Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง ทช 21001 ม.ต้น

เศรษฐกิจพอเพียง ทช 21001 ม.ต้น

Published by กศน.ตําบลปากแคว, 2022-05-16 14:55:25

Description: เศรษฐกิจพอเพียง ทช 21001 ม.ต้น

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรปุ เน้อื หาทต่ี องรู รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน รหัส ทช21001 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาํ นักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร หามจําหนาย หนงั สอื เรียนนีจ้ ดั พมิ พดวยเงนิ งบประมาณแผนดินเพ่อื การศกึ ษาตลอดชีวติ สําหรบั ประชาชน ลขิ สทิ ธเิ์ ปนของสํานกั งาน กศน.สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ



4 สารบัญ หนา คํานาํ คาํ แนะนาํ การใชเ อกสารสรปุ เนอ้ื หาทต่ี อ งรู บทที่ 1 ความเปน มา ความหมาย หลักการแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1 เร่อื งท่ี 1 แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1 เรื่องที่ 2 ความหมาย และหลักการของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 7 บทท่ี 2 การประกอบอาชพี อยางพอเพียง 15 เรื่องที่ 1 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การจดั การทรัพยากรที่มีอยู ของตนเอง ครอบครวั ชุมชน 15 เรอ่ื งที่ 2 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการประกอบอาชพี 17 บทที่ 3 การวางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพยี ง 21 เรอื่ งที่ 1 การวางแผนการประกอบอาชีพ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 21 เรอ่ื งท่ี 2 โครงการและแผนงานประกอบอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 29 เร่อื งท่ี 3 การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปน ฐาน ในการประกอบอาชีพ 35 เรื่องที่ 4 คุณธรรมในการประกอบอาชีพตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง 38 บทท่ี 4 สรางเครอื ขายดาํ เนนิ ชวี ิตแบบพอเพยี ง 43 เรื่องที่ 1 การสงเสรมิ เผยแพร ขยายผลงานการปฏบิ ตั ติ ามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งของบุคคล ชุมชน ท่ปี ระสบผลสําเรจ็ 43 เรื่องท่ี 2 การสรางเครอื ขายการประกอบอาชีพ การดาํ เนนิ ชีวติ และกระบวนการขบั เคลือ่ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 48 กิจกรรมทายเลม 64 บรรณานกุ รม 65 คณะผูจดั ทาํ 67

5 คําแนะนําการใชเอกสารสรปุ เนอื้ หาทต่ี องรู หนังสือเรยี นสรปุ เนื้อหารายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ทช 21001 ระดับมัธยมศกึ ษา ตอนตน เปนการสรปุ เน้ือหาจากหนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิตทีจ่ ัดทาํ ขึ้น สาํ หรับ ผเู รยี นที่เปนนักศกึ ษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสอื สรุปเน้อื หา รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ผเู รยี นควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรา งรายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง สาระทักษะการดําเนนิ ชีวติ ทช 21001 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2554) ใหเขาใจกอ น 2. ศึกษารายละเอียดเน้อื หาของแตละบทอยา งเพือ่ ความเขาใจอยา งชัดเจนจนครบ 4 บท 3. หากตอ งการศกึ ษารายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ จากตาํ รา หนังสอื เรียนท่มี ีอยูตามหอ งสมุดหรอื รานจาํ หนายหนงั สือเรยี นหรือครผู สู อน

1 บทที่ 1 ความเปน มา ความหมาย หลักการแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เร่อื งที่ 1 แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงความเปน มาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรชั ญาทช่ี ้แี นวทางการดาํ รงอยูและปฏิบตั ิตน ท่ีพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดํารัสแกพสกนิกรชาวไทยมาต้ังแตป พ.ศ. 2517 มีใจความวา “...การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับขั้น ตองสรางพื้นฐาน คือ ความ พอมีพอกิน พอใช ของประชาชนสวนใหญเปนเบ้ืองตนกอนโดยใชวิธีการและใชอุปกรณ ที่ประหยัด แตถูกตองตามหลักวิชา เม่ือไดพ้ืนฐานมั่นคงพรอมพอควร และปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรา งคอยเสริม ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจข้ันท่ีสูงขึ้นโดยลําดับตอไป...” และนับ จากน้ันเปนตน มาพระองคไ ดทรงเนนย้าํ ถึงแนวทางการพัฒนาหลักแนวคิดพ่ึงตนเองเพ่ือใหเกิด ความพอมี พอกิน พอใชของคนสวนใหญ โดยใชหลักความพอประมาณ การคํานึงถึงความมี เหตผุ ล การสรางภมู คิ มุ กันในตัวท่ีดี ตลอดจนทรงเตือนสติปวงชนชาวไทยไมใหประมาท มีความ ตระหนักถึงการพัฒนาอยางเปนข้ันเปนตอนท่ีถูกตองตามหลักวิชา และการมีคุณธรรมเปน กรอบในการปฏบิ ตั แิ ละการดํารงชีวติ ในป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ นับวาเปนบทเรียนของ การพัฒนาท่ีไมสมดุลและไมมีเสถียรภาพ ซึ่งสงผลกระทบตอความเปนอยูของประชาชน สวนใหญ สวนหน่ึงเปนผลมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมท่ีไมไดคํานึงถึงระดับความ เหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ หรือความพรอมของคนและระบบและอีกสวนหน่ึงน้ัน การหวังพึ่งพิงจากตางประเทศมากเกินไปท้ังในดานความรู เงินลงทุน หรือตลาด โดยไมได เตรยี มสรางพื้นฐานภายในประเทศใหมีความม่ันคงและเขมแข็ง หรือสรางภูมิคุมกันที่ดีเพื่อให สามารถพรอมรับความเสี่ยงจากความผกผันเปล่ียนแปลงของปจจัยภายในและภายนอก บทเรียนจากการพัฒนาท่ีผานมานั้นทําใหประชาชนคนไทยทุกระดับในทุกภาคสวนของสังคม ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม นักวิชาการ หันกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาและการ ดําเนินชีวิตของคนในชาติ แลวมุงใหความสําคัญกับพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวในเร่ืองการพัฒนาและการดําเนินชีวิตแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษา คน ควาพฒั นาความรู ความเขา ใจเก่ียวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในเชิงกรอบแนวคิดทาง ทฤษฎีและใชเ ปน แนวในการนําไปประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจาํ วันมากขึ้น

2 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดเชิญผูทรงคุณวุฒิจาก หนว ยงานตางๆ มารว มกันพิจารณา กล่นั กรอง พระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัว ทไี่ ดพ ระราชทานแกปวงชนชาวไทยในโอกาสตางๆ ที่เก่ียวของกับเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงแลว สรปุ เปนนยิ ามความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และไดอัญเชิญเปนปรัชญานําทางใน การจัดทําแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) และฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) เพอื่ สง เสริมใหประชาชนทุกระดับและทุกภาคสวนของสังคมมีความ เขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนาํ ไปเปนพ้ืนฐานและแนวทางในการดําเนินชีวิต อันจะนาํ ไปสูการพฒั นาทสี่ มดลุ และย่งั ยนื ประชาชนมีความเปนอยรู มเย็นเปนสุข สังคมมีความ เขม แข็ง และประเทศชาติมคี วามม่นั คง หลักแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ไดพัฒนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเพ่อื ทจี่ ะใหพสกนกิ รชาวไทยไดเขา ถงึ ทางสายกลางของชีวติ และเพ่ือคงไวซ่ึงทฤษฎีของ การพัฒนาท่ีย่ังยืน ทฤษฎนี ้เี ปน พืน้ ฐานของการดํารงชีวิตซ่ึงอยูระหวางสังคมระดับทองถิ่นและ ตลาดระดบั สากล จุดเดน ของแนวปรัชญาน้ีคือแนวทางที่สมดุล โดยใชหลักธรรมชาติท่ีเปนเหตุ เปน ผลอยา งเชื่อมโยง พัฒนาใหทนั สมัย และกา วสูค วามเปนสากลได โดยปราศจากการตอตาน กระแสโลกาภวิ ัตน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญในชวงป พ.ศ. 2540 เมื่อปท่ีประเทศ ไทยตองการรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเพื่อท่ีจะยืนหยัดในการพ่ึงตนเอง และพัฒนานโยบายทส่ี าํ คญั เพื่อการฟน ฟเู ศรษฐกิจของประเทศ โดยการสรางแนวคิดเศรษฐกิจ ที่พึ่งตนเองได ซึ่งคนไทยจะสามารถเลี้ยงชีพโดยอยูบนพ้ืนฐานของความพอเพียงและการนํา แนวคิดดังกลาวมาใชก็ไดผานการทดลองในพระตําหนักสวนจิตรลดารโหฐานและโครงการ ในภมู ภิ าคตา ง ๆ หลายโครงการ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั มพี ระราชดํารวิ า มนั ไมไ ดมีความจาํ เปน ทเ่ี ราจะกลายเปน ประเทศอตุ สาหกรรมใหม (NIC) พระองคไดท รงอธบิ ายวา ความพอเพียงและการพ่ึงตนเอง คือ ทางสายกลางทีจ่ ะปอ งกันการเปล่ยี นแปลงความไมม น่ั คงของประเทศได และการดําเนินชีวิตตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียงเชื่อวาจะสามารถปรับเปล่ียนโครงสรางทางสังคมของชุมชนใหดีขึ้น โดยมีปจจัย 2 อยาง คอื

3 1. การผลิตจะตองมีความสมั พันธก ันระหวา งปรมิ าณผลผลิตและการบรโิ ภค 2. ชุมชนจะตองมีความสามารถในการจัดการทรพั ยากรของตนเองอยา งครบวงจร ผลที่เกดิ ข้ึน คือ 1. เศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถทจี่ ะคงไวซง่ึ ขนาดของประชากรท่ีไดสดั สวน 2. ใชเ ทคโนโลยไี ดอยา งเหมาะสม 3. รักษาความสมดุลของระบบนเิ วศ และปราศจากการแทรกแซงจากปจ จยั ภายนอก ปจจุบันแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดมีการนําไปใชเปนนโยบายของรัฐบาล และ ปรากฏในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (1) วา “การบริหาร ราชการแผนดินใหเปนไปเพ่ือการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจและความม่ันคงของประเทศอยางยั่งยืน โดยตองสงเสริมการดําเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และคํานึงถึงผลประโยชนของ ประเทศชาติในภาพรวมเปนสาํ คัญ” การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยูบนพ้ืนฐานทางสายกลาง และความไมป ระมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัว ทีด่ ตี ลอดจนใชความรู ความรอบคอบ และคณุ ธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการ กระทํา ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมหี ลักการพิจารณา 5 สว น ดังน้ี 1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงชีวิตและการปฏิบัติตนในทาง ที่ควรจะเปนโดยมีพ้ืนฐานจากวิถีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทยท่ีนําประยุกตใชไดตลอดเวลา และ เปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและ วกิ ฤติเพือ่ ความมั่นคงและความย่ังยืนของการพฒั นา 2. คุณลักษณะของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการ ปฏิบัติตนไดใ นทกุ ระดับโดยเนนการปฏบิ ตั ิบนทางสายกลางและการพัฒนาอยางเปนขน้ั ตอน 3. คาํ นยิ ามความพอเพียง ประกอบดว ย 3 คุณลักษณะ ดงั น้ี 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ไ่ี มนอยเกินไปและไมม ากเกินไป โดยไมเบยี ดเบียนตนเองและผูอืน่ การจะทาํ อะไรตองมีความพอดี พอเหมาะ พอควร ตอความ จาํ เปน เหมาะสมกับฐานะของตนเอง สภาวะสังคมแวดลอม รวมทงั้ วฒั นธรรมในแตล ะทองถิน่

4 และไมน อ ยเกนิ ไปจนกระทงั่ ไมเพียงพอทจี่ ะดาํ เนนิ การได ซงึ่ การตัดสนิ วา ในระดับพอประมาณ น้ันจะตอ งอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบในการวางแผนและตดั สินใจอยา งมีคณุ ธรรมดวย เชน ไมเ บยี ดเบยี นตนเองและผอู ่นื ไมท ําใหสังคมเดือดรอ น ไมทาํ ลายธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดลอ ม 3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะตอง เปน ไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตปุ จจัยท่ีเก่ียวขอ ง ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวา จะเกิดขึ้นจากการกระทําน้ันอยางรอบคอบ ครบวงจรบนพื้นฐานของความถูกตอง ความเปน จริง ตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมท่ีดีงาม ทั้งใน ระยะยาว ทั้งตอตนเอง ผูอ่ืน และสวนรวม การคิดพิจารณาแยกแยะใหเห็นความเชื่อมโยง ของเหตุ ปจจัยตางๆ อยางตอเน่ือง อยางเปนระบบจะทําใหบรรลุเปาหมายไดอยางมี ประสิทธิภาพ มีขอผิดพลาดนอย การท่ีจะวางแผนดําเนินการส่ิงใดอยางสมเหตุสมผล ตองอาศัยความรอบรู ขยันหม่ันเพียร อดทนท่ีจะจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบและแสวงหา ความรูท่ีถูกตองอยางสม่ําเสมอ มีความรอบคอบในความคิด พิจารณาตัดสินใจ โดยใชสติ ปญ ญา อยางเฉลยี วฉลาดในทางที่ถกู ทคี่ วร 3.3 การมีภูมคิ มุ กันในตัวท่ีดี หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการ เปล่ียนแปลงดา นตางๆ ที่จะเกิดท้ังในดานเศรษฐกิจสังคม ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม4เพื่อให สามารถปรับตัวและรบั มือไดท ันที หรอื กลาวไดวาการทจี่ ะทําอะไรอยางไมเสี่ยงเกนิ ไป ไมป ระมาท คิดถงึ แนวโนมความเปนไปไดข องสถานการณตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได แลวเตรียม ตนเอง เตรยี มวิธีการทํางานรองรบั กบั การเปลี่ยนแปลงตางๆ เพื่อใหการทํางานสามารถดําเนิน เปน ไปไดอ ยา งราบร่ืนและนาํ มาซึง่ ผลประโยชนใ นระยะยาวและความสขุ ที่ยงั่ ยนื 4. เงื่อนไขการตัดสินและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับพอเพียง ตองอาศัย ทัง้ ความรแู ละคุณธรรมเปน พนื้ ฐาน ดังน้ี 4.1 เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเก่ียวกับวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของ อยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในข้นั ปฏบิ ัติ

5 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม คุณธรรมท่ีจะตองเสริมสรางใหเปนพ้ืนฐานของคนในชาติ ประกอบดวย มคี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซอ่ื สัตยส จุ รติ มคี วามอดทน มีความเพียร รูผิด รูชอบ ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิตอยางถูกตองและเหมาะสม ไมโลภและไมตระหน่ี รูจกั แบงปนและรับผิดชอบในการอยูรวมกบั ผูอ่ืนในสงั คม 5. แนวทางการปฏิบตั /ิ ผลท่คี าดวาจะไดรบั จากการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกตใช คือ การพัฒนาท่ีสมดุลและยั่งยืน พรอมกับการเปลี่ยนแปลงในทุกดานท้ังดาน เศรษฐกจิ สังคม ส่ิงแวดลอม ความรแู ละเทคโนโลยี สรุปปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เงอื นไข ความรู้ นํา ่สู เงอื นไข คุณธรรม (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั ) (ซอื สตั ย์ สจุ ริต ขยนั อดทน แผนภาพแสดงแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง 3 หว ง 2 เงื่อนไข ระบบเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหบุคคลสามารถประกอบอาชีพไดอยางยั่งยืน และใช จายเงนิ ทไี่ ดมาอยา งพอเพยี งและประหยดั ตามกําลังของเงนิ ของบคุ คลนนั้ โดยหลกี เลี่ยงการ กหู นี้ ยมื สนิ และถามเี งนิ เหลือกแ็ บงเก็บออมไวบ างสวน ชวยเหลือผูอื่นบางสวน และอาจจะใช จายมาเพ่ือปจจัยเสริมอีกบางสวน (ปจจัยเสริมในท่ีนี้เชน ทองเท่ียว ความบันเทิง เปนตน) สาเหตุที่แนวทางการดํารงชีวิตอยางพอเพียง ไดถูกกลาวถึงอยางกวางขวางในขณะน้ี เพราะ สภาพการดํารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปจจุบันไดถูกปลูกฝง สราง หรือกระตุนใหเกิดการใช จา ยอยา งเกินตัว ในเรื่องท่ไี มเ ก่ยี วของหรือเกินกวาปจ จัยในการดํารงชวี ิต เชน การบรโิ ภคฃ

6 เกนิ ตวั ความบันเทงิ หลากหลายรปู แบบ ความสวย ความงามการแตงตัวตามแฟชั่น การพนัน หรอื เสี่ยงโชค เปน ตน จนทําใหไมมีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความตองการเหลาน้ัน สงผลให เกดิ การกูหนีย้ มื สนิ เกดิ เปน วัฏจกั รท่บี ุคคลหน่งึ ไมสามารถหลุดออกมาได ถาไมเปล่ียนแนวทาง ในการดํารงชวี ติ 13 นักคิดระดับโลกเหน็ ดว ยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนําเสนอบทความ บทสัมภาษณเ ปน การยืน่ ขอเสนอแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งใหแกโ ลก เชน ศ.ดร.วูลฟกัง ซัคส นักวิชาการดานสิ่งแวดลอมคนสําคัญของประเทศเยอรมนี สนใจ การประยกุ ตใชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหเ ปนทร่ี ูจ กั ในเยอรมนี ศ.ดร.อมาตยา เซน ศาสตราจารยช าวอินเดยี เจาของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร ป 1998 มองวา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนการใชสิ่งตาง ๆ ท่ีจําเปนตอการดํารงชีพ และใชโ อกาสใหพ อเพยี งกับชวี ิตทด่ี ี ซึง่ ไมไ ดหมายถงึ ความไมตอ งการ แตต อ งรูจกั ใชชีวิตใหดีพอ อยาใหค วามสาํ คัญกับเร่อื งของรายไดแ ละความร่ํารวยแตใหมองทค่ี ุณคาของชวี ิตมนษุ ย นายจิกมี ทินเลย กษัตริยแหงประเทศภูฎานใหทรรศนะวา หากประเทศไทยกําหนด เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงใหเปนวาระระดับชาติ และดําเนินตามแนวทางน้ีอยางจริงจัง “ผมวา ประเทศไทยสามารถสรางโลกใบใหมจากหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสรางชีวิตที่ย่ังยืน และสุดทายจะไมหยดุ เพียงแคใ นประเทศ แตจ ะเปน หลักการและแนวปฏบิ ตั ิของโลก ซ่ึงหากทํา ไดสาํ เร็จไทยก็คือผนู ํา” ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงนี้ ไดรับการเชิดชูสูงสุดจากองคการสหประชาชาติ (UN) โดยนายโคฟ อันนัน ในฐานะเลขาธิการองคการสหประชาชาติ ไดทูลเกลาฯ ถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แกพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2549 และไดมีปาฐกถาถึงปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงวา เปนปรชั ญาทม่ี ีประโยชนตอ ประเทศไทยและนานาประเทศ และสามารถเร่ิมไดจาก การสรางภูมิคุมกันในตนเองสูหมูบาน และสูเศรษฐกิจในวงกวางขึ้นในที่สุด นาย Hakan Bjorkman รักษาการผูอํานวยการ UNDP ในประเทศไทยกลาวเชิดชูปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และ UNDP นั้นตระหนักถึงวิสัยทัศนและแนวคิดในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จ พระเจา อยูหวั ฯ โดยทอ่ี งคการสหประชาชาติไดสนับสนุนใหประเทศตาง ๆ ท่ีเปนสมาชิก 166 ประเทศ ยึดเปนแนวทางสูก ารพฒั นา ประเทศแบบย่งั ยนื

7 เร่ืองท่ี 2 ความหมาย และหลกั การของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความหมายปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน ปรัชญาท่ีเปนแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตน ของแตละบุคคลและองคกรทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับประเทศ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยคํานึงถึงความ พอประมาณกับศักยภาพตนเองและสภาวะแวดลอม ความมีเหตุผลและการมีภูมิคุมกันท่ีดีใน ตัวเองโดยใชความรูอยางถูกหลักวิชาการดวยความรอบคอบและระมัดระวังควบคูไปกับการมี คุณธรรม ไมเบยี ดเบียนกัน แบงปน ชวยเหลือซ่ึงกันและกันและรวมมือปรองดองกันในสังคมซึ่ง นําไปสูความสามัคคีการพัฒนาท่ีสมดุลและย่ังยืนพรอมรับตอการเปล่ียนแปลงภายใตกระแส โลกาภวิ ัตนได หลกั การปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พระราชดาํ รัสท่พี ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานแกพสกนิกรชาวไทยใน เรือ่ งเศรษฐกิจพอเพยี งนนั้ คือการมุง เนน ใหย ึดวิถีชีวิตไทย โดยหันกลับมายึดเสนทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ในการดําเนินชีวิตใหสามารถพ่ึงตนเองได โดยใชหลักการพึ่งตนเอง 5 ประการ คือ (สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาํ ร,ิ 2547:2-3) 1. ดานจิตใจ ทาํ ตนใหเปน ทพี่ ง่ึ ของตนเอง มจี ติ ใจท่เี ขม แข็ง มีจิตสํานึกท่ีดี สรางสรรค ใหตนเองและชาติโดยรวม มีจิตใจเอื้ออาทร ประนีประนอม ซ่ือสัตยสุจริต เห็นประโยชน สว นรวมเปน ทต่ี ั้งดังกระแสพระราชดํารัสในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เกี่ยวกับการพัฒนา ความวา “...บคุ คลตองมีรากฐานทางจิตใจท่ีดี คือ ความหนักแนนม่ันคงในสุจริตธรรมและความ มงุ มั่นที่จะปฏิบตั หิ นาทีใ่ หจนสําเร็จ ทั้งตองมีกุศโลบายหรือวิธีการอันแยบยลในการปฏิบัติงาน ประกอบพรอมดวยจึงจะสัมฤทธิ์ผลที่แนนอนและบังเกิดประโยชนอันย่ังยืนแกตนเองและ แผนดิน...” 2. ดานสังคม แตละชุมชนตองชวยเหลือเกื้อกูลกัน เช่ือมโยงกันเปนเครือขายชุมชน ทแ่ี ข็งแรง เปนอสิ ระ ดังกระแสพระราชดาํ รัสความวา “...เพื่อใหงานรุดหนาไปพรอมเพรียงกัน

8 ไมลดหลั่น จึงขอใหทุกคนพยายามที่จะทาํ งานในหนาท่ีอยางเต็มท่ี และใหมีการประชาสัมพันธ กนั ใหดี เพอ่ื ใหง านท้ังหมดเปนงานทีเ่ กื้อหนุนสนบั สนนุ กัน...” 3. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ใหใชแ ละจดั การอยา งฉลาดพรอมท้งั การ เพ่ิมมูลคาโดยใหยึดหลักการของความย่ังยืนและเกิดประโยชนสูงสุด ดังกระแสพระราชดํารัส ความวา “...ถารักษาส่ิงแวดลอมใหเหมาะสม นึกวาอยูไดอีกหลายรอยป ถึงเวลาน้ันลูกหลาน ของเรามาก็อาจหาวิธแี กป ญหาตอ ไปเปนเรือ่ งของเขา ไมใชเรือ่ งของเรา แตเราก็ทําได ไดรักษา ส่ิงแวดลอ มไวใ หพ อสมควร...” 4. ดานเทคโนโลยี จากสภาพแวดลอมท่ีเปล่ยี นแปลงรวดเร็วเทคโนโลยที ีเ่ ขามาใหมทั้ง ดีและไมด ี จึงตองแยกแยะบนพ้นื ฐานของภมู ปิ ญญาชาวบา น และเลือกใชเ ฉพาะท่ีสอดคลองกับ ความตอ งการของสภาพแวดลอ ม ภมู ปิ ระเทศ สังคมไทยและควรพฒั นาเทคโนโลยจี าก ภมู ิปญญาของเราเอง ดงั กระแสพระราชดาํ รัสความวา “...การสงเสริมที่ชาวบา นชาวชนบทขาด แคลน และความตองการ คือ ความรูในดานเกษตรกรรมโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมเปนส่ิงท่ี เหมาะสม...” “...การใชเทคโนโลยีอยางใหญโตเต็มรูปหรือเต็มขนาดในงานอาชีพหลักของ ประเทศยอ มจะมปี ญ หา...” 5. ดานเศรษฐกิจ แตเดิมนักพัฒนามักมุงที่จะเพิ่มรายไดและไมมีการมุงที่การลด รายจา ย ในเวลาเชนนีจ้ ะตอ งปรับทิศทางใหม คือ จะตองมุงลดรายจายกอนเปนสําคัญและยึด หลกั พออยู พอกนิ พอใช และสามารถอยูไดดว ยตนเองในระดับเบื้องตน ดังกระแสพระราชดํารัส ความวา “...การทต่ี อ งการใหท ุกคนพยายามที่จะหาความรแู ละสรางตนเองใหม่ันคงนี้เพ่ือตนเอง เพือ่ ทจ่ี ะใหตัวเองมีความเปนอยูที่กาวหนา ที่มีความสุขพอมี พอกิน เปนข้ันหน่ึงและข้ันตอไป ก็คือใหมีเกียรติวายืนไดดวยตนเอง...” “...หากพวกเรารวมมือรวมใจกันทําสักเศษหนึ่งสวนสี่ ประเทศชาตขิ องเรากส็ ามารถรอดพน จากวกิ ฤตไิ ด. ..”

9 ความสาํ คญั ของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมีความสาํ คญั ตอการพฒั นาประเทศและพฒั นาคน ดังนี้ 1. เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน ปรัชญาท่ีมีความสําคัญยิ่งสําหรับการขจัดความยากจน และ การลดความเสยี่ งทางเศรษฐกิจ 2. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนพื้นฐานของการสรางพลังอํานาจของชุมชนและ การพัฒนาศกั ยภาพชมุ ชนใหเ ขม แข็งเพื่อเปนรากฐานของการพฒั นาประเทศ 3. เศรษฐกิจพอเพียงชวยยกระดับความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทดวยการสราง ขอปฏบิ ตั ิในการทําธุรกจิ ทเี่ นน ผลกําไรระยะยาวในบรบิ ททม่ี ีการแขงขัน 4. หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญเปนอยางย่ิงตอการปรับปรุงมาตรฐานของ ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารงานภาครัฐ 5. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใชเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายของ ชาติ เพ่ือสรางภมู ิคุมกนั ตอ สถานการณท เ่ี ขามากระทบโดยฉับพลัน เพื่อปรับปรุงนโยบายตางๆ ใหเ หมาะสมย่งิ ขน้ึ และเพ่ือวางแผนยทุ ธศาสตรในการสงเสรมิ การเตบิ โตทเ่ี สมอภาคและยง่ั ยืน 6. ในการปลูกฝงจิตสํานึกตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงจําเปนตองมีการปรับเปล่ียน คานยิ ม และความคิดของคนเพือ่ ใหเ ออ้ื ตอการพัฒนาคน 7. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งชว ยใหม นุษยมคี วามเปนอยูอยางพออยู พอกิน พอใช พึ่งตนเองได และมีความสขุ ตามอัตภาพ 8. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยอยูรวมกับผูอื่นตลอดจนอยูในสังคมได อยางสันติสุข ไมเบียดเบียน ไมเอารัดเอาเปรียบ แบงปน เอื้อเฟอเผ่ือแผ มีจิตเมตตาและจิต สาธารณะ 9. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยอยูรวมกับธรรมชาติและส่ิงแวดลอมได อยางยั่งยืน โดยไมทําลาย เห็นคุณคาและมีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 10. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยอยูอยางมีรากเหงาทางวัฒนธรรม ประเพณี ประวตั ศิ าสตร ภมู ปิ ญ ญา คา นยิ ม และเอกลกั ษณข องแตละบคุ คล/สังคม

10 การแสวงหาความรู การแสวงหาความรขู องมนุษยเกิดจากความตองการของคนท่ีตองการพัฒนาชีวิตความ เปนอยูของตนเองใหดีขึ้น จึงเปนแรงกระตุนใหมีความอยากรู อยากเห็น อยากเขาใจ ในปรากฏการณธ รรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม เพอื่ ใหรูและเขาใจถงึ ความจริงท่ีควรเช่ือและยอมรับ ในความเปนจริงของปรากฏการณตางๆ เหลา น้นั วธิ กี ารแสวงหาความรูข องมนุษย มดี งั น้ี 1. การแสวงหาความรูจากประสบการณ (Experience) เปนวธิ กี ารแสวงหาความรูของ แตละบุคคลจากการคนพบดวยตนเองหรือเกิดขึ้นโดยบังเอิญ (By Chance) เชน การคนพบ ความรขู องชารลส กูดเยยี ร (Charls Goodyear) เกี่ยวกับยางพาราดิบเม่อื ถกู ความรอนจะชวย ใหย างนั้นแขง็ ตวั และมีความทนทานเพิ่มข้ึน ซ่ึงนําไปสูการประดิษฐยางรถยนตท่ีแพรหลายใน ปจจบุ นั นี้ หรือเกิดจากการลองผิดลองถกู (By Trial and Error) เชน ผูเดินทางไปเทีย่ วในปาถูก แมลงกัดตอยเกิดเปนผ่ืนคัน ไมมียาทาจึงนําใบไมชนิดใดชนิดหน่ึงมาทาแลวหาย จึงเกิดการ เรียนรูวาใบไมช นิดน้นั สามารถนํามาใชแ กผื่นคนั ได 2. การแสวงหาความรูจ ากผรู ู (Authority) เปนการแสวงหาความรูจากคําบอกเลาของ ผูรู ผเู ช่ยี วชาญ หรอื ผูม อี ํานาจหนา ท่เี ปน ทีย่ อมรบั ท่วั ไป เชน นักปราชญ ผูนํา นักบวช หรือการ เรียนรูจากประเพณี วัฒนธรรมที่มีผูรู หรือผูที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ เปนผูบอกหรือ ถา ยทอดความรโู ดยการเขยี นหนังสือตํารา หรือบอกโดยผานสอ่ื อืน่ ๆ 3. การแสวงหาความรูโดยอาศัยเหตุผลจากการอนุมาน (Deductive Reasoning) เปนการแสวงหาความรจู ากความสมั พนั ธเชงิ เหตุผลระหวางขอเทจ็ จริงใหญและขอเท็จจริงยอย แลว นาํ มาสรุปเปน ความรู ขอเทจ็ จรงิ ใหญ : เปนขอตกลงทก่ี ําหนดขนึ้ เปนขอเทจ็ จริงในวงกวาง ขอเทจ็ จรงิ ยอ ย : เปนเหตุเฉพาะกรณีใดๆ เปนขอเท็จจริงในวงแคบที่มี ความสมั พนั ธก ับขอ เทจ็ จริงใหญ ขอ สรุป : เปนขอสรุปจากความสัมพนั ธข องขอเทจ็ จรงิ ใหญแ ละขอ เท็จจริงยอ ย ซงึ่ กลา ววาการอนุมานคือการสรุปจากสว นใหญไ ปหาสว นยอย

11 ตัวอยา งเหตผุ ลจากการอนุมาน ขอเทจ็ จริงใหญ : ลูกชายของลุงกํานันทุกคนเรียนเกง ขอ เทจ็ จริงยอย : พงไพรเปน ลูกชายคนท่ีสองของลงุ กํานนั ขอ สรุป : พงไพรเปน คนทเี่ รยี นเกง 4. การแสวงหาความรูโดยอาศัยเหตุผลจากการอุปมาน (Inductive Reasoning) เปนวธิ กี ารแสวงหาความรูท ีย่ อ นกลับกับวิธีอนุมาน เปนการคนหาความรูจากขอเท็จจริงยอยๆ โดยพิจารณาจากสิ่งทเ่ี หมือนกนั ตางกัน สัมพันธก นั แลวสรุปรวมเปนขอเทจ็ จรงิ ใหญ ตวั อยา งเหตุผลจากการอปุ มาน ขอเท็จจริงยอ ย : คนที่เปนโรคมะเรง็ ระยะสุดทาย แตละคนไมส ามารถรักษาใหห ายได และจะตองตายในทสี่ ดุ ดงั น้นั : กลุมคนทเี่ ปน โรงมะเรง็ ระยะสดุ ทา ยตองตายทุกคน 5. วิธีการทางวิทยาศาสตร (Scientific Approach) เปนวิธีแสวงหาความรูของมนุษย ทช่ี ารล ส ดารวิน (Charles Darwin) และจอหน ดิวอี้ (John Dewey) ไดพัฒนาและนําแนวคิด เชิงยอนกลับ (Reflective Thinking) และแนวคิดการแกปญหา (Problem Solving) มาเปน พ้ืนฐานในการคิดเปนกระบวนการศึกษาขอเท็จจริงและความรูตางๆ โดยผานการสังเกต การดําเนินการตามแนวคิดทฤษฎีตางๆ การทดสอบ การคนพบ การทบทวน และการทําซํ้า ผลิตความรใู หม จากกระบวนการทีม่ คี วามสัมพันธกันและเก่ียวของเปนวัฏจักร โดยวิธีการทาง วิทยาศาสตร คอื การพิจารณาใหใ กลค วามจรงิ มากทสี่ ุด โดยอาศยั การศกึ ษาขอเทจ็ จริง ทฤษฎี และการทดสอบเครือ่ งมอื ดังนัน้ วธิ กี ารวทิ ยาศาสตร ถือวาเปน วธิ ีการท่ีมีหลักเกณฑและเหตุผล ท่ีสามารถอธิบายได มีลักษณะการศึกษาท่ีเปนระบบ ตรงไปตรงมาปราศจากความลําเอียง และสามารถพิสูจนได ประกอบดวย 5 ข้ันตอนดวยกัน ซึ่งเรียกวาขั้นตอนวิธีการทาง วทิ ยาศาสตร ดังนี้ 1. ขั้นปญหา (Problem) เปนการระบุและกําหนดขอบเขตของปญหาของส่ิงที่ ตองการศกึ ษาใหช ดั เจน

12 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (Hypotheses) เปนการคาดเดาหรือคาดคะเนคําตอบของ ปญ หา ไวล ว งหนาอยา งมเี หตุผล 3. ข้นั รวบรวมขอ มลู (Collecting data) เปน การรวบรวมขอมูลและขอเท็จจรงิ ตา ง ๆ ท่เี กี่ยวกับประเดน็ ปญหาทีก่ าํ หนด 4. ขนั้ วิเคราะหข อ มลู (Analysis) เปนการจัดกระทาํ กบั ขอมูลทร่ี วบรวมมาได โดยวธิ ีการตรรกศาสตรห รือวธิ กี ารทางสถติ ิ เพอ่ื ตรวจสอบสมติฐานที่ต้งั ไว 5. ขั้นสรุปผล (Conclusion) เปนการสรุปจากการวิเคราะหขอมูลวาขอเท็จจริง ของปญ หาทีแ่ ทจ รงิ น้นั คืออะไร ทักษะการแสวงหาความรูดว ยตนเอง การแสวงหาความรู เปนทกั ษะท่ีตองอาศัยการเรียนรแู ละวิธีการฝก ฝนจนเกดิ ความชํานาญ ทาํ ใหเ กดิ แนวความคิดความเขาใจที่ถูกตองและกวางขวางย่ิงข้ึน เน่ืองจากผูท่ีแสวงหาความรู จะเกิดทักษะในการคนควา สิ่งทตี่ องการและสนใจอยากรูจากแหลงเรียนรูตาง ๆ จะทําใหทราบ ขอ เท็จจรงิ และสามารถเปรยี บเทยี บขอ เทจ็ จรงิ ท่ไี ดม าวาควรเชอื่ ไดห รือไม ทกั ษะในการสรางปญ ญาเพ่ือนําไปสูการแสวงหาความรูดวยตนเองมี 10 ข้ันตอน ดังนี้ (พัฒนาทกั ษะการแสวงหาความรใู หก ับตนเอง, 2554 : ออนไลน) 1. ทักษะการสังเกต คือ การสังเกตส่ิงที่เห็น สิ่งแวดลอมหรือส่ิงที่ตองการจะศึกษา โดยสังเกตเก่ียวกบั แหลง ทีม่ า ความเหมอื น ความแตกตา ง สาเหตุของความแตกตาง ประโยชน และผลกระทบ วิธีฝกการสังเกต คือ การฝกสมาธิเพื่อใหมีสติและทําใหเกิดปญญา มโี ลกทรรศน มวี ิธคี ดิ 2. ทักษะการบันทึก คือ การบันทึกส่ิงที่ตองจําหรือตองศึกษา มีหลายวิธี ไดแก การทําสรุปยอ การเขียนเคาโครงเร่ือง การขีดเสนใต การเขียนแผนภูมิ การทําเปน แผนภาพ หรอื ทําเปนตาราง เปนตน วิธีฝกการบันทึก คือ การบันทึกทุกคร้ังท่ีมีการสังเกต มกี ารฟง หรอื มีการอา น เปน การพัฒนาปญ ญา 3. ทักษะการนําเสนอ คือ การทําความเขาใจในเร่ืองที่จะนําเสนอใหผูอ่ืนรับรูได โดยจดจําในสิ่งท่ีจะนําเสนอออกมาอยา งเปน ระบบ ซ่งึ สามารถทาํ ไดหลายรูปแบบ เชน การทํา รายงานเปนรูปเลม การรายงานปากเปลา การรายงานดวยเทคโนโลยี เปนตน วิธีฝกการ

13 นําเสนอ คือ การฝกตามหลักการของการนําเสนอในรูปแบบตาง ๆ ดังกลาวอยางสมํ่าเสมอ จนสามารถนาํ เสนอไดดซี ่งึ เปน การพฒั นาปญญา 4. ทักษะการฟง คือ การจับประเด็นสําคัญของผูพูด สามารถต้ังคําถามเร่ืองที่ฟงได รูจ ดุ ประสงคในการฟง แสวงหาความรูจะตองคนหาเรื่องสําคัญในการฟงใหได วิธีฝกการฟง คือ การทําเคาโครงเรื่องท่ีฟง จดบันทึกความคิดหลักหรือถอยคําสําคัญลงในกระดาษบันทึก ที่เตรยี มไว อาจตั้งคําถามในใจเชน ใคร อะไร ท่ีไหน เมื่อไร เพราะเหตุใด อยางไร เพราะ จะทาํ ใหก ารฟงมคี วามหมายและมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น 5. ทักษะการถาม คือ การถามเร่ืองสําคัญ ๆ การตั้งคําถามส้ัน ๆ เพื่อนําคําตอบมา เชือ่ มตอใหส มั พนั ธก ับสิง่ ทีเ่ รารแู ลวมาเปนหลักฐานสําหรับประเด็นที่กลาวถึง ส่ิงที่ทําใหเราฟง ไดอยางมีประสิทธิภาพ คือ การถามเกี่ยวกับตัวเราเอง การฝกถาม-ตอบ เปนการฝกการใช เหตุผลวิเคราะห สังเคราะห ทําใหเขาใจในเรื่องนั้น ๆ อยางชัดเจน ถาเราฟงโดยไม ถาม-ตอบ ก็จะเขา ใจ ในเร่ืองนน้ั ๆ ไมชดั เจน 6. ทักษะการตงั้ สมมติฐานและต้ังคําถาม คอื การตง้ั สมมติฐาน และต้ังคําถาม ส่ิงที่ เรียนรูไปแลวไดวา คืออะไร มีประโยชนอยางไร ทําอยางไรจึงจะสําเร็จได การฝกต้ังคําถาม ทม่ี คี ุณคา และมีความสาํ คญั ทําใหอ ยากไดค าํ ตอบ 7. ทกั ษะการคน หาคาํ ตอบจากแหลงการเรียนรตู าง ๆ เชน จากหนังสือ อินเทอรเน็ต คยุ กับผูสูงอายุ แลวแตธรรมชาติของคําถาม การคนหาคําตอบตอคําถามที่สําคัญจะสนุก และ ทําใหไดความรมู าก บางคําถามหาคาํ ตอบทุกวิถที างแลว ไมพบ ตองหาคําตอบตอไปดวย การวิจยั 8. ทักษะการทําวิจัยสรางความรู การวิจัยเพื่อหาคําตอบเปนสวนหน่ึงของ กระบวนการเรียนรูทุกระดับ การวิจัยจะทําใหคนพบความรูใหม ทําใหเกิดความภูมิใจ สนกุ และมปี ระโยชนม าก 9. ทกั ษะการเช่ือมโยงบรู ณาการ คือ การเชอื่ มโยงเร่อื งทีเ่ รียนรูมาใหเ ห็นภาพรวม ทัง้ หมด มองเห็นความงดงาม มองใหเหน็ ตวั เอง ไมค วรใหค วามรนู ั้นแยกออกเปน สว น ๆ 10. ทักษะการเขียนเรียบเรียง คือ การเรียบเรียงความคิดใหประณีตข้ึน โดยการ คนควา หาหลักฐานอางอิงความรูใหถ่ีถวน แมนยําขึ้น การเรียบเรียงทางวิชาการจึงเปนการ พัฒนาปญ ญาอยางสําคญั และเปนประโยชนใ นการเรยี นรูข องผูอ่ืนในวงกวางออกไป

14 กลาวโดยสรุป การแสวงหาความรูดวยตนเองจะเกิดขึ้นได ผูแสวงหาความรูจะตอง ฝกฝนทักษะในการสังเกต การบันทึก การนําเสนอ การฟง การถาม การต้ังสมมติฐานและ ตั้งคําถาม การคนหาคําตอบจากแหลงการเรียนรูตางๆ การทําวิจัยสรางความรู การเชื่อมโยงบรู ณาการ และ การเขียนเรยี บเรยี ง

15 บทที่ 2 การประกอบอาชพี อยา งพอเพยี ง เรอ่ื งที่ 1 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกบั การจัดการทรพั ยากรท่มี อี ยู ของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน เศรษฐกิจพอเพียงเปนเศรษฐกิจที่พอเพียงกับตนเองทําใหอยูไดไมตองเดือดรอน มีสิ่งจําเปนท่ีทําไดโดยตัวเองไมตองแขงขันกับใคร และมีเหลือเพ่ือชวยเหลือผูท่ีไมมี อันนําไปสูการแลกเปล่ียนในชุมชน และขยายไปจนสามารถที่จะเปนสินคาสงออก เศรษฐกิจ พอเพยี งเปน เศรษฐกิจระบบเปดที่เริ่มจากตนเองและความรวมมือ วิธีการเชนน้ีจะดึงศักยภาพ ของประชากรออกมาสรา งความเขมแข็งของครอบครัว ซ่ึงมีความผูกพันกับ “จิตวิญญาณ” คือ “คณุ คา” มากกวา “มูลคา” ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงจะจัดลําดับความสําคัญของ “คุณคา” มากกวา “มูลคา” มูลคาน้ันขาดจิตวิญญาณ เพราะเปนเศรษฐกิจภาคการเงินท่ีเนนท่ีจะตอบสนองตอความ ตองการท่ีไมจํากัดซ่ึงไรขอบเขต ถาไมสามารถควบคุมได การใชทรัพยากรอยางทําลายลาง จะรวดเร็วขึ้นและปญหาจะตามมา เปนการบริโภคท่ีกอใหเกดิ ความทุกขห รือพาไปหาความทุกข และจะไมมีโอกาสบรรลุวัตถุประสงคในการบริโภค ท่ีจะกอใหเกิดความพอใจและความสุข (Maximization of Satisfaction) ผูบริโภคตองใชหลักขาดทุนคือกําไร (Our loss is our gain) อยางน้ีจะควบคุมความตองการท่ีไมจํากัดได และสามารถจะลดความตองการลงมาได กอใหเ กิดความพอใจและความสุขเทา กับไดตระหนกั ในเรื่อง “คณุ คา ” จะชวยลดคาใชจ ายลงได ไมตองไปหาวิธีทําลายทรัพยากรเพ่ือใหเกิดรายไดมาจัดสรรส่ิงที่เปน “ความอยากที่ไมมี ท่ีส้ินสุด” และขจัดความสําคัญของ “เงนิ ” ในรปู รายได ทเ่ี ปนตัวกําหนดการบริโภคลงไดระดับ หน่ึง แลวยังเปนตัวแปรท่ีไปลดภาระของกลไกของตลาดและการพ่ึงพิงกลไกของตลาด ซง่ึ บุคคลโดยทัว่ ไปไมสามารถจะควบคุมได รวมทัง้ ไดมีสวนในการปอ งกันการบริโภคเลียนแบบ (Demonstration Effects) จะไมทําใหเกิดการสูญเสีย จะทําใหไมเกิดการบริโภคเกิน (Over Consumption) ซ่ึงกอใหเกดิ สภาพเศรษฐกิจดี สังคมไมม ปี ญ หา การพัฒนายั่งยืน

16 ประเทศไทยอดุ มไปดว ยทรัพยากรและยังมีพอสําหรับประชาชนไทยถามีการจัดสรรท่ีดี โดยยึด\" คุณคา \" มากกวา \" มูลคา \" ยึดความสัมพันธของ “บุคคล” กับ “ระบบ” และปรับ ความตองการทีไ่ มจ ํากดั ลงมาใหไดตามหลกั ขาดทุนเพ่ือกาํ ไร และอาศัยความรวมมือเพื่อใหเกิด ครอบครัวท่เี ขมแข็งอนั เปนรากฐานทส่ี าํ คัญของระบบสงั คม ในการผลิตน้ันจะตองทําดวยความรอบคอบไมเห็นแกได จะตองคิดถึงปจจัยที่มีและ ประโยชนข องผเู ก่ียวของ มฉิ ะนน้ั จะเกดิ ปญ หาอยางเชนบางคนมโี อกาสทาํ โรงงานแตไ มไดคํานึง วา ปจ จัยตา ง ๆ ไมครบ ปจจยั หน่ึงคือขนาดของโรงงาน หรือเคร่ืองจักรท่ีสามารถที่จะปฏิบัติได แตขอ สาํ คัญทสี่ ุด คอื วัตถุดบิ ถาไมส ามารถที่จะใหคาตอบแทนวัตถุดิบแกเกษตรกรที่เหมาะสม เกษตรกรก็จะไมผลิต ยิ่งถาใชวัตถุดิบสําหรับใชในโรงงานนั้น เปนวัตถุดิบท่ีจะตองนํามาจาก ระยะไกล หรือนําเขาก็จะย่ิงยาก เพราะวาวัตถุดิบที่นําเขานั้นราคาย่ิงแพง บางปวัตถุดิบมี บริบูรณ ราคาอาจจะตํ่าลงมา แตเวลาจะขายส่ิงของที่ผลิตจากโรงงานก็ขายยากเหมือนกัน เพราะมีมากจงึ ทาํ ใหราคาตก หรือกรณีใชเทคโนโลยีทางการเกษตร เกษตรกรรูดีวาเทคโนโลยี ทําใหตนทุนเพิ่มขึ้น และผลผลิตท่ีเพ่ิมนั้นจะลนตลาด ขายไดในราคาที่ลดลง ทําใหขาดทุน ตอ งเปนหนสี้ นิ การนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชในการจัดสรรทรัพยากรท่มี ีอยูข องตนเอง ครอบครัว และชุมชนจะชว ยใหด ํารงชีวติ อยางไมเ ดอื ดรอน และเกิดความย่ังยนื โดยคาํ นงึ ถึง 1. รูจักใชและจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางชาญฉลาดและรอบคอบ โดยเร่ิมตนผลิต หรือบริโภคภายใตขอจํากัดของรายไดหรือทรัพยากรท่ีมีอยูไปกอน คือใชหลักพ่ึงพาตนเอง โดยมงุ เนนการผลิตพชื ผลใหเพียงพอกับความตอ งการบริโภคในครัวเรอื นเปนอนั ดับแรก เม่ือเหลือจากการบรโิ ภคแลวจึงคํานงึ ถงึ การผลติ เพอื่ การคาเปนอันดับรองลงมา รูจักประมาณ ตนโดยใชทรพั ยากรอยางประหยัด ไมฟ มุ เฟอ ย ในการลงทุนประกอบอาชีพใหเปนไปตามกําลัง ทรพั ยแ ละศักยภาพของตนเอง เชน 1.1 ปลูกผกั สวนครวั ลดคาใชจ าย 1.2 นาํ นํ้าท่ีผานการใชแ ลวในครวั เรือนมารดพืชผักสวนครัว 1.3 นําพืชผกั สวนครัวท่เี พาะปลูกไดม าบรโิ ภค แบง ปนเพื่อนบาน บางสวนนําไปขาย ท่ตี ลาด สวนท่เี หลือนําไปเล้ยี งหมู 1.4 นําเงินจากการขายพืชผักสวนครัวและหมูไปซื้อสินคาและบริการที่สมาชิกใน ครัวเรือนตองการและมีความจาํ เปนในการอปุ โภคบริโภค

17 1.5 เก็บออมเงนิ สว นทีเ่ หลือจากการบรโิ ภคไวใ ชจา ยในอนาคต 1.6 นําเงนิ สวนหน่งึ มาลงทุนซือ้ เมลด็ พืช เพอื่ เพาะปลกู ตอ ไป 2. เลือกใชทรัพยากรท่ีมีอยูใหเกิดความยั่งยืนสูงสุด โดยการนําทรัพยากรหรือวัสดุ ตางๆ ท่สี ามารถหาไดงายในชมุ ชนมาใชประโยชน ใชทรัพยากรท่ีมีอยูในชุมชนอยางคุมคาดวย การหมุนเวียนทุนธรรมชาติในพ้ืนท่ี เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตไดดวย ตนเอง ชวยลดภาระการเสี่ยงดานราคาจากการไมสามารถควบคุมระบบตลาด ไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ และใชท รพั ยากร โดยคํานงึ ถึงสิง่ ทไี่ มเ ปน ภัยกับส่ิงแวดลอม เชน 2.1 การทําไรนาสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพ่ือใหมีการหมุนเวียน มีสินคา หลากหลาย ลดภาวะเสย่ี งดา นราคา 2.2 การจางแรงงานภายในชุมชน เพ่ือสงเสริมใหตนเอง ครอบครัว และชุมชนมี รายได 2.3 การทําปุยหมักปุยคอกและใชวัสดุเหลือใชเปนปจจัยการผลิต (ปุย) เพื่อลด คา ใชจ า ยและบํารงุ ดนิ 2.4 การเพาะเหด็ ฟางจากวสั ดุเหลือใชใ นไรนา 2.5 การปลูกไมผลสวนหลงั บา น และไมใชสอยในครวั เรอื น 2.6 การปลกู พืชสมนุ ไพร ชว ยสง เสรมิ สุขภาพอนามัย 2.7 การเลี้ยงปลาในรองสวน ในนาขาวและแหลงนํ้า เพ่ือเปนอาหารโปรตีนและ รายไดเสรมิ 2.8 การเล้ียงไกพนื้ เมอื ง และไกไ ข ประมาณ 10 – 15 ตัวตอครัวเรอื นเพ่อื เปน อาหารใน ครัวเรือน โดยใชเศษอาหาร รํา และปลายขาวจากผลผลิตการทํานา การเล้ียงสัตวจากการปลูก พชื ไร เปน ตน 2.9 การทาํ กาซชีวภาพจากมลู สัตว เร่ืองที่ 2 หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การประกอบอาชพี จากพระราชดาํ รัส : เศรษฐกิจพอเพียง มิไดจํากัดเฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไรชาวนา เพยี งเทานน้ั แตเ ปน เศรษฐกจิ ของทุกคนทุกอาชพี ทง้ั ท่อี ยใู นเมอื งและอยูในชนบท เชน ผูท่ีไดเปน เจา ของโรงงานอุตสาหกรรมและบริษัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถาจะตองขยายกิจการเพราะ

18 ความเจริญเติบโตจากเน้ือของงาน โดยอาศัยการขยายตัวอยางคอยเปนคอยไป หรือหากจะกูยืม กก็ ระทําตามความเหมาะสม ไมใชกูมาลงทุนจนเกินตัวจนไมเหลือท่ีม่ันใหยืนอยูได เม่ือภาวะของ เงินผนั ผวน ประชาชนก็จะตองไมใชจายฟุมเฟอยเกินตัว และ (จากการศึกษารายงานการวิจัย ศึกษาการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนบานโงกนํ้า) นําหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในกระบวนการประกอบอาชีพของชุมชนบานโงกนํ้า ตําบลนาขยาด อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ไดรับการคัดเลือกใหเปนหมูบานเศรษฐกิจ ชมุ ชนพงึ่ ตนเอง ของจงั หวัดพัทลุง ในป 2544 และเปน หมูบานตน แบบในการสงเสริมเศรษฐกิจ พอเพียงทงั้ ในระดบั ครวั เรือน กลุมองคก ร และระดบั หมบู า น ไดย ดึ หลักทางสายกลาง อนั ไดแก 3 หวงยดึ เหนี่ยว และ 2 หวงเง่อื นไขการปฏิบตั ิ โดยเสนอผลการวิเคราะหในแตละดานดังน้ี 3 หวงยึดเหนย่ี ว 1. ดานความพอประมาณ ชุมชนรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยูอยางพอเพียง เหมาะสมแบบคอยเปน คอยไป ใชเทคโนโลยเี ทา ท่ีจาํ เปน มีรายไดเ สรมิ จากการปลกู ผัก เล้ยี งสกุ ร เลย้ี งโค เล้ยี งปลาดุก ไวจนุ เจอื ครอบครัวอกี ทางหนง่ึ สภาพเศรษฐกจิ ของครอบครวั เหมาะสมตามอตั ภาพของตน 2. ดา นความมีเหตุผล ใชทรัพยากรทกุ ชนดิ อยา งประหยดั และมีประสิทธภิ าพสงู สุด เนนการใชว ัตถุดบิ ภายในทองถ่นิ และตอบสนองตลาดในทอ งถนิ่ เนน การจา งงานเปน หลกั โดยไมนาํ เทคโนโลยีมา ทดแทนแรงงาน มีขนาดการผลิตทส่ี อดคลองกับความสามารถในการบรหิ ารจดั การ เชน ใชพ น้ื ที่ ทางการเกษตรท่ีวา งอยอู ยา งคุมคา โดยการปลกู พชื ผกั สวนครัวขางบา น พนื้ ที่สวนขางบา น รั้วบาน บางครอบครวั ก็ปลกู พืชผกั และผลไมครบวงจรเพอื่ ลดคา ใชจ าย บางครอบครวั ก็เลยี้ ง โค เลยี้ งสกุ ร เล้ยี งปลาดุก กลมุ อาชพี ทําขนมเพอื่ เพ่ิมรายไดใ หแกค รวั เรือนจากอาชพี เสริม 3. ดา นความมภี มู คิ มุ กันในตวั ที่ดี เนน การกระจายความเสยี่ งจากการมผี ลผลติ หลากหลาย ไมกอหนจ้ี นเกิน ความสามารถในการบริหารจัดการ ถา ยทอดความรูและประสบการณใหก ับคนในชมุ ชน และ กลมุ อาชีพตางๆ ทง้ั ทเ่ี ปนทางการและไมเปนทางการอยางตอเน่อื ง มีการทาํ กลุม ปยุ ชีวภาพ อดั เม็ด ซ่งึ ทําใหลดคาใชจ า ยในการซ้ือปยุ เคมไี ดคอ นขางมาก การรวมกลมุ ทําปลารา เพื่อเพ่ิม

19 มลู คา ของปลาดุก และถนอมอาหารเกบ็ ไวร ับประทานไดนานขึ้น นอกจากชวยในดา นการ ประกอบอาชีพหลกั แลว ยงั มกี ลมุ ทําสบเู หลว ยาสระผม ซึ่งก็ใหก ารสนับสนุนและมสี ว นรวมอยู เสมอ ในสว นของขอเสนอแนะนั้นยังบอกวา อยากใหหนวยงานทางราชการเขา มาสง เสรมิ และ ใหค วามรูกบั กลุมตา งๆ อยางสม่าํ เสมอและตอเน่ือง และอยากใหมกี ลมุ อาชีพเสรมิ การให ความรูด า นอาชพี บางอยา ง เชน การซอมรถจักยานยนต การเย็บผา การเชอ่ื มโลหะ ชา งตดั ผม เปนตน เพราะหลายคนอยากใหหนว ยงานทางราชการเขามาอบรมใหบ า ง เพือ่ ใหส ามารถ ซอมแซมของตนเองไดแ ละประกอบอาชพี เปน ธรุ กจิ หรือกลุมของตนเอง เพ่อื ใหม รี ายไดเ สรมิ ของครอบครวั ดว ย 2 หว งเงอ่ื นไขการปฏิบัติ 1. เงอ่ื นไขความรู ในการประกอบอาชีพของคนในชุมชนบานโงกนํา้ มีความรอบคอบ มีความรู และ มีความระมัดระวัง มีการทําแผนแมบท การแบงงานความรับผิดชอบในแตละกลุม รูจักการ อนุรักษทั้งส่ิงแวดลอมและประเพณี รูจักการฟนฟูส่ิงที่มีคุณคาท่ีหายไปแลวใหกลับมาเปน ประโยชนอีกครั้งหน่ึงตลอดจนมีการประยุกตภูมิปญญาของการประกอบอาชีพแบบดั้งเดิม นํามาบูรณาการกับเทคนิคและวิธีการของการประกอบอาชีพในสมัยปจจุบัน แตทั้งนี้การ สงเสรมิ การใหความรกู ็ตอ งทําอยางเปนระบบและตอเน่ือง ตลอดจนใหเกิดความท่ัวถึงเพื่อให บรรลเุ ปา หมายสว นบุคคลและของแตล ะกลุมอาชีพตางๆ ตลอดจนใหสอดคลองกับกระแสโลก ท่มี กี ารเปลี่ยนแปลง และความตอ งการของผูร บั สนิ คาและผรู ับบริการใหมากขึ้น ทายท่ีสุดคือ การสง เสริมใหเ ยาวชนคนรุน ใหมไดร ับการศึกษาสูงสุดเทา ทจ่ี ะทําได เพื่อใหเขาเหลานั้นกลับมา พัฒนาบานเกิดภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หัวหนาครอบครัวสวนใหญไดอธิบายให ทราบวา การประกอบอาชพี ซึ่งสว นใหญเ ปนอาชพี เกษตรกรรมนั้น มีการถายทอดความรูจาก คนรุนปู รุนพอ รุนแม มายังรุนลูกและหลานไปตลอด สวนใหญแลวเปนการใหความรูจาก การไดลงมือปฏบิ ัตริ วมกนั เชน เมอ่ื ไปปลกู ยางก็จะพาลกู หลานไปดว ย ในขณะทีไ่ ปชวยเปนการ ใหเ ขาไดมีสว นรว ม โดยการสอน แนะนํา ใหลูกหลานไดเห็น การเล้ียงสุกรก็เชนกัน และอื่นๆ ก็เปนลักษณะนี้ ถามมาใหทางราชการนําความรูมาใหก็นานๆ มาคร้ัง แตก็ตองเปนหมูบาน แตก็ถือวาเปนหมูบานท่ีโชคดีท่ีมีประชากร ชาวบาน ท่ีเปนแหลงใหความรูไดคอนขางมาก

20 ถงึ แมว าคนรุนใหมจะไปเรยี นนอกบานมากขน้ึ แตท า นก็รวบรวมความรู และวัสดุอุปกรณในการ ทํามาหากนิ หรือประกอบอาชีพใหเหน็ 2. เงื่อนไขคุณธรรม มคี วามซ่อื สัตยในการประกอบการ ไมเอารัดเอาเปรียบผูบริโภคและไมเอารัดเอา เปรียบลกู คา มคี วามขยันอดทน การประกอบอาชีพของชุมชนบานโงกน้ําสวนใหญแลว เปนคน ท่ีมีความซื่อสัตยในการประกอบอาชีพของตนเอง มีความขยัน อดทน มีการแบงปนระหวาง ครวั เรอื น หวั หนา ครอบครวั ทีม่ อี าชพี การทาํ สวนยางพารา มีความซื่อสัตยตอตนเองในการขาย ผลผลติ จากยางพาราทเ่ี ปนนาํ้ ยางมีคณุ ภาพ ไมม กี ารใสนา้ํ และส่ิงแปลกปลอม มีความตระหนัก ในการเพาะปลูก โดยพยายามหลกี เลยี่ งในการใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช หันมาใชสารกําจัด แมลงในธรรมชาติแทน ปุยท่ีใชสวนใหญก็ใชปุยนํ้าชีวภาพ ที่ผลิตข้ึนมาเอง ใชมูลปุยคอก หรือ ปุยชีวภาพอัดเม็ด เพื่อความปลอดภัยของสมาชิกในครัวเรือนเอง และยังผลไปถึงผูที่ซื้อไป บริโภค สวนการเล้ียงสัตวกใ็ ชอ าหารสตั วจ ากธรรมชาติทม่ี ีหรือเพาะปลูกเอง เชน หญาที่ใช เลี้ยงโค อาหารสุกรที่เหลือจากเศษอาหาร และอาหารจากพืชผัก พืชธรรมชาติท่ีหาไดเอง หลีกเลี่ยงการใชส ารเรงเน้อื แดง เวลาสวนใหญใชไปในการทํามาหาเลี้ยงครอบครัว ใหสมาชิก ไดมีสวนรวมหางไกลยาเสพติด ถึงแมวาหมูบานโงกน้ําจะเปนชุมชนปลอดยาเสพติดก็ตาม ซึ่งในขณะนไี้ ดทาํ งานรวมกนั และมกี ารสอนคุณธรรมกับครอบครวั ดว ย

21 บทที่ 3 การวางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพียง เรื่องที่ 1 การวางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพยี ง การประกอบอาชพี คอื การทํามาหากนิ ของมนษุ ย เปนการแบงหนาที่ การทํางานของ คนในสังคม และทําใหดํารงชีวิตในสังคมได บุคคลที่ประกอบอาชีพจะไดคาตอบแทน หรือ รายไดท่ีจะนําไปใชจายในการดํารงชีวิต และสรางมาตรฐานที่ดีใหแกครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาติ ความจาํ เปนของการประกอบอาชพี มดี ังน้ี 1. เพ่อื ตนเอง การประกอบอาชพี ทําใหม ีรายไดม าจับจายใชสอยในชวี ติ 2. เพ่ือครอบครัว ทําใหสมาชิกของครอบครัวไดรับการเล้ียงดูทําใหมีคุณภาพชีวิต ทีด่ ขี นึ้ 3. เพ่ือชุมชน ถาสมาชิกในชุมชนมีอาชีพและมีรายไดดีจะสงผลใหสมาชิกมีความ เปนอยดู ขี น้ึ อยดู ีกินดี สงผลใหช ุมชนเขมแขง็ ทางเศรษฐกจิ และพัฒนาตนเองได 4. เพื่อประเทศชาติ เม่ือประชากรของประเทศมีการประกอบอาชีพท่ีดี มีรายไดดี ทาํ ใหม ีรายไดที่เสียภาษีใหกบั รัฐบาลมรี ายไดไ ปใชบรหิ ารประเทศตอไป มนุษยไมส ามารถผลิตส่งิ ตา งๆ มาสนองความตอ งการของตนเองไดท ุกอยางจาํ เปนตองมี การแบง กันทําและเกดิ ความชํานาญ จึงทําใหเ กดิ การแบงงานและแบงอาชีพตาง ๆ ข้ึน สาเหตุ ทตี่ องมีการแบง อาชีพ คอื การท่มี นษุ ยม ีความรคู วามสามารถของแตละคนแตกตางกนั มตี าํ แหนง ทางภมู ศิ าสตรแ ละภูมิประเทศทแ่ี ตกตา งกันและไดรบั มอบหมายใหทาํ หนา ทที่ ่ี แตกตางกนั การประกอบอาชพี เปน เรื่องสําคัญในชวี ิตเรอ่ื งหนง่ึ เน่อื งจากทุกคนตอ งมอี าชพี ถงึ จะดาํ รงชีวิตอยูได แตจะเปนอาชีพแบบใด ทาํ อะไร ทําอยา งไรใหมีชวี ติ อยไู ด หรือทาํ อยา งไร ถึงจะประสบความสาํ เรจ็ ในอาชพี ที่ทําอยู กข็ ้ึนอยกู ับการวางแผนการประกอบอาชพี น้ัน ๆ การประกอบอาชพี ใหประสบความสาํ เร็จตามความตอ งการ จาํ เปนตองมกี ารวางแผนการ ประกอบอาชีพทชี่ ดั เจน เปน ระบบ การวางแผน เปน เรือ่ งของการกําหนดความตองการ วิธกี ารดําเนินการ และคาดหมาย ผลการดําเนินการในอนาคต โดยใชหลักวิชาการ เหตุผล มีขอมูลตัวเลขประกอบ มีการเสนอ

22 ปญหาเพอ่ื ขจัดอุปสรรคท่จี ะมาถงึ เปาหมายขางหนาได ทําใหผูปฏิบัติรูไดวาจะทําอะไร ท่ีไหน เม่ือใด กับใครทําอยางไร และทําเพื่ออะไรไดอยางชัดเจน ซ่ึงนําไปสูแนวทางการปฏิบัติงาน ทถี่ กู ตอ งและไดผล ดงั นน้ั การวางแผนการประกอบอาชีพ จึงเปนการกําหนดทิศทาง ขอบเขต วตั ถปุ ระสงค เปา หมายและวธิ กี ารประกอบอาชีพ โดยมีกระบวนการท่ีชัดเจนอยางเปนระบบ เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย และความตองการดานอาชีพของตนเอง การประกอบอาชีพมีหลาย รูปแบบ หลายวิธีการ หลากหลายแนวทางทจ่ี ะทําใหป ระสบความสําเร็จในอาชพี นนั้ ๆ การวางแผนการประกอบอาชีพ ก็เหมือนกบั เสาไฟท่ีใหแสงสวา งตามทองถนนท่ีผานไป มา เพ่อื ใหเกดิ ความปลอดภยั ในการเดินทางตลอดเสนทางนั้น การวางแผนการประกอบอาชีพ จงึ เปน เรอื่ งทส่ี ําคญั ยงิ่ การจะประสบความสาํ เรจ็ ในการประกอบอาชีพได ก็ขึ้นอยูกับการวาง แผนการประกอบอาชีพท่ีถูกตอง และการท่ีจะวางแผนการประกอบอาชีพ ควรจะตองศึกษา ดงั นี้ 1. การรจู กั ตนเอง การเลือกอาชีพดเู หมือนจะเปนการตดั สนิ ใจคร้ังย่ิงใหญในชีวิตของ คนเรา เพราะนนั่ คือตัวกําหนดรายไดท่ีจะเกิดข้ึน จากความสามารถของเราเอง และไมนาเชื่อวา หลายคนยอมทนอยูก บั อาชพี ทตี่ นเองเกลียดได หรอื ไมไ ดใชค วามสามารถที่แทจริงในการทํางาน เลย เพราะพวกเขาไมเคยเกิดความสงสัยวา จริงๆแลวตนเองตองการอะไร “การขาดความ เชื่อม่ันในตนเอง คือสาเหตุหน่ึงที่ทําใหคนบางคนเลือกทํางานท่ีหางไกลจากความสามารถท่ี แทจริงของตนเอง และเปนสาเหตุใหคนยายตําแหนงงานของตนเอง หรือเปนสาเหตุที่ทําให คนเราเลือกเปล่ยี นอาชพี ทงั้ ท่กี า วไปไดเ พียงครึ่งทางเทานั้น” การสรางความเชื่อมั่นใหต นเอง ควรเรม่ิ ตน จากการคน หาตนเองวา “เราเปนใคร” “เรา อยากทาํ อะไร” “เราทําอะไรไดดี” “เราทําอะไรบอยท่ีสุด” และคําตอบที่ไดกลับมาจะชวยให เราทราบวาตนเองมีทักษะความสามารถ ความสนใจ คานิยม ความชอบสวนตัว และรูปแบบ การทํางานในดานใดและในชวงท่ีกําลังสํารวจตัวตนของตนเองน้ันอยาลืมบอกเรื่องนี้ใหคนใน ครอบครัวเพือ่ นสนทิ ของเราทราบ เพราะพวกเขาอาจชว ยใหคณุ คนพบตวั ตนของตนเองไดเร็วขึ้น ซ่งึ คนเหลานัน้ ตองเปนคนทรี่ ูจักคณุ มาเปน เวลาหลายป จึงจะสามารถบอกไดวาคุณมีจุดออน-จุด

23 แข็งในดานใดบาง หรือทําแบบทดสอบบุคลิกภาพหรือความถนัด แลวใชประโยชนจาก คาํ แนะนําทไี่ ดจากการทําแบบสํารวจ “การตอบคําถามที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพอาจทําให ทราบขอมูลของตนเอง ซึ่งเราไมเคยทราบมากอน แตผูเช่ียวชาญดานการประกอบอาชีพ สามารถชว ยใหมองเหน็ ความสามารถในสวนน้นั ๆได” 2. การศึกษาการประกอบอาชีพ ปจจุบันน้ีมีอาชีพตางๆเกิดข้ึนหลายพันอาชีพ หาก ขาดแผนการทาํ งาน อาจกอใหเ กิดการเลือกอาชพี ที่ไมเหมาะสมกับตนเองได หากรูจักประเมิน ความสามารถของตนเองอยางซื่อสัตย โอกาสท่ีจะเลือกอาชีพไดอยางเหมาะสมยอมสูงตามไป ดวย ควรเลือกประกอบอาชีพโดยยึดจากความรูสึกภายในเปนหลัก เลือกงานที่เหมาะสมกับ ตนเองเทานัน้ วธิ ที จี่ ะชวยใหเ ก็บขอ มลู เก่ียวกับอาชพี ท่เี หมาะสมกับตนเองไดมี 2-3 วิธี นั่นก็คือ อานรายละเอียดอาชีพตางๆในประกาศรับสมัครงาน หาขอมูลในอินเตอรเน็ต เพราะ อินเตอรเน็ตเปนแหลงขอมูลท่ีสามารถใหขอมูลทุกเร่ืองไดอยางนาอัศจรรย นอกจากน้ียัง สามารถหาขอ มูลจากประสบการณของผอู นื่ ไดด ว ย เชน บทสัมภาษณข องผูอื่นทปี่ ระกอบอาชีพ ท่ีคุณสนใจ หรือสอบถามขอมลู การทํางานจากผูอื่น ซึ่งขอมูลการสัมภาษณ เหลาน้ีอาจจะชวย ใหค ณุ ทราบสภาพความเปน จริงเกีย่ วกับการทาํ งานนั้น ๆ อกี ดวย 3. การตัดสินใจ เปนขั้นตอนสําคัญหลังจากไดจับมือกับตนเอง เพ่ือมองหางานที่ เหมาะสมกบั ตนเองแลว กม็ าถึงขั้นตอนสาํ คัญ กลยุทธห น่ึงท่จี ะทําใหสามารถตัดสินใจได นั่นก็ คอื การรา งความตองการของตนเองภายใน ระยะเวลาหน่งึ ปล งในกระดาษ จากนนั้ กเ็ พิ่มเปน 5 ป หรอื 10 ป ตอไป อีกวธิ ี คอื เปรยี บเทยี บ ขอ ดีและขอเสียของการทํางาน สําหรับสองหรือ สามอาชีพทีต่ นเองสนใจมากทีส่ ุด และเลือกอาชพี ทตี่ นเองคดิ วาเหมาะสมท่สี ดุ เมือ่ ตัดสินใจเลอื กแลว ก็ถงึ เวลาทดสอบส่ิงท่ีเลือกเอาไว ตองคนหาโอกาสใหตนเองอีก คร้ัง ยอมรับการฝกงาน เพื่อโอกาสที่จะไดงานในอนาคต หรือเลือกเรียนเกี่ยวกับการทํางาน นั้นๆ เพิ่มเตมิ รวมท้ังหาทางอบรมหรอื ฝก ปฏิบตั งิ านเกีย่ วกับอาชีพทตี่ นเองสนใจนัน้ ดว ย การเตรียมตัวอยางดี ยอมดีกวาการสละสิทธิ์โดยไมไดลองทําอะไรเลย การทํางาน ชว่ั คราว หรอื งานอาสาสมัครเปน การสั่งสมประสบการณในงานทํางานอยางชาๆ เปนส่ิงจําเปน สําหรับการทํางานที่มีคุณภาพ ซ่ึงจะกลายเปนที่พอใจของนายจางตอไป นอกจากนี้ควรเปน

24 สมาชิกชุมชุมท่ีมีกิจกรรมเก่ียวกับการทํางาน เพราะจะชวยใหสามารถหาคําแนะนําไดจาก สมาชิกทานอ่ืนๆ ในการคนหางาน คําแนะนํา รวมท้ังเปนบุคคลอางอิงใหเราไดอีกดวย ก็เหมือนกับคุณใชนิ้วจุมลงไปในน้ําเพ่ือทดสอบ คุณจะพบวาตนเองไดประสบการณตางๆ มากมายโดยไมมีขอผูกมัดท้ังดานเวลา และความมุงมั่น หากคุณคนพบวา อาชีพที่คุณเลือก ไมไดเปนไปตามท่ีตนเองคาดหวังไว ก็สามารถหาตัวเลือกใหมได จนกวาจะพบสิ่งที่ตนเอง ตอ งการ แตการวางแผนการประกอบอาชีพก็ยังไมใชจุดสิ้นสุดสําหรับเรื่องนี้ กิจกรรมตาง ๆ จะเปลี่ยนไปเร่อื ย ๆ ตามความเปลยี่ นแปลงในตัวคณุ “คุณตอ งรูจกั การยืดหยุน และพรอมที่จะ พัฒนาแผนการของตนเอง เพ่ือคนหาส่ิงใหมๆ ใหกับตนเอง รวมทั้งมองหาโอกาสสราง ความกา วหนา ใหตนเองอยเู สมอ” ในเรื่องของการทํางาน การวางแผนยอมทําใหการทํางานมี ประสทิ ธภิ าพมากกวาการนงิ่ เฉย การประกอบอาชพี สามารถแบง ออกเปน 2 ประเภท คอื 1. การประกอบอาชีพอิสระ มีลักษณะเปนเจาของกิจการ ดําเนินการบริหารจัดการ ดวยตนเองในรูปของกลุมอาชีพ หางหุนสวน บริษัท ฯลฯ การประกอบการหรือเจาของตองมี ความต้ังใจ อดทน ทุมเท ไมยอทอตออุปสรรค เพื่อใหกิจการดําเนินไปจนเกิดความม่ันคง ประสบความสําเรจ็ การประกอบอาชพี อสิ ระยังสามารถแบงเปน 1.1 อาชพี อสิ ระดา นการผลิต ผูประกอบอาชีพตองมีกระบวนการ หรือข้ันตอนการ ผลิตหรือการแปรรูปสินคาออกไปจําหนายในทองตลาด ในลักษณะขายสงหรือขายปลีก เชน การทาํ อาหาร การทาํ สวนผลไม การเลย้ี งปลา ฯลฯ 1.2 อาชีพอิสระดานการใหบริการ เปนอาชีพที่นิยมกันอยางแพรหลายตาม สภาพแวดลอมและวิถีชีวิต ทําใหคนท่ีมีเวลาวางนอยหันมาพ่ึงเทคโนโลยีประกอบกับการ ประกอบอาชีพงานการใหบริการมีความเส่ียงนอย การลงทุนตํ่า การประกอบอาชีพดานน้ี ปจจบุ นั จงึ แพรห ลาย เชน บริการทาํ ความสะอาด บริการซักรีดเสื้อผา บริการลางรถยนต ซอม อปุ กรณไฟฟา การทํานายโชคชะตา เปน ตน 2. การประกอบอาชีพรับจาง เปนการประกอบอาชีพโดยไมไดเปนผูประกอบการ แตตองทํางานตามที่เจานายมอบหมาย ไดรับคาตอบแทนเปนเงิน อาหาร ที่พักอาศัย และ สง่ิ จาํ เปน อื่น ๆ ปจจุบนั สงั คมไทยสว นใหญน ยิ มเปน ลูกจา ง เน่อื งจากความรับผิดชอบมีจํากัดไม

25 เสีย่ งกับผลกําไรขาดทุน ซึ่งอาจทํางานในสถานประกอบการขนาดใหญ หรือขนาดเล็ก หรือเปน ธรุ กจิ การผลติ หรือ การบรกิ าร เชน โรงงาน พนักงานขาย พนักงานบริษัท พนักงานธนาคาร พนักงานบญั ชี เปน ตน เศรษฐกจิ พอเพยี งกับอาชพี เกษตรกรรม อาชีพเกษตรกรรม ถือวาเปนอาชีพหลักและเปนอาชีพสําคัญของประเทศ ประชากร ของไทยไมนอ ยกวารอ ยละ 60 ยงั ประกอบอาชีพน้ีอยู อาชีพเกษตรกรรมเก่ียวของกับการผลิต และการจดั จาํ หนา ยสินคา และบรกิ ารทางดานการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรนอกจากใชใน การบรโิ ภคแลวยงั ใชเปน วตั ถุดิบในการผลิตทางอุตสาหกรรมอีกดวย ไดแ ก การทํานา การทํา ไร การทาํ สวน การเลีย้ งสัตว ฯลฯ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ไดพระราชทานพระราชดําริฯ ใหเกษตรกรซ่ึงเปนคนสวนใหญของประเทศมีความแข็งแรงพอกอนที่จะไปผลิตเพ่ือการคาหรือเชิง พาณิชย โดยยึดหลักการ “ทฤษฎใี หม” 3 ขน้ั คือ ขั้นที่ 1 มีความพอเพียง เลี้ยงตัวเองไดบนพ้ืนฐานของความประหยัดและขจัดการ ใชจา ย ขั้นท่ี 2 รวมพลังกันในรูปกลุม เพ่ือการผลิต การตลาด การจัดการ รวมท้ังดาน สวสั ดกิ าร การศกึ ษา การพัฒนาสังคม ขั้นที่ 3 สรางเครือขาย กลุมอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หลากหลาย โดยประสานความรวมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองคกรพัฒนาเอกชน และภาคราชการในดาน เงนิ ทุน การตลาด การผลิต การจดั การและขา วสารขอมลู ทฤษฎีใหมเปนแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช เกย่ี วกับการจัดพ้ืนที่ดินเพ่ือการอยูอาศัยและมีชีวิตอยางย่ังยืน โดยมีการแบงพื้นท่ีเปนสวน ๆ ไดแก พ้ืนที่น้ํา พ้ืนท่ีดินเพื่อเปนที่นาปลูกขาว พื้นท่ีดินสําหรับปลูกพืชไรนานาพันธุ และท่ี สําหรับอยูอาศัย/เล้ียงสัตว ในอัตราสวน 3 : 3 : 3 : 1 เปนหลักการในการบริหารการจัดการ ทดี่ นิ และนา้ํ เพื่อการเกษตรในทด่ี นิ ขนาดเล็กใหเกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ ดังนี้ 1. มีการบริหารและจัดแบงที่ดินแปลงเล็ก ออกเปนสัดสวนที่ชัดเจน เพื่อประโยชน สงู สุดของเกษตรกร ซ่งึ ไมเคยมีใครคิดมากอ น 2. มีการคํานวณโดยหลักวิชาการ เก่ียวกับปริมาณนํ้าท่ีจะกักเก็บใหพอเพียง ตอการ เพาะปลูกไดตลอดป

26 3. มีการวางแผนที่สมบูรณแบบ สําหรับเกษตรกรรายยอย 3 ขั้นตอน เพ่ือใหพอเพียง สําหรบั เล้ยี งตนเองและเพ่ือเปนรายได ขนั้ ที่ 1 ทฤษฎใี หมขน้ั ตน สถานะพน้ื ฐานของเกษตรกร คือ มีพ้ืนที่นอย คอนขางยากจน อยใู นเขตเกษตรนํา้ ฝนเปน หลัก โดยในข้ันที่ 1 นี้มวี ัตถุประสงคเพือ่ สรางเสถยี รภาพของการผลิต เสถียรภาพดานอาหารประจําวัน ความมั่นคงของรายได ความม่ันคงของชีวิต และความมั่นคง ของชุมชนชนบท เปนเศรษฐกิจพึ่งตนเองมากข้ึน มีการจัดสรรพื้นที่ทํากินและที่อยูอาศัย ใหแบงพ้ืนท่ี ออกเปน 4 สวน ตามอัตราสวน 30 : 30 : 30 : 10 ซ่ึงหมายถึง พ้ืนท่ีสวนที่หน่ึง ประมาณ 30% ใหขุดสระเก็บกักน้ํา เพ่ือใชเก็บกักน้ําฝนในฤดูฝนและใชเสริมการปลูกพืช ในฤดูแลง ตลอดจนการเลีย้ งสตั วน าํ้ และพืชน้ําตา ง ๆ (สามารถเลยี้ งปลา ปลกู พืชน้ํา เชน ผักบุง ผักกะเฉดฯ ไดดวย) พื้นที่สวนท่ีสองประมาณ 30% ใหปลูกขาวในฤดูฝน เพ่ือใชเปนอาหาร ประจําวันในครวั เรือนใหเพยี งพอตลอดป เพื่อตดั คาใชจ ายและสามารถพึง่ ตนเองได พื้นที่สวนที่ สามประมาณ 30% ใหปลูกไมผล ไมยืนตน พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใชเปนอาหาร ประจาํ วนั หากเหลือบรโิ ภคกน็ าํ ไปจาํ หนา ย และพื้นท่สี ว นที่สีป่ ระมาณ 10% ใชเปนที่อยูอาศัย เล้ยี งสตั ว และโรงเรือนอ่ืน ๆ (ถนน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุยหมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว ไมด อกไมป ระดบั พืชผักสวนครัวหลงั บา น เปน ตน ) ทฤษฎีใหมขั้นกาวหนา เมื่อเกษตรกรเขาใจในหลักการและไดลงมือปฏิบัติตามข้ันที่ หน่งึ ในที่ดินของตนเปนระยะเวลาพอสมควรจนไดผลแลว เกษตรกรก็จะพัฒนาตนเองจากข้ัน “พออยพู อกนิ ” ไปสขู ั้น “พอมีอนั จะกิน” เพอื่ ใหม ีผลสมบูรณยิ่งขึน้ จงึ ควรท่ีจะตองดําเนินการ ตามขั้นท่ีสองและขั้นทสี่ ามตอไปตามลําดับ (มลู นธิ ชิ ัยพัฒนา, 2542) ข้ันท่ี 2 ทฤษฎีใหมข้นั กลาง เมอ่ื เกษตรกรเขาใจในหลักการและไดปฏิบัติในท่ีดินของ ตนจนไดผลแลว ก็ตองเร่ิมข้ันท่ีสอง คือ ใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุม หรือ สหกรณ รวมแรง รว มใจกันดาํ เนินการในดาน (1) การผลิต เกษตรกรจะตองรวมมือในการผลิตโดยเร่ิมต้ังแต ข้ันเตรียมดิน การหา พันธพุ ชื ปยุ การหานํา้ และอน่ื ๆ เพ่ือการเพาะปลูก (2) การตลาด เมื่อมีผลผลิตแลว จะตองเตรียมการตาง ๆ เพื่อการขายผลผลิตใหได ประโยชนส งู สดุ เชน การเตรยี มลานตากขาวรวมกนั การจัดหายุงรวบรวมขาว เตรียมหาเคร่ือง สีขาว ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลติ ใหไดราคาดี และลดคา ใชจ ายลงดว ย

27 (3) ความเปนอยู ในขณะเดียวกันเกษตรกรตองมีความเปนอยูที่ดีพอสมควร โดยมี ปจ จัยพ้นื ฐานในการดาํ รงชีวติ เชน อาหารการกินตา ง ๆ กะป น้าํ ปลา เสือ้ ผา ทพี่ อเพยี ง (4) สวสั ดกิ าร แตละชุมชนควรมสี วัสดกิ ารและบริการทจ่ี าํ เปน เชน มสี ถานีอนามัย เม่ือยามปวยไข หรือมกี องทุนไวใ หก ยู ืมเพื่อประโยชนใ นกิจกรรมตา ง ๆ (5) การศึกษา มีโรงเรียนและชุมชนมีบทบาทในการสงเสริมการศึกษา เชน มีกองทุน เพื่อการศกึ ษาเลาเรียนใหแ กเ ยาวชนของชมุ ชนเอง (6) สังคมและศาสนา ชุมชนควรเปนศูนยกลางในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมี ศาสนาเปน ท่ยี ดึ เหน่ียว กิจกรรมท้งั หมดดังกลา วขางตน จะตอ งไดรับความรวมมือจากทุกฝายท่ีเก่ียวของ ไมวา สว นราชการ องคกรเอกชน ตลอดจนสมาชกิ ในชมุ ชนนนั้ เปนสําคญั ขัน้ ท่ี 3 ทฤษฎใี หมขั้นกาวหนา เม่อื ดําเนินการผานพนขั้นท่ีสองแลว เกษตรกรจะมี รายไดดีข้ึน ฐานะมั่นคงขึ้น เกษตรกรหรือกลุมเกษตรกรก็ควรพัฒนากาวหนาไปสูข้ันท่ีสาม ตอไป คือ ติดตอประสานงานเพ่ือจัดหาทุน หรือแหลงเงิน เชน ธนาคาร หรือบริษัทหางราน เอกชน มาชวยในการทําธุรกิจ การลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้ังนี้ ท้ังฝายเกษตรกรและ ฝายธนาคารกบั บริษัท จะไดร บั ประโยชนรว มกัน กลา วคอื (1) เกษตรกรขายขา วไดใ นราคาสงู (ไมถูกกดราคา) (2) ธนาคารกับบริษัทสามารถซ้ือขาวบริโภคในราคาต่ํา (ซ้ือขาวเปลือกจากเกษตรกร มาสีเอง) (3) เกษตรกรซ้ือเคร่ืองอุปโภคบริโภคไดในราคาตํ่า เพราะรวมกันซื้อเปนจํานวนมาก (เปน รา นสหกรณซ ื้อในราคาขายสง) (4) ธนาคารกับบริษทั จะสามารถกระจายบคุ ลากร (เพอ่ื ไปดําเนนิ การในกจิ กรรมตาง ๆ ใหเ กดิ ผลดยี ง่ิ ข้ึน) ในปจจุบันนี้ไดมีการนําเอาเกษตรทฤษฎีใหมไปทําการทดลองขยายผล ณ ศูนยศึกษา การพัฒนาและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ รวมท้ังกรมวิชาการเกษตรไดดําเนินการ จัดทําแปลงสาธิต จํานวน 25 แหง กระจายอยูท่ัวประเทศ นอกจากน้ี กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพภาค กระทรวงกลาโหม และกระทรวงศึกษาธกิ าร ไดมีการดําเนินงานใหมีการนําเอาทฤษฎีใหมนี้ไป ใช อยางกวา งขวางข้ึน

28 แผนภาพ จําลองการจัดสดั สวนพน้ื ทีต่ ามแนวทฤษฎีใหมระบบการจัดการพืน้ ท่ี 1. สระนาํ้ ขนาดประมาณ 3 ไร ไวเ ก็บกกั นํ้าและเล้ียงปลาไวบรโิ ภค 2. นาขาว ประมาณ 3 ไร ปลกู ขาวไวบริโภค และปลูกพชื ผกั หมนุ เวียนตามฤดูกาล 3. ไมผ ลทีเ่ หมาะกบั สภาพดินฟาอากาศ ประมาณ 3 ไร ควรเปนแบบผสมผสาน และ พึง่ พาอาศัยกันเปนชนั้ ๆ เชน - ไมผ ลหรอื ไมใชสอยขนาดใหญ ตน สงู เชน สะตอ, มงั คดุ ฯลฯ - ไมผ ลพมุ ขนาดกลาง เชน มะมว ง ลําไย ขนุน ชมพู สม โอ ฯลฯ - ไมผ ลพมุ เตีย้ เชน มะนาว สมเขยี วหวาน สมจ๊ีด ฯลฯ - ไมผ ลและพชื ผักขนาดเล็ก เชน มะเขือ พรกิ กระเพรา ผกั หวาน ฯลฯ - ผกั สวนครัว เชน ตะไคร และพืชผัก ฯลฯ - ผกั ประเภทเถา เกาะตนไมใหญ เชน ตําลึง, ฟก, บวบ, ถั่วชนิดตางๆ, พริกไทย ฯลฯ - ผักเลอ้ื ยกินหัว เชน มัน ขงิ ขา ฯลฯ 4. ทอ่ี ยูอ าศยั ตามสภาพ คอกปศสุ ตั ว และพชื ผักสวนครวั ทต่ี องการแสงแดด และแปลง ปุยหมัก (หากไมใชมสุ ลมิ แนะนําใหเ ล้ียงหมูหลมุ ) ใชเนือ้ ที่ประมาณ 1 ไร จัดระบบ ภูมศิ าสตร และส่ิงแวดลอมท่ดี ี 5. แนวรั้วควรเปนพืชสวนครัวรั้วกินได เชน หากมีเสาร้ัวควรปลูกแกวมังกร ระหวาง เสารัว้ ควรเปนผักหวาน, ชะอม, ตนแค, มะละกอ ฯลฯ 6. รอบ ๆ ขอบสระนํ้า ปลูกพืชผักไดตามสภาพ เชน กลวย, ออย, มะรุม, แค สวนของ สระดา นในควรปลกู หญาแฝกกนั การพงั ทลายของดินลงสระ หมายเหตุ การออกแบบวางผงั ควรคาํ นงึ ถงึ สภาพพ้นื ทขี่ องแตล ะรายตามสภาพจริง

29 เรือ่ งท่ี 2 โครงการและแผนงานประกอบอาชีพ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การประกอบอาชพี ของคนเรามีมากมายหลากหลายอาชีพ เชน เกษตรกรรม การปศุสัตว การปาไม การขนสง อุตสาหกรรม การคาขาย การแกะสลักไม การเจียระไนพลอย การทอผา ฯลฯ อยางไรก็ตามการท่ีจะคิดประกอบอาชีพใด ๆ น้ัน จะตองผานการศึกษาและวิเคราะห ความเปนไปได โดยมีขอมูลตาง ๆ อยูมาก เพียงพอท่ีจะมาใชในการตัดสินใจประกอบอาชีพ น้ันได เมอื่ คดิ แลว ก็ควรกําหนด ใหเ ปน ลายลกั ษณอักษร เพ่ือใหเห็นเปนข้ันตอน แสดงถึงความ ตอเน่ือง มองเห็นขอบกพรองหรือขอมูลท่ีขาดไปได เพ่ือความสมบูรณของโครงการและ แผนงานการดําเนนิ งาน การจัดทําโครงการและแผนงานประกอบอาชีพ หรือโครงงานการประกอบอาชีพ มคี วามสาํ คัญ และจําเปน ตอการประกอบอาชพี เพราะถอื วา ไดม กี ารคดิ ไตรต รองไวล วงหนาแลว จงึ ลงมือปฏบิ ัติ ความผิดพลาดทง้ั หลายยอ มนอ ยลงโดยเฉพาะการวางแผนการดําเนินงานนั้นจะ มีความชดั เจนเก่ียวกับแผนการผลิต แผนการลงทนุ และแผนการตลาด ประโยชนของโครงงานการประกอบอาชีพ 1. ทาํ ใหก ารประกอบอาชีพบรรลุผลสาํ เรจ็ ตามเปาหมายที่กําหนดไว มรี ะบบการทํางาน และลดการทาํ งานทซ่ี ้ําซอนกนั 2. ชวยใหการใชป ระโยชนจ ากการใชท รัพยากรเปน ไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ 3. ชว ยใหเ จา ของกจิ การมีความเชื่อม่นั ในการบรหิ ารงาน และเม่อื เกดิ ปญหาข้ึนเพราะมี การวางแผน และคดิ อยา งรอบคอบมาแลว 4. ชว ยใหเ จาของกจิ การสามารถตรวจสอบข้ันตอนการดําเนนิ งาน และความสําเร็จของ เปา หมาย องคป ระกอบของโครงการการประกอบอาชีพ เมอื่ ตัดสินใจเลอื กอาชพี และมีการวิเคราะหความพรอ ม และความเปนไปไดข องอาชีพ ท่ีตัดสินใจเลือกแลว ขั้นตอนตอไปคือ การเขียนโครงการการประกอบอาชีพที่ตัดสินใจเลือก การเขียนโครงการการประกอบอาชีพ มอี งคป ระกอบหรือหัวขอ ที่ตองเขียนดังนี้

30 1. ช่ือโครงการ ควรต้ังช่ือโครงการท่ีสื่อความหมายไดชัดเจน เชน โครงการเล้ียงไก กระทงโครงการขายผักปลอดสารพิษ โครงการจําหนายอาหารสาํ เรจ็ รูป เปนตน 2. เหตผุ ล/แรงจูงใจในการทาํ โครงการ ใหเขียนถึงเหตุผลท่ีเลือกทําโครงการน้ัน เชน เปนอาชีพท่ีเปนความตองการของตลาด/ชุมชน หรือตัวผูประกอบอาชีพมีความถนัด ความสนใจ ในอาชีพนั้นๆ อยา งไร เปน ตน 3. วัตถุประสงค ใหเขียนวัตถปุ ระสงคใ นการทําโครงการน้ัน ๆ ใหชัดเจน เชน เพือ่ ใหม ี ประสบการณในการทําอาชีพน้ัน ๆ หรือเพ่ือศึกษาความเปนไปไดของตนเองในการประกอบ อาชีพนน้ั ๆ 4. เปาหมาย ควรกาํ หนดเปา หมายในเชิงปริมาณและคุณภาพใหชัดเจน เชน การเลี้ยง ไกก ระทงจะเลยี้ ง 5 รนุ รนุ ละกตี่ วั 5. ระยะเวลาดําเนินโครงการ ตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดโครงการใชเวลาดําเนินการนาน แคไหนเริ่มตน โครงการเมอื่ ใด จะส้ินสุดโครงการหรือขยายกิจการชวงใด 6. สถานทปี่ ระกอบการ ตองระบุทตี่ ง้ั ของสถานท่ที ี่จะประกอบอาชีพน้นั 7. การดาํ เนนิ งาน ใหเ ขยี นแสดงขั้นตอนการดาํ เนนิ งานอยางละเอียดต้ังแตขั้นวางแผน ปฏิบัติการการปฏิบัติการตามแผน และประเมินปรับปรุง การเขียนแผนการดําเนินงานการ ประกอบอาชีพ ควรมีองคประกอบหรือหวั ขอ ดังน้ี 7.1 แผนการผลติ ใหเสนอรายละเอียดวาในการผลติ หรือขายสินคา หรอื บรกิ าร ตาม โครงการที่กาํ หนดน้ัน มีข้ันตอนการผลิตอยางไร และกําหนดเวลาตามข้ันตอนนั้น ไวอยางไร 7.2 แผนการลงทุน ใหระบุวาที่มาของเงินทุนท่ีใชในโครงการประกอบอาชีพ นนั้ ไดมาอยา งไร เงินทุนออกเอง หรอื กูย มื มาจากแหลงเงินทุนตา ง ๆ 7.3 แผนการตลาด ใหเ สนอรายละเอยี ดวา สนิ คา หรือบรกิ ารในโครงการ ประกอบ อาชีพนนั้ ๆ มลี กู คา ที่คาดหวังจาํ นวนเทาใด และจะวางแผนเพ่ือขยายตลาด ให กวา งขวางขนึ้ อยางไร ในระยะเวลาใด 8. ปญหาและแนวทางแกไข ใหระบุปญหาที่คาดวาจะเกิดขึ้นกับการประกอบอาชีพ นนั้ ๆ 9. ผลทค่ี าดวา จะไดร บั แสดงใหเ ห็นถงึ ผลของการดําเนินงานในการประกอบอาชีพใน ดา นตา ง ๆ เชน ดานความรูแ ละประสบการณท่ีไดร ับ ดานกาํ ไร และความพึงพอใจตาง ๆ

31 10. ผรู ับผิดชอบดําเนินการ ระบุช่ือผทู ีเ่ ปน เจาของกิจการ หรือรับผิดชอบโครงการใน กรณีท่ีมีผูรว มโครงการหลาย ๆ คน ก็ใหชื่อผูรว มโครงการทง้ั หมดดว ย การกําหนดโครงการการประกอบอาชีพทตี่ ัดสนิ ใจเลอื ก กอ นการเรม่ิ ตนเขยี นโครงการ การประกอบอาชพี ทีต่ ดั สนิ ใจเลอื ก มคี วามจาํ เปน ตอ งศกึ ษา รวบรวมขอ มลู ดานตาง ๆ ในอาชพี นนั้ ๆ ดงั นี้ 1. ศึกษาสาํ รวจความตองการของตลาด โดยการสํารวจสภาพ และความตองการ ของ ชุมชน ท่ีจะเปนแหลงประกอบอาชีพเก่ียวกับ จํานวนประชากร ลักษณะเฉพาะของประชากร ซ่งึ ประกอบดวย เพศ อายุ รายได อาชีพ ระดับการศึกษาความตองการสินคาและบริการใน อาชีพน้ัน ๆ จํานวนและอุปนิสัยในการซ้ือของประชากรในพ้ืนท่ี สภาพปญหาและอุปสรรค ตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้น เชน มีคูแขงขันขายสินคาหรือบริการประเภทเดียวกันในพ้ืนท่ีน้ัน เปน ตน 2. ทาํ เลท่ตี งั้ กจิ การ จะตอ งพจิ ารณาวา ทําเลที่ตง้ั กิจการท่ีจะประกอบอาชีพท่ีตัดสินใจ เลือกนั้นมีลักษณะท่ีจําเปนในส่ิงตอไปน้ีหรือไมเพียงใด การคมนาคม ขนสงสะดวก หรอื ไม สภาพแวดลอ มเหมาะสมหรอื ไม มคี ูแขงขนั ทข่ี ายสินคาบริการ ประเภทเดียวกันหรือไม ถา มีจะแกป ญ หาอยางไร 3. สํารวจความพรอมของตนเองในทุกดาน เชน ดานความรู ความสามารถในอาชีพ ดานปจจยั การผลิตตา ง ๆ วา มคี วามพรอมหรือไม อยางไร ถา ไมพรอ มจะแกป ญ หาอยา งไร 4. ศึกษาความเปนไปไดของอาชีพ จะตองพิจารณาวาอาชีพที่เลือกน้ันจะทําใหรายได มากนอยเพยี งใด คุม กบั ทนุ ท่ีลงไปหรอื ไม จะใชเ วลาเทา ใดจงึ จะคุม ทนุ รายไดหรอื กําไรเพียงพอ จะเลี้ยงชีพหรือไม หากรายไดไมเพียงพอจะแกปญหาอยางไร เมื่อไดศึกษารวบรวมขอมูล ดงั กลา วแลว และเห็นวา มแี นวทางจะดาํ เนินโครงการได กเ็ รม่ิ ลงมอื เขียนโครงการการประกอบ อาชพี ตามหัวขอ ทก่ี าํ หนด ตัวอยา ง การเขยี นโครงงานการประกอบอาชพี 1. ชื่อโครงการ โครงการจาํ หนายอาหารสําเรจ็ รูป 2. ชอ่ื ผดู าํ เนินโครงการ....................................... 3. ชอื่ อาจารยท ีป่ รกึ ษาโครงการ...........................

32 4. หลกั การและเหตุผล อาหารเปนสิ่งจาํ เปนสาํ หรบั ทกุ คน เราตองรับประทานอาหาร ทุกวัน คนในหมูบานของกลุมผูดําเนินโครงการสวนใหญประกอบอาชีพนอกบาน มักไมมีเวลา ประกอบอาหารเอง ใกลหมูบานยังมีสํานักงานของเอกชนซ่ึงมีพนักงานจํานวนมาก แตใน บริเวณน้ีมีรานจําหนายอาหารสําเร็จรูปนอยคุณภาพอาหารและการบริการไมคอยดี ไมมีราน จําหนายอาหารสําเรจ็ รูปทมี่ คี ณุ ภาพดี และราคาปานกลาง สมาชิกของกลุมมีความสามารถใน การประกอบอาหารไดดี และบริเวณบานของสมาชิกมีสถานที่กวางเหมาะท่ีจะจัดเปนราน จําหนา ยอาหาร จึงไดจัดทาํ โครงการจําหนายอาหารสําเร็จรปู 5. วตั ถปุ ระสงค 1. เพอ่ื ใหม ีประสบการณในการประกอบอาชพี จาํ หนายอาหารสําเรจ็ รปู 2. เหน็ ชอ งทางและมีความรคู วามสามารถในการประกอบอาชพี จาํ หนา ยอาหาร สาํ เร็จรูป 3. สามารถนําความรูท่ีไดจากการเรียนและประสบการณการปฏิบัติโครงงาน อาชีพไปใชป ระโยชนในการประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม 6. เปา หมาย ดานปริมาณ ปรงุ และจาํ หนายอาหารสําเรจ็ รูปในวันเสารและวันอาทติ ย ดานคุณภาพ นักเรียนทุกคนในกลุมเห็นชองทางในการประกอบอาชีพและ พัฒนาการประกอบอาชพี ไดอยางเหมาะสม 7. ระยะเวลาดําเนนิ โครงการตลอดโครงการตงั้ แตเ ปดภาคเรยี นจนถงึ ปด ภาคเรียน (20 พฤษภาคม - 30 กนั ยายน และ 1 พฤศจกิ ายน – 15 มนี าคม ) 8. สถานท่ีประกอบอาชีพ บานเลขที่.....หมูท่ี.....ตําบล.........อําเภอ.......... จังหวัด................ 9. งบประมาณ 9.1 แหลง เงินทนุ เงินสะสมของสมาชิกกลมุ คนละ 1,000 บาท 9.2 จํานวนเงนิ ทุนเริ่มโครงการ 15,000 บาท 9.3 ทรัพยส ินถาวร โตะ เกาอี้ ถวย ชาม และเครื่องครัว สวนหนึ่งยืมใชช่ัวคราว / จัดซ้ือ 9.4 ทรพั ยส ินสน้ิ เปลือง อาหารสด ซอ้ื เปน รายวนั

33 9.5 เงินทุนขยายกิจการ หากกิจกรรมประสบความสําเร็จก็จะนํากําไรมาขยาย กจิ การ 9.6 กําไร (คาดการณ) ในระยะเรม่ิ แรกมกี าํ ไรประมาณวันละ 300-500 บาท 10. ข้นั ตอนการดาํ เนนิ งาน 1. การเตรยี มการ - ศึกษาสาํ รวจขอมูล - เขยี นโครงการ - ขออนุมตั โิ ครงการ - เตรียมหาทนุ - กําหนดรายการอาหารทจี่ ะปรุงจําหนา ย - ประชาสมั พันธใ หล ูกคาเปา หมายทราบ 2. การเตรยี มสถานท่ี - จัดตกแตง สถานที่ - เตรียมวสั ดุอุปกรณ 3. ข้ันตอนการดําเนนิ งานอยางละเอียด - ศึกษาหาความรูเบอ้ื งตนเกี่ยวกับการปฏิบัติงานอาชพี - ศึกษาสํารวจขอมลู ตา ง ๆ เพื่อสํารวจความสนใจประกอบการเลอื กอาชพี - วิเคราะหขอมลู - ตัดสินใจเลือกอาชีพ - ศกึ ษาวิธเี ขยี นโครงงานอาชพี - ขออนุมตั โิ ครงงานอาชพี - ศึกษาคน ควาหาความรูเพมิ่ เตมิ - กําหนดรายการอาหารทจี่ ะจาํ หนาย - ประชาสัมพันธบอกกลมุ ลกู คา เปา หมาย - เตรยี มอปุ กรณการปรงุ อาหาร ภาชนะตาง ๆ - ตกแตง สถานท่ี - ลงมอื ปรงุ อาหารจาํ หนาย โดยสับเปล่ียนหมุนเวียนการปฏบิ ัตหิ นาท่ีดังนี้ ซ้ืออาหารสด ตกแตง / ทาํ ความสะอาดรา น / ลางภาชนะ บริการลกู คา เกบ็ เงิน

34 – ทําบัญชี - ประเมนิ การปฏิบตั ิงานเปนรายวัน / รายสปั ดาห - ประเมนิ สรปุ เมือ่ ปฏบิ ัตงิ านเสรจ็ สน้ิ - เสนอแนะแนวทางการพฒั นาอาชีพ 11. ปญหาและแนวทางแกไข 1. ปญ หา ทค่ี าดวาจะเกิดข้นึ ระหวา งปฏบิ ัติงาน - ลกู คา มไี มเปนไปตามเปา หมาย - ประสบการณในการจาํ หนายสินคาไมเ พียงพอ 2. แนวทางแกไ ข - นาํ อาหารสาํ เรจ็ รปู ใสถ ุงไปจาํ หนา ยตามบา น / ชมุ ชน - ขอคําแนะนําจากอาจารยทป่ี รึกษาเปน ระยะ 12. ผลทค่ี าดวาจะไดร ับ 1. ดานความรูแ ละประสบการณ นักเรียนทุกคนมีประสบการณในการประกอบ อาชีพ เห็นชอ งทางในการประกอบอาชพี ในอนาคต 2. ดานผลผลิต ทรัพยสิน กําไร นักเรียนมีรายไดระหวางเรียน ทําใหเห็น คณุ คา ของการประกอบอาชพี แบงเบาภาระผูปกครอง ลงช่อื ผูเสนอโครงการ………………………………….. โครงการการประกอบอาชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การจัดทําโครงการการประกอบอาชีพ มีความสําคัญ และจําเปนตอการประกอบอาชีพ เพราะถอื วา ไดมีการวางแผน กอนลงมือปฏิบัติ ความผิดพลาดทั้งหลายยอมนอยลงโดยเฉพาะ การวางแผนการดําเนินงานนั้นจะมีความชัดเจนเกี่ยวกับ แผนการผลิต แผนการลงทุน และ แผนการตลาด การจัดทําโครงการการประกอบอาชพี ทด่ี ี ยอมทําใหก ารประกอบอาชพี บรรลุผล สาํ เรจ็ ตามเปาหมายทก่ี ําหนดไว มีระบบการทํางาน และลดการทํางานท่ีซํ้าซอนกัน ทําใหการใชทรัพยากรเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ ชวยใหเจาของกิจการมีความเช่ือม่ันในการบริหารงาน และเม่ือเกิดปญหาข้ึนก็

35 สามารถแกไขปญหาไดอยางดี เพราะมีการวางแผน และคิดอยางรอบคอบมาแลวชวยให เจาของกิจการสามารถตรวจสอบขั้นตอนการดําเนินงาน และความสําเร็จ ของเปาหมายได อยา งตอเนอื่ ง การจัดทําโครงการการประกอบอาชพี สามารถนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกตใ ชใ นการวางแผน การดําเนนิ งานไดโดยจะเหน็ ไดวา “เศรษฐกิจพอเพียงจรงิ ๆ คือ หลกั การดาํ เนินชีวิตทีจ่ ริงแทท ่ีสุด กรอบแนวคดิ ของหลักปรชั ญามงุ เนนความม่นั คงและความ ย่งั ยืนของการพัฒนา อันมีคณุ ลักษณะทสี่ าํ คญั คอื สามารถประยุกตใชใ นทกุ ระดบั ตลอดจนให ความสาํ คญั กบั คําวา ความพอเพียง ทป่ี ระกอบดวย ความพอประมาณ ความมเี หตุมผี ล มภี มู คิ ุมกนั ทด่ี ีในตวั ภายใตเงือ่ นไขของการตดั สินใจและการดําเนนิ กิจกรรมทตี่ องอาศัยเงอื่ นไข ความรูและเงื่อนไขคณุ ธรรม” เรือ่ งท่ี 3 การนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปนฐานในการประกอบอาชพี เศรษฐกจิ พอเพียงกบั อาชีพธุรกิจ ธุรกิจทุกประเภทไมวาจะเปนธุรกิจประเภทการผลิต การคา หรือบริการ ลวนแตมี ความสําคญั อยางยงิ่ ตอระบบเศรษฐกจิ และสังคม เน่ืองจากผลประกอบการทางธุรกิจมีอิทธิพล ตอมูลคาทางเศรษฐกิจและความเจริญเติบโตของประเทศ การดําเนินธุรกิจในประเทศไทย ที่ผานมามีเปาหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดวยระบบทุนนิยมที่กระตุนใหคนบริโภค ตลอดเวลาและมากยิ่งขึ้น เพื่อผลตอบแทนสูงสุดโดยไมคํานึงถึงวิธีการอันชอบธรรม การขยายตัวของผลผลิตมุงการพึ่งพาอุปสงค เทคโนโลยีและทุนจากตางประเทศ ทําให ความสามารถในการพ่ึงพาตนเองตํ่าลง องคกรธุรกิจถูกครอบงําความคิดจากกระแสโลกา ภิวัตนดานลบ สงผลกระทบตอคานิยมและทัศนคติท่ีเนนความรํ่ารวยและความสะดวกสบาย เปนเปาหมาย เหน็ ประโยชนส วนตนมากกวาสวนรวม และขาดจิตสํานึกตอสาธารณะ องคกร ธรุ กจิ ตองเผชญิ กับความเสย่ี งภายใตเงื่อนไขในระบบเศรษฐกิจโลกที่มีความสลับซับซอนและมี การเปล่ยี นแปลงรอบดา น

36 ดงั นั้น การปรับตวั ตอ กระแสโลกาภิวัตน จึงจําเปนตอ งอาศยั การเรยี นรแู ละการยืนหยัด อยูบนพ้ืนฐานของการพ่ึงพาตนเองตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสราง ศักยภาพการดําเนินธุรกิจเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขัน และสรางภูมิคุมกันตอผลกระทบ จากสภาพแวดลอมภายนอก ในบริบทของความเชื่อมั่นตอการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใชในองคกรจากประเด็นตางๆ ไดแก เศรษฐกิจพอเพียงใชไดผลดีเฉพาะในภาคเกษตร เศรษฐกจิ พอเพยี งคือการประหยัดและไมเปนหน้ี การแสวงหากําไรขัดกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไมเหมาะสมกับธุรกิจในยุคโลกาภิวัตน เม่ือพิจารณา จากแนวคิด หลักการ และองคประกอบตางๆ ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถ อธบิ ายในประเดน็ ดังกลาว ดงั นี้ เนือ่ งจากปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดนําไปประยุกตใชกับภาคเกษตรในระยะแรก เพราะมีความขัดสนสูงกวาภาคอ่ืนๆ ทําใหเกิดความเขาใจผิดวา เศรษฐกิจพอเพียงใชไดผลดี เฉพาะภาคเกษตรเทานั้น ซึ่ง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล (2549: 286) ไดอธิบายวา “เศรษฐกิจ พอเพียงมิไดจํากัดเฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไรชาวนาเพียงเทานั้น แตเปนเศรษฐกิจของ ทุกคนทกุ อาชพี ทั้งท่อี ยูใ นเมอื งและอยูในชนบท เชน ผูที่เปนเจาของโรงงานอุตสาหกรรมและ บรษิ ัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถาจะตองขยายกิจการเพราะความเจริญเติบโตของเนื้องาน โดยอาศยั การขยายตวั อยา งคอ ยเปนคอ ยไป หรือหากจะกยู มื ก็กระทําตามความเหมาะสม ไมใช กมู าลงทนุ จนเกนิ ตัวจนไมเหลือท่มี ่ันใหยืนอยไู ด ตอ งรูจักใชจ าย ไมฟมุ เฟอ ยเกนิ ตัว” อยา งไร ก็ตาม เม่อื พิจารณาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในดานองคประกอบและเงื่อนไข จะเห็นไดวา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปใชไดในทุกระดับและประกอบ อาชพี ไดในทกุ สาขาไมจ าํ กัดเฉพาะภาคเกษตร การประยุกตใชกับภาคธุรกิจและภาคเศรษฐกิจ อนื่ ๆ มีความสาํ คัญมาก เนอ่ื งจากแนวโนม สังคมไทยเปน สังคมเมืองมากขึ้น และการผลิตของภาค ธุรกจิ มสี ัดสว นสูงมาก หากภาคธุรกิจไมใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางแลว ยากท่ี จะเกดิ ความพอเพยี ง (ณัฏฐพงศ ทองภักด,ี 2550: 18) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําทางการบริหารธุรกิจ โดยไมปฏิเสธระบบ การตลาด แตเปนเคร่ืองช้ีนําการทํางานของกลไกตลาดใหมีเสถียรภาพดีข้ึน และไมขัดกับ

37 หลักการแสวงหากําไร จึงไมจําเปนตองลดกําไรหรือลดกําลังการผลิตลง แตการไดมาซึ่งกําไร ของธรุ กจิ ตอ งอยบู นพื้นฐานของการไมเอารัดเอาเปรยี บผูอ น่ื หรอื แสวงหาผลกําไรเกินควรจาก การเบียดเบียนประโยชนของสังคม ตลอดจนตองคํานึงถึงการใชทรัพยากรในธุรกิจอยาง ประหยัดและมีคุณภาพ ดังพระราชดํารัสเน่ืองในวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันท่ี 4 ธันวาคม 2550 ความวา (พิพัฒน ยอดพฤตกิ าร, 2551ก: 2) “ในเรอ่ื งเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ไมใชเพียงพอ ไมไดหมายความวา ใหทํากําไร เล็กๆ นอยๆเทาน้ันเอง ทํากําไรก็ทํา ถาเราทํากําไรไดดี มันก็ดี แตวาขอใหมันพอเพียง ถาทา นเอากําไรหนาเลือดมากเกินไป มนั ไมใชพอเพยี ง นกั เศรษฐกิจเขาวาพระเจาอยหู ัว นีค่ ิดอะไรแปลกๆ ก็แปลกสิ ขายไมใหไดก ําไร ซอ้ื อะไรไมขาดทุน เปนเศรษฐกิจพอเพียง คอื ไมตอ งหนาเลอื ด แลวไมใชจะมีกําไรมากเกินไป หรอื นอยเกนิ ไป ใหพอเพียง ไมใชเรื่องของ การคา เทาน้นั เอง เปนเรื่องของการพอเหมาะพอด”ี นอกจากนี้ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไมปฏิเสธการเปน หน้หี รือการกูยืมเงินเพ่ือการ ลงทนุ ในภาคธุรกิจ โดยยงั คงมุงสรา งประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสูงสดุ ในการผลิต เพือ่ ความกาวหนา ขององคกร แตเ นนการบรหิ ารความเสยี่ งตํ่า กลาวคือ การกูยืมเงินเพื่อลงทุน ทางธรุ กจิ จะตอ งมีการวเิ คราะหและประเมินความเสี่ยงที่จะกระทบตอธุรกิจ โดยคํานึงถึงหลัก ความคุมคาและกําหนดมาตรการรองรับความเสี่ยงที่ จะเกิดขึ้น (พิพัฒน ยอดพฤติการ, 2551: 1) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสงเสริมใหธุรกิจสามารถแขงขันไดอยางยั่งยืนใน ระยะยาวและสรางความพรอมสําหรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ธุรกิจที่ใชหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงจะแขงขันอยางพอประมาณตามศักยภาพของตนเอง โดยทําธุรกิจที่มีความ ชาํ นาญหรือสรางความรู เพือ่ พัฒนาตนเองใหม ีความสามารถในการแขง ขันท่ี ดีขึน้ ดังน้ัน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงไมสนับสนุนระบบเศรษฐกิจปดที่ไม เก่ียวของกับใครไมคาขาย ไมสงออก หรือหันหลังใหกับกระแสโลกาภิวัตน แตเปนปรัชญาที่ เนนการพัฒนาอยางเปนขั้นตอนบนรากฐานที่เขมแข็ง โดยองคกรธุรกิจตองรูเทาทัน ความสามารถของตนเอง ใชหลักตนเปนที่พึ่งของตนเองใหไดกอน จากน้ันจึงพัฒนาตนเอง

38 เพื่อใหธุรกิจมีคุณภาพและเขมแข็งข้ึน สามารถเปนท่ีพ่ึงแกผูอื่นได และนําไปสูสังคมที่มีการ เก้ือกูลซึ่งกันและกันไดในท่ีสุด (สุทิน ลี้ปยะชาติ, นริสา พิชัยวรุตมะและอาทิสุดา ณ นคร, 2550: 9) จากการรายงานของโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติประจําประเทศไทย เรื่อง “เศรษฐกจิ พอเพียงกับการพฒั นาคน” ในป 2550 ไดสนับสนุน การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใชในภาคธุรกิจวา เศรษฐกิจพอเพียงชวยยกระดับความรับผิดชอบตอสังคมของ บริษัท ดวยการสรางขอปฏิบัติในการทําธุรกิจที่เนนผลกําไรระยะยาวในบริบทที่มีการแขงขัน การบริหารธุรกิจใหเกิดกําไรในโลกทุกวันน้ี มีความซับซอนมากกวาการคิดถึงตนทุนและ ผลตอบแทน ธรุ กิจตอ งคํานงึ ถงึ ผมู ีสว นไดส วนเสียจากทกุ กลมุ ตงั้ แตน ายจางไปจนถึงลูกคาและ สังคมโดยรวม อยา งไรก็ตาม ธุรกจิ ยังตอ งตระหนักถึงความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดข้ึนไดตลอดเวลา ในสภาพแวดลอมที่มีการแขงขันสูงและมีการเปลี่ยนแปลงอยางผูนําธุรกิจกับการขับเคลื่อน เศรษฐกิจพอเพียงในองคกรรวดเร็ว (สุทิน ลี้ปยะชาติ, นริสา พิชัยวรุตมะ และอาทิสุดาณ นคร, 2550 : 8) จะเห็นไดวา แทจริงแลวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักการเก่ียวกับการ พัฒนาตนเอง เพ่ือเพิ่มความสามารถในการตอบสนองกิจการตางๆ รอบดาน โดยไม จํากัด เฉพาะภาคเกษตร องคกรท่ีตองการเติบโตไดอยา งยงั่ ยนื ทา มกลางกระแสโลกาภวิ ตั นจําเปนตอง นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช ซึ่งไมขัดกับหลักการแสวงหากําไร โดยอยูบน พ้นื ฐานของการไมเ อารัดเอาเปรยี บผอู ่นื และคาํ นงึ ถึงความเสีย่ งทจี่ ะกระทบตอธรุ กจิ เรื่องท่ี 4 คณุ ธรรมในการประกอบอาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การประกอบอาชีพของบุคคลทกุ คน ยอ มมุง หวังใหตนเองประสบความสําเร็จในอาชีพ หนาท่ีการงานท้ังน้ัน และแนวทาง วิธีการที่จะนําไปสูความสําเร็จ สามารถยึดเปนหลักการ แนวทางในการประกอบอาชีพไดท ุกอาชพี คือหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การประกอบอาชีพตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ควรยดึ หลกั ในการ ปฏิบัตติ น ดังนี้

39 1. ยดึ ความประหยัด ตัดทอนคา ใชจ ายในทุกดาน ลดละความฟมุ เฟอ ยในการดํารงชีวิต อยางจริงจัง ดังพระราชดํารัสวา “ความเปนอยูที่ตองไมฟุงเฟอ ตองประหยัดไปในทางท่ี ถูกตอ ง” ปฏิบตั ิไดดวยวิธจี ดบนั ทึกหรือทาํ บญั ชคี รวั เรือน 2. ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดวยความถูกตอง สุจรติ แมจะตกอยูในภาวะขาดแคลนใน การดํารงชีพก็ตาม ดังพระราชดํารัสท่ีวา “ความเจริญของคนท้ังหลายยอมเกิดมาจากการ ประพฤติชอบและการหาเล้ียงชีพของตนเปนหลักสาํ คญั ” 3. ละเลกิ การแกง แยงประโยชน และแขงขันกันในทางการคาขายประกอบอาชีพแบบ ตอสูกันอยางรุนแรงดังอดีต ซึ่งมีพระราชดํารัสเร่ืองน้ีวา “ความสุขความเจริญอันแทจริงน้ัน หมายถงึ ความสุข ความเจริญท่ีบุคคลแสวงหามาไดดวยความเปนธรรมท้ังในเจตนา และการ กระทํา ไมใชไดม าดวยความบงั เอิญ หรอื ดวยการแกง แยง เบียดบงั มาจากผอู ่ืน” 4. ใฝหาความรู ไมหยุดน่ิงท่ีจะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกขยากครั้งน้ี โดยตองขวนขวายใฝหาความรูใหเกิดมีรายไดเพิ่มพูนข้ึนจนถึงขั้นพอเพียงเปนเปาหมายสําคัญ พระราชดํารัสตอนหนึ่งที่ใหความชัดเจนวา “การที่ตองการใหทุกคนพยายามที่ จะหาความรู และสรางตนเองใหมั่นคงนี้เพื่อตนเอง เพ่ือที่จะใหตัวเองมีความเปนอยูที่กาวหนาท่ีมีความสุข พอมีพอกินเปนขัน้ หนึ่ง และข้นั ตอไป กค็ อื ใหมีเกยี รตวิ า ยนื ไดด ว ยตวั เอง” 5. ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลดละสิ่งยั่วกิเลสใหหมดสิ้นไป ท้ังนี้ดวยสังคมไทยท่ีลม สลายลงในครั้งนี้ เพราะยงั มบี ุคคลจํานวนมใิ ชนอยท่ีดําเนินการโดยปราศจากละอายตอแผนดิน พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวไดพระราชทานพระบรมราโชวาทวา “พยายามไมกอความช่ัวให เปนเครื่องทําลายตัวทําลายผูอื่น พยายามลด พยายามละความช่ัวท่ีตัวเองมีอยู พยายามกอ ความดีใหแกตัวอยูเสมอ พยายามรักษา และเพ่ิมพูนความดีท่ีมีอยูนั้นใหงอกงามสมบูรณขึ้น” ทรงยาํ้ เนนวาคําสําคัญท่ีสุด คือ คําวา “พอ” ตองสรางความพอที่สมเหตุสมผลใหกับตัวเองให ไดแ ละเราก็จะพบกับความสุข หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนาํ มาเปน แนวทางในการประกอบอาชีพได ทกุ อาชพี เชน อาชีพเกษตรกรรม อาชีพธุรกิจ ฯลฯ “เศรษฐกิจพอเพียงจริงๆ คือหลักการ ดําเนินชีวิตท่ีจริงแทที่สุด กรอบแนวคิดของหลักปรัชญามุงเนนความม่ันคงและความย่ังยืน ของการพัฒนา อันมีคุณลักษณะที่สําคัญ คือ สามารถประยุกตใชในทุกระดับ ตลอดจนให ความสําคัญกับคําวา ความพอเพียง ท่ีประกอบดวย ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล

40 มีภมู ิคมุ กนั ท่ดี ีในตัว ภายใตเ งื่อนไขของการตดั สินใจและการดําเนินกิจกรรมท่ีตองอาศัยเงื่อนไข ความรแู ละเงอ่ื นไขคุณธรรม” หรือทเี่ รยี กวา 3 หวง และ 2 เงื่อนไข ดงั นี้ ความพอประมาณ ไดแ ก เรยี บงา ย ประหยัด การทําอะไรท่ีพอเหมาะพอควร สมดุล กบั อัตภาพ ศักยภาพของตนและสภาวะแวดลอม ตามความสามารถของแตละคน พอประมาณ กับภมู ิสงั คม สง่ิ แวดลอม สถานการณ การทํางานทุกอยางตองเรียบงาย ประหยัด อยาทํางาน ใหย ุง ทาํ ใหงายตอการเขาใจ มีกําหนดการทํางานตามลําดับข้ันตอน และมีการปฏิบัติชัดเจน เชน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตองรูวานักศึกษาตองการอะไร ผูใชบัณฑิตตองการอะไร เพราะทุกกิจกรรม ทุกงานที่ทํามีตนทุนอยาทํางานทิ้งๆ ขวาง ๆ การทํางานตองมีประโยชน มผี ลผลิตที่เกดิ ขน้ึ ความมีเหตุผล คือ การคิด ฟง ปฏิบัติ การทํางานตองใชหลักความรูในการทํางาน วางแผนงานตองระมัดระวัง ตอ งใชห ลกั วิชาการชวยสนับสนุน อยาใชความรูสึกและอารมณใน การทํางาน ทุกคนมศี กั ยภาพในการทํางาน การพัฒนาตัวเองตองเกิดขึ้นจากภายในตัวเองของ แตละคน จงึ ตอ งแสดงศักยภาพออกมาใหได มรี ะบบภมู คิ ุมกนั ในตวั ท่ดี ี คอื ตอ งมีแผนกลยุทธ เชน เปนอาจารยตองมีแผนการสอน องคกรตองมีแผนกลยุทธ เปนตน การทํางานตองใหเกิดประโยชนสูงสุด ตองมองภาพรวม ทุกคนมสี ว นรวม คอื การประสานงาน และการบูรณาการปรับวิธีการทํางาน หนวยงานองคกร ตองมีธรรมาภิบาลเพอ่ื เปนการสรา งภูมคิ นุ กันภายในตวั มีความรู การเรียนรูเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทุกคนมักจะมองขามไป เม่ือคิดวาตนเองมี ความรูเพียงพอแลว แตในความเปนจริงแลว ทุกอาชีพยอมตองมีการเรียนรูอยางตอเนื่อง เพอ่ื เพมิ่ พนู ทักษะ เพ่อื แสวงหาความรูใหม ความรอบรเู ก่ียวกับวิชาการตาง ๆ ที่เก่ียวของอยาง รอบดา น ความรอบคอบทจ่ี ะนาํ ความรูเ หลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขน้ั ปฏิบตั ิ หรือแมแ ตใหตนเองมคี วามตระหนักที่จะลับความรู ของตนใหแ หลมคมอยูเสมอ เพื่อความกาวหนา ในหนาท่กี ารงาน มีคุณธรรม การประกอบอาชีพตองสัมพันธเกี่ยวของกับบุคคล สังคมและสิ่งแวดลอม อยางหลีกเล่ียงไมได เพื่อใหการประกอบอาชีพประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย ไดรับการ สนับสนนุ จากผูเกี่ยวขอ ง ผรู วมงาน และลกู คา ผปู ระกอบอาชีพตอ งมคี ณุ ธรรม ดงั นี้

41 - ความขยัน อดทน คือความต้ังใจเพียรพยายามทําหนาท่ีการงาน การประกอบอาชีพอยางตอเนื่อง สมํ่าเสมอ ความขยันตองปฏิบัติควบคูกับการใชสติปญญา แกปญ หาจนงานเกิดผลสาํ เรจ็ ผทู ่มี คี วามขยัน คอื ผทู ีต่ ้ังใจประกอบอาชีพอยางจริงจังตอเน่ือง ในเรอ่ื งที่ถูกท่คี วร มีความพยายามเปนคนสูงาน ไมทอถอย กลาเผชิญอุปสรรค รักงานท่ีทํา ตงั้ ใจทําหนาท่ีอยา งจรงิ จัง - ซือ่ สัตย คือการประพฤติตรง ไมเอนเอียง จริงใจไมมีเลหเหลี่ยมผูที่มีความ ซื่อสัตย คือผูท่ีประกอบอาชีพตรงไปตรงมา ไมคดโกง ไมเอาเปรียบผูบริโภค ไมใชวัตถุที่เปน อันตราย และคาํ นงึ ถงึ ผลกระทบกบั สภาพแวดลอ ม - ความอดทน คือ การรักษาสภาวะปกติของตนไวไมวาจะกระทบกระท่ัง ปญ หาอุปสรรคใด ผมู ีความอดทน ในการประกอบอาชีพ นอกจากจะอาศัยปญญาแลว ลว นตอง อาศยั ขันติ หรือความอดทนในการตอ สแู กไ ขปญหาตา งใหงานอาชีพบรรลุความสําเร็จดวยกัน ทงั้ ส้ิน - การแบงปน / การให คือการแบงปนส่ิงที่เรามี หรือส่ิงท่ีเราสามารถใหแก ผูอน่ื ไดแ ละเปน ประโยชนแ กผ ทู รี่ บั การใหผ ูอื่นทบี่ รสิ ทุ ธ์ิใจไมห วังสง่ิ ตอบแทนจะทําใหผูใหไดรับ ความสขุ ทีเ่ ปนความทรงจาํ ท่ียาวนาน การประกอบอาชีพโดยรูจ กั การแบง ปน หรือใหส ิ่งตาง ๆ ที่สามารถใหไดแกลูกคาและชุมชนของเรายอมไดรับการตอบสนองจากลูกคาในดานความ เชอื่ ถอื โครงการการประกอบอาชีพ สามารถนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการบริหาร จดั การไดจ ริง ดังจะเห็นไดวา เศรษฐกจิ พอเพียงไมไ ดท ําใหเราอยูรอดไปวันๆ เทานั้น แตจะทํา ใหเรามีความสุขอยางยั่งยืน และยังพัฒนาตนเองใหรํ่ารวยขึ้นไดดวย ซ่ึงเปนการร่ํารวยอยาง ยั่งยืนแบบพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง คือ การมีความพอประมาณ มีเหตุมีผล และมี ภูมิคุม กัน ในดานการบริหารธรุ กิจ เราก็ตอ งดูกอนวา เปาหมายธุรกิจของเราคืออะไร มีแผนการ อยางไร ในการดาํ เนนิ ตามแผน โดยทไี่ มใชจายมากเกินความจําเปน แตอะไรที่จําเปนเราก็ควร จะจาย อะไรที่ไมจําเปนเราตองลดรายจายสวนน้ันลง นี่ก็เปนการใชจายเงินดวยความ พอประมาณ นอกจากน้ัน เราก็ตองมีเหตุผลดวย บริหารธุรกิจอยางมีเหตุผลอะไรที่จําเปนหรือไม จําเปน ก็ตอ งพิจารณาใหดี ไมใ ชวาเห็นคนอนื่ ทําอะไรก็ทําตาม คนอ่ืนโปรโมชั่นพิเศษอ่ืนๆ ก็ทํา

42 ตามคนอื่นโฆษณาก็ทําตาม ซึ่งน่ีเปนการใชความรูสึกนึกคิดตัดสินปญหา ไมไดใชเหตุผลเลย ดังนั้นเราตองมีเหตุผลดวย ในการทําอะไรสักอยางก็ตองพิจารณาใหละเอียดถี่ถวนดูวา เหมาะสมกับธรุ กจิ ของเราหรอื ไม สมควรทําหรือไม และถา ทําเชน น้ันแลวจะเปนอยางไร เม่ือเรามีความพอประมาณ มีเหตุผลแลวก็ตองมีภูมิคุมกันดวย ธุรกิจของเราจะมี ภูมคิ ุมกันท่ีแข็งแรง จึงจะอยูรอดไดอยางย่ังยืนเพราะถาเราไมมีภูมิคุมกันในดานตางๆ เวลา เกิดปญหาอะไรขึ้นธุรกิจของเราก็จะออนแอลง กําไรลดลง กระแสเงินสดลดลง ถาถึงขั้น รายแรงอาจจะทําใหธุรกิจ จบลงไปเลยก็เปนได ตัวอยางเชน เรามีแผนธุรกิจและทุกอยาง เปน ไปตามแผน แตเรากย็ ังเตรยี มแผนสํารองไวด วย เผอ่ื เกดิ ความผิดพลาดหรือบางทีเราเห็นวา ธุรกิจของเรามีกระแสเงินสดที่ไหลเวียนดี แตเราก็ยังกันเงินบางสวนไว เผื่อเกิดปญหาดาน การเงินซ่ึงเราไมไ ดคาดคดิ ...ดังทก่ี ลาวมากเ็ ปนการสรางภูมิคุมกันใหกับธุรกิจของเราไดเชนกัน เศรษฐกิจพอเพียงจึงไมใชเพียงแคการปลูกพืช เลี้ยงสัตว หรือการใชชีวิตตามชนบทเทานั้น แตเ ราสามารถนําหลักเศรษฐกิจพอเพยี งมาบริหารธุรกจิ เพอื่ ใหธรุ กิจของเราอยูรอดและเติบโต อยา งย่งั ยนื ตลอดไป การทาํ งาน จึงตองยึดความพอเพียง ประกอบดวย ความมีเหตุผล ความพอประมาณ และระบบภูมิคุมกันในตัวท่ีดี มีกระบวนการพัฒนาที่ยึดคุณธรรม ความเพียร ความรอบรู ความซื่อสัตยสุจริตใหเขาจิตใตสํานึก การทํางานกับมนุษยตองใชหลักการ หลักวิชาการให สอดคลองกับภูมิสังคม คือภูมิประเทศและสิ่งแวดลอม ตองปรับกระบวนการทํางาน การบริหารจัดการ ตองคํานึงถึงผูมีสวนไดสวนเสีย การยอมรับจากเพื่อนรวมงานในองคกร เพื่อขับเคล่อื นการทาํ งานใหไปสูความสําเรจ็ เพอื่ ใหบ รรลวุ ัตถปุ ระสงคท ก่ี าํ หนดไว

43 บทท่ี 4 สรางเครอื ขา ยดําเนินชวี ติ แบบพอเพียง เร่อื งที่ 1 การสง เสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏบิ ัตติ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของบคุ คล ชมุ ชน ทป่ี ระสบผลสาํ เรจ็ การสงเสรมิ เผยแพร ขยายผลงานการปฏบิ ัติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของบุคคล ชุมชน ท่ีประสบผลสําเร็จนั้น มีหลายองคกร หลายหนวยงาน ท้ังภาครัฐ และ เอกชน ทดี่ าํ เนินการสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติของบุคคล ชุมชนที่นอมนําหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ไปเปนแนวทางในการ ดาํ เนินชีวิต และการแกไขปญ หาของชมุ ชน อาทิ เชน 1. สํานักงานทรพั ยสินสวนพระมหากษตั รยิ  2. สาํ นักงานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ 3. สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาํ ริ 4. มลู นิธชิ ยั พฒั นา 5. มลู นธิ ปิ ระเทศไทยใสสะอาด 6. มูลนธิ สิ ยามกัมมาจล (ธนาคารไทยพาณิชย) 7. กระทรวงศึกษาธกิ าร 8. สาํ นักนายกรฐั มนตรี (ชมุ ชนพอเพยี ง) ศนู ยเครือขายศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนฯลฯ นอกจากนี้ยังมีองคกรอิสระท่ีดําเนินการสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบุคคล ชุมชน ที่ประสบผลสําเร็จ ไดแก สถาบัน เศรษฐกิจพอเพียง ที่ไดระดมความรวมมือจากทุกฝายในการขับเคลื่อน การแกวิกฤตชาติ โดยการนอมนําศาสตรของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มาสูการปฏิบัติ จัดต้ังขึ้นจากการ ประชุมหารือกัน ณ โครงการสวนพระองคสวนจิตรลดาของ 4 องคกร ไดแก โครงการสวน พระองคสวนจิตรลดา โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จ

44 พระเทพรัตนราชสดุ า สยามบรมราชกุมารี โครงการสง เสริมกสกิ รรมไรสารพษิ และมูลนิธิกสิกร รมธรรมชาติ เมอ่ื วันที่ 23 ธนั วาคม 2545 การดําเนินงานทีผ่ านมา สถาบนั ฯ ไดเปนศนู ยก ลางในการสรางเครือขายขยายผลใหมี การเรียนรู การฝกอบรม ไปสูการปฏิบัติและการดํารงชีวิตของประชาชนบนพ้ืนฐานเศรษฐกิจ พอเพยี ง โดยมีผลงานดา นตา งๆทผี่ านมาดังน้ี • งานจัดตัง้ และพฒั นาศูนยฝ ก อบรม โดยสามารถจัดตั้งศูนยฝกอบรมภายใตเครือขาย เศรษฐกจิ พอเพียงไดกวา 120 ศูนยฝก อบรมทว่ั ประเทศ • งานฝก อบรม ณ ศูนยฝกอบรมเครือขายเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดทีมวิทยากร เพ่ือฝก อบรมนอกสถานที่ใหกบั หนวยงานตา งๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถงึ ประชาชนทว่ั ไป • งานเผยแพร ประชาสัมพันธ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตรอ่ืนๆของ พระราชาในการแกวิกฤตของประเทศ ผานสื่อตางๆ อาทิเชน ส่ือโทรทัศน รายการคนหวง แผนดิน รายการจารึกไวในแผนดิน รายการเวทีชาวบาน รายการคนละไมคนละมือ รายการ 108 มหัศจรรยพ อเพียง รายการทําดีใหพอดู รายการคนพอเพียง รายการคลินิกเถาแก ละคร เรอ่ื งหัวใจแผนดิน และอ่ืนๆอีกมากมายส่ือสิ่งพิมพ บทความหนังสือพิมพคมชัดลึก “พอแลว รวย” ทุกวนั เสาร หนงั สือ/แผนพับ เผยแพรองคความรูและการดําเนินงานของเครือขายอยาง ตอเน่ือง ส่ืออ่ืนๆ เส้ือ สติกเกอร วีซีดี กระเปา และผลิตภัณฑตางๆ ท่ีผลิตข้ึนเองภายใน เครือขาย • กิจกรรมเพื่อเผยแพรหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและดึงแนวรวมการ ขับเคลอ่ื นสรู ูปธรรมการปฏิบัติจริงในรูปแบบเบญจภาคี - งานมหกรรมคนื ชีวิตใหแ ผน ดินในเดอื น มีนาคม ของทุกป - งานมหกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในการอนุรักษทรัพยากรที่รวมกับโครงการอนุรักษ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทุกๆ 2 ป - งานกิจกรรมฟนฟูลุมนํ้าและทะเลไทย เพื่อฟนฟูปาตนนํ้า กลางนํ้า ปลายน้ํา และ ทองทะเลตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว ฟนฟูสัมมาชีพใหเต็มแผนดิน ตงั้ แตภูผาสมู หานที ใหค รอบคลุม 25 ลุมนํ้าทั่วประเทศ โดยไดดําเนินงานไปแลวในลุมน้ําภาคใต ภาคตะวนั ออก และภาคกลาง

45 • การสถาปนามหาวิชชาลัยเพื่อพอ ในการฟนฟูปฐพีไทยดวยศาสตรของพระราชา ดว ยความรว มมอื ของเบญจภาคี โดยมีการจดั ต้ัง โพธิวิชชาลัย ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ. สระแกว ในป 2550 และมีเปาหมายในการจัดต้ัง โพธิวิชชาลัย ณ สถานที่อื่นๆทั่วประเทศ เพื่อเปน ที่รวมและถา ยทอด องคความรูศาสตรข องพระราชา ใหเ ต็มแผนดิน และนอกจากนี้ยังมีเว็บไซต ท่ีสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เชน 1. http://www.chaipat.or.th/ 2. http://www.rdpb.go.th/RDPB/front/king.aspx 3. http://longlivetheking.kpmax.com/ 4. http://www.sufficiencyeconomy.org/ 5. http://www.nesdb.go.th/ ตัวอยางบุคคล ชุมชน ท่ปี ระสบผลสําเร็จและไดรับการเผยแพร ผลงานการปฏิบัติตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. บคุ คลทปี่ ระสบผลสาํ เร็จและไดร ับการเผยแพร ผลงานการปฏิบตั ติ ามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คณุ สมบูรณ ศรีสบุ ตั ิ เจา ของ“สวนลงุ นิล”ซึ่งเปน “ศูนยก สกิ รรมธรรมชาตพิ ืชคอนโด 9 ชน้ั ” ชาวบา นแหง บานทอนอม หมทู ี่ 6 ตาํ บลชอ งไมแ กว อาํ เภอทุง ตะโก จังหวัดชุมพร และ เกษตรกรสวนใหญใ นจงั หวัดชุมพรคงเคยไดยินช่ือบุคคลผนู ท้ี ไ่ี ดรบั การยอมรับจากหลาย หนวยงานวา เปนเกษตรกรตัวอยาง ทมี่ ีชวี ิตนา สนใจเปน อยา งมาก เพราะบคุ คลผูน ม้ี คี วามรูแคชั้น ประถมปท ่ี 4 เคยมอี าชพี เปนชางตดั เสอื้ เปนเจา ของรานอาหาร 9 แหง และเคยเปนเจาของ สวนทเุ รยี นที่ประสบปญ หาจนมีหนสี้ ินกวา 2 ลา นบาท แตสามารถเปลีย่ นชีวิตของตนดวยการ ยดึ หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง และการทาํ เกษตรทฤษฎใี หม ตามแนวพระราชดําริพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั จนสามารถปลดหน้ี และกลายเปนผทู ีม่ ีรายไดปล ะนับลานบาท เกษตรกรตวั อยา งที่ไมย อมแพตอโชคชะตาชีวิต โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดาํ ริพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัวจนสามารถปลดหน้ปี ลดสิน และยืนอยูไดดวยลําแขง ตนเอง และยงั พรอ มแบงปน สิง่ ทตี่ นไดร บั จาก\"การเดนิ ตามรอยพอ \" ใหหลายคนที่อาจจะยังมอง หาหนทางไมเ จออยใู นขณะนด้ี ว ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook