกอบเปนอาหารหลัก รวมถงึ ชวนเชญิ นกั ทองเทีย่ วทีเ่ ขามาเปน ลูกคา ของรา นสม ตําจาํ รงุ ไดบริโภคผกั พน้ื บานเหลาน้ี จนกระทั่งไดเปนสัญลักษณของชุมชน ที่นักทองเที่ยวรูจักและคุนเคย กลุมผูสูงอายุบานจํารุง เปน ตวั อยา งของการรวมกลมุ เพือ่ สรางสรรคผ ลติ ภัณฑค ุณภาพมากมาย อาทิ ผลิตขาวซอมมือ บรรจุถุงจําหนายในรานคาของชุมชน เพื่อสงเสริมใหประชาชนมีสุขภาพท่ีดี โดยมีโรงสีขาว ชุมชนเองมีการผลิตขา วซอมมอื อยา งตอ เนอ่ื ง และนําเศษแกลบรําสงใหกับกลุมเกษตรกรพื้นบาน ทาํ ปยุ ชีวภาพ และนําปลายขา วขายใหกบั กลมุ ผเู ลีย้ งตะพาบนาํ้ กอ ต้ัง กลมุ ธนาคารขยะ ชมุ ชนไมเรยี ง เปนตําบลเลก็ ๆ แหงหน่ึง ขนาดพืน้ ที่ประมาณ 45 ตารางกโิ ลเมตร อยูในอาํ เภอฉวาง จงั หวดั นครศรีธรรมราช มีประชากรจํานวนประมาณ 1,382 ครัวเรือน และ ประกอบอาชีพทําสวนยางพาราเปน หลักมาต้ังแตบรรพบุรุษ โดยเฉพาะหลังจากที่รัฐมีนโยบาย สงเสริมการเกษตรเชิงพาณิชย ดวยการปลูกยางพาราเปนพืชเดี่ยว และทําใหวิถีชีวิตของชาวไม เรียงข้ึน อยูกับยางพาราตั้งแตนั้นเปนตนมา ความหวังและชีวิตของชาวบานย่ิงผูกติดกับ ยางพาราอยางแนบแนนมากข้ึน หลังจากท่ีชุมชนไมเรียงประสบวาตภัยแหลมตะลุมพุก ในป พ.ศ. 2505 วาตภัยครั้งน้นั ไดท ําใหพ ้นื ท่ปี าไมแ ละสวนยางเดมิ รวมทั้งพื้นที่เพาะปลูกของชุมชน ไมเ รียงถูกทาํ ลายราบเรียบ ชาวบานจึงไดขยายพื้นท่ีการทําสวนยางพารามากข้ึน เพื่อทดแทน พนื้ ที่การเกษตรและพน้ื ที่ปา ไมท ่ถี กู ทําลาย โดยปลกู ยางข้นึ มาใหมจากการสนับสนุนดานทุน และพนั ธุยาง ของกองทนุ สงเคราะหการทําสวนยาง จนในท่ีสุด “กลุมเกษตรกรชาวสวนยางไม เรียง” จึงกอเกิดขึ้นมา เม่ือวันที่ 1 มิถุนายน 2527 และเริ่มทําการผลิตเปนคร้ังแรก เม่ือวันที่

48 20 ตุลาคม 2527ดวยสมาชิกกอต้ังจํานวน 37 คน มีกําลังการผลิตยางอบแหงวันละ 500 กโิ ลกรัม จนปจ จุบนั สามารถขยายสมาชิกเปน 179 คน และมกี าํ ลงั การผลติ สูงสุดไดถ ึงวนั ละ 5 ตนั เรื่องที่ 2 การสรา งเครือขายการประกอบอาชพี การดําเนินชีวิตและกระบวนการ ขบั เคลอ่ื นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เครอื ขา ย (Network) เปนรปู แบบทางสังคมที่เปด โอกาสใหเกดิ ปฏิสัมพันธระหวา ง องคการเพอ่ื การแลกเปล่ยี น การสรางความเปน อนั หน่งึ อนั เดียวกนั และการรว มกันทํางานโดย มฐี านะเทาเทยี มกนั การสรา งเครอื ขา ยการทาํ งานเปนวิธีการทาํ งานที่ไดรับความนิยมทั้งในภาค ธุรกจิ และในการทํางานเชงิ พฒั นาสังคม นอกเหนอื จากคําวา \"เครอื ขาย\" หรือ \"Network\" ในทางดานธุรกจิ เราจะไดย ินคําเรยี กชือ่ ตาง ๆ ทม่ี ีความหมายใกลเ คยี ง เชน คําวา แนวรวมใน เชงิ กลยทุ ธ หรือ Strategic Alliance หนุ สวนในการทาํ งาน หรอื Partner เปน ตน ลักษณะ ของเครือขาย โดยทัว่ ไปมีลกั ษณะ ดังน้ี เครือขายมลี กั ษณะเปนโครงสรางทางความคิด (Cognitive structures) ไมวาจะ พัฒนาไปถึงระดับใด บุคคลท่ีเก่ียวของในองคกรเครือขายจะมีกรอบความคิดเก่ียวกับองคกร เครือขายใกลเ คียงกันในดา นความรูค วามสามารถและความตองการ องคกรเครือขายไมมีลําดับข้ัน (Hierarchy) การเช่ือมโยงระหวางองคกรเครือขาย เปนไปในลักษณะแนวราบ แตละองคกรเปนอิสระตอกัน แตระดับความเปนอิสระของแตละ องคก รอาจไมเทา กนั องคกรเครือขายมีการแบงงานกันทํา (Division of labour) การท่ีองคกรเขามารวม เปนเครือขา ยกนั เพราะสวนหนึ่งคาดหวังการพ่ึงพิงแลกเปล่ียนความสามารถระหวางกัน ดังน้ัน หากองคก รใดไมส ามารถแสดงความสามารถใหเปนที่ประจักษ ก็อาจหลุดออกจากเครือขายได ในทางตรงกนั ขามหากไดแสดงความสามารถ ก็จะนําไปสูการพ่ึงพิงและขึ้นตอกัน การแบงงาน กนั ทํา ท้งั ยังเปนการลดโอกาสที่องคกรใดองคกรหน่ึงจะแสดงอาํ นาจเหนือเครอื ขายดวย ความเขมแข็งขององคกรที่รวมกันเปนเครือขาย จะนําไปสูความเขมแข็งโดยรวมของ เครอื ขา ย ดังนน้ั การพัฒนาของแตละองคก รเครอื ขาย จงึ เปนสิ่งสําคัญ องคก รเครอื ขา ยกาํ หนดการบริหารจัดการกันเอง (Self-regulating) ในการทํางาน รวมกันในลักษณะแนวราบ จําเปนตองมีความสมานฉันท โดยผานกระบวนการทาง

49 ประชาธิปไตย ซ่ึงหมายถึงการตอรอง ตกลงระหวางองคกรเครือขายเก่ียวกับการบริหาร จัดการภายใน เพอ่ื ใหเ ครือขายสามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคได ความสําเร็จขององคกรเครือขายมิใชจะไดมาเพียงชั่วขามคืน แตตองอาศัย ระยะเวลา ในการบมเพาะความสัมพันธ ความศรัทธา และความไวเน้ือเช่ือใจ ตลอดจนการ สรา งกรอบทางความคดิ เพอ่ื ใหเกดิ การแลกเปล่ยี นขอมูลขา วสาร การแกไขปญหารวมกันอยาง สรา งสรรค รวมท้งั การดําเนินการรว มกนั ระหวา งองคก ร การสรา งเครือขา ยการเรียนรขู องชมุ ชนอยา งเปน ระบบ (1) สนับสนุนการถายทอดและแลกเปล่ียนประสบการณการเรียนรูระหวางคนใน ชมุ ชนเดยี วกันและระหวางองคกรชุมชนดวยกันในทุกรูปแบบโดยเนนการใชประโยชนจากภูมิ ปญญาทองถ่นิ หรือปราชญชาวบานที่มีอยู และมกี ารรับรองวทิ ยฐานะของการเรียนรู ดังกลาว (2) สงเสรมิ การดําเนินงานในลักษณะวทิ ยาลยั ประชาคม ท่ีทําหนาท่ีจัดการศึกษาและ ฝกอาชีพแกประชาชนและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในชุมชนในรูปแบบที่หลากหลายตามความ สนใจและความถนดั โดยไมจ าํ กดั พนื้ ฐานความรู (3) สงเสริมใหองคกรทางสังคมทุกฝาย เชน สถาบันครอบครัว สถาบันทางศาสนา สื่อมวลชน สถาบันการศึกษาท้ังสวนกลางและภูมิภาค ฯลฯ เขามามีสวนรวมในการสราง เครือขา ยการเรยี นรูข องชมุ ชน โดยเฉพาะอยา งยง่ิ บทบาทของบา น วดั โรงเรียน การสรา งเครอื ขายการประกอบอาชีพและการดาํ เนินชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดพระราชทานพระราชดําริเกี่ยวกับเศรษฐกิจ พอเพียง และทรงยึดม่ันหลักการนี้มาโดยตลอด แตนโยบายเกี่ยวกับเกษตรที่ผานมาของ รัฐบาลเนน การ ผลติ สินคาเพอ่ื สงออกเปนเชิงพาณิชย คือ เมื่อปลูกขาวก็นําไปขาย และก็นํา เงินไปซ้ือขา ว เม่ือเงินหมดก็จะไปกู เปนอยา งน้มี าโดยตลอดจนชาวนาไทยตกอยใู นภาวะหน้ีสิน พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวทรงตระหนักถึงปญหาดานน้ี จึงไดพระราชทานพระราชดําริให จัดต้งั ธนาคารขา ว ธนาคารโค-กระบอื

50 เพอ่ื ชวยเหลือราษฎร นับเปนจุดเริ่มตนแหงท่มี าของ “เศรษฐกิจพอเพียง” นับตั้งแตอดีตกาล แมกระทงั่ โครงการแรกๆ แถวจังหวัดเพชรบุรี กท็ รงกําชับหนว ยราชการมิใหนาํ เครอื่ งกลหนัก เขาไปทํางาน รับส่ังวาหากนาํ เขาไปเร็วนัก ชาวบา นจะละท้ิงจอบ เสียม และในอนาคตจะชว ย ตัวเองไมไ ด ซ่ึงก็เปน จรงิ ในปจจบุ ัน จากน้ันไดทรงคิดคนวิธีการท่ีจะชวยเหลือราษฎรดานการเกษตร จึงไดทรงคิด“ทฤษฎี ใหม”ขึ้นเม่ือป 2535 ณ โครงการพัฒนาพื้นท่ีบริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเน่ืองมาจาก พระราชดําริจังหวัดสระบุรี เพ่ือเปนตัวอยางสําหรับการทําการเกษตรใหแกราษฎร ในการ จัดการดานที่ดินและแหลงนํ้าในลักษณะ 30 : 30 : 30 : 10 คือ ขุดสระและเลี้ยง ปลา 30 ปลูกขาว 30 ปลูกพืชไรพืชสวน 30 และสําหรับเปนท่ีอยูอาศัย ปลูกพืชสวนและ เล้ียงสตั วใน 10 สดุ ทา ย ตอ มาไดพระราชทานพระราชดาํ รเิ พ่มิ เติมมาโดยตลอด เพ่ือใหเกษตรกร ซึ่งเปนคนสวน ใหญของประเทศมีความแข็งแรงพอ กอนท่ีจะไปผลิตเพ่ือการคาหรือเชิงพาณิชย โดยยึดหลักการ “ทฤษฎใี หม” 3 ข้ัน คอื ขนั้ ท่ี 1 มีความพอเพียง เลีย้ งตัวเองได ขัน้ ที่ 2 รวมพลงั กันในรูปกลุม เพ่ือการผลิต การตลาด การจัดการ รวมท้ังดานสวัสดิการ การศึกษา การพัฒนาสังคม ขั้นที่ 3 สรางเครือขา ย กลุมอาชพี และขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจทีห่ ลากหลาย จากแนวทางหลักการ “ทฤษฎีใหม” สามารถนําสูแนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง ทนี่ ําไปใชไดกบั ทกุ ภาคสวนในสังคมชุมชน ดังนี้ ข้ันที่หนึ่ง มคี วามพอเพยี ง เลย้ี งตวั เองไดบนพื้นฐานของความประหยัด ขจัดการใชจ าย เปนระบบเศรษฐกิจที่ยึดถือหลักการที่วา “ตนเปนที่พ่ึงแหงตน” โดยมุงเนนการผลิตพืชผลให เพยี งพอกับความตองการบริโภคในครัวเรือนเปนอันดับแรกเมื่อเหลือพอจากการบริโภคแลว จึงคาํ นึงถึงการผลติ เพ่อื การคา เปน อันดับรองลงมา ผลผลิตสวนเกินที่ออกสูตลาดก็จะเปนกําไร ของเกษตรกรในสภาพการณเชนน้ีเกษตรกรจะกลายสถานะเปนผูกําหนดหรือเปนผูกระทําตอ ตลาด แทนท่ีวาตลาดจะเปนตัวกระทําหรือเปนตัวกําหนดเกษตรกรดังเชนท่ีเปนอยูในขณะน้ี และหลักใหญสําคัญยิ่ง คือ การลดคาใชจายโดยการสรางส่ิงอุปโภคบริโภคในท่ีดินของ ตนเอง เชน ขา ว นํ้า ปลา ไก ไมผล พืชผกั ฯลฯ

51 ข้ันที่สอง รวมพลังกันในรูปกลุม เพื่อทําการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งดาน สวัสดกิ าร การศกึ ษา การพัฒนาสังคม ฯลฯ ระบบเศรษฐกจิ แบบพอเพยี งใหค วามสําคัญกับการ รวมกลมุ ของชาวบา น ทัง้ น้ี กลุมชาวบานหรอื องคกรชาวบานจะทําหนาท่ีเปนผูดําเนินกิจกรรม ทางเศรษฐกิจตา งๆ ใหห ลากหลาย ครอบคลมุ ท้ังการเกษตรแบบผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทําธุรกิจคา ขายและการทอ งเทยี่ วระดับชุมชน ฯลฯ เม่ือองคกรชาวบาน เหลา น้ีไดร ับการพฒั นาใหเ ขมแข็ง และมีเครือขายท่ีกวางขวางมากขึ้นแลวเกษตรกรท้ังหมดใน ชมุ ชนก็จะไดรบั การดแู ลใหม ีรายไดเพม่ิ ขึน้ รวมทั้งไดรับการแกไขปญหาในทุก ๆ ดาน เมื่อเปน เชนนี้ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศก็จะสามารถเติบโตไปไดอยางมีเสถียรภาพ ซึ่งหมายความ วาเศรษฐกิจสามารถขยายตวั ไปพรอม ๆ กบั สภาวการณดา นการกระจายรายไดท ดี่ ขี ึน้ ข้ันที่สาม สรางเครือขายกลุมอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจใหหลากหลาย โดยประสานความรวมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองคกรพัฒนาเอกชน และภาคราชการ ในดาน เงนิ ทนุ การตลาด การผลติ การจดั การ และขาวสารขอมลู ระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงตั้งอยู บนพน้ื ฐานของการมีความเมตตา ความเอื้ออาทร และความสามัคคีของสมาชิกในชุมชนในการ รวมแรงรวมใจเพื่อประกอบอาชีพตาง ๆ ใหบ รรลผุ ลสาํ เรจ็ ประโยชนท ่เี กิดข้ึน จึงมิไดหมายถึง รายไดแตเพียงมิติเดียว หากแตยังรวมถึงประโยชน ในมิติอ่ืน ๆ ดวย ไดแก การสรางความ มั่นคงใหก ับสถาบันครอบครัว สถาบันชุมชน ความสามารถในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม การพัฒนากระบวนการเรียนรูของชุมชนบนพื้นฐานของภูมิปญญาทองถ่ิน รวมทงั้ การรกั ษาไวซ ่ึงขนบธรรมเนยี มประเพณีทด่ี งี ามของไทยใหคงอยูตลอดไป นอกจากน้ี การสรา งเครือขายใหประสบผลสําเร็จ จําเปนตองมีการสรางความผูกพัน และความรับผดิ ชอบตอ การสรา งเครือขา ยรวมกนั เองใชเวลา ตองเคารพและความไววางใจซึ่ง กนั และกันเปน สงิ่ สาํ คัญ และตอ งพงึ ระลึกไวเสมอวาในภาพรวม องคกรที่รวมเครือขายจะตอง ไดรับประโยชนจากการสรางเครือขาย ตองหม่ันสรุปบทเรียนการทํางาน วิเคราะหจุดแข็ง จุดออนตางๆ และตองจําไวเสมอวาในชวงการรวมเปนเครือขายหรือประสานงานกัน สถานการณอาจมีการเปลี่ยนแปลง เราตองตระหนักถึงปญหา และมีความ4ย2ึดหยุน พอสมควร ทส่ี ําคัญที่สดุ คอื ตอ งมีความรับผิดชอบในความสาํ เรจ็ หรือความลม เหลวรว มกัน

52 กระบวนการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ พอเพียง “...ในการพัฒนาประเทศนน้ั จาํ เปน ตองทาํ ตามลาํ ดับข้ันเรม่ิ ดว ยการสรางพ้นื ฐาน คือ ความ พอมพี อกนิ พอใชข องประชาชนกอ นดวยวิธีการท่ีประหยัดระมัดระวัง แตถูกตองตามหลักวิชา เมอ่ื พนื้ ฐานเกิดขนึ้ มน่ั คงพอควรแลว จึงคอยสรางเสริมความเจริญขัน้ สูงขึ้นตามลําดับตอไป ... การถือหลักท่ีจะสงเสริมความเจริญใหคอยเปนไปตามลําดับดวยความรอบคอบ ระมัดระวัง และประหยัดนั้น ก็เพ่ือปองกันความผิดพลาดลมเหลว และเพ่ือใหบรรลุผลสําเร็จไดแนนอน บรบิ ูรณ” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 19 กรกฎาคม 2517จากพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสของพระองค นับตั้งแตป 2517 เปน ตนมา จะพบวา พระองคทานไดทรงเนนยํ้าแนวทางการพัฒนาท่ีอยูบนพื้นฐานของการ พ่ึงตนเอง ความพอมีพอกิน พอมีพอใช การรูจักความพอประมาณ การคํานึงถึงความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันท่ีดีในตัว และทรงเตือนสติประชาชนคนไทยไมใหประมาท ตระหนักถึงการ พัฒนาตามลําดับขั้นตอนท่ีถูกตองตามหลักวิชาการ ตลอดจนมีคุณธรรมเปนกรอบในการ ดํารงชวี ติ ซึ่งทั้งหมดน้ีเปนทีร่ กู ันภายใตช ่อื วา เศรษฐกิจพอเพยี ง การขับเคลือ่ นเศรษฐกิจพอเพยี ง มเี ปาหมายหลักเพ่ือสรางเครือขายเรียนรู ใหมีการนํา หลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใชเปนกรอบความคิด เปนแนวทางในการปฏิบัติ ตลอดจนเปนสวน หน่ึงของวิถชี วี ติ ของคนไทยในทกุ ภาคสวน วัตถุประสงคของการขับเคลื่อนเพ่ือสรางความรูความเขาใจที่ถูกตอง เกี่ยวกับหลัก เศรษฐกิจพอเพียงใหประชาชนทุกคนสามารถนําหลักปรัชญาฯ ไปประยุกตใหไดอยางเหมาะสม และปลูกฝงปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการดํารงชีวิตใหอยูบนพ้ืนฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนนําไปสกู ารปรับแนวทางการพัฒนาใหอ ยบู นพื้นฐานของเศรษฐกจิ พอเพียง การขับเคลื่อน เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปนการเสริมพลงั ใหป ระเทศไทยสามารถพัฒนาไปไดอยางม่ันคงภายใตกระแส โลกาภิวัตน โดยใหความสําคัญกับการสรางฐานรากทางเศรษฐกิจและสังคมใหเขมแข็งรักษา ความสมดุลของทุนและทรัพยากรในมิติตางๆ ตลอดจนสามารถปรับตัวพรอมรับตอการ เปล่ยี นแปลงตาง ๆ ไดอ ยา งเทาทนั และนาํ ไปสคู วามอยูเย็นเปนสุขของประชาชนชาวไทย การดําเนินการตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น นอกเหนือจากที่ทรง ทดลองและปฏิบัติจริงในสวนจิตรลดาฯ และโครงการพระราชดําริตาง ๆ แลว ไดมีผูสนใจ

53 นาํ มาใชเปน หลกั ในการดาํ เนนิ ชีวิตทั้งในประเทศและตางประเทศแลวมากมาย ซ่ึงเราจําเปนที่ จะตอ งเขา ไปศกึ ษาหาวา ในแตละพนื้ ท่ไี ดมผี นู าํ เอาปรัชญานี้ไปใชอยางไรบาง โดยเฉพาะอยาง ยง่ิ ท่นี ําไปใชแลวประสบความสําเร็จ การขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจพอเพยี งดา นการศึกษา ในการขับเคลอ่ื นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในภาคการศกึ ษาน้ัน จะตองมุง พฒั นา ท่ีตัวครูกอนเปนอันดับแรก เพราะครูถือวาเปนทรัพยากรท่ีสําคัญในการถายทอดความรู และ ปลูกฝงส่ิงตางๆ ใหแกเด็ก ดังน้ันจึงควรสงเสริมครูใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับหลัก เศรษฐกิจพอเพยี งอยางถองแทก อ น เพราะเม่อื ครูเขาใจ ครูกจ็ ะไดเปน แบบอยา งทดี่ ีใหแกเด็กได ครจู ะสอนใหเ ดก็ รจู ักพอ ครูจะตองรูจกั พอกอนโดยอยูอยางพอเพยี งและเรียนรูไปพรอ มๆ กบั เด็ก โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ตอ งมีสตใิ นการเลอื กรับขอมูลตางๆ ท่ีเขามา รูจักเลือกรับและรูจัก ตอยอดองคความรูท่ีมีอยู หมั่นศึกษา เพิ่มพูนความรู อยางเปนขั้นเปนตอนไมกาวกระโดด ในการเลือกรับขอ มูลนนั้ ตอ งรจู กั พิจารณารับอยางเปนขั้นเปนตอน รูจักแกไขปญหาอยางเปน ข้ันเปนตอน ประเมินความรูและสถานการณอยูตลอดเวลา จะไดรูจักและเตรียมพรอมท่ีจะ รับมอื กบั สภาพ และผลจากการเปลีย่ นแปลงในมติตางๆไดอยา งรอบคอบและระมดั ระวงั เปาหมายสําคัญของการขับเคล่อื น คอื การทาํ ใหเดก็ รูจกั ความพอเพียง ปลูกฝง อบรม บมเพาะใหเด็กมีความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรม โดยสอดแทรก แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใหเขา เปนสว นหนง่ึ ของหลกั สตู ร สาระเรียนรตู าง ๆ เพื่อสอนใหเด็กรูจักการใชชีวิตไดอยางสมดุล ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณคาของ ทรัพยากรตา งๆ รูจักอยรู วมกับผูอ ่นื รจู ักเอ้ือเฟอเผ่ือแผและแบงปน มีจิตสํานึกรักษส่ิงแวดลอม และเห็นคณุ คา ของวฒั นธรรมคานยิ ม ความเปน ไทย ทามกลางการเปลี่ยนแปลงตางๆ รูวาตนเอง เปนองคประกอบหนึ่งในส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรมของโลก การกระทําของตนยอมมีผลและ เชอื่ มโยงกบั สภาพแวดลอมในโลกท่ตี นเองเปน สมาชกิ อยดู ว ย ซ่งึ การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ขางตน สําคัญคือครูจะตองรูจักบูรณาการการเรียนการสอนใหเด็กและเยาวชนเห็นถึงความ

54 เชอื่ มโยงในมิตติ า งๆ ทงั้ ดา นส่ิงแวดลอ ม วฒั นธรรม สังคม และเศรษฐกิจ ซึ่งความเปนองครวม นจ้ี ะเกดิ ขนึ้ ได ครตู อ งโดยใชค วามรูแ ละคณุ ธรรมเปน ปจ จยั ในการขบั เคลือ่ น นอกจากนี้ ในการสง เสริมใหนําหลักปรัชญาฯไปใชในสถานศึกษาตางๆ นั้น อาจจะใช วิธี“เขา ใจ เขา ถงึ และพัฒนา” ตามหลักการของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัววา สําคญั ทส่ี ดุ ครู ตองเขาใจเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกอน โดยเขาใจวาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงนั้นเปนแนวคิดท่ีสามารถเร่ิมตน และปลูกฝงไดผานการทํากิจกรรมตางๆ ในโรงเรียน เชน กิจกรรมการรักษาสิ่งแวดลอมในโรงเรียนการกําจัดขยะในโรงเรียนการสํารวจทรัพยากร ของชมุ ชนฯลฯ กอนอื่น ครูตองเขาใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ทําตัวเปนแบบอยางท่ีดี โดยกลับมา พิจารณาและวิเคราะหดูวา ในตัวครูนั้นมีความไมพอเพียงในดานใดบาง เพราะการวิเคราะห ปญหาจะทําใหรูและเขาใจปญหา ท่ีเกิดจากความไมพอเพียง รวมทั้งควรใหเด็กมีสวนรวมใน การวเิ คราะหปญ หาดวย โดยการวิเคราะหนี้ตองดําเนินไปบนพื้นฐานของความรูและคุณธรรม โดยเฉพาะคณุ ธรรมน้ัน เปน ส่ิง ที่ควรปลูกฝง ใหเ กดิ ข้ึนในใจเดก็ ใหไ ดกอ น ผานกจิ กรรมที่ครูเปนผู คดิ ขน้ึ มา โดยครูในแตละโรงเรียนจะตอ งมาน่ังพิจารณากอนวา จะเริม่ ตน ปลกู ฝง แนวคิดปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งจากจดุ ไหน ทุกคนควรมารวมกันคดิ รวมกนั ทํา สามัคคกี นั ในกระบวนการ หารอื หลังจากท่ีครูไดคนหากิจกรรมท่ีจะปลูกฝงแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแลว ครูควรจะตองตั้ง เปาหมายการสอนกอนวาครูจะสอนเด็กใหรูจักพัฒนาตนเองไดอยางไรโดย อาจเร่ิมตนสอนจากกิจกรรมเล็กๆนอยๆ ท่ีสามารถเริ่มตนจากตัวเด็กแตละคนใหไดกอน เชน การเก็บขยะ การประหยัดพลังงาน ฯลฯ เพือ่ ใหเด็กไดเ รยี นรถู งึ ความเชือ่ มโยงระหวางปจ จัย ที่ตนเองมตี อ สง่ิ แวดลอมภายนอกในดานตา งๆ 4 มิติ ในสวนของการเขาถึงนั้น เมื่อครูเขาใจแลว ครูตองคิดหาวิธีที่จะเขาถึงเด็ก พิจารณา ดูกอ นวา จะสอดแทรกกิจกรรมการเรยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพยี ง เขาไปในวธิ ีคดิ และในวชิ าการ

55 ตาง ๆ ไดอยา งไร ท้งั น้ี อาจจัดกจิ กรรมกลมุ ใหน ักเรยี นไดรวมกันคิด รวมกันทํา รูจักแบงหนาท่ี กันตามความสามารถของเด็กในแตละชวงช้ัน เชน ในกิจกรรมการเก็บขยะเพ่ือรักษาความ สะอาดของโรงเรียนนัน้ ครอู าจจดั กจิ กรรมสาํ หรับเดก็ ในแตล ะชว งชนั้ คือ ชวงชั้นที่ 1 สรางกิจกรรมท่ีสนับสนุนใหเด็กชวยกันเก็บขยะ (ใหเด็กรูหนาที่ของตน ในระดับบุคคล) ชวงช้ันที่ 2 สรางกิจกรรมที่สนับสนุนใหเด็กชวยกันเก็บขยะและนับขยะ (ใหรูจักการ วิเคราะหและรถู ึงความเชอื่ มโยงของตนเองกับสมาชิกคนอืน่ ๆ ในโรงเรยี น) ชว งช้ันท่ี 3 สรา งกิจกรรมท่ีสอนใหเด็กรูจักเช่ือมโยงกับชุมชนภายนอกรอบๆ โรงเรียน เชนสรางกิจกรรมที่สอนใหเด็กรูจักแบงแยกขยะ รวมมือกับชุมชนในการรักษาส่ิงแวดลอมใน พ้นื ทท่ี ีโ่ รงเรียนและชมุ ชนของเขาตัง้ อยูดว ย กิจกรรมท้ังหมดน้ีสําคัญคือ ตองเนนกระบวนการมีสวนรวมของทุกฝาย โดยสถานศึกษาควรต้ังเปาใหเกิดการจัดการศึกษาตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง สอดแทรกเขาไปในกระบวนการเรียนรูสอนใหเด็กพึ่งตนเองใหไดกอนจนสามารถเปนท่ีพ่ึงของ คนอน่ื ๆในสังคมไดตอไป การจัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดําเนินการไดใน 2 สวน ไดแ ก สว นที่ 1 เกีย่ วขอ งกบั การบริหารสถานศึกษา สวนท่ี 2 เปนการจัดการเรียนรูของผูเรียน ซงึ่ สว นท่ี 2 นีป้ ระกอบดวยการสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียง ในหลักสูตรและสาระเรียนรู ในหองเรียนและประยุกตหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น การขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษาในระยะแรก ไดเร่ิมจากการไปคนหา กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นทม่ี ีคณุ ลกั ษณะ และการจัดการท่สี อดคลอ งกับหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง คือ พอประมาณกบั ศกั ยภาพของนกั เรยี น พอประมาณกบั ภูมิสงั คมของโรงเรยี นและชุมชนทตี่ ้ัง เชน เด็กชวงช้ันท่ี 2ทําสหกรณได เด็กชวงชั้นที่ 4 ดูแลสิ่งแวดลอม มีการสงเสริมใหใชความรูอยาง รอบคอบระมดั ระวัง ฝก ใหเดก็ คิดเปน ทําเปน อยา งมเี หตุผล และมีภูมิคมุ กนั สงเสรมิ ใหเ ด็กทํางาน รว มกบั ผูอื่น มีความซ่ือสัตย สุจริต รับผิดชอบ ไมเอารัดเอาเปรียบผูอ่ืน มีวินัย มีสัมมาคารวะ ปลูกฝงจิตสํานกึ รักษส ่ิงแวดลอ ม สืบสานวฒั นธรรมไทย กลาวคือ สอนใหผูเรียน ยึดม่ันในหลัก

56 ศลี ธรรม พัฒนาคนใหเขารูจักทําประโยชนใหกับสังคมและชวยดูแลรักษาสิ่งแวดลอม และตัว กจิ กรรมเองก็ตอ งยงั่ ยนื โดยมภี ูมิคมุ กันในดา นตาง ๆ ถึงจะเปลี่ยนผูอํานวยการแตกิจกรรมก็ยัง ดาํ เนินอยอู ยา งน้เี รียกวามภี มู ิคุม กนั การคนหาตัวอยา งกจิ กรรมพฒั นาผูเรียน ก็เพื่อใหม ตี ัวอยา งรูปธรรม ในการสรางความ เขา ใจภายในวงการศกึ ษาวา หลักเศรษฐกจิ พอเพยี งหมายความวาอยางไร และสามารถนําไปใช ในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนไดอยางไรบาง หลังจากน้ัน ก็สงเสริมใหบูรณาการการเรียนรูผาน กิจกรรมเหลาน้ี เขาไปในการเรียนรูสาระตาง ๆ บูรณาการเขากับทุกสาระเรียนรู เชน วิทยาศาสตร เพ่อื ทําใหเกิดสมดลุ ทางสงิ่ แวดลอม บูรณาการเขากับวชิ าคณิตศาสตร ในการสอน การคํานวณท่ีมคี วามหมายในการดาํ รงชวี ิตอยา งพอเพียง หรือบรู ณาการเขากับสาระภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สุขศึกษา พลศึกษา การงานอาชีพเทคโนโลยีตาง ๆ ไดหมด นอกเหนือจากการ สอนในสาระหลัก คอื ในกลุม สาระสงั คมศึกษา ศาสนาวฒั นธรรมเทานัน้ สําหรบั มาตรฐานการเรียนรู มีวัตถุประสงคใหทุกชวงช้ัน เขาใจหลักเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกตใชได แตถามาตรฐานเรียนรูของทุกชวงชั้นเหมือนกันหมดก็จะมีปญหา ทางปฏบิ ัติ จึงตองกาํ หนดขอบเขตทช่ี ดั เจนในการเรยี นการสอนของแตละชวงช้ัน และแตละช้ัน ป ดังน้ี ชวงชั้นท่ี 1 เนนใหเด็กพ่ึงตนเองได หรือใชชีวิตพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว เชน ประถม 1 ชวยเหลือคุณพอคุณแมลางจานชาม เก็บขยะไปทิ้ง กวาดบาน จัดหนังสือไป เรียนเอง แบงปนส่ิงของใหเพื่อน กินอาหารใหหมดจาน ประถม 2 วิเคราะหรายจายของ ครอบครัว จะมีตารางกรอกคาใชจายตางๆของครอบครัว คุณแมซ้ืออะไรบาง คุณพอซื้อ อะไรบา ง เด็กจะไดรพู อแมห าเงนิ มายากแคไหน เชน ยาสีฟนหลอดละ 46 บาท จะตองไมเอา มาบบี เลน จะตองสอนใหเ ด็กเหน็ คณุ คาของสง่ิ ของ ใหเ ด็กตระหนักถึงคุณคาของเงินทอง จะได ฝก นิสยั ประหยัด ครอบครวั มรี ายไดและรายจายเทาไร เด็กจะไดฝกจิตสํานึกและนิสัยพอเพียง มีหลายโรงเรียนทําแลว ประถม 3 สอนใหรูจักชวยเหลือครอบครัวอยางพอเพียงและรูจัก แบง ปนชว ยเหลอื ผูอ่นื มีสวนรว มสรา งครอบครวั พอเพยี ง

57 ชวงชั้นท่ี 2 ฝก ใหเด็กรูจักประยุกตใชหลักความพอเพียงในโรงเรียน สามารถวิเคราะห วางแผนและจดั ทาํ บนั ทึกรายรบั - รายจายของตนเองและครอบครัวอยางมปี ระสิทธภิ าพ มีสวน รวมในการสรางความพอเพียงระดับโรงเรียน และชุมชนใกลตัว โดยเริ่มจากการสํารวจ ทรัพยากรตาง ๆ ในโรงเรยี นและชุมชน มีสวนรว มในการดูแลบาํ รงุ รกั ษาทรัพยากรตา ง ๆ ท้ังดานวัตถุ สิ่งแวดลอม ภูมิปญญา วัฒนธรรมและรวบรวมองคความรูตาง ๆ มาเปนขอมูล ในการเรยี นรูว ิถชี ีวิตของชุมชนและเหน็ คุณคา ของการใชชวี ิตอยางพอเพียง ชวงชั้นที่ 3 ประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียงกับชุมชน มีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ของชมุ ชนสามารถสํารวจและวิเคราะหความพอเพียงในระดับตา ง ๆ และในมิติตาง ๆ ท้ังทางวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรมในชุมชนใกลตัว เห็นคุณคาของการใชหลักพอเพียงในการ จัดการชุมชน และในทส่ี ดุ แลว สามารถนําหลักการพอเพียงมาประยุกตใชในชีวิตประจําวันของ แตล ะคน จนนําไปสูก ารปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมสูค วามพอเพียงไดใ นทีส่ ดุ ชว งชั้นที่ 4 เตรียมคนใหเ ปน คนที่ดตี อ ประเทศชาติ สามารถทําประโยชนใหกับสังคมได ตองเริ่มเขาใจความพอเพียงระดับประเทศ และการพัฒนาประเทศภายใตกระแสโลกาภิวัตน เชน การวิเคราะหสถานการณการคาระหวางประเทศ หรือการศึกษาสถานการณส่ิงแวดลอม สภาพปญหาดา นสังคมเปน อยา งไรแตกแยกหรอื สามัคคี เปนตน ขณะนี้คณะทํางานขับเคล่ือนดานการศึกษาและเยาวชน ทํางานรวมกับ กระทรวงศึกษาธิการ และอีกหลายหนวยงาน วิสัยทัศนของการขับเคล่ือน คือ สานเครือขาย ขยายความรู ควบคปู ระชาสัมพนั ธ เพ่อื สง เสรมิ ความรคู วามเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และใหบุคลากรดานการศึกษา สามารถนําหลักคิดหลักปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียง มาบูรณาการสกู ารเรยี นการสอนในทกุ กลมุ สาระการเรยี นรขู องทกุ ระดบั ไดอยางถูกตอง ชัดเจน และเปน รปู ธรรม ตลอดจนผูบริหารสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการ บริหารสถานศึกษา เพื่อใหเกดิ ประโยชนและความสุข

58 การขับเคล่อื นเศรษฐกจิ พอเพียงในองคกรธุรกจิ เม่ือองคกรธุรกิจตระหนกั ถงึ ความจาํ เปน และมคี วามเชือ่ มั่นตอ การดาํ เนินธรุ กิจดวยหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การจะขบั เคลอื่ นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งภายในองคกร ให มีความชัดเจนเปนรูปธรรมไดนั้น ผูนําธุรกิจตองมีความมุงมั่นและยึดถือเปนแนวปฏิบัติ ซึ่งการ พัฒนาองคกรและกลไกตาง ๆ เร่ิมจากกําหนดนโยบายเศรษฐกิจพอเพียง นําปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาผสมผสานกับกลยุทธขององคกร โดยใชหลักความพอประมาณ ความมี เหตุผล และการสรางภูมิคุมกันท่ีดี บนพ้ืนฐานความรูและคุณธรรม พรอมท้ังถายทอดเปน แผนงาน และผลักดันไปสูการปฏิบัติอยางจริงจังและตอเน่ือง เพ่ือใหการดําเนินกิจการของ องคกรมีความสมดุลและเจริญเติบโตในระยะยาว อยางไรก็ตาม แมวาปรัชญาเศรษฐกิจของ พอเพียงจะมีแนวคิดในกรอบเดียวกัน แตการนําไปประยุกตใชในองคกรธุรกิจ สามารถปรับ ใชไดหลายรูปแบบ โดยไมมีสูตรสําเร็จตายตัว ดังนั้น ผูนําธุรกิจจึงตองพิจารณาถึงความ เหมาะสมกับเง่ือนไขและสภาวะท่ีองคกรกําลังเผชิญอยู โดยประยุกตใชหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเขา กบั การบรหิ ารธุรกิจดา นตาง ๆ ดังตอไปน้ี ดานการผลติ ผูนําธุรกิจกําหนดขนาดการผลิตที่เหมาะสม ตามกําลังความสามารถในการผลิตของ องคกรโดยไมรับคําสั่งซ้ือสินคาหากความสามารถในการผลิตไมเพียงพอ วางแผนการใช ทรัพยากร โดยยึดหลักความคุมคาและมีประสิทธิภาพสูงสุด ใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมและ ถกู ตองตามหลักวชิ าการ โดยเฉพาะสนับสนุนการใชวัตถุดิบที่ มีอยู ในประเทศ และเทคโนโลยี ในการผลิตจากภมู ปิ ญญาไทย มุงเนนคุณภาพการผลิตตามมาตรฐาน ไมเอารัดเอาเปรียบคูคา วางระบบการจัดการวัตถุดิบและสินคาคงคลังอยางมีประสิทธิภาพ กระจายความเส่ียงโดยมี ผลผลติ ที่ หลากหลาย มีนโยบายการจางงานเพือ่ กระจายรายได โดยไมน าํ เคร่ืองจักรมาทดแทน แรงงานโดยไมจําเปน และจัดระบบบําบัดของเสียโดยไมสรางมลพิษตอสิ่งแวดลอมดาน การตลาด

59 ผูนําธุรกิจตองมีความรอบรูในธุรกิจที่ดําเนินการอยู และนําความรูในขอเท็จจริงมาใช ในการกาํ หนดนโยบายการตลาด วางแผน และบริหารจัดการอยางมีเหตุผลและเปนธรรม เพื่อ ประโยชนแกองคกรธุรกิจอยางแทจริง ยึดหลักการรักษาความสมดุลในการแบงปน ผลประโยชนของธุรกิจระหวางผูมีสวนไดสวนเสียอยางสมเหตุสมผล ต้ังแตผูบริโภค พนักงาน บริษัทคูคา สังคม และส่ิงแวดลอม ไดแก การตั้งราคาสินคาในราคายุติธรรม หลีกเล่ียงการ โฆษณาชวนเช่ือเกินจริง เพอื่ มุงหวงั ยอดขาย ในระยะส้ัน ใชกลยุทธดานการวิจัยเพื่อสรางนวัตกรรมในสินคา ทั้งดานการออกแบบ และพฒั นาสนิ คา ใหม รวมถึงการแกไ ขและปรับปรุงสนิ คา เดิมใหมีคณุ สมบัติ คุณประโยชน และ คุณภาพเพิม่ ขน้ึ รักษาความลบั ของผบู ริโภค ซง่ึ จะชวยใหเ กิดความสัมพันธทางธุรกิจ มุงดําเนิน ธรุ กจิ โดยไมเ อาเปรยี บผูอ่ืน ซือ่ สตั ย และมคี ณุ ธรรมตอคูคา เพื่อสรางคุณคา ใหแกองคกรธุรกิจ ในระยะยาวสวนการขยายธุรกิจขององคกร ผูนําธุรกิจตองพิจารณาถึงความพรอม ทุกดานอยางรอบคอบ เนนธุรกิจที่มีความถนัด และขยายธุรกิจอยางคอยเปนคอยไป โดยตอบสนองตลาดทองถิ่นกอนขยายไปสูสวนภูมิภาคและตางประเทศ มีมาตรการกระจาย ความเสย่ี ง โดยเพิ่มชองทางการกระจายสินคาใหม ๆ อยูเ สมอ มีความรอบคอบและระมัดระวัง ในการคิดพจิ ารณาตัดสินใจเรื่องตาง ๆ ใหกระจางแจงในทุกแงมุม เพ่ือปองกันความผิดพลาด หรอื ความเสียหายทอ่ี าจจะเกดิ ข้นึ นอกจากน้ี ผูนําธุรกิจควรตรวจสอบและติดตามสภาวะทางการตลาดอยางตอเนื่อง รูเทาทันการเปล่ียนแปลง คาดการณไดถึงโอกาสและอุปสรรคที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อเพ่ิม โอกาสในการแขงขัน สรางความพรอมและปรับตัวใหเขากับสถานการณปจจุบันไดอยาง เหมาะสม ดวยการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนภายในองคกร ประเมินสถานการณความเสี่ยง ลวงหนา เพื่อวางแผนรับมือไดทันทวงที เนนการกระจายความเสี่ยงจากการมีผลิตภัณฑท่ี หลากหลาย และแปรสภาพไดง า ยเพ่ือลดผลกระทบจากวฏั จกั รทางเศรษฐกิจ

60 ดานการเงิน ผนู ําธุรกิจวางแผนการลงทนุ ในธุรกจิ ท่ีสุจริต ไมกอใหเกิดผลเสียตอสังคม วิเคราะหถึง ความคุมคาในการลงทุนอยางรอบคอบดวยเหตุผล และลงทุนในธุรกิจที่หลากหลาย เพื่อลด ความเสยี่ งดานการเงนิ หลีกเลี่ยงการลงทุนบนพ้ืนฐานของเงินกูท่ี เกินขีดความสามารถในการ ชําระหน้ี รกั ษาอัตราสวนหน้ีสินตอทุนใหเหมาะสม และกําหนดนโยบายการลงทุน โดยไมหวัง ผลกําไรในระยะสั้นควรเนนความมั่นคงในระยะยาว ทํากําไรแต พอประมาณ โดยไมมากเกินไป จนธรุ กิจตองประสบภาวะเสย่ี งหรือขาดภมู ิคุม กนั ในธุรกิจ และทํากาํ ไรไมนอยเกนิ ไป จนธุรกิจไม สามารถอยู รอดได จัดระบบการสะสมเงินออมและเงินทนุ หมุนเวยี นอยางเหมาะสม ผนู ําธรุ กิจควรสนับสนุนการกระจายอาํ นาจและการตัดสนิ ใจไปยงั สว นงานตา ง ๆ ในองคกรโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหกวางขวางและครอบคลุมทุกสวนงาน มุง เนนการใชงบประมาณอยางสรา งสรรค โดยกําหนดกรอบแนวทางในการตัดสินใจอนุมัติและ ดําเนินงานโครงการตางๆ ขององคกรใหเปนไปตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี มีระบบกลไกการ ตรวจสอบและติดตามผลการใชง บประมาณ การจัดซ้ือจัดจาง และการดําเนินงานตางๆ อยาง โปรง ใส ดานทรพั ยากรบคุ คล ผูนําธุรกิจเห็นคุณคาและใหความสําคัญกับการพัฒนาพนักงานอยางตอเนื่อง โดยนํา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการบริหารทรัพยากรบุคคลดานตาง ๆ ไดแก การคัดเลือกพนักงานดวยหลักยุติธรรม โดยเนนคนดีท่ีซื่อสัตยและคนเกงท่ีมีคุณภาพ เนนการ ทํางานเปนทีม ฝกอบรมการใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหแกพนักงานทุกระดับใน องคก ร สงเสริมการศึกษาและวิจัย เพ่ือพัฒนาองคความรูและนวัตกรรม ในดานผูนําธุรกิจกับ การขบั เคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียงในองคกรตา ง ๆ ใหเกิดประโยชนสูงสุดแกผูบริโภคและองคกร วางแผนการเตรียมความพรอมของพนักงานในอนาคต กําหนดตัวชี้วัดการประเมินผลงานดวย ความโปรง ใสและเปน ธรรม เปลี่ยนแปลงระบบการเลือ่ นตําแหนง จากหลกั ความอาวโุ สหรือหลัก อุปถัมภ เปนยึดหลักความสามารถของบุคคล กําหนดระดับคาจางพอประมาณแกฐานะของ

61 องคกรและสอดคลองกับตลาดแรงงาน กําหนดนโยบายการดูแลพนักงานอยางท่ัวถึง โดยสงเสรมิ ใหพ นกั งานมคี ุณภาพชวี ิตและสขุ อนามัยทีด่ ใี นการทํางาน นอกจากน้ี ผูนําธุรกิจตองปลูกจิตสํานึกความพอเพียงใหแกพนักงาน สงเสริมการมี คา นิยมสรา งสรรค และสรางจรรยาบรรณการทาํ งานดวยความสุจริต ขยันอดทน มีความมุงมั่น และใชค วามเพียรในการฟนฝาอุปสรรคตา ง ๆ เพอื่ ใหเ กิดความกาวหนา อยางตอเนื่อง ตลอดจน กระตุนใหเกิดวัฒนธรรมองคกรท่ีเชิดชูคุณธรรม สงเสริมความเก้ือกูลกันในองคกร และความ รับผิดชอบตอสังคม ไดแก จัดทําแผนการประชาสัมพันธหรือรณรงคการใชหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง การปฏบิ ตั ติ าม กฎระเบียบดา นทรัพยส ินทางปญ ญา การยอมรับพนักงานใน องคก รท่ีประพฤตติ นเปน แบบอยางท่ีดตี ามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน ตน ดา นสงั คมและสิ่งแวดลอ ม ผูนําธุรกิจผลักดันการยึดม่ันในระบบคุณธรรมกับทุกฝายท่ีเกี่ยวของ ไมเบียดบัง ผลประโยชนสวนรวม ไมทําลายส่ิงแวดลอมหรือสงผลกระทบเชิงลบตอสังคมโดยรวม นอกจากน้ี ผนู าํ ธรุ กิจกระตุนใหพนักงานเหน็ คุณคาในการแบง ปนสูสังคม ไดแ ก การแบงปนองค ความรู โดยสรา งเครอื ขายแหงการเรยี นรูเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียงและเผยแพรไปยังสังคมให กวางขวางยิ่งขึ้น ดวยการนําเสนอตัวอยางผานชองทางตาง ๆ เพ่ือใหมีโอกาสแลกเปลี่ยน ประสบการณและความรูรวมกัน รวมถึงการแบงปน ทรัพยากรระหวางพันธมิตรในธุรกิจ เพ่อื ชว ยเหลือกนั ในเรอ่ื งวตั ถุดิบ เทคโนโลยี และองคความรดู า นตาง ๆ กรณีตวั อยาง บริษัท ไทยโตชบิ าอตุ สาหกรรม จํากดั ผูประกอบการธุรกิจเคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ถือเปนองคกรตัวอยางท่ีไดรับ รางวัลรองชนะเลิศ การดําเนินธุรกิจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยบริษัทไดนํา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชประโยชนในกิจการสําคัญ ไดแก ดานการผลิต กระบวนการผลติ จะใชวัตถดุ บิ ท่มี อี ยูใ นประเทศ เพ่ือลดปญหาการขาดดุลทางการคา ปรับปรุง เทคโนโลยีและการพัฒนาสินคาอยูเสมอโดยคํานึงถึงคุณภาพของสินคาและความปลอดภัยใน การใชส นิ คา จัดโครงการ MIC ทเี่ ปด โอกาสใหพนกั งานไดร เิ ริ่มและประดษิ ฐส ่ิงตา ง ๆ โดยใชภูมิ ปญ ญาไทย เปนตน

62 ดานการตลาด เขา ใจฐานลูกคาของตนเอง จัดนโยบายดานการสงเสริมการตลาดและ การขายทส่ี อดคลอ งและเหมาะสมกบั สญั ญาและขอกฎหมายของแตละประเทศ เพื่อใหดําเนิน ธุรกจิ ถกู ตอ งและเปนธรรม ดานการเงิน นับต้ังแตบริษัทเริ่มดําเนินกิจการ เม่ือป 2512 บริษัท ไดขยายกิจการอยางตอเนื่องโดยขยายกิจการอยางคอยเปนคอยไป ยึดหลักการลงทุนอยาง รอบคอบและมีเหตผุ ล จดั ทํารายงานการเงนิ บนพื้นฐานของความเปนจริงและสงมอบในเวลาท่ี กําหนด โดยไมมีการแตงรายงานการเงินที่ไมถูกตอง บริหารการเงินโดยใชหลักธรรมาภิบาล เนนความโปรงใส และตรวจสอบได ดานทรัพยากรบุคคล กําหนดนโยบายสนับสนุนใหมีการจางแรงงานไทย การรักษา ระดับคาจางและสวัสดิการใหอยูในเกณฑมาตรฐานตามท่ีกฎหมายกําหนด การสนับสนุนให พนกั งานเขา รับการฝก อบรมและศกึ ษาดงู านท้ังในประเทศและตางประเทศ จัดต้ังสหกรณออม ทรัพยในหนวยงานเพื่อสงเสริมใหพนักงานวางแผนการใชจายเงิน ลดปญหาหนี้สิน สรางวินัย การออม และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของพนักงาน นอกจากนี้ พนักงานทุกคนจะไดรับการปลูกฝง ใหใ ชช วี ิตแบบเรยี บงาย มีคณุ ธรรมซื่อสตั ย และมจี ิตสํานกึ ท่ดี ีตอตนเองและสังคม ดานสังคมและสง่ิ แวดลอม บริษทั สรางระบบบาํ บัดนํ้าเสีย โดยนํานํ้าท่ีไดรับการบําบัด แลวกลับไปใชเปนน้ําชักโครกในหองสุขา การนําความรอนท่ีปลอยท้ิงมาใชประโยชนในการ อบโฟม รณรงคการประหยัดพลังงานโดยใชโซลาเซลลในการผลิตนํ้ารอน ใชกาซ LPG แทน น้ํามันเบนซิน รณรงคการจัดการขยะรีไซเคิล เพื่อลดจํานวนขยะ บริษัทจัดโครงการและ กิจกรรมเพื่อชวยสังคมมากมายและตอเน่ือง เชน สรางเครือขายทางสังคม โดยเปดโอกาสให หนวยงานภายนอกเขามาศึกษาดูงาน จัดโครงการอาสาสมัครเพ่ือสังคม ไดแก การจัดแพทย เคลอื่ นท่ี เพ่อื ชว ยเหลอื ผปู ระสบภัย การบริจาคสงิ่ ของ การมอบทุนการศึกษาแก บุตรพนักงาน และบุคคลภายนอก การบรจิ าคโลหติ และจดั กิจกรรมชวยเหลอื เด็กกําพรา เปนตน (สํานักงาน คณะกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง, 2551: 1-10) ในปจจุบันบริษัท ไทยโตชิบาอุตสาหกรรม จํากัด มุงทําธุรกิจดวยกลยุทธ “Green” หรือ“นวตั กรรมสเี ขียวเพอื่ โลกสีขาว” ในทกุ สวนงานขององคก ร ซง่ึ ประกอบดวย 5 สวน คอื (นงคน าถ หา นวไิ ล, 2551: 1)

63 1. Green Product หมายถึง สินคาทุกชนิดของบริษัทจะตองประหยัดพลังงานและ เปน มติ รตอ ส่ิงแวดลอ ม เพื่อสนบั สนุนการลดภาวะโลกรอ น 2. Green Factory หมายถงึ โรงงานของบริษัทปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตทีเ่ นนการ รักษาสิ่งแวดลอม โดยสนิ คา เกือบทกุ ชนิดสามารถนาํ มารีไซเคิลได และใชวัตถุดิบทีไมกอใหเกิด มลพษิ ตอสิ่งแวดลอ ม 3. Green Office หมายถึง สภาพแวดลอมภายในองคกร รวมถึงพนักงานทั้งหมด รวมกันปรับเปล่ียนใหเปนองคกรสีเขียวท่ี ทุกฝายรวมรักษาสิ่งแวดลอม เชน การรณรงคให พนักงานชว ยกันประหยัดไฟและประหยัดนาํ้ 4. Green Purchasing หมายถึง การซ้ือใชวัตถุดิบที่รักษาสิ่งแวดลอม เชน การใช กระดาษรีไซเคิล 5. Green CSR หมายถึง การทาํ ประโยชนสูงสดุ เพ่ือสงั คม จากการวิจัยของผูชวยศาสตราจารย ดร.สุขสรรค กันตะบุตร (2551: 35) เร่ือง “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารองคกรและทรัพยากรมนุษยเพื่อความยั่งยืน” โดยศึกษาจากองคกรธุรกิจขนาดยอ มจาํ นวน 296 แหง ของประเทศไทย และองคกรธุรกิจขนาด ใหญจากกลุมประเทศตะวันตก จํานวน 28 องคกร ซึ่งใชระยะเวลาในการวิจัยท้ังสิ้น 4 ป พบวา องคกรธุรกจิ ทีท่ ําการวิจัยทุกองคกรสามารถประสบความสําเร็จอยางย่ังยืนได โดยผูนํา องคกรดาํ เนินธุรกิจสอดคลอ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง กระบวนการขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนเพ่ือสรางความรู ความเขาใจ ปลูกฝง ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการดํารงชีวิตเก่ียวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงใหประชาชนทุกคน จนสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชใหไดอยางเหมาะสมกับตนเอง ครอบครัว องคกร ชุมชน ตลอดจนนําไปสูการปรับแนวทางการพัฒนาใหอยูบนพื้นฐานของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

64 กจิ กรรมทายเลม 1. ใหผูเ รยี นอฺธบิ ายความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามหลัก 3 หว ง 2 เงอ่ื นไขพอสังเขป ความหมาย ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3 หวง ไดแ ก 1............................................................................................................................................. 2............................................................................................................................................. 3............................................................................................................................................. 2 เง่ือนไข ไดแก 1.................................................................................................................................................... 2.................................................................................................................................................... 2. ใหผูเรียนบอกการนาํ หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใชในการประกอบอาชพี เพื่อเปน ภมู ิคุมกนั ในการดาํ เนินชีวติ ของตนเองและครอบครวั และชุมชนสังคม ระดบั การปฎิบตั ิ หลักปรัชญา วิธกี ารปฏบิ ตั ิ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน/สงั คม

65 บรรณานุกรม การแสวงหาความรู. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=6ba266b15de3d75f (วันที่คนขอมลู 6 พฤศจิกายน 2554) กรมตรวจบญั ชสี หกรณ. สมุดบัญชีรบั จาย –จา ยในครัวเรอื น สมดุ ตนทุนประกอบอาชีพ –ทาํ นา. กรมตรวจบัญชีสหกรณ คณะอนกุ รรมการขับเคลอี่ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง. การสรางขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ พอเพียง. (พิมพครง้ั ท่ี 2). กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสงั คมแหงชาต,ิ 2548. คณะอนกุ รรมการขบั เคล่อี นเศรษฐกิจพอเพยี ง. เศรษฐกิจพอเพียงคอื อะไร. กรุงเทพฯ : สํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ, 2550. โครงการพัฒนาแหง สหประชาชาชาตปิ ระจําประเทศไทย. รายงานการพัฒนาคนของประเทศ ไทยป 2550 : เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การพัฒนาคน. กรุงเทพฯ : โดยการพัฒนาแหง สหประชาชาตปิ ระจําประเทศไทย , 2550. ปรยี านุช พบิ ูลสราวธุ . คลงั หลวงกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง. กรุงเทพ ฯ : บริษทั พมิ พ สวย จํากดั , 2554. ปญานุช หวังจแิ ละคณะ.รายงานการวิจยั ศกึ ษาการประกอบอาชพี ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของชมุ ชนบานโงกนาํ้ . มหาวทิ ยาลัยทักษณิ , 2550. พฒั นาทกั ษะการแสวงหาความรใู หกบั ตนเอง. [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจ าก http://www.bangkapi.ac.th/MediaOnLine/weerawanWMD/unit7_part17.htm (วันที่คนขอมูล 6 พฤศจิกายน 2554) มูลนธิ สิ ยามกัมมาจล.ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากหลักคิดสวู ธิ ปี ฏบิ ัติ. บรษิ ทั อมรินทรพรนิ้ ตงิ้ แอนดพบั ลิชช่ิง จาํ กัดมหาชน, 2554 สาํ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประงานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดําริ. เศรษฐกจิ พอเพยี ง. กรุงเทพฯ : สํานกั งานคณะกรรมการพิเศษเพอ่ื ประสานงานฯ , 2547.

66 เศรษฐกจิ แบบพอเพยี ง. [ออนไลน] . เขา ถึงไดจ าก http://www.prdnorth.in.th/The_King/justeconomic.php (วันท่ีคน ขอมูล 8 พฤศจกิ ายน 2554)

67 คณะผูจดั ทาํ ทีป่ รกึ ษา จําจด เลขาธิการ กศน. 1. นายสุรพงษ รตั นฉายา รองเลขาธกิ าร กศน. 2. นายกิตติศักดิ์ สากระจาย รองเลขาธกิ าร กศน. 3. นางสาวอัจฉรา หอมดี รองเลขาธกิ าร กศน. 4. นายประเสรฐิ สุขสเุ ดช ผูอาํ นวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบ 5. นางตรีนชุ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั โสอุบล ผูอาํ นวยการ สถาบัน กศน.ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 6. นายวเิ ชียรโชติ โคตรสนิ รองผอู ํานวยการ สถาบัน กศน.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 7. นายทรงเดช ผูสรปุ เน้ือหา ประวเิ ศษ ผูอาํ นวยการ กศน.อําเภอเมอื งสรวง จังหวดั รอ ยเอด็ 1. นางบวั บาน อินทรม า ผอู าํ นวยการ กศน.อําเภอรตั นวาป จงั หวัดหนองคาย 2. นางฐปนา คํามันตรี ครู ศรช. กศน.อาํ เภอสรา งคอม จังหวดั อุดรธานี 3. นายสนั ทัด บวั งาม ขา ราชการบํานาญ 4. นางอรัญญา ผตู รวจและบรรณาธกิ าร 1. นางบวั บาน ประวเิ ศษ ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอเมืองสรวง จงั หวัดรอ ยเอด็ ผูอํานวยการ กศน.อาํ เภอรตั นวาป จงั หวัดหนองคาย 2. นางฐปนา อินทรม า ครู ศรช. กศน.อาํ เภอสรา งคอม จงั หวดั อุดรธานี ขา ราชการบํานาญ 3. นายสันทัด คาํ มนั ตรี 4. นางอรัญญา บัวงาม ผูออกแบบปก กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ นายศุภโชค ศรีรตั นศิลป และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

68


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook