Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 ตลาดและการวางแผนผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร

หน่วยที่ 2 ตลาดและการวางแผนผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร

Published by วราลักษณ์ สุขศรี, 2019-06-13 23:02:51

Description: ผลิตภัณฑ์สมุนไพร

Search

Read the Text Version

วิชาผลิตภณั ฑ์สมนุ ไพร หน่วยที่ 1 เร่อื ง ตลาดและการวางแผนผลติ ผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพร วราลกั ษณ์ สขุ ศรี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

เครอ่ื งสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพร ปัจจบุ นั วิวัฒนาการของเทคโนโลยตี า่ งๆประกอบกบั การศึกษาวิจยั ของมนุษยท์ าใหเ้ กิดผลิตภณั ฑท์ ่ี ตอบสนองความต้องการของผู้คนเพื่อความสวยงาม บุคลกิ ภาพและสขุ ภาพในนยิ ามของคาว่า เคร่ืองสาอาง แตใ่ นปัจจุบนั ผลติ ภัณฑ์เป็นสว่ นหน่ึงท่สี รา้ งปัญหาให้กบั ผูบ้ รโิ ภคและการกากับดูแลของภาครัฐมากพอ สมควรโดยอาศัยกลยทุ ธข์ องการเป็นเคร่ืองสาอาง หลีกเลย่ี งการเปน็ ยา ทจ่ี ะถูกควบคุมกากบั อยา่ ง เขม้ งวด มีการใชส้ ่วนผสมใหมๆ่ อ้างสรรพคุณของผลติ ภณั ฑ์ การใหข้ อ้ มลู ผลติ ภณั ฑท์ ง้ั เรอ่ื งของฉลาก และโฆษณาก้าวลว่ งไปในความเปน็ ยา ทาใหผ้ ู้บรโิ ภคคาดหวงั ในสรรพคุณทเี่ กนิ ความเปน็ จริง มองข้าม หลกั ความปลอดภยั ผลทีไ่ ดร้ ับคือผลกระทบจากผลิตภณั ฑท์ ี่มีสารท่ีไม่ปลอดภยั ในการใช้ ปัญหาเหลา่ น้ีนบั วนั ยง่ิ ทวคี วาม รนุ แรงมากยงิ่ ขน้ึ ดังน้ันจึงควรหันมาใส่ใจกับผลติ ภัณฑท์ ี่ทามาจากธรรมชาตมิ ากข้ึน โดยเครื่องสาอางมี หลายชนดิ และสามารถแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ เวชสาอาง ได้แกเ่ ครอ่ื งสาอางเพอื่ การรกั ษา และบารุง และเคร่ืองสาอางทั่วไปซ่ึงใช้เปน็ เครื่องสาอางเพื่อปรุงแตง่ ความงาม นอกจากน้หี ากอาศัย เกณฑข์ องกระทรวง อตุ สาหกรรมก็จะสามารถแบง่ เครื่องสาอางออกได้เป็น 6 ประเภท ได้แก่ เครื่องสาอางสาหรบั ผม เครื่องสาอางแอโรซอล เครอื่ งสาอางสาหรับใบหน้า เครอื่ งสาอางสาหรับลาตัว เคร่ืองหอม และเบ็ดเตล็ด แต่หากแบ่งตามเกณฑ์ของคณะกรรมการอาหารและยาจะแบ่งไดเ้ ป็น เคร่ืองสาอางควบคมุ พเิ ศษ เคร่อื งสาอางควบคมุ และเครื่องสาอางทวั่ ไป ดังน้ันปจั จุบันเราจึงควรหันมาสนใจกับเครื่องสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพรมากยิง่ ขน้ึ เพ่อื ความ สวยงามและมีสขุ ภาพทดี่ คี วบคูก่ นั ไป โดยมสี มุนไพรหลายชนดิ ในปจั จบุ ันท่ีนยิ มใชเ้ ปน็ สว่ นผสมของ เคร่ืองสาอาง และไดร้ ับความ นิยมอย่างดเี นื่องจากผู้ใช้มัน่ ใจวา่ ปลอดภัยมากกว่าการใช้สารเคมี ได้แก่ วา่ นหางจรเข้ อัญชนั มะคาดีควาย เปลือกมงั คดุ เป็นต้น โดยนามาใชเ้ ป็นสว่ นผสมของแชมพู ครมี นวด ผม สบู่ โลช่นั บารงุ ผวิ เปน็ ต้น รายละเอียดทางด้านการตลาดทง้ั ภายในประเทศและตา่ งประเทศ ปญั หา อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะในการ ประกอบกิจการ รวมทง้ั นโยบายรัฐบาลทีใ่ หก้ ารสนบั สนุนและใหค้ าปรึกษาในการลงทุนในอุตสาหกรรม เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพร มดี ังตอ่ ไปนี้ เคร่อื งสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพร หนา้ 1 จาก 16

ปัจจุบันผู้ประกอบการภายในประเทศไทยในอุตสาหกรรมเคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพร มี จานวนทง้ั สนิ้ 131 ราย แบ่งเปน็ ผูป้ ระกอบการรายใหญจ่ านวน 4 ราย ผปู้ ระกอบการขนาดกลางจานวน 49 ราย และผู้ประกอบการขนาดเลก็ จานวน 78 ราย (ข้อมลู จากกรมโรงงาน ณ. เดือนมีนาคม 2545) และ ผูป้ ระกอบการระดบั ท้องถน่ิ ในโครงการหน่ึงตาบล หนึ่งผลติ ภณั ฑ์จานวน 125 ราย (ข้อมลู จาก WWW.THAITAMBON.COM) สว่ นผูน้ าเขา้ ในอตุ สาหกรรมเครื่องสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพรมี จานวน 281 ราย และผสู้ ่งออกในอุตสาหกรรมเครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรมีจานวน 442 ราย ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมเคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรเป็นผูป้ ระกอบการทีอ่ ยู่ภายใน เขตความรับผิดชอบของศูนยส์ ่งเสริมอตุ สาหกรรมภาคท่ี 9 จานวนทง้ั สนิ้ 1 ราย โดยเป็นผปู้ ระกอบการ ขนาดเล็ก และผปู้ ระกอบการระดบั ท้องถน่ิ ในโครงการหนงึ่ ตาบลหนึ่งผลิตภัณฑจ์ านวน 9 ราย ผผู้ ลติ และผนู้ าตลาดผลิตภัณฑ์เครอ่ื งสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรของไทยนน้ั ได้แก่ บรษิ ทั อิมพี เรยี ล อนิ ดสั เตรียล เคมีคลั ส์ (ประเทศไทย) จากดั จังหวดั ปทุมธานี มีทุนจดทะเบยี น 127,500,000 บาท บริษทั อินซ์เคปแมนูแฟคเจอริง่ จากัด จังหวัดปทุมธานี มีทุนจดทะเบียน 119,000,000 บาท บริษัท นีโอ คอสเมด จากัด จังหวัดปทมุ ธานี มที นุ จดทะเบียน 75,491,000 บาท บรษิ ัท อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอรา ทอรีส์ จากัด จังหวัดกรงุ เทพมหานคร มที ุนจดทะเบียน 75,000,000 บาท และ บริษทั แมนดอมคอร์ ปอเรชัน่ จากดั จงั หวัดปทุมธานี มที ุนจดทะเบียน 72,000,000 บาท ส่วนผูน้ าตลาดเคร่ืองสาอางจาก ธรรมชาติและสมุนไพรท่ีอยู่ในเขตศูนยส์ ง่ เสริมอุตสาหกรรมภาคท่ี 9 คือ บรษิ ัท อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอราทอรีส์ จากัด จงั หวัดสมุทรปราการ มที นุ จดทะเบียน 174,241,000 บาท บริษทั เค.เอ็ม.อินเตอร์ แล็บ จากดั จงั หวัดสมุทรปราการ มีทุนจดทะเบยี น 137,600,000 บาท และบรษิ ทั เอก็ ซต์ ร้า ฟารม์ าซูติ คอล จากดั จากัด จังหวัดสมทุ รปราการ มที นุ จดทะเบยี น 53,500,000 บาท มรี ายละเอียดผูป้ ระกอบการที่ สาคญั ๆดังตอ่ ไปนี้ รายช่อื ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรทส่ี าคญั ของประเทศไทย รายชือ่ ผปู้ ระกอบการ สถานทต่ี ้ัง เงินทุนจดทะเบียน (บาท) บริษัท อนิ เตอร์เนช่ันแนล แลบบอราทอรสี ์ จากดั สมทุ รปราการ 174,241,000 บริษัท เค.เอม็ .อินเตอรแ์ ล็บ จากัด สมทุ รปราการ 137,600,000 บรษิ ัท อิมพีเรียล อินดสั เตรียล เคมคี ลั ส์ (ประเทศไทย) จากัด ปทมุ ธานี 127,500,000 เครื่องสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพร หนา้ 2 จาก 16

บรษิ ทั อนิ ซ์เคปแมนูแฟคเจอริ่ง จากัด ปทมุ ธานี 119,000,000 บริษทั นีโอคอสเมด จากัด ปทมุ ธานี 75,491,000 บรษิ ัท อนิ เตอร์เนชนั่ แนล แลบบอราทอรสี ์ จากัด กรงุ เทพมหานคร 75,000,000 บริษัท แมนดอมคอร์ปอเรช่นั จากดั ปทมุ ธานี 72,000,000 บรษิ ัท ควีนแนทเจอรลั โปรดัคส์ จากดั กรุงเทพมหานคร 68,000,000 บรษิ ทั นวศรีแมนูแฟคเจอรง่ิ จากัด ปทุมธานี 56,454,049 บริษัท เอ็กซต์ รา้ ฟาร์มาซตู ิคอล จากัด สมุทรปราการ 53,500,000 บรษิ ัท เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชัน่ แนล เอนเตอร์ไพรส์ จากดั (มหาชน) ชลบรุ ี 49,540,000 บรษิ ทั ควอ็ ลลติ ี้ แล็บ จากัด กรงุ เทพมหานคร 49,000,000 บริษทั ไทยเฮเลยี จากัด สมทุ รปราการ 45,000,000 บริษัท ไมลอทท์แลบบอราทอรีส์ จากัด สมุทรปราการ 45,000,000 บริษทั เบตเตอร์ มารเ์ ก็ตติ่ง จากัด สมทุ รสาคร 43,500,000 บรษิ ัท ยูไนเต็ด แฟต แอนด์ ออยล์ จากัด กรงุ เทพมหานคร 40,700,000 บรษิ ัท ยามาฮัทส(ึ ประเทศไทย) จากดั ชลบุรี 40,000,000 บริษทั องั กฤษตรางู (แอลพ)ี จากดั สมทุ รปราการ 35,322,053 บริษทั กรีนสวิลล์ จากดั กรงุ เทพมหานคร 33,500,000 ทม่ี า : กรมทะเบยี นโรงงานอุตสาหกรรม, 2545 ตารางแสดงรายชือ่ ผู้นาเข้าท่ีสาคัญในผลติ ภณั ฑเ์ คร่อื งสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรของประเทไทย ราบช่ือผนู้ าเข้าทสี่ าคัญ สถานทต่ี ้ัง บ. รชิ ารด์ สนั -วิคส์ จากดั 75 ซ.แสงจนั ทร-์ รูเบีย สขุ ุมวทิ 42 ถ.สขุ มุ วิท แขวงพระโขนง เขตพระโขนง กรุงเทพฯ บ. จอหน์ สัน แอนด์ จอห์นสัน (ไทย) จากดั 106 หมู่ 4 การนคิ มอตุ สาหกรรมลาดกระบงั ถ.ฉลองกรงุ แขวงลาปลาทวิ เขตลาดกระบงั กรงุ เทพฯ บ. ยูนลิ ีเวอร์ ไทย โฮลดิ้ง จากดั 411 ถ.ศรีนครนิ ทร์ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ บ. แอมเวย์ (ประเทศไทย) จากัด 52/183 ถ.รามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ บ. ไลอ้อน(ประเทศไทย) จากดั 666 ถ.พระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ บ. สตเี ฟล ลาบอราทอร่ี (ไทยแลนด)์ จากดั 408/143 อาคารพหลโยธนิ เพลส ช้นั 33 แขวงสามเสนใน เขตพญาไทย กรุงเทพฯ บรษิ ัท แมนดอมคอรป์ อเรช่ัน จากัด 408/143 อาคารพหลโยธินเพลส ชนั้ 33 แขวงสามเสนใน เขตพญาไทย กรุงเทพฯ บ. พรอดเตอรแ์ อนด์แกมเบลิ แมนแู ฟคเจอรงิ่ (ประเทศไทย) จากดั 112 หมู่ 5 ต.บางสมัคร อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา บ. คาโอ อินตัสเตรยี ล(ประเทศไทย) จากัด 38 หมู่ 8 ถ.ปู่เจา้ สมิงพราย ต.สาโรงใต้ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ บ. เอริ ธ์ แคร์ จากดั 1693 ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ บ. โคเช่ (ประเทศไทย) จากดั 139 ถ.ปัน้ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพ ทีม่ า : กรมเศรษฐกจิ การพาณิชย์, 2545 เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพร หนา้ 3 จาก 16

ตารางแสดงรายชือ่ ผู้สง่ ออกทสี่ าคญั ในผลิตภัณฑ์เครอ่ื งสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพรของประเทศไทย ราบช่อื ผูส้ ่งออกทส่ี าคัญ สถานท่ีตั้ง บ. พรอดเตอร์แอนดแ์ กมเบลิ แมนูแฟคเจอริง่ (ประเทศไทย) จากดั 112 หมู่ 5 ต.บางสมัคร อ.บางปะกง จ.ฉะเชงิ เทรา บ. ไทยเฮเลยี จากัด 163 หมู่ 17 ถ.บางนา-ตราด ต.บางเสาธง ก่ิงอาเภอบางเสาธง จ.สมทุ รปราการ บ. ยูนิลเี วอร์ ไทย โฮลดิง้ จากดั 411 ถ.ศรนี ครินทร์ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ บ. อัลฟา่ เอ็ก-ซมิ เทรดดิ้ง จากดั 1549/19-20 ถ.จรัญสนิทวงศ์ แขวงบางออ้ เขตบางพลัด กรงุ เทพฯ บ. จฬุ าอตุ สาหกรรม จากดั 548 ซ.มาตานสุ รณ์ ถ.มไหสวรรย์ แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ บ. คอลเกต-ปาล์มโอลีฟ (ประเทศไทย) จากัด 19 ซ.แยกถนน ณ ระนอง แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ บ. จอหน์ สัน แอนด์ จอหน์ สนั (ไทย) จากัด 106 หมู่ 4 การนิคมอตุ สาหกรรมลาดกระบงั ถ.ฉลองกรุง แขวงลาปลาทวิ เขตลาดกระบัง กรงุ เทพฯ บ. ว.ี เอส.พี.เคมีคอล แอนด์ แล็บ จากดั 386/17 ซ.เฉลมิ สขุ ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ บ. ไลออ้ น(ประเทศไทย) จากัด 666 ถ.พระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ บ. ไมลอทท์ แลบบราทอรสี ์ จากัด 84/55 หมู่ 11 ซ.ธนสิทธิ์ ถ .เทพารกั ษ์ ต.บางปลา ต.บางพลี จ.สมทุ รปราการ ท่มี า : กรมเศรษฐกจิ การพาณิชย์, 2545 ภาวะตลาดภายในประเทศ กระแสอนุรักษ์ธรรมชาติที่เป็นไปอย่างต่อเนื่องในปัจจบุ ัน ได้ส่งผลใหผ้ ู้คนเร่มิ ทีจ่ ะหันมาเอาใจใส่กบั สภาวะแวดล้อมรอบๆตัวกนั มากขนึ้ ในขณะเดียวกนั ก็เร่มิ หันมาให้ความสนใจกบั สุขภาพของตนเอง มากข้ึนด้วยเช่นกัน จึงทาให้การตัดสนิ ใจในการเลือกซอ้ื หาสินคา้ มาใชข้ องผูค้ นเรม่ิ เปล่ียนไปจากเดมิ คือ นอกจากจะพจิ ารณาจากปัจจัยทางดา้ นคุณภาพและราคาสนิ คา้ แลว้ ปจั จุบันยงั พิจารณาถึงผลกระทบ ของ สนิ คา้ นน้ั ๆต่อสภาวะแวดล้อมอกี ด้วย ซง่ึ ก็ทาใหส้ ินค้าทีม่ แี นวคดิ เกีย่ วกับการอนุรักษส์ ภาวะ แวดล้อม (Green Marketing) ขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในชว่ ง 2-3 ปที ผ่ี ่านมาน้ี และหนง่ึ ในสนิ ค้าทมี่ ีแนวคิดในการอนรุ กั ษท์ ่เี รากาลงั จะพดู ถึง กค็ อื เครื่องสาอางจากสารสกดั ธรรมชาติ ซึง่ ปัจจบุ นั ได้ขยายตวั อย่างรวดเร็วทั้งทางดา้ นผปู้ ระกอบการและจานวนผ้บู รโิ ภค ส่งผลใหเ้ ครื่องสาอาง จากสารสกดั ธรรมชาติเป็นอีกสว่ นหนึง่ ของตลาดความงามทน่ี า่ สนใจ ปัจจุบันมีบริษัทผผู้ ลติ และจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ เพื่อสขุ ภาพมากมายหลายชนดิ ตัง้ แต่ ผลติ ภณั ฑ์อาหาร, ผลติ ภัณฑเ์ สริมอาหาร, ผลติ ภัณฑ์เครื่องสาอางท้ังจากธรรมชาติและอนื่ ๆ, ผลติ ภณั ฑย์ าจากสมุนไพร และสมุนไพรเดีย่ ว ท้งั ในรปู ของวัตถดุ ิบและ ผลติ ภัณฑ์สาเรจ็ รูปพร้อมรับประทาน และใชป้ ระโยชน์ใน การบริโภค ซง่ึ การใช้สมุนไพรในธรุ กิจต่างๆ ทง้ั ในลกั ษณะของยา อาหารเสริมสุขภาพ เครือ่ งสาอาง เครอื่ งสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร หนา้ 4 จาก 16

สมุนไพร นวดและอบตวั ด้วยสมุนไพร ไปจนถงึ การรับประทานชาสมนุ ไพรเพื่อสขุ ภาพมีการพฒั นา อยา่ งรวดเร็ว ซง่ึ ธุรกจิ ท่ีเกี่ยวข้องกบั สมนุ ไพรเหลา่ นี้เป็นธุรกจิ ทีส่ ร้างรายได้อย่างมาก อีกทั้งยังเปน็ ธรุ กิจ ท่ใี ช้เทคโนโลยีทไ่ี ม่สงู มาก ผปู้ ระกอบการรายใหมๆ่ มโี อกาสเข้าตลาดได้ และมีโอกาสเตบิ โตได้อกี มาก ทั้งนจี้ ะเห็นได้จากการที่ตลาดผลิตภัณฑส์ มนุ ไพรในประเทศขยายตวั ปลี ะไม่ต่ากวา่ รอ้ ยละ 20-30 เนอ่ื งจากความนยิ มในการบริโภคและใชส้ มุนไพรไทย และมูลค่าตลาดรวมในประเทศของผลิตภัณฑ์ สมุนไพรในปี 2544 จะมีมลู ค่าสูงถึงเกอื บ 30,000 ลา้ นบาท และมอี ตั ราการขยายตัวร้อยละ 30 มูลคา่ ตลาดรวมผลิตภณั ฑ์สมนุ ไพรในประเทศเตบิ โตในลักษณะกา้ วกระโดด(ศูนย์วจิ ยั กสกิ รไทย, 2545) เน่ืองจากความนิยมผลิตภัณฑส์ มนุ ไพรเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนื่อง เพราะ สอดรับกบั กระแสนยิ มผลิตภัณฑ์องิ ธรรมชาตทิ ่ีเปน็ กระแสทีก่ าลังมาแรง ซงึ่ นับว่าเปน็ การขยายตวั ท่สี วนทางกับภาวะเศรษฐกจิ ทย่ี ังคงซบ เซา โดยเคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรสามารถแบ่งออกเป็นกลมุ่ สินค้าต่างๆได้ดงั นี้ 1. ผลติ ภัณฑเ์ ครอ่ื งสาอาง และเวชสาอางจาก สารสกดั จากธรรมชาติ  แชมพูสมนุ ไพร - ว่านหางจระเข้ ,ว่านประคาดีควาย, ดอกอญั ชนั , มะกรูด  สบเู่ หลว - สารสกดั จากวา่ นหางจระเข้ ,ดอกไม้รวม, สารสกัดเปลอื กมงั คดุ  สบู่ก้อน - สารสกัดเปลือกมังคดุ , สารสกัดจากวา่ นหางจระเข้, สารสกดั จากใบบัวบก, สารสกัดจาก เนื้อมะขาม, สารสกดั จากขมน้ิ ชนั 2. เวชสาอางจากสมนุ ไพร  เวชสาอางครมี จากสมุนไพร รวม สารสกัดจากมะขาม, ใบบวั บก, ขมนิ้ ชัน และ สารสกัดจาก สมุนไพรอน่ื ๆ จากต่างประเทศ สาหรบั สวิ ฝ้า กระ รอยด่างดาบนใบหน้า ( ไดผ้ ลภายใน 7-15 วนั แล้วแต่พ้ืนฐานของผิวหนา้ )  ครมี โฟม ล้างหน้า จากสารสกัดจากสมุนไพร สาหรับกาจัด เซลล์และส่ิงสกปรกท่ตี กคา้ งอยบู่ น ผิวหนงั และ ฆา่ เช้ือแบคทีเรียที่เป็นสาเหตขุ องสวิ  โคน พอกหนา้ เพ่ือฟนื้ ฟสู ภาพผวิ ให้สดชนื่ และ ความสดใสแกเ่ ซลลผ์ วิ พรรณใหม่ๆ ให้มสี ุขภาพ ดี  มาส์คผ้าสาลี ชมุ่ ด้วย สารสกดั จากสมนุ ไพร และ สารสกดั จาก แตงกวา และ สารสกัดจากสมนุ ของตา่ งประเทศกว่า 5 ชนิด สาหรับฟน้ื ฟู้สภาพผิว และ ปรับสภาพผิวพรรณใหด้ สู ดใสภายใน 15 นาที เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร หน้า 5 จาก 16

ตลาดภายในประเทศในสนิ ค้าเคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรที่มกี ารนาเขา้ มีมูลค่าเท่ากับ 2,534.79 และ 3,439.74 ล้านบาท ในปพี .ศ. 2543และ2544 ตามลาดบั และมกี ารนาเขา้ สนิ ค้าเคร่ืองสาอาง จากธรรมชาติและสมนุ ไพรจากประเทศต่างๆท่ีสาคัญไดแ้ ก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฝรัง่ เศส จนี และ สหราชอาณาจักรเป็นต้น การนาเขา้ เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรจากต่างประเทศเพ่ือ นามาใชบ้ ริโภคภายในประเทศมีแนวโนม้ เพิ่มขึ้น โดยมีอตั ราการขยายตัวเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งต่อเนอ่ื งจากปีพ.ศ. 2543 และ 2544 ซึ่งมอี ัตราการขยายตวั ของการนาเขา้ เครื่องสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพรเท่ากับร้อย ละ 36.68 และ 35.70 ตามลาดบั ดงั นั้นจึงควรมีการสง่ เสริมใหม้ ีการผลิตเพ่ือทดแทนการนาเข้า เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรที่ขยายตวั เพ่มิ ข้ึนอย่างต่อเน่ืองทุกปี และควรรณรงคใ์ หค้ นไทย บรโิ ภคสินคา้ ภายในประเทศเพอ่ื ลดการสญู เสยี เงินตราออกนอกประเทศ ชอ่ งทางจัดจาหน่ายเครอ่ื งสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรภายในประเทศนั้นสว่ นใหญ่มชี ่องทาง การ จดั จาหน่ายได้ดงั นี้ 1. กลุ่มท่ีจาหนา่ ยโดยการตั้งเคาน์เตอร์ในห้างสรรพสนิ ค้า ซงึ่ ตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายในการเช่าพ้นื ทีแ่ ละผูผ้ ลติ จะตอ้ งจัดหาพนกั งานขายที่มีบคุ ลกิ ดี มคี วามสามารถในการโนม้ นา้ วจิตใจและฝึกอบรบให้มีความรู้ เก่ียวกับเคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรชนดิ น้ันๆ โดยเฉพาะทเ่ี รยี กวา่ B.A. (Beauty Advisor) เพอ่ื ประจาอยู่ ณ.จดุ ขายและเป็นผู้คอยแนะนาและบริการลกู คา้ โดยภาพรวมกลมุ่ น้จี ะเปน็ กลมุ่ เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรทีม่ รี าคาสงู เป็นย่ีห้อนาเข้าจากตา่ งประเทศและมภี าพลักษณ์ท่ี เป็นสากล เนน้ ความเชือ่ ถอื ในตัวสินคา้ 2. กล่มุ ทจ่ี าหน่ายโดยการต้ังรา้ นของตนเองโดยเฉพาะ โดยร้านค้าเหล่าน้ีส่วนใหญม่ ักอยูใ่ น ห้างสรรพสนิ คา้ กล่มุ นจี้ ะเปน็ เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรท่มี รี าคารองลงมาจากกลมุ่ แรกมี ท้งั ยหี่ ้อตา่ งประเทศและของไทย 3. กลมุ่ ทล่ี กู ค้าเลือกซือ้ เองตามซุปเปอร์มาร์เก็ต เปน็ ชอ่ งทางการจาหน่ายทเ่ี ล็ก มุง่ เน้นตลาดระดบั ล่าง เป็นหลกั สินค้ามรี าคาไม่สงู นัก ผบู้ ริโภคสามารถเลือกเองโดยการอา่ นคณุ สมบัติและวธิ ีการใช้จาก บรรจุภัณฑ์ 4. กลุ่มท่ใี ช้วิธีขายตรงโดยผ่านพนกั งานขาย โดยเคร่ืองสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพรในกลมุ่ นี้มี ภาพลกั ษณไ์ ม่สูงมากโดยมที ัง้ เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรจากตา่ งประเทศและ ภายในประเทศ การจดั จาหน่ายวธิ ีน้ีเปน็ วิธีท่ีผขู้ ายสามารถเขา้ ถึงลกู คา้ อยา่ งใกล้ชิด ทาให้สามารถบรกิ าร ลูกค้าได้อย่างเตม็ ท่โี ดยไมม่ ีสินคา้ ของคแู่ ข่งมาเปรียบเทยี บ เครื่องสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพร หนา้ 6 จาก 16

ดังนัน้ ผูผ้ ลติ เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรของไทยตา่ งพยายามคิดคน้ พฒั นาผลิตภัณฑ์ใหมๆ่ เพ่อื ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคท่ีเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา นอกจากนกี้ ารพฒั นาผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆท่ีอา้ งวา่ มคี ณุ สมบัติต่างจากเดมิ นั้น จะทาให้สามารถขยายตลาดเคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและ สมุนไพรใหใ้ หญข่ ึ้น เน่ืองจากเป็นการดึงดดู ลกู คา้ ทไ่ี ม่สนใจให้มาบริโภคสนิ คา้ น้ันได้ หรือจะสง่ เสริม การจัดกจิ กรรมร่วมกนั เพื่อเพ่ิมส่วนแบ่งการขายเม่ือถงึ ระดับทตี่ ัง้ ไว้ ตารางแสดงตลาดนาเข้าเครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร ของประเทศไทย ประเทศ มลู คา่ นาเขา้ (ลา้ นบาท) สัดสว่ น(รอ้ ยละ) 2541 2542 2543 2544 2541 2542 2543 2544 100.00 100.00 รวมท้ังโลก 1,775.35 1,854.52 2,534.79 3,439.74 100.00 100.00 34.73 24.61 14.63 16.65 1 สหรฐั อเมรกิ า 562.26 473.14 880.34 846.41 31.67 25.51 12.17 13.97 7.75 7.84 2 ญ่ปี นุ่ 283.95 331.90 370.83 572.73 15.99 17.90 6.67 5.61 3.90 5.48 3 ฝร่งั เศส 357.20 360.55 308.43 480.67 20.12 19.44 4.19 8.51 3.32 2.71 4 จีน 29.20 60.87 196.51 269.67 1.64 3.28 2.00 1.74 0.60 1.37 5 สหราชอาณาจักร 154.08 154.96 169.06 193.03 8.68 8.36 2545 6 อนิ โดนีเซีย 66.18 41.59 98.82 188.45 3.73 2.24 7 เยอรมัน 49.92 85.19 106.24 292.60 2.81 4.59 8 เบลเยี่ยม 49.40 42.68 84.27 93.16 2.78 2.30 9 ไตห้ วนั 38.34 69.60 50.77 59.91 2.16 3.75 10 สวติ เซอรแ์ ลนด์ 20.78 31.01 15.32 47.21 1.17 1.67 รวม 10 ประเทศ 1,611.30 1,651.47 2,280.59 3,043.85 ประเทศอ่ืน ๆ 164.05 203.05 254.20 395.89 อัตราการเจริญเติบโต - 4.46 36.68 35.70 ทมี่ า : กรมเศรษฐกจิ การพาณิชย์, ภาวะตลาดตา่ งประเทศ ประเทศไทยมมี ูลค่าส่งออกสนิ คา้ เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร ไปยงั ทกุ ประเทศทัว่ โลก เท่ากบั 5,876.49 ลา้ นบาทในปี พ.ศ. 2543และเพ่ิมข้นึ เปน็ 9,163.44 ลา้ นบาท ในปี พ.ศ.2544 ตามลาดบั ซ่งึ มีอัตราการขยายตัวเทา่ กบั รอ้ ยละ 5.93 โดยตลาดส่งออกที่สาคัญของประเทศไทยในสินคา้ เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพร ได้แก่ เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร หนา้ 7 จาก 16

 ประเทศอินโดนเี ซียโดยมมี ูลค่าส่งออกเครอ่ื งสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร จากประเทศไทยไป ประเทศอินโดนีเซยี เทา่ กับ 1,050.93 และ 1,872.58 ล้านบาทหรอื คิดเป็นร้อยละ 17.88 และ 20.44 ของมูลคา่ การส่งออกเครื่องสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพร ของประเทศไทยในปพี .ศ.2543 และ 2544 ตามลาดับ  มาเลเซยี โดยมมี ลู ค่าส่งออกเคร่อื งสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพร จากประเทศไทยไป มาเลเซีย เทา่ กบั 701.53 และ 1,355.86 ลา้ นบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 11.94 และ 14.80 ของมลู คา่ การสง่ ออก เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร ของประเทศไทยในปีพ.ศ.2543 และ 2544 ตามลาดบั  ฟิลปิ ปนิ ส์ โดยมีมลู ค่าสง่ ออกเครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร จากประเทศไทยไป ฟิลปิ ปนิ สเ์ ทา่ กับ 830.32 และ 1,001.63 ล้านบาทหรอื คิดเปน็ ร้อยละ 14.13 และ 10.93 ของมลู คา่ การ ส่งออกเครอ่ื งสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพร ของประเทศไทยในปีพ.ศ.2543 และ 2544 ตามลาดับ  ฮ่องกง โดยมีมลู ค่าสง่ ออกเครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร จากประเทศไทยไป ฮ่องกง เท่ากับ 325.03 และ 644.21 ลา้ นบาทหรือคดิ เปน็ ร้อยละ 5.53 และ 7.03 ของมูลค่าการสง่ ออก เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร ของประเทศไทยในปีพ.ศ.2543 และ 2544 ตามลาดับ  สิงคโปร์ โดยมีมลู คา่ ส่งออกเครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพร จากประเทศไทยไปสงิ คโปร์ เทา่ กับ 426.80 และ 644.21 ล้านบาทหรือคดิ เป็นร้อยละ 7.26 และ 6.92 ของมลู คา่ การส่งออก เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพร ของประเทศไทยในปพี .ศ.2543 และ 2544 ตามลาดบั ตลาดส่งออกเครื่องสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพรในต่างประเทศมีกระแสความนิยมสมุนไพรท่ดี ี เช่นกนั แมว้ า่ มูลคา่ ในการส่งออกจะยงั อยู่ในเกณฑ์ต่าเม่ือเทียบกบั การส่งออกสินคา้ สาคัญอ่ืนๆ ซ่งึ ใน ปัจจบุ ันเริ่มมีการต้งั ธรุ กิจการนวดแผนโบราณของไทยในหลายแหง่ ในต่างประเทศและไดร้ บั ความนยิ ม อยา่ งมากจากชาวตา่ งประเทศ ดังนัน้ เครื่องสาอางจากสมุนไพร และ เครอื่ งด่มื สมนุ ไพรเพอ่ื สขุ ภาพ จงึ เป็นสินค้าทส่ี ามารถนาเงินมหาศาลเข้าประเทศ และยังมอี นาคตทสี่ ดใส โดยกระแสการใช้ผลติ ภัณฑ์จากสมุนไพรกาลงั เปน็ ทีน่ ยิ มอย่างมากท่วั โลก โดยเฉพาะประเทศ สหรฐั อเมรกิ า สหภาพยุโรป และประเทศในเอเชยี โดยปัจจบุ ันตลาดผลติ ภัณฑ์สมุนไพรทว่ั โลกมมี ูลค่า สงู ถึง 3 ล้านล้านบาท เฉพาะในตลาดสหรฐั ฯมูลค่าตลาดผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพรสูงถงึ 164,000 ล้านบาท หรอื ร้อยละ 5.5 ของมูลค่าตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรของโลก(ศูนย์วจิ ยั กสกิ รไทย, 2545) สาหรับในไทย ตลาดผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพรกม็ ีแนวโนม้ เตบิ โตอย่างต่อเน่อื งเช่นเดยี วกัน โดยตลาดผลติ ภณั ฑส์ มุนไพรมี อัตราการขยายตวั ในแต่ละปีเฉลีย่ ไม่ตา่ กว่ารอ้ ยละ 20 แม้จะอย่ใู นช่วงวกิ ฤตเศรษฐกิจ ซงึ่ นับว่าสวนทาง เครื่องสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพร หนา้ 8 จาก 16

กบั สินคา้ ประเภทอ่ืนๆ จากกระแสความนิยมผลิตภณั ฑ์สมุนไพรทาใหธ้ รุ กิจการคา้ ผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพร ท้ังในลักษณะของยา อาหารเสริมสุขภาพ เครื่องสาอางจากสมนุ ไพร ตลอดจนเคร่ืองด่มื สมุนไพร ซง่ึ ธุรกิจผลิตภัณฑ์สมนุ ไพรเป็นธุรกิจทส่ี ร้างรายได้อยา่ งมาก แม้วา่ จะอยู่ในช่วงวกิ ฤตเศรษฐกจิ ก็ตาม อกี ทัง้ ยงั เปน็ ธรุ กิจทต่ี ลาดยังเปิดกว้างในการลงทุน และมีโอกาสเตบิ โตได้อีกมาก ช่องทางในการจัดจาหน่ายในตลาดตา่ งประเทศน้ันได้มีหลายชอ่ งทางเช่นร่วมมอื กบั ผู้แทนจาหนา่ ยใน ตา่ งประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่งิ สหรัฐอเมรกิ า ยุโรป และ ญ่ปี ่นุ โดยสามารถจดั ทาข้อมูลทัง้ ทเี่ ปน็ ภาษาองั กฤษและภาษาไทย และตอ้ งผ่านการตรวจสอบจากทมี งานผเู้ ชี่ยวชาญทางการแพทยแ์ ละเภสชั กรรมของประเทศคู่ค้าเหลา่ นั้นอยา่ งละเอียดทกุ ครั้ง โดยมีการจัดงานแสดงสนิ คา้ เคร่ืองสาอางใน ตา่ งประเทศ ดังรายละเอยี ดตามตาราง ตารางแสดงรายช่อื งานแสดงสินค้าในต่างประเทศในสาขาเคร่ืองสาอางในปีพ.ศ. 2546 ชอื่ งานแสดงสนิ ค้า เมอื ง ประเทศ กาหนดจัดงาน ประเภทสนิ คา้ COSMOPROF HONG KONG P.R.C. Nov-02 COSMETICS MEDICA DUSSELDORF GERMANY Nov-02 MEDICAL TIMES IMAGES 2003 MUMBAI INDIA Feb-03 COSMATICS NATURAL PRODUCT EXPO WEST ANAHEIM U.S.A. Mar-03 NATURAL PRODUCT BEAUTY WORLD JAPAN 2003 TOKYO JAPAN May-03 COSMATICS GULF BEAUTY DUBAI U.A.E. Sep-03 COSMATICS ทม่ี า : กรมส่งเสรมิ การสง่ ออก, 2545 ตารางแสดงตลาดสง่ ออกเครื่องสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพร ของประเทศไทย ประเทศ มลู คา่ นาเข้า(ล้านบาท) สัดสว่ น(ร้อยละ) 2541 2542 2543 2544 2541 2542 2543 2544 100.00 100.00 รวมท้ังโลก 4,217.30 4,440.02 5,876.49 9,163.44 100.00 100.00 17.88 20.44 11.94 14.80 1 อนิ โดนีเซยี 106.70 105.63 1,050.93 1,872.58 2.53 2.38 2 มาเลเซีย 556.78 650.97 701.53 1,355.86 13.20 14.66 เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร หนา้ 9 จาก 16

3 ฟลิ ิปปินส์ 875.35 1,001.81 830.32 1,001.63 20.76 22.56 14.13 10.93 10.09 5.53 7.03 4 ฮ่องกง 687.27 447.83 325.03 644.21 16.30 8.17 7.26 6.92 3.59 3.00 6.19 5 สงิ คโปร์ 331.01 362.80 426.80 634.01 7.85 4.98 3.58 4.38 2.12 4.74 4.18 6 ไต้หวัน 134.16 159.23 176.29 567.26 3.18 2.01 3.88 3.46 0.46 3.23 3.07 7 กมั พชู า 207.12 221.28 210.63 401.81 4.91 8 เกาหลีใต้ 18.36 94.00 278.48 382.89 0.44 9 ญปี่ ุ่น 97.23 89.45 227.88 317.48 2.31 10 อินเดยี 3.10 20.62 189.91 281.09 0.07 รวม 10 ประเทศ 3,017.08 3,153.62 4,417.80 7,458.79 ประเทศอ่ืน ๆ 1,200.21 1,286.40 1,458.68 1,704.65 อตั ราการขยายตัว - 5.28 32.35 55.93 ท่มี า : กรมเศรษฐกจิ การพาณิชย์, 2545 แนวโน้มของตลาดในอนาคต ผลิตภณั ฑเ์ คร่อื งสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรยงั มีแนวโนม้ ท่ีดี โดยเฉพาะผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองสาอาง จากธรรมชาติและสมุนไพรท่ีพ่งึ พงิ ตลาดในประเทศเป็นหลัก ไมว่ ่าจะเป็นยาสมนุ ไพร เครื่องสาอางจาก สมนุ ไพร และเคร่ืองด่ืมจากสมุนไพร แตผ่ ลติ ภณั ฑท์ ี่จะยงั เติบโตต่อไปได้นัน้ มีเง่อื นไขว่าราคาจะต้อง อยใู่ นเกณฑท์ ี่ผู้บริโภคยอมรับได้ และผบู้ ริโภคมคี วามเช่อื ถือในมาตรฐานการผลติ และคณุ ภาพของ ผลิตภัณฑส์ มนุ ไพร ดังนั้นแนวโน้มผลิตภณั ฑส์ มุนไพรที่มอี นาคตนั้นน่าจะเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ ผลติ ในประเทศทม่ี กี ารรบั รองมาตรฐานจากหนว่ ยงานของราชการ สว่ นการนาเขา้ ผลติ ภณั ฑ์ เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรจากตา่ งประเทศน้ันประเทศไทยยงั คงมกี ารนาเข้าผลติ ภัณฑ์ เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรจากต่างประเทศสงู ซง่ึ มแี นวโนม้ ที่จะเพิ่มข้นึ อยา่ งต่อเน่ือง โดย มีอัตราการขยายตวั การนาเข้าสินค้าผลิตภัณฑ์เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรจากต่างประเทศ เทา่ กับรอ้ ยละ 36.68 และ 35.70 ใน ปี พ.ศ.2543และ2544 ตามลาดบั ซึง่ มีแนวโนม้ ว่าราคาผลติ ภัณฑ์ เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรจากการนาเขา้ จะอยู่ในเกณฑส์ ูงกวา่ ผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพรทผี่ ลติ ในประเทศ และน่าจะมีปญั หาในเรื่องการผลักดันยอดขาย เน่ืองจากผู้บริโภคยังเน้นในเรือ่ งการประหยดั ค่าใช้จา่ ยในช่วงภาวะเศรษฐกจิ ที่ยงั ไมฟ่ ้นื ตัว สาหรับแนวโน้มการส่งออกเครอื่ งสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพรคาดว่ายังคงมแี นวโนม้ ท่ดี ีเช่นกนั เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพร หนา้ 10 จาก 16

เนอ่ื งจากมีอตั ราการขยายตัวการสง่ ออกเคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรในปีพ.ศ. 2543 และ 2544 เทา่ กับรอ้ ยละ 32.35 และ 55.93 ตามลาดบั ซ่งึ เห็นไดว้ ่ามีการเพ่มิ ขน้ึ อย่างต่อเนือ่ ง ดงั นัน้ ใน อนาคตคาดว่าตลาดสง่ ออกของไทยจึงมแี นวโน้มที่ดีในอนาคตสาหรับผทู้ สี่ นใจในเขตศนู ยส์ ่งเสรมิ อตุ สาหกรรมภาคท่ี 9 ทจ่ี ะทาการลงทนุ ในผลิตภัณฑเ์ ครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรเพื่อรกั ษา มลู คา่ การสง่ ออกและให้มกี ารขยายตัวไปยงั ตลาดใหม่ๆในอนาคต สาหรบั แนวโน้มตลาดต่างประเทศ ในสนิ คา้ เครื่องสาอางจาก ธรรมชาติและสมนุ ไพรที่กาลงั มีแนวโน้มท่ีดีคือตลาดเอเชีย สหรัฐอเมริกา สหภาพยโุ รป และออสเตรเลียเป็นตน้ ไทยเป็นหน่ึงในไมก่ ่ีประเทศทีเ่ ป็นแหล่งอนั อุดมสมบูรณแ์ ละมี ความหลากหลายของทรพั ยากรสมุนไพร ซึง่ ไทยต้องรักษาจุดแขง็ ในเร่ืองนไ้ี ว้เพื่อที่จะใหผ้ ลติ ภณั ฑ์ สมนุ ไพรของไทยสามารถผลักดันให้อย่ใู นแถวหนา้ ของประเทศผู้ส่งออกเครื่องสาอางจากธรรมชาติ และสมนุ ไพรทีส่ าคญั ของโลก ปัจจุบนั เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรของไทยสามารถแข่งขนั ไดใ้ นตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะ ตลาดหลักคือสหรัฐฯ ยุโรป จนี รวมถึงประเทศอื่นในภูมิภาคเอเชยี แตเ่ คร่ืองสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพร ไทยยังขาดการพัฒนาอยา่ งจริงจังท้งั การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ให้ เป็นที่ยอมรับในระดบั มาตรฐานสากล รวมถึง แผนการเปิดตลาดอย่างจรงิ จัง ซงึ่ สงิ่ สาคัญทตี่ ลาดโลกต้องการคือ ผลิตภณั ฑท์ ่มี คี วามปลอดภัยมปี ระโยชนต์ รง กบั คากล่าวอ้างและมีคณุ ภาพมาตรฐานสม่าเสมอ ดังน้นั ต้องได้รับความร่วมมือจากทกุ ฝา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องในการ พฒั นาสนิ ค้าเคร่ืองสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมนุ ไพรไทยใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรับ การวิจัยและพฒั นาผลิตภัณฑ์ เครื่องสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพรไทยทผ่ี ่านมาแม้จะมกี จิ กรรมและผลงานวิจยั ค่อนข้างมาก แต่เป็นการ วจิ ยั เฉพาะเร่ืองตามความสนใจของนักวชิ าการ โดยไมเ่ น้นการทาตลาด ทาใหผ้ ลการวจิ ัยไม่สามารถผลติ เพ่ือ ตอบสนองความต้องการของตลาดได้ และไม่เพม่ิ มูลคา่ สนิ คา้ มากนัก ดังน้นั หากจะพัฒนาผลติ ภัณฑ์เครื่องสาอาง จากธรรมชาติและสมนุ ไพรไทยให้สามารถแขง่ ขนั ในตลาดโลกได้จาเป็นต้องปรับแนวคิดในการวจิ ยั และพัฒนา ใหม่ โดยเน้นให้เกิดการวิจัยพัฒนาอย่างครบวงจรโดยพจิ ารณาจาก ความต้องการของตลาดเพอ่ื ให้เกิดเป็นสินคา้ ที่สามารถทาตลาดได้และสร้างมูลค่าเพ่ิม ปญั หาและอปุ สรรค 1. ปัญหาเร่อื งของการยอมรับและความนา่ เช่อื ถือในผลิตภัณฑ์ทีม่ าจากสมุนไพรไทย 2. ยงั ขาดตลาดรองรับท่ีเพยี งพอสาหรับสินคา้ เครือ่ งสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพรท้ัง ภายในประเทศและตา่ งประเทศ 3. ผปู้ ระกอบการผลิตเคร่อื งสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพรส่วนใหญ่เปน็ ผผู้ ลิตในระดับทอ้ งถ่ิน ซง่ึ เคร่ืองสาอางจากธรรมชาติและสมนุ ไพร หนา้ 11 จาก 16

ยงั ขาดความรู้ทางดา้ น กฎ ระเบียบ การขอขน้ึ ทะเบียนฉลาก สรรพคณุ ของอย. เก่ียวกบั เวชสาอางไม่ ชดั เจน อย่างแทจ้ รงิ 4. ขาดการค้นคว้าวจิ ยั คดิ ค้น และพัฒนาทางดา้ นการผลิตวัตถดุ ิบท่ใี ชใ้ นอตุ สาหกรรมเครื่องสาอางทา ความสะอาด และบารงุ ผวิ ที่มาจากธรรมชาติและสมุนไพรอย่างจรงิ จัง ขอ้ เสนอแนะ 1. ภาครัฐควรทาการส่งเสรมิ สนบั สนนุ หน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง เช่น สถาบันวิจัย หรือ มหาวิทยาลัยใน การศึกษา ค้นควา้ วจิ ยั คิดค้น และพฒั นาทางดา้ นการผลิตวัตถุดิบที่ใชใ้ นอุตสาหกรรมเคร่ืองสาอาง ทาความสะอาด และบารงุ ผิวท่มี าจากธรรมชาติและสมุนไพรอยา่ งจรงิ จงั 2. ภาครฐั ควรเขา้ มาดูแลให้ความสนใจในการที่จะให้ความชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระกอบการทาการพัฒนา เทคโนโลยีการผลติ ใหด้ ีและมปี ระสทิ ธิภาพทัดเทยี มกบั ตา่ งประเทศ เพือ่ ลดความสญู เสยี ในส่วนของ การนาเทคโนโลยใี นการผลติ จากตา่ งประเทศ 3. ขยายการสง่ ออกในตลาดหลกั และตลาดทมี่ ีศักยภาพและพัฒนาในดา้ นบรรจุภณั ฑใ์ นการผลิต นโยบายรฐั และเอกชนท่ีให้การสนับสนนุ ผลิตภัณฑ์สมนุ ไพรได้รบั การสนบั สนุนเป็นอย่างดจี ากรฐั บาล โดย กระทรวงสาธารณสุขวาง ยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาสมุนไพรอย่างครบวงจรและประกาศนโยบายเพื่อดาเนินการเชงิ รุกวางยทุ ธศาสตร์ในการ พัฒนาสมนุ ไพรไทยให้เปน็ ผลิตภัณฑ์เศรษฐกิจของชาติ โดยมนั่ ใจผลติ ภณั ฑ์สมนุ ไพรไทยจะได้รบั การ ยอมรับจากตา่ งประเทศ เพยี งแต่จะต้องเพ่มิ คณุ ภาพและหาความต้องการทแี่ ท้จริงของตลาดโลกใหไ้ ด้ โดยมีการจดั ความสาคัญของความต้องการสมนุ ไพรตวั หลกั และเร่งพฒั นากล่มุ นี้กอ่ น สมุนไพรทจี่ ะ คัดเลอื กเปน็ ตัวนาของไทย จะต้องเป็นทตี่ ้องการของตลาดโลก ผ่านการศึกษาวิจัยคุณภาพมาตรฐานทาง วิชาการมาแลว้ ซง่ึ ในเบ้ืองต้นนีไ้ ด้พจิ ารณาไว้ 4 ตัว ได้แก่  ขมิ้นชัน(ใชบ้ รรเทาอาการจุกเสยี ด ฆ่าเชื้อรา รักษาอาการทอ้ งเสยี รักษาโรคท้องเสีย และอาการ อกั เสบจากแมลงกัดตอ่ ย)  กวาวเครอื (ผลิตภัณฑ์เสรมิ ความงาม ยาคุมกาเนดิ ลดอาการกระดกู ผุ และทดแทนฮอร์โมนเพศ หญงิ )  ฟา้ ทะลายโจร(ยาแกไ้ ข้ ลดความร้อน บรรเทาอาการไอและเจบ็ คอ ยาแกบ้ ดิ ท้องเดิน และรกั ษาโรค กระเพาะอาหาร)  และพญายอ(รกั ษาโรคเรมิ อาการเนื่องจากแมลงกดั ต่อย และแผลอกั เสบในปาก) เคร่อื งสาอางจากธรรมชาติและสมุนไพร หนา้ 12 จาก 16

และมอบให้กระทรวงพาณชิ ย์ และภาคเอกชนศกึ ษาตลาดและข้อกาหนดของแต่ละประเทศ เพอ่ื วางแผน พฒั นาให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานตา่ งประเทศดว้ ย ในส่วนของกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์อย่รู ะหว่างยกระดับสถาบันวจิ ยั สมนุ ไพร ใหเ้ ปน็ สถาบนั สมุนไพร แห่งชาติ เพ่ือให้เป็นศูนยก์ ลางในการพฒั นา ตรวจสอบ และควบคมุ คณุ ภาพสมุนไพรของประเทศ ขณะเดยี วกัน เตรียมออกเครื่องรับรองคณุ ภาพสมนุ ไพรท่ผี า่ นเกณฑม์ าตรฐาน โดยในเบ้อื งต้นน้จี ะเน้นผลิตภณั ฑ์สมุนไพรจาก ขมน้ิ ชนั ของไทย ซ่งึ จดั วา่ มคี ณุ ภาพดที ่ีสุดในโลก ในปี 2545 จะพฒั นาอีก 10-15 ตวั ทั้งน้ีหากไทยสามารถพฒั นา ผลิตภณั ฑส์ มุนไพรเจาะเข้าตลาดโลกได้ก็จะสามารถสรา้ งรายไดเ้ ข้าประเทศไดอ้ ีกเปน็ จานวนมาก หน่วยงานภาครฐั และเอกชนท่ีสนับสนุนด้านธุรกจิ อตุ สาหกรรม 1) ชือ่ หน่วยงาน ศูนยส์ ่งเสริมอตุ สาหกรรมภาคท่ี 9 เบอร์โทรศัพท์ 038-784064-7 บทบาท เปน็ แกนกลางในการส่งเสริมและพฒั นาอตุ สาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอ่ ม ใน พ้นื ทรี่ ับผดิ ชอบ 9 จงั หวัด ได้แก่ จงั หวัดชลบุรี สมทุ รปราการ ระยอง 2) ชอ่ื หน่วยงาน จันทบุรี ตราด ฉะเชงิ เทรา ปราจนี บุรี นครนายก และจังหวัดสระแกว้ โดย เบอร์โทรศัพท์ ร่วมมอื และใหก้ ารสนบั สนนุ การดาเนินงานขององค์กรทัง้ ภาครฐั และเอกชน 3) ชอ่ื หน่วยงาน สมาคมเคร่อื งสาอางไทย ทอี่ ยู่ 02-7133647 กรมสง่ เสริมอุตสาหกรรม เบอร์โทรศพั ท์ สว่ นบริหารเงินทุน สานกั พฒั นาอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรมไทย บทบาท อาคารกรมสง่ เสริมอุตสาหกรรม (ชนั้ 4) ในบรเิ วณกระทรวง อุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กทม. Website (02) 2488098, 2024475-6, 2450140 โทรสาร 4) ชอื่ หน่วยงาน เพือ่ ใหค้ วามชว่ ยเหลือราษฎรและกลุ่มผู้ประกอบอาชีพอุตสาหกรรมในครอบครัว และตามระเบยี บกระทรวงอุตสาหกรรมวา่ ด้วยเงินทุนหมุนเวยี นเพ่ือการสง่ เสริม อาชพี อุตสาหกรรมในครอบครวั http://www.dip.go.th ธนาคารเพือ่ การส่งออกและนาเขา้ แหง่ ประเทศไทย เบอร์โทรศพั ท์ 0-2617-2280 271-3700, 617-2111, 278-0047 เครอื่ งสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพร หนา้ 13 จาก 16

บทบาท โทรสาร 0-2271-3204 ให้บรกิ ารทางการเงนิ เพอ่ื สนับสนนุ ผู้สง่ ออก และนักลงทุนไทยทไ่ี ปลงทนุ ใน อีเมล์ ตา่ งประเทศ 5) ชือ่ หน่วยงาน [email protected] Website http://www.exim.go.th/ เบอรโ์ ทรศพั ท์ บรรษัทเงินทนุ อุตสาหกรรมขนาดยอ่ ม (บอย.) บทบาท 0-2201-3700-10 โทรสาร 0-2201-3723 - 24 ใหก้ ารสนับสนุนอุตสาหกรรมและธรุ กจิ SMEs บริการ ใหบ้ ริการเงินกู้แก่ อเี มล์ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)ที่ลงทุนในสินทรัพยถ์ าวร ไม่เกิน 100 6) ชอ่ื หน่วยงาน ลา้ นบาท เบอรโ์ ทรศพั ท์ [email protected] Website http://www.sifc.co.th/index.asp บทบาท บรรษทั เงินทุนอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย 0-2253-7111, 253-9666 โทรสาร 0-2253-9677 อเี มล์ ให้ความชว่ ยเหลือทางการเงินแก่กจิ การอุตสาหกรรมภาคเอกชนตงั้ แต่เรมิ่ โครงการ 7) ชอ่ื หน่วยงาน จนกระทงั่ กจิ การเจริญเติบโตขนึ้ อยา่ งมนั่ คงโดยมุง่ เน้นอุตสาหกรรมท เบอร์โทรศพั ท์ ชว่ ยพฒั นาประเทศและอุตสาหกรรมทส่ี อดคล้องกับนโยบายของรฐั บาล บทบาท [email protected] Website http://www.ifct.co.th กรมสง่ เสริมการส่งออก กระทรวงพาณชิ ย์ Website 0-2511-5066-77, 512-0093-0104 โทรสาร 0-2512-1079, 513-1917 เบอรโ์ ทรศัพท์ สง่ เสรมิ ผู้ประกอบการผลิตและผู้สง่ ออกให้สามารถใชศ้ กั ยภาพการผลติ และ บทบาท การตลาดได้อยา่ งเต็มที่ เพอื่ เพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันของสนิ คา้ ไทย ในตลาดโลก เสริมสร้างภาพลกั ษณ์และคา่ นิยมสนิ คา้ ไทยทงั้ ในและตา่ งประเทศ รวมท้งั มุง่ สง่ เสรมิ ใหป้ ระเทศไทยเปน็ ทีร่ ูจ้ กั ในฐานะของศูนยก์ ลางการผลติ การค้า และการแสดงสินค้าระดบั นานาชาติ http://www.depthai.go.th/ 0-2511-5066-77, 512-0093-0104 โทรสาร 0-2512-1079, 513-1917 สง่ เสรมิ ผปู้ ระกอบการผลติ และผสู้ ง่ ออกให้สามารถใชศ้ กั ยภาพการผลิตและ การตลาดได้อย่างเต็มท่ี เพื่อเพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของสินค้าไทยใน ตลาดโลก เสริมสรา้ งภาพลกั ษณแ์ ละค่านยิ มสินคา้ ไทยทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งมุ่งส่งเสริมใหป้ ระเทศไทยเปน็ ท่รี ู้จกั ในฐานะของศูนยก์ ลางการผลิต การค้า และการแสดงสนิ ค้าระดบั นานาชาติ เคร่ืองสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพร หนา้ 14 จาก 16

Website http://www.depthai.go.th/ เคร่อื งสาอางจากธรรมชาตแิ ละสมุนไพร หน้า 15 จาก 16