Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาหารครอบครัว

อาหารครอบครัว

Published by bunyarat004, 2017-09-07 05:01:29

Description: Family

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 ความรทู ั่วไปเกย่ี วกับครอบครัว ครอบครัวเปนสถาบันสังคมท่ีสําคัญท่ีสุด เปนหนวยของสังคมท่ีมีความสัมพันธและความรวมมืออยางใกลชิด เปนสถาบันที่มีความคงทนที่สุด และยังไมเคยปรากฏวาสังคมมนุษยใดไมมีสถาบันครอบครัวปรากฏอยู เพราะมนุษยทุกคนจะตองอยูในสถาบันนี้เนื่องจากเปนสังคมกลุมแรกท่ีเราจะตองเผชิญตั้งแตแรกเกิดจนเติบโตในครอบครัวครอบครัวจะใหตําแหนง ชื่อและสกุล ซ่ึงเปนเคร่ืองบอกสถานภาพและบทบาทในสังคมท่ีเรามีสว นรวมดวย ตลอดจนกาํ หนดสิทธิและหนาท่ที ่สี มาชกิ มตี อ กันและตอ สงั คมความหมายและหนา ท่ขี องครอบครวั ครอบครัว ความหมายตามพจนานุกรม หมายถึง ผูรวมครัวเรือน ไดแก สามีภรรยาและบุตร นอกจากน้ีนักสังคมวิทยา นักจิตวิทยา ตางก็ใหความหมายของครอบครัวในลักษณะท่ีแตกตางกัน ในความหมายทางสังคมวิทยา ครอบครัว คือรูปแบบของการที่บุคคล 2 คน หรือกลุมบุคคลสรางแบบ (pattern) หรือโครงสราง (structure) ของการอยูรวมกันในความหมายของนักจิตวิทยา ครอบครัวคือสถาบันทางสังคมแหงแรกท่ีมนุษยสรางข้ึนจากความสัมพันธที่มีตอกัน เพ่ือเปนตัวแทนของสถาบันสังคมภายนอกท่ีจะปลูกฝงความเช่ือ คานิยม และทัศนคติกับสมาชิกรุนใหมของสังคมที่มีชีวิตอุบัติขึ้นในครอบครัว Burgess กับ Locke (อางใน สุพัตรา สุภาพ 2536, 36-37) ไดใหคําจํากัดความของครอบครัววาจะตองมีลกั ษณะสาํ คญั 4 ประการ ดงั ตอไปน้ี คือ 1. ครอบครัวประกอบดวยบุคคลที่มาอยูรวมกันโดยการสมรส หรือความผูกพันทางสายโลหิต หรือการมีบุตรบุญธรรม การสมรสแสดงถึงความสัมพันธระหวางสามีและภริยา สวนความผูกพันทางสายโลหิต คือความสัมพันธระหวางพอแมและลูก รวมทั้งบุตรบุญธรรมดว ย 2. สมาชิกของครอบครวั เหลาน้อี ยูรวมกันภายในครัวเรือนเดียวกัน หรือบางคร้ังก็แยกกันไปอยูตางหาก สมัยโบราณครัวเรือนหน่ึงจะมีสมาชิก 3 – 4 – 5 ช่ัวอายุคนปจจุบันครัวเรือน (โดยเฉพาะในประเทศพัฒนา) จะมีขนาดเล็ก ประกอบดวยสามีภรรยาและลูกหน่งึ หรอื สองสามคนขน้ึ ไปหรือไมมีเลย

3. ครอบครัวเปนหนวยของการกระทําระหวางกัน เชน สามีภริยา พอแม ลูกพ่ีนอง โดยสังคมแตละแหงจะกําหนดบทบาทของแตละครอบครัวไว ซ่ึงก็ข้ึนอยูกับประเพณขี องแตละแหง ซึ่งหมายความวา ไมใชเพียงตางคนตางกิน ตางคนตางอยู แตตางคนตางมีปฏิกิริยาเชิงสัมพันธตอกัน เชน รักกัน เอาใจใสกัน ส่ังสอนกัน จิตใจผูกพันกันเปน ตน 4. ครอบครัวถายทอดรักษาวัฒนธรรม สมาชิกจะถายทอดและรับแบบของความประพฤติในการปฏิบัติตอกัน เชน ระหวางสามีภริยา และลูก และเมื่อผสมผสานกับวัฒนธรรมที่นอกเหนือไปจากครอบครัว ก็จะไดแบบของความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติตอกันและตอผอู ื่น สมาคมคหเศรษฐศาสตรแหงประเทศไทย (2524, 86-87) ไดนิยามคําวาครอบครัวจากแงวิชาการตา งๆ ความหมายของครอบครวั ก็ตางกันออกไป ในแงชีววิทยา ครอบครัวหมายถึง กลุมคนที่เก่ียวพันกันทางสายโลหิต เชน สามีภรรยามีบุตร บุตรเกิดจากอสุจิของบิดาผสมกับไขสุกของมารดา ฉะน้ันบิดามารดากับบุตรจึงเก่ียวพันกันทางสายโลหิตแลวแตโครโมโซมและยีนที่บุตรไดรับมาจากท้ังบิดาและมารดา ในแงกฎหมาย ชายหญิงจดทะเบียนสมรสกัน มีบุตร คนเหลาน้ีเปนครอบครัวเดียวกนั ตามกฎหมาย บิดามารดาและบุตรมีหนาท่ีท่ีตองปฏิบัติตอกันตามกฎหมาย บุตรมีสิทธิ์รับมรดกจากบิดามารดา ถาไมมีบุตรผูสืบสายโลหิตขึ้นไปหรือลงมาโดยตรง หรือท่ีจดทะเบียนเปน บตุ รธรรม ก็นบั วาเปน ครอบครัวเดยี วกันตามกฎหมาย ในแงเศรษฐกิจ ครอบครัวคือคนท่ีใชจายรวมกัน จากเงินงบเดียวกัน ท่ีทําการสมรสแลวแยกบานไปอยูตางหาก แตมีพันธะทางศีลธรรมท่ีจะเล้ียงนอง คือ ตองสงเสียใหเงนิ นอ งเลา เรยี น เชนนน้ี บั วา ใชจา ยจากงบเดียวกัน และเปน ครอบครัวเดียวกัน ในแงสังคม ครอบครัวคือกลุมคนที่รวมอยูในบานเดียวกัน อาจเก่ียวหรือไมเก่ียวพันทางสายโลหิตหรือทางกฎหมาย แตมีปฏิกิริยาสัมพันธกัน ใหความรักและความเอาใจใสตอกัน มีความปรารถนาดีตอกัน เชน ลูกของลูกจางอยูในบานเดียวกัน เจาของบานเล้ยี งดใู หค วามเอาใจใส ความรัก กน็ ับวา เดก็ นนั้ เปน สวนหน่งึ ของครอบครวั ในแงสังคม เฉลียว บุญยงค (2538, 45) ไดส รปุ ความหมายของครอบครวั ไวด ังตอไปน้ี 1. ครอบครัว ไดแกองคการหรือหนวยทางสังคมขนาดยอม ซ่ึงเกิดจากการท่ีชายหญิงคูหน่ึงมีความสัมพันธกันในทางเพศแลวใหกําเนิดบุตร และสามารถเลี้ยงดูบุตรท่ีเกิดมาใหอ ยูในสังคมน้นั ได

2. ครอบครัว คือกลุมของบุคคลตาง ๆ ที่รวมกันขึ้นโดยการผูกพันทางดานการแตงงาน การสืบสายโลหิต หรือการรับบุตรบุญธรรม ซ่ึงกอใหเกิดการอยูรวมกันในบา นเรอื นเดียวกัน 3. ครอบครัวคือความตอเน่ืองกับความสัมพันธในทางเพศท่ีมีเวลานานพอที่จะใหกาํ เนิดบตุ ร และสามารถเล้ียงดอู บรมบุตรเหลานนั้ ได 4. ครอบครัวหมายถึง คนหลาย ๆ คนที่มาอยูรวมกันเปนเวลานานพอท่ีจะใหผูอ่ืน (สมาชิกใหม) เกิดมาได ตามความหมายนี้แสดงวาไมไดมุงความสําคัญไปท่ีครอบครัวเทาไรนัก แตมุงที่ตัวบุคคลที่มาอยูรวมกันมากกวา เปนท่ีรวมของบุคคลหลาย ๆคน โดยไมจ ํากัดเพศ อายุ

หนา ทข่ี องครอบครัว (Functions of the Family) ครอบครัวเปนสถาบันที่สังคมสรางข้ึน เพื่อใหทําหนาที่อันเปนประโยชนแกสังคมหลายประการ สังคมยอมใหการสนบั สนุนครอบครัวอยา งมัน่ คง โดยมุง หวงั ใหครอบครัวทําหนาที่ซ่ึงสังคมมอบหมายอยางสมบูรณ หนาที่ของครอบครัว คืองานที่ครอบครัวพึงปฏิบัติใหเกิดประโยชนแกมวลสมาชิกในครอบครัวเพ่ือใหสมาชิกเหลานั้นอยูในสังคมไดอยางมีความสุข โดยท่ีครอบครัวเปนสถาบันท่ีเกาแกและจําเปนท่ีสุดของมนุษย ครอบครัวจึงมีการทําหนาท่ีตาง ๆ แบบเดียวกันในทุกสังคมของมนุษย จนเราอาจเรียกไดวาเปนหนาท่ีสากล คือเปนหนาท่ีซึ่งครอบครัวของทุกสังคมตองกระทํา เฉลียว บุญยงค (2538, 47) ไดสรุปหนาที่ของครอบครัวโดยท่ัวไป ไดด งั นี้ 1. หนา ทีท่ างชวี วทิ ยา หรือหนาท่กี ารใหก ําเนดิ แกส มาชิก ความตองการทางสรีระอยางหน่งึ ของมนษุ ย คอื เพศรส ซ่ึงเปน สาเหตุใหม ีบตุ ร การใหกําเนิดแกสมาชิกตองอาศัยพฤติกรรมทางเพศ ซ่งึ เปน สว นหน่ึงของกระบวนการทางชีววิทยา การใหกําเนิดแกสมาชิกควรจะเปนตามธรรมชาติ กลาวคือ เมื่อชายหญิง กระทํากิจกรรมทางเพศรวมกัน ฝายหญิงก็มีครรภ เม่ือครบกําหนดก็คลอดบุตรถาสุขภาพของมารดาและบุตรดี บุตรก็จะเจริญเตบิ โตไปตามลําดบั บิดามารดาจะตองเล้ียงดูบุตรใหมีคุณภาพ สามารถทําประโยชนใหสังคมได ถาคูสมรสไมสามารถใหกําเนิดแกสมาชิกไดดวยเหตุบางประการ สังคมก็ผอนปรนใหคูสมรสรับเด็กอื่นมาเล้ียงเปนบุตรบุญธรรมได การรับบุตรบุญธรรม ถาปฏิบัติตามประเพณีและกฎหมายแลว บุตรบุญธรรมก็มีฐานะเหมือนกับบุตรซึ่งเกิดจากสายโลหิตทุกประการ 2. หนาที่ในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก เมื่อครอบครัวผลิตเด็กออกมาแลว พอ แม ญาติพ่ีนอง จะตองชวยกันเลี้ยงดูและอบรมสั่งสอนใหเด็กไดเจริญเติบโตเปนสมาชิกที่ดีของสังคมตอไป หนาที่นี้นับวาสําคัญมาก ซ่ึงประกอบดวยลักษณะสําคัญ 2 ประการดวยกันคอื 2.1 การเลี้ยงดเู ดก็ ออ นเพ่ือใหม รี างกายแขง็ แรงเจรญิ เติบโต มจี ิตใจสมบรู ณ 2.2 การอบรมสั่งสอนขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามใหเด็กโดยที่มนุษยเปนสัตวท่ีมีภาวะเปนเด็กออน ตองพึ่งพาอาศัยอยูกับครอบครัวของตนนานมากกวาลกู ของสัตวประเภทอื่น ๆ ฉะนั้นโอกาสในการเรียนรู ถายทอดลักษณะอุปนิสัยใจคอ บุคลิกภาพตาง ๆ จากญาติที่ใกลเคียง ผูซึ่งเลี้ยงดูตนมาโดยพอ แม จึงมีอยูมากฉะน้ันถาลูกมีอุปนิสัยท่ีไมดี หรือเปนสมาชิกท่ีเลวของสังคม ความผิดยอมตกเปนของครอบครวั อยา งหลีกเลยี่ งไมพ น

3. หนาท่ีในการใหความรัก หนาท่ีนี้ยังไมมีสถาบันใดทําแทนไดดีกวาครอบครัวความรักท่ีเด็กไดรับจากบิดามารดา หรือจากครอบครัวตนเปนความรักที่ตอเน่ือง ไมมีวันส้ินสุด เด็กที่ขาดความรักขาดความเอาใจใสจากครอบครัว มักจะกอปญหาข้ึนเพ่ือเรียกรองความสนใจ เด็กมักจะมีความโกรธ ข้ีอิจฉา ไมรักใคร จะปรับตัวใหเขากับบุคคลภายนอก ครอบครัวก็มักจะปรับไมได หรือไดก็ไมดีพอ เม่ือถึงวัยแตงงานก็ปรับตัวใหเ ขากบั คูสมรสของตนไมไ ด 4. หนาท่ีในทางเศรษฐกิจ คือการหาเงินมาใชจายเล้ียงดูสนองความตองการตามปจ จยั สําคญั 5 ประการ คือ อาหาร เสื้อผา ยารักษาโรค ท่ีอยูอาศัย และการศึกษา อันเปนความจําเปนพ้ืนฐานของมนุษย หนาท่ีทางเศรษฐกิจของครอบครัวชาวตะวันตกกับครอบครัวชาวตะวันออก มีลักษณะแตกตางกันบาง ในสังคมชาวตะวันตกการที่ชายและหญิงมาสมรสกันก็ถือวาชีวิตสมรสคือหุนสวน มีการแบงความรับผิดชอบ คูสมรสบางคูผลัดกันทําหนาที่หาเงินเพ่ือใหอีกฝายหน่ึงศึกษาตอวิชาชีพ บุตรตองขอยืมเงินจากบิดามารดา ตองรับผิดชอบในทางเศรษฐกิจตอบุตรมาก ตองสงเสียสนับสนุนในทางการเงินจนกวา บตุ รของตนจะแยกครอบครัวไปอยูต างหาก 5. หนาท่ีในการใหความปลอดภัย บิดา มารดา มีหนาที่ใหความปลอดภัยแกบุตรนับตั้งแตบุตรปฏิสนธิ เมื่อคลอดออกมาแลวบุตรจะตองไดรับการปกปองอยางรอบครบความกาวหนาในทางวิทยาศาสตร ความกาวหนาในทางโภชนาการ จะชวยใหครอบครัวปลอดภัยและเจริญเติบโตแข็งแรง นอกจากพอ แม จะใหความปลอดภัยแกบุตรโดยตรงแลว สมาคมผูปกครอง สมาคมสุขภาพจิต คลินิกสุขวิทยาจิต ฯลฯ ลวนเปนสถาบันที่ชวยปกปองอนั ตรายใหความปลอดภยั แกเดก็ ใหค วามรแู กค รอบครัว เพือ่ ทําหนา ท่ีนไ้ี ดอยา งดี 6. หนาที่ในการใหการศึกษา การศึกษาในตอนเร่ิมแรกชีวิตนั้น เด็กไมไดรับไปจากการสั่งสอนดวยวาจาอยางเดียว แตเรียนรูโดยการเลียนแบบดวยในฐานะครูคนแรกของบุตร บิดา มารดา จะตองใหความรูทุก ๆ ดานแกบุตร ใหบุตรยอมรับและเขาใจวัฒนธรรมของชุมชน ถาครอบครัวมีส่ิงแวดลอมท่ีดีใหกับเด็ก การศึกษาของเด็กก็จะดีท้ังดานคุณภาพและปริมาณ การศึกษาในครอบครัวจะเปนผลเพียงไรน้ันยอมขึ้นอยูกับแรงเสริมท่ีครอบครัวใหแกเด็ก เด็กท่ีบิดามารดาฝกใหชวยตนเองจะเปนคนทํางานเปนรบั ผดิ ชอบในการงาน วนิ ัยท่ีครอบครัวฝก ใหย อมชว ยใหเดก็ เปน คนท่ีอยูใ นระเบยี บวินัย 7. หนาที่ในทางศาสนา ศาสนาเปนเครื่องผอนคลายความกดดันในชีวิตประจําวันผูท่ีใชศาสนาเปนเครื่องยึดเหน่ียวและเปนเคร่ืองชําระจิตใจใหบริสุทธ์ิ ยอมมีโอกาสท่ีจะมีชีวิตที่มีคุณภาพมากกวาคนที่ละเลยตอศาสนา สภาพของสังคมในปจจุบันไดช้ีใหเห็นถึงปญหาตางๆ มากมาย อาทิ เชน ปญหาอาชญากรรม การฉอราษฎรบังหลวง การไมละอายตอบาปลวนแตแสดงใหเห็นวาสังคมไทยที่มีจํานวนไมนอยเปนพุทธศาสนิกชนแต

ช่ือ สักแตวานับถือศาสนาพุทธ แตไมไดประพฤติและปฏิบัติตนตามกฎและหลักการแหงศาสนาพุทธ ครอบครัวควรจะอบรมสั่งสอนและชักจูงใหบุตรไดกระทําหนาท่ีอันเปนศาสนกิจประจําวัน เชน การทําบุญตักบาตร การสวดมนตไหวพระ การทําใจใหสะอาดปราศจากอหิงสา (ราคะ โลภะ โทสะ โมหะ) ประพฤติปฏิบัติตนใหอยูในพรหมวิหาร4 (เมตรา กรุณา มุทิตา และ อุเบกขา) ถาบุตรเขาใจและปฏิบัติได ก็จะทําใหจิตใจเปนสุขครอบครัวควรจะทําหนา ท่ีเหลา นต้ี ง้ั แตบ ุตรของตนยังอยูในวัยเด็ก ซ่ึงเปนเวลาที่เด็กเรียนรูไดงาย 8. หนาที่ในทางสันทนาการ การขจัดปลดปลอยความเครงเครียดท้ังทางรางกายและจิตใจ เปนความตองการพ้ืนฐานของมนุษยการปลดปลอยความเครงเครียดทางอารมณเปนเรื่องจําเปนสําหรับผูใหญ แตสําหรับเด็กการใหเลนอยางสนุกสนานเปนสวนที่ชวยใหเด็กเจริญเติบโตในดานตาง ๆ พรอมกันหลายดาน ครอบครัวจึงควรจัดสันทนาการใหกับเด็กท้ังในบานและในบริเวณบาน รวมท้ังนอกบา นดวย 9. หนาท่ีในการสงเคราะหคนชรา หนาท่ีน้ีเปนแนวโนมในสังคมที่นาเปนหวงกลา วคอื สังคมถือวาบดิ า มารดา สุพัตรา สุภาพ (2536, 57-59) ไดกลาวถึงหนาที่ของครอบครัวตามลักษณะของสงั คมและวฒั นธรรมไทยไว ดังน้ี 1. สรางสรรคสมาชิกใหม (reproduction) เพ่ือใหสังคมสามารถดํารงอยูได เพราะสังคมจะตองมีสมาชิกใหมแทนสมาชิกเดิมที่ตายไป หนาที่นี้มีความสําคัญมาก ถาไมมีการสรางสมาชิกใหมสังคมน้ัน ๆ ก็จะตองสูญหายไป การมีสมาชิกใหมก็ตองมีใหสมดุลกับทรัพยากรภายในประเทศ คือ ไมมากเกินไปหรือนอยเกินไป ถามีมากเกินไปจนทรัพยากรภายในประเทศไมอาจจะอํานวย สังคมก็ยากลําบาก และเกิดปญหาตาง ๆ เชน ความยากจน อาชญากรรม เปนตน แตถามีสมาชิกนอยเกินไป สังคมนั้นก็อาจจะประสบปญหาขาดแคลนกาํ ลงั คน 2. บําบัดความตองการทางเพศ (sexual gratification) ซึ่งจะออกมาในรูปของการสมรสเปนการลดปญ หาทางเพศบางอยาง เชน ขมขืน การสมรสจึงเปนส่ิงจําเปนในสังคมที่มีการจัดระเบียบเพราะการสมรส คือ วิธีหนึ่งท่ีสังคมเขามาควบคุมความสัมพันธทางเพศแตอยางเดียว จะตองทําใหมนุษยมีครอบครัวเสมอไป เพราะมนุษยมีทางระบายออกทางอื่น ๆ ไดโดยไมตองมีครอบครัว เพราะการสมรสใหมากกวาความพอใจในเร่ืองความสมั พนั ธท างเพศ

3. เลี้ยงดูผูเยาวใหเติบโตในสังคม (maintenance of immature children orraising the young) เราจะเห็นไดวาไมมีสถาบันใดทําหนาท่ีดีกวาสถาบันน้ี เพราะความรักและอบอุน เด็กจะหาท่ีอื่นใดเสมือนครอบครัวน้ันยากมาก พอแมสวนใหญมีความรักลูกยอมจะประคับประคองเล้ียงดูลูกของตนเปนอยางดี แมจะยากดีมีจนก็ตาม ครอบครัวจึงเลี้ยงดูบุตรตั้งแตแรกเกิดจนกระทั่งเติบใหญ การเลี้ยงดูจากท่ีอื่นแมจะทําได เชน สถานสงเคราะห โรงพยาบาล ตามบานรับเล้ียงเด็ก ก็ทําไมไดดีเทา เพราะอาจจะใหเด็กไดแตการเลี้ยงดูทางดานรางกาย แตทางดานจิตใจนั้นทําไดยากมาก เพราะมีเด็กเปนจํานวนมาก การจะใหความอบอุนแกเด็กทุกคนเสมือนพอแมใหแกลูกนั้นทําไมคอยไดดวยเหตุน้ีเด็กในสถานสงเคราะหสวนใหญจึงพัฒนาไดชา เชน เดินชา พูดชา อารมณไมม่ันคง และบางครงั้ กท็ าํ รา ยตัวเอง เพอ่ื เรียกรอ งความสนใจ 4. ใหการขัดเกลาทางสังคม (socialization) ครอบครัวเปนแหลงการอบรมเบื้องตนท่ีมีอิทธิพลตอเด็กมากที่สุด เปนสถาบันที่เตรียมตัวเด็กใหออกไปเผชิญกับส่ิงแวดลอมท่ีพนไปจากบาน ครอบครัวชวยอบรมเด็กใหรูจักกฎเกณฑ คานิยม แบบของความประพฤติ ฯลฯ สอนใหเด็กปรับตัวเขากับส่ิงแวดลอมในสังคม วิธีการอบรมก็อาจทําไดท้ังโดยตรงและโดยออม โดยตรงก็โดยการสั่งสอนหรือดุดา หรือวากลาว โดยออมก็โดยการทําตัวเปนแบบอยางที่ดี การอบรมน้ีก็มีอยูตลอดเวลา จึงนับไดวาเปนสถาบันท่ีใหการอบรมแกเ ดก็ ตัง้ แตเกิดจนตาย 5. กําหนดสถานภาพ (social placement) เราไดชื่อสกุลจากครอบครัว ซึ่งสวนมากก็เปล่ียนไดในเวลาตอมา โดยเฉพาะถาเปนหญิง เม่ือแตงงานแลวก็เปล่ียนตามชื่อสกุลสามี สถานภาพตําแหนงท่ีครอบครัวใหน้ีทําใหเรารูวาเราเปนใคร อยูกับคนกลุม

ไหน เชน ชื่อสกุลเปนไทย ก็จัดวาเปนคนไทย นอกจากน้ีสถานภาพก็เปนส่ิงท่ีติดตัวมาแตเกิด เชน เปน ลกู คนจน ลูกคนรวย เปนเช้ือพระวงศ เปนลูกรัฐมนตรี เปนลูกพอคา ฯลฯและสถานภาพดังกลาวอาจจะเปลี่ยนสถานภาพเปนพอคา เปนขาราชการ ทหาร ตํารวจเปนตน 6. ใหความรักและความอบอุน (affection) ครอบครัวเปนแหลงท่ีสมาชิกไดรับความรักและอบอุน อยางบรสิ ทุ ธิ์ใจ เปนแหลงท่ีใหประกันวา จะมีคนที่เรารักและคนที่รักเราเสมอ เชน ความรักของสามีภรยิ า หรือความรักของพอแมท ม่ี ีตอลูก นอกจากนั้นถาสมาชิกคนใดประสบความผิดหวังไมวาในดานการงาน หรือดานอ่ืน ๆ ครอบครัวจะเปนแหลงใหกําลังใจและปลุกปลอบใจ เพ่ือใหสามารถผานอุปสรรคไปได สรุปแลวครอบครัวจึงเปนแหลงทใี่ หค วามรกั ความคมุ ครอง และความมั่นคงทางดานจิตใจแกสมาชิก ทําใหสมาชิกมีพลงั ใจในการฝา ฟนอปุ สรรคตา ง ๆ ใหล ลุ วงไปได พรรณทิพย ศิริวรรณบุศย (2545, 34-35) ไดกลาวถึงหนาท่ีของครอบครัวในหนังสอื จติ วิทยาครอบครวั ไว ดงั นี้ 1. หนาที่ดานเศรษฐกิจ ในสมัยโบราณคนในครอบครัวเดียวกันตองชวยกันทํามาหากิน ลูกตองรับภารกิจของพอ แตยังไมไดเปนเจาของจนกวาพอจะตาย ครอบครัวเปนผผู ลติ และผูบ รโิ ภค ในปจจุบนั การผลติ ตางๆ ถูกตัวแทนนอกครอบครัวรับไปทําแทนทั้งสิ้นอาหารท่ีเคยทําในบา นกม็ ีตวั แทนทํานอกบาน ในสังคมปจจุบันสิ่งตางๆ อาจหาซ้ือไดไมวาอาหาร หรอื เสือ้ ผา นอกจากน้ันยังมเี ครือ่ งมอื เครอื่ งใชท ุนแรง 2. หนาท่ีในการใหการศึกษา ในสมัยกอนแมสอนเรื่องการบานการเรือนใหลูกสอนใหอาน เขียน หรือทําเลขงาย ๆ แตทุกวันที่เด็กใชเวลาในโรงเรียน หรือในการเรียนมากกวาอยูบาน กินขาวกลางวันที่โรงเรียนถึงบานในเวลาเย็น โรงเรียนเลิกก็มีกิจกรรมนอกหลักสูตร แตกระนั้นครอบครัวก็ยังเปนตัวแทนวัฒนธรรมท่ีจะถายทอดขนบธรรมเนียมและประเพณี ความเช่ือ คานิยม งานอดิเรกและกิจกรรมท่ีจะเรียนไดในบานเด็กซึ่งจะเรียนจากที่อ่ืนไมได เด็กที่ไดรับการเล้ียงดูจากครอบครัวท่ีทําอะไร ๆรวมกันจะตางจากเด็กที่มาจากบานที่ตางคนตางอยูตางคนตางทํา การปฏิบัติและดําเนินชีวิตในครอบครัวเปนตัวแทนในการเรียนท่ีเขมแข็งกวาจะเรียนจากหนังสือที่โรงเรียน ถาครอบครัวไมยอมทําอะไรเลยก็จะสูญเสียหนาท่ีทางการศึกษาและเด็กท่ีดีจะขาดความสนบั สนุนทคี่ วรไดจ ากครอบครวั 3. หนาที่ในการปกปองสวัสดิภาพ หนาท่ีสําคัญอีกประการที่ไมควรละเลยของครอบครัว คือ ครอบครัวตองปกปองสวัสดิภาพของสมาชิก อาจอาศัยตํารวจหรือหนวยงานอนื่ ๆ เชน สาธารณสขุ ยา ประกันชวี ิต ประกนั รถ

4. หนาที่ในการสันทนาการ มีสันทนาการซึ่งเปนสวนสําคัญของชีวิตครอบครัวในปจจุบัน เชนฟุตบอล บาสเกตบอล ภาพยนตร การใชเวลาสันทนาการรวมกันน้ัน จะทําใหความสมั พันธในครอบครัวดีข้ึน 5. หนาท่ีทางศาสนา การศาสนาในบานเรามีนอยลงไปเรื่อย ๆ เพราะความไมสะดวกคนหนุมสาวไมสนใจการเขาวัด ในชนบทเวลามีงานวัดก็เขาไปเพ่ือสนุกมากกวาที่จะสนใจกับพิธีศาสนา ความเช่ือพื้นฐานตางๆ เด็กก็มักจะไดจากครอบครัว ครอบครัวควรชวยใหเขามีปรัชญาชีวิต ศีลธรรมท่ีเขามี เขาไดมาจากครอบครัวของเขาเอง การศึกษาพบวา หนุมสาวเรียกตนเองวาพุทธ ศาสนิกชน เพราะเกิดมาในครอบครัวท่ีนับถือศาสนาพุทธ แตแทจริงแลวครอบครัวสวนมากไมสามารถใหคุณคาทางศาสนาแกเด็กไดอยางแทจ รงิ และไดผ ลสําเร็จ 6. หนาท่ีในการใหความรัก ในวัยทารกเด็กจะไดรับการอุมชูกอดรัดในระหวางใหนมมารดาจะทําใหเขาเกิดความไววางใจ เขาไดรับการเปลี่ยนผาท่ีเปยกแฉะ และมีคนในครอบครัวมาเลนดวย เม่ืออายุได 3 เดือน เขาก็เร่ิมจะเห็นความแตกตางระหวางบุคคลแตละคน รูวาใครเปนใครในครอบครัว การอุมชูแสดงความรักเด็กจะเกิดความรูสึกอบอุนมน่ั คงปลอดภัย ซง่ึ จะชวยใหเขาปรบั ตวั ใหเขากับโลกภายนอกได 7. หนาท่ีทางชีววิทยาของครอบครัว ครอบครัวมีหนาที่ใหเกิดบุตรเมื่อมนุษยสามารถสืบพันธุอยูตอไปได เด็กท่ีเกิดไมถูกกฎหมายในครอบครัวที่ไมตองการมักจะเปนปญหาและภาระของสังคม ซ่ึงมีอยูมากในสังคมไทย ดังน้ันทุกชีวิตท่ีเกิดตองมีสิทธิที่จะไดร บั ความรกั และความเอาใจใส

วรวิทย พัฒนาอิทธิกุล(2546, http://els.nsru.ac.th/advertising/chapter9.htm)ไดกลาวถึง บทบาทของครอบครัว (Role of family) วาครอบครัวมีบทบาทตองใหส่ิงตอไปน้ีกับสมาชิก – นิสัย (Habit), คานิยม (Value), การมองโลกหรือโลกทัศน (Worldview) ซึ่งเปนเร่ืองของการรับรู (Perception), บุคลิกภาพ (Personality), ทัศนคติ(Attitude) การท่ีจะชอบไมชอบสิ่งใดกต็ าม ครอบครัวจะมีหนา ท่ตี อ สมาชกิ เสมอหนาทขี่ องครอบครวั (Functions of the family) หนา ท่ีพื้นฐาน 4 ประการของครอบครัวซึ่งเกย่ี วของกบั ผูบริโภคมีดงั น้ี 1. ทําหนาที่เลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัว (Economic well-being) ความกินดีอยูดีในเชิงเศรษฐานะ ความรับผิดชอบของครอบครัว ก็คือการสรางความเปนอยูที่ดีใหกับครอบครัว ในอดีตครอบครัวไทยมีสามีทําหนาที่เปนผูสรางรายไดเพ่ือเลี้ยงดูภรรยาและบุตรแตเพียงผูเดียว แตในปจจุบันน้ันบทบาทของภรรยามีความรับผิดชอบในการสรางรายไดใหกับครอบครัว โดยตองทํางานนอกบานดวย เหตุนี้บทบาทในการเล่ียงดูบุตรจึงเปลี่ยนแปลงไป ผูชายจําเปนตองมีบทบาทในการเลี้ยงดูบุตรและชวยงานบานมากขึ้นเน่ืองจากครอบครัวมีหนา ท่ีในการหารายได 2. ทําหนาท่ีเสริมสรางขวัญกําลังใจ (Emotional support) หนาท่ีที่สําคัญของครอบครวั อีกประการหน่งึ กค็ อื การแกป ญหา การดูแลและ(หรือ) ใหความอบอุนกับสมาชิกของครอบครัว บิดาและมารดาเปนนักจิตวิทยาหรือผูใหคําแนะนําระดับมืออาชีพในการแกปญ หาดา นจติ ใจ หรือดานอารมณแกบตุ รในครอบครวั 3. ทําหนาท่ีวางรูปแบบการดํารงชีวิตของครอบครัวที่เหมาะสม (Suitable familylifestyle) หนาท่ีของครอบครัวในสวนท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมผูบริโภคก็คือ การสรางรูปแบบชีวิตที่เหมาะสมใหกับครอบครัว เชน การใหคําแนะนําหรือขอคิดเห็นเกี่ยวกับการศึกษา การเลือกอาชีพ การอานหนังสือ การชมโทรทัศน การรับประทานอาหารนอกบา น การเลือกรายการบันเทิง และกิจกรรมการพักผอน รูปแบบการดํารงชีวิตในครอบครัวตัวอยางเชน การเพ่ิมจํานวนสตรีทํางานเมื่อแตงงานแลว จะเปนตัวสรางโอกาสทางการตลาดสําหรับสินคาสะดวกซ้ือ และรานอาหารฟาสตฟูด ดังน้ันท้ังบิดาและมารดาซึ่งทํางานนอกบา น จะตองคํานึงถึงคุณภาพของเวลา (Quality of time) แทนท่ีจะเปนปริมาณของเวลา (Quantity of time) ทใ่ี หสําหรบั เดก็ และสมาชิกในครอบครัว 4. ทําหนาท่ีสรางใหเกิดกระบวนการทางสังคม (การขัดเกลา) ของสมาชิกในครอบครัว (Socialization of children and other family members) กระบวนการสังคม(Socializing) หมายถึง การเตรียมตัวใหสมาชิกเขาสูสังคม เปนกระบวนการซึ่งเด็กคนหาทักษะ (Skill) ความรู (Knowledge) และทัศนคติ (Attitude) ท่ีจําเปนในครอบครัวครอบครัวเปนสวนหน่ึงของกระบวนการทางสังคมของผูบริโภค (Consumer

socialization) โดยการเตรียมสมาชิกเขาสูสังคม เม่ือเกิดมาอยูกับพอแมก็เตรียมเราเขาโรงเรียนอนุบาล พอจบก็จะเตรียมใหเขาสูระดับประถม มัธยม เปนตน กระบวนการทางสังคมนอกจากจะไดรับอิทธิพลจากครอบครัวแลว ยังมีสถาบันการศึกษา ศาสนา ชาติการเมือง สื่อมวลชน สถาบันเหลานี้ถือวามีอิทธิพลตอการสรางใหเกิดกระบวนการทางสงั คม ครอบครัวเปนสถาบันทางสังคมสถาบันแรกของมนุษย แมครอบครัวจะมีววิ ัฒนาการมาหลายรปู แบบ แตค รอบครวั ทกุ รปู แบบมีความสาํ คัญเหมือนกันตอ สมาชกิความสําคัญของครอบครัว มีหลายประการ ไดแก (คณะอนุกรรมการดานครอบครัว 2537อา งใน รจุ า ภูไพบูลย 2542, 108) 1. ครอบครัวเปนสถาบันพื้นฐานแรกท่ีสุดของมนุษย และเปนสถาบันท่ีเกาแกทส่ี ุดในโลก ท่ีทําหนาที่ในการหลอ หลอมความเปน มนุษย ของสมาชิกใหมในครอบครวั 2. การอบรมเล้ียงดูจากครอบครัว และการใหการศึกษาในครอบครัว มีอิทธิพลตอ ระดบั คุณภาพของคน และบุคลิกภาพ ซึ่งรวมท้ังคานิยม เจตคติ และพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน วิถีชีวิตของสมาชิกในครอบครัวท่ีมีอิทธิพลตอกัน โดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน ครอบครวั เปน เบา หลอมความคดิ คา นิยมตางๆ ที่สาํ คญั 3. เปนหนวยของสังคมพื้นฐาน ท่ีประกอบดวยวิถีชีวิตของสมาชิกทุกคน วิถีชีวิตนี้ รวมท้ังดานเศรษฐกิจ และการเมอื ง การศึกษา ศิลปวัฒนธรรม และจริยธรรม ซ่ึงมีผลตอคุณภาพของสงั คม 4. ครอบครัวเปนหนวยเศรษฐกิจพื้นฐานของสังคม ท่ีสามารถจุนเจือเด็ก และเยาวชน ที่ยังตอ งการพง่ึ พาผูอนื่ ในวัยเยาว 5. ปญหาสังคมหลายประการจะปองกันได โดยสถาบันครอบครัว สถาบันครอบครัวท่ีรวมตัวกันได จะเปนกลุมพลัง/ชุมชน ท่ีสามารถพัฒนา ปองกัน และแกไขปญ หาของตนเองไดลกั ษณะโครงสรา งของครอบครัว วรวิทย พัฒนาอิทธิกุล(2546, http://els.nsru.ac.th/advertising/chapter9.htm)ไดก ลาวถึงลกั ษณะของโครงสรา งครอบครวั (Characteristic of family) ควรมลี ักษณะดงั น้ี 1. มีจุดมุงหมายรวมกัน (Common purpose) ไมวาจะเปนสามี หรือภรรยา หรือลูก มีเปาหมายชีวิตเหมือนกัน เปนเปาหมายเดียวกัน เชน ตองการสรางครอบครัวใหมีความสุขปราศจากอบายมุข ทั้งสามี ภรรยา บุตร จะตองละเวนจากอบายมุขทั้งปวง ถาเชนน้ันครอบครวั กจ็ ะมีความสุข

2. เปนการแบงงานกันทําตามความชํานาญเฉพาะดานระหวางสมาชิก(Specialization among members) ในครอบครัวจะมีการแบงงานกันทําระหวางสมาชิกโดยอาศัยความชํานาญเฉพาะดาน เชน ภรรยาทํากับขาว สามีขับรถ ลูกชวยทําความสะอาดบา น เปนตน 3. ครอบครัวตองมีลักษณะเปนผูนําและมีการกําหนดสถานะ (Leadership andstatus) ในครอบครัวจะมีการกําหนดวาใครเปนผูนําครอบครัว ใครมีบทบาทและสถานะอยางไรในครอบครัว เชน ครอบครัวคนจีนจะเดนชัดในเรื่องบทบาทและสถานะมากระหวา งลูกสาวและลกู ชาย 4. ครอบครัวตองมีความรวมมือกัน (Cooperation) ครอบครัวตองมีการรวมมือกันในการทํางาน สรางรายไดใหกับครอบครัว สามี ภรรยา ชวยกันทํางานหารายไดใหกับครอบครัว สว นลกู ใหก าํ ลังใจ ขยนั เรียน เปนตน 5. ตองมีการส่ือสารภายในครอบครัว (Communication) ในครอบครัวตองมีการพบปะพดู คุยกนั โดยเฉพาะการอบรมสงั่ สอนลกู ทั้งน้ีวงจรชีวิตครอบครัว วงจรชีวิต (Family life cycle) สามารถแบงกลุมไดดังน้ี (1) เปนโสด (Bachelorhood) (2) คสู มรสใหม (honey mooners) (3) ครอบครวั ทมี่ ีบุตร (Parenthood) (4) ครอบครวั ท่ีอยคู นเดียว (Dissolution) โดยท่ีในแตละแบบน้ันจะประกอบไปดวยบคุ คลในวัยตา งๆ ดังนี้ 1. วัยทารก (Baby) เปนวัยท่ีไมมีอิทธิพลอะไรเลยตอการซื้อ เพราะพอแมเปนผูจดั หาทกุ อยางให 2. วัยกอนเขาเรียน (Pre school child) อายุ 3-6 ป เปนวัยที่เริ่มมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือของพอแม โดยเด็กจะรบเราใหพอแมซ้ือให อยากไดอะไรตองได นักการตลาดตอ งเลน กบั วยั นี้ 3. วยั เรยี น (School age) อายุ 7-12 ป เปนวัยเรียนระดับประถม มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อนอยกวาวัยกอนเขาเรียน นักการตลาดมักใชวิธีจูงพอแมที่อยากเห็นความเจรญิ เตบิ โตของลกู 4. วัยรุน (Teenage) อายุ 13-19 ป เปนวัยที่ติดเพ่ือนมาก ไมคอยไปไหนมาไหนกบั พอ แม อาํ นาจซื้อท่แี ทจ รงิ ไมม ี แตเปนกลุมทีถ่ ูกยดั เยียดใหซ ื้อ ขอเงินจากพอแมเพื่อซื้อสินคาตามใจ เพ่ือชดเชยการที่ไมมีเวลาอบรมเลี้ยงดู ไมมีเวลาอยูกับลูกโดยใหเงิน ซ่ึงวัยนี้เปนวัยท่ีไดรับความกดดันจากเพื่อน (Peer group pressure) มักทําอะไรตามเพื่อ เปน

พวกท่ีคลง่ั ไคลแฟชนั่ ความนิยมในสนิ คา มีลักษณะทเี่ ปลีย่ นแปลงไดงายและรวดเร็ว สินคาที่ขายใหกับกลุมวัยรุนตองเปนสินคาที่มีวงจรชีวิตสั้น การทําธุรกิจกับกลุมนี้ตองคืนทุนเร็วเนนความเปนแฟช่ันสรางสินคาใหเปนของยอดนิยม เพราะชอบเลียนแบบบุคคลท่ีตนยกยองบูชา (Idol) ไดแก นักรอง ดารา โดยมีพฤติกรรมเลียนแบบ แตคนกลุมน้ีเหมาะที่จะเปนพรีเซนเตอรใหก บั สินคา 5. วัยผูใหญ (Adolescent) อายุ 25-40 ป เปนวัยฉกรรจ วัยหนุมสาว ทําอะไรตามใจตวั เอง 6. วัยแตงงาน (Honey mooners) เปนวัยท่ีอยูในชวงการสรางเน้ือสรางตัวพยายามเกบ็ เงนิ ซอ้ื บาน ซ้อื รถ การใชจ า ยเงนิ ตองมกี ารปรึกษากัน 7. วัยที่เริ่มมีบุตร (Parenthood) เปนกลุมท่ีใชเงินเพื่อบุตรมากข้ึน ใหความสนใจสินคา สาํ หรับเด็กมากขน้ึ ประกันชีวติ อาหาร การดูแลสขุ ภาพ เสอื้ ผา เด็ก 8. วัยที่เปนมาย (Desolution) เปนวัยที่เฝาดูการเจริญเติบโตของลูกหลาน รักหลานมากกวาลูก เน่ืองจากวาวัฏจักรชีวิตครอบครัวตั้งแตวัยผูใหญ(Adolescent) ขึ้นไปเปน ขน้ั ทีม่ ีอํานาจซอื้ สงูประเภทของครอบครวั นักมนุษยวิทยาไดทําการสํารวจประเภทของครอบครัวมนุษยในสังคมตาง ๆพบวา ครอบครัวมนุษยพอจะแบงแยกออกเปนประเภทใหญ ๆ ได 4 ประเภท คือ (เฉลียวบญุ ยงค 2538, 8-9) 1. ครอบครัวเน้ือแทหรือครอบครัวพื้นฐาน (Nuclear or Elementary Family) เปนครอบครัวที่ประกอบดวยบุคคลท่ีมีความสัมพันธกันอยางใกลชิดท่ีสุด ประกอบดวย พอแม และลูกๆ แตบางสังคมวัฒนธรรมอาจกําหนดใหญาติบางคนอาศัยรวมอยูดวย ซึ่งอาจจะเปนพ่ี หรือนองของสามี หรือภรรยา ที่ยังเปนโสด แตอํานาจของหัวหนาครอบครัวยังมีอยูอยางสมบูรณ ครอบครัวประเภทน้ีตามปกติจะมีสมาชิกนอยมาก อาจจะมีเฉพาะสามี ภรรยา และลกู ๆ เทา นน้ั 2. ครอบครัวขยายหรือครอบครัวรวม (Extended or Joint Family) ไดแกครอบครัวแบบเน้ือแทหรือครอบครัวพื้นฐานต้ังแตสองครอบครัวข้ึนไปมารวมกันเขากลายเปนหนวยครอบครัวใหมท่ีใหญกวาครอบครัวเดิมนั่นเอง อํานาจสิทธิ์ขาดในการตดั สินตา ง ๆ มิไดอ ยูท พี่ อหรือแม แตอยูกบั ญาติผใู หญทอ่ี าวโุ สฝา ยใดฝายหนึง่ เปน หลกั 3. ครอบครัวซอน (Composite or Compound Family) ครอบครัวแบบน้ีเกิดมีขึ้นในสังคมทีอ่ นุญาตใหช ายหรือหญงิ มภี รรยาหรือสามีไดม ากกวา หนึ่งคน ซึง่ แยกไดดงั น้ี

ก ชายมภี รรยาไดห ลายคน (polygynous marriage) ข หญงิ มีสามีไดหลายคน (polyandrous marriage) ท้ังสองระบบน้ีคูครองจะอยูรวมในครอบครัวเดียวกันหรือไมก็ตาม ยอมถือวารวมในครอบครัวเดียวกัน ชายไทยท่ีมีภรรยาและบุตรแลว แตกลับไปแตงงานใหม (มีเมียนอย) ถาชายน้ันเอาหญิงเมียนอยมาอยูดวยก็เกิดเปนครอบครัวซอนข้ึน สวนครอบครัวซอนแบบที่หญิงหัวหนาครอบครัวมีสามีไดหลายคนในขณะเดียวกันน้ัน ไมใครปรากฏ จะมีอยูบางระหวางกลุมชนท่ีสตรีขาดแดลนบางกลุมเทาน้ัน ประเพณีแบบน้ีมักจะมีพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจไมม ่ันคงนกั ในสังคมตะวันออก มักจะเปนครอบครัวซอนประเภทชายมีภรรยาไดหลายคนและมักจะมีอยูกบั ชนชั้นสูงซ่ึงมีฐานะทางเศรษฐกิจดี อยางไรก็ตามครอบครัวแบบนี้ยอมจะสลายตวั ไดง า ยกวา ครอบครวั ขยาย 4. ครอบครัวสาระ (Essential Family) ครอบครัวแบบน้ีเปนครอบครัวท่ีขาดความอบอุนจากพอผูเปนหัวหนาครอบครัว เนื่องจากตองออกไปทํามาหากินนอกบาน เชนทํางานตางอําเภอ ตางจังหวัด หรือตางประเทศ ความอบอุนท่ีลูก ๆ ไดรับจึงตกอยูกับแมโดยมีแมเปนหลักของครอบครัว เนื่องจากแมตองอยูในฐานะรับผิดชอบตอความเปนอยูของลกู ๆ ครอบครวั ประเภทนีบ้ างทเี รยี กวา ครอบครัวภาระ Murdock (อางใน สมาคมคหเศรษฐศาสตรแหงประเทศไทย 2524, 88-89)นักมนุษยวิทยา ไดแบงประเภทของครอบครวั ดงั นี้ 1. ครอบครัวเด่ียว (Independent monogamous หรือ immediate family)ประกอบขึ้นดวยสามีภรรยาและบุตรเทาน้ัน มีความสัมพันธกันอยางใกลชิด คือ ทั้งทางสายโลหิตและกฎหมาย เปนครอบครัวเล็ก ซึ่งมีมากในสังคมชายตะวันตก มีอิสระเสรีในการดําเนินชีวิต มีความสัมพันธกับญาติพี่นองนอยลง เกิดจากแนวโนมในสังคมซ่ึงย้ําความคิดในเรื่องความเปนตัวเอง ประกอบกับภาวะทางเศรษฐกิจทําใหไมอาจรับภาระในการเล้ยี งดบู ุคคลอนื่ ซง่ึ มคี วามสมั พนั ธน อกเหนือทางสายโลหิต 2. ครอบครัวหลายภรรยาหรือหลายสามี(Polygamous family) ครอบครัวหลายภรรยา คือสามีหน่ึงมีภรรยาหลายคน บุตรจากทุกภรรยามีบิดารวมกัน ภรรยาคนหน่ึงๆอาจแยกครัวเรือนอยูตางหาก มีลักษณะเปนครอบครัวเด่ียวหลายครอบครัว หรืออยูในครอบครัวเด่ียวกัน สวนภรรยาคนเดียวมีสามีหลายคน โดยไมไดเลิกรางกับคนแรง มีอยูนอยในสงั คม ยังมอี ยใู นสังคมธิเบต 3. ครอบครัวตอกาน (stem family) ครอบครัวเดิมกับครอบครัวสรางข้ึนอยูดวยกันอาจเปนครัวเรือนเดียวกันหรือตางครัวเรือน บิดามารดาท่ีตั้งบานเรือนอยูในท่ีดินท่ีกวางขวาง มักจะนิยมปลูกสรางเรือนหอใหบุตรอยูในบริเวณเดียวกัน บางคร้ังครอบครัว

ใหมกินรวมกับครอบครัวเดิม บางครอบครัวใหมก็ชอบหุงหากินตางหาก โดยมากผูมีบุตรคนเดียว หรือมีหลายคนแตแยกครัวเรือนไปหมดเหลือแตคนสุดทอง มักปรารถนาท่ีจะใหบตุ รอยูใกล เพ่ืออาศยั ไหวว านหรอื เพือ่ ความอบอนุ ใจ 4. ครอบครัวแตกกิ่ง (lineal family) โดยมากเปนครอบครัวท่ีบิดามารดามีบุตรหลายคน แตละคนมีครอบครัวท่ีสรางขึ้นของตนเอง แตมาโยงเขากับครอบครัวเดิมคือบดิ ามารดา โดยมากบิดามารดามักจะเปนผูมีฐานะทางสังคมสูง ครอบครัวพี่ครอบครัวนองกผ็ กู พันกันอยไู ด ถึงแมเ มื่อบดิ ามารดาลว งลบั ไปแลว ความผูกพันก็ยังมีอยู ยกเวนในกรณีที่บิดามารดามีทรพั ยสมบตั ิมาก และยังไมไดทาํ พินัยกรรมยกมรดกใหใคร ครอบครัวพี่นองกม็ กั จะแตกแยกฟอ งรองเปนความกัน 5. ครอบครวั ขยาย (extended family) ครอบครวั ประเภทใดประเภทหน่ึง หรือครัวเรือนซึง่ รวมครอบครวั สองครอบครัว หรอื มากกวาน้ันของพ่ีนอง และอยูกับครอบครัวแกวาอีกหนึ่งช่ัวอายุ เชน ครอบครัวของบิดามารดาเรียกวาครอบครัวขยาย ในครอบครัวขยาย ทรัพยสินโดยเฉพาะท่ีดิน วัวควายและเคร่ืองประกอบอาชีพมักเปนสมบัติสวนกลาง มีญาติอาวุโสเปนผูดแู ลมอี ํานาจเหนือสมาชิกครอบครวั ทกุ คน วรวิทย พัฒนาอิทธิกุล(2546, http://els.nsru.ac.th/advertising/chapter9.htm) ไดสรุปเก่ียวกบั ประเภทของครอบครวั ไวว า ครอบครวั จะมีความสัมพันธและมีความเก่ียวของกันดานใดดา นหนงึ่ ลกั ษณะของครอบครัวมี 3 แบบ ดงั นี้ 1. กลุมครอบครัวสามีและภรรยา (Married couple) ประกอบดวย สามีและภรรยาที่ยังไมม ลี ูก 2. กลุมครอบครวั เด่ียว (Nuclear family) เปน ครอบครัวทีป่ ระกอบดว ย พอ แม ลูก 3. ครอบครัวใหญหรือขยาย (Extended family) ประกอบดวย ปู ยา ตา ยาย พอแม ลูก ลุง ปา นา อา หลานสภาพการณเกยี่ วกับครอบครวั ไทย ครอบครัวไทยเปนสถาบันท่ีมีลักษณะท้ังเฉพาะที่ไมเหมือนของสังคมอ่ืน และมีลักษณะรวมกันกับของสังคมอื่น ภาพทั่วไปในครอบครัวไทย พอแมลูกจะใกลชิดสนิทสนมกัน พอแมจะทะนุถนอมลูกเหมือนดอกไม ลูกจะใกลชิดแมมากกวา พอแมไทยจะเอาใจลูกมาก จนแมล กู โตเปนผใู หญ ลกู ไทยจึง “เล้ียงไมโต” สําหรับสภาพการณไทยปจจุบัน สัญญา สัญญาวิวัฒน (2544, 65-67) เรียบเรียงไว ดงั นี้ 1. ดานประชากร จากขอมูลของประชากรไทย ป 2541 ตามหลักฐานเอกสารของสถาบันประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีประชากรรวม 60,806,000 เปนหญิง

มากกวาชายเล็กนอย อัตราเพิ่มตอปรอยละ 1.16 ความหนาแนน 119 คนตอตารางกิโลเมตร เปนคนในเขตเทศบาล หรือเปนชาวเมืองท่ัวประเทศ 18.4% อายุไขเฉล่ีย ชาย67.36 หญิง 71.74 ป ในป 2540 ที่ผานมามีการจดทะเบียนสมรสประมาณ 400,000 คูหยา 60,000 คู คดิ เปนการหยา ขาดจากกันของคนไทยท้ังประเทศประมาณ 16% 2. ประเภทของการสมรส ครอบครัวไทยเปนแบบคูครองคนเดียว แตในทางปฏิบัติในสมัยกอน หรือในสมัยปจจุบันบาง เปนแบบหลายคูครอง น่ันคือสามีมีภรรยาหลายคน โดยเฉพาะสามีท่ีร่ํารวย มีอํานาจ หรือเปนขุนนางชั้นผูใหญ แตสําหรับปจจุบันคนไทยทกุ ชนั้ ถอื หลักคคู รองคนเดยี ว 3. ประเภทของครอบครัว ครอบครัวไทยเปนครอบครัวเด่ียวหรือครอบครัวขนาดเล็ก (nuclear family) เปนครอบครัวแบบพอแมลูก โดยเฉพาะสังคมในเมือง ตลอดจนกฎหมายไทยระบุวา การจดทะเบียนสมรสจะถูกตองก็เพียงคนเดียวเทานั้น คือ แบบสามีหนึ่ง ภริยาหน่ึงเทาน้ัน อยางไรก็ตามในสมัยกอนชายมักนิยมมีภริยาหลายคน (polygons)คอื แบบสามหี น่ึงภริยาหลายคน 4. ที่อยูอาศัยหลังสมรส สําหรับเกณฑปฏิบัติของสังคมไทยมีอยูสองแบบ คือแบบอยูกับฝายหญิง เปนแบบที่นิยมในอดีตและในสังคมชนบทปจจุบัน สวนแบบแยกบานไปต้ังใหมเปนแบบนิยมในปจจุบันท้ังในเมืองและชนบท สวนการจัดงานมีอยู 2 แบบ คือแบบอาวาหมงคล เปนการจัดงานและท่ีอยูหลังสมรสที่บานชาย และวิวาหมงคล เปนการจัดงานและท่ีอยูอาศัยหลังสมรสท่ีบานฝายหญิง แสดงใหเห็นวาในสังคมไทยมีธรรมเนียมปฏิบัติอยูทั้งสองอยาง จะทําแบบไหนก็ได สุดแตผูใหญของท้ังสองฝายจะตกลงกัน สิ่งท่ีมักจะตองพิจารณากันในการที่จะเลือกจัดงานฝายใด มักข้ึนอยูกับฐานะทางเศรษฐกิจสงั คมของแตละฝา ย ถาฝายใดสูงกวา รวมกวา ฝา ยนัน้ ก็เปนผจู ดั 5. การสืบเช้ือสายและการสืบมรดก (descent and inheritance) สําหรับประเพณีไทย เปนแบบสืบทางสายพอ นั่นคือ เม่ือชายหญิงสมรสกันแลว ฝายหญิงจะเปลี่ยนนามสกุลจากเดิมมาใชของสามี ลูกของพอแมจะใชนามสกุลของพอ เมื่อสามีตาย หรือหยาขาดจากกันภรรยายังใชนามสกุลสามีอยูเชนเดิม สวนที่เก่ียวกับการรับมรดก ลูกไทยจะไดรับมรดกท้ังจากปู ยา และตา ยาย แลวแตความพอใจของท้ังฝายพอ และฝายแม แตถาฝายใดฝายหน่ึงหม้ันเปนพิธีกรรม หรือเปนขนบธรรมเนียม ไมไดกําหนดรายละเอียดเปนกฎหมายลายลักษณอักษร โดยปกติเมื่อผูใหญฝายชายไปสูขอฝายหญิง ก็จะประกอบพิธีหมั้นหมายกัน โดยมีสินสอดทองหมั้น อันกฎหมายถือวาเปนสัญญาตามกฎหมายถาหมั้นแลวไมแตง โดยฝายชายผิด ฝายหญิงสามารถรับของหม้ัน นอกนั้นกฎหมายยังใหโอกาสเรียกคา ทดแทนความเสยี หายไดอ กี สว นหน่งึ

6. อํานาจในครอบครัว ดังสุภาษิตท่ีวา “ชายเปนชางเทาหนาหญิงเปนชางเทาหลัง” แตในทางปฏิบัติมักมีการออมชอมกันมาแตไหนแตไร รวมถึงปจจุบันโดยใหหญิงเปนใหญในบาน ชายเปนใหญเร่ืองนอกบาน เชน ลูกควรเรียนโรงเรียนไหน เรียนสาขาอะไร ประกอบอาชีพอะไร การปกปองคุมครองครอบครัว การหาเลี้ยงครอบครัว การแกปญหาจากภายนอก ในสมัยปจจุบันประชาธิปไตย สามีภรรยายอมมีสิทธิเสรีภาพเสมอกัน สามีภรรยา และลกู มกั จะปรึกษาหารือกันมากกวา การใชอ าํ นาจเด็ดขาดของฝายใด แตอยางไรเสียสามีกย็ งั มีภาษอี ยูเ ปน สว นใหญ 7. ขอหามสมรสกับญาติสนิท คือถือหลักสมรสนอกวงศวาน ไมใชคนนามสกุลเดียวกัน ไมใชพี่นองใกลชิดกัน หลักเฉพาะบางอยาง เชน หามสมรสกับบุตรบุญธรรมหามสมรสกับพระ เณร ชี ชายตองอายุ 17 ปบริบูรณ หญิงตองอายุ 15 ป บริบูรณ เม่ือบดิ ามารดาอนญุ าต ชายหญิงไมเปน คนวกิ ลจรติ เอกลักษณของสังคมไทยที่ สุพัตรา สุภาพ (2537, 63-65) ไดกลาวถึงไวเพิ่มเติมจากท่ีกลาวมาขา งตน ดังน้ี 1. การเคารพเช่ือฟงตามลําดับอาวุโส (seniority) ครอบครัวไทยจะย้ําเร่ืองอาวุโสต้ังแตวัยเด็ก โดยนองตองเคารพพี่ ปา นา อา โดยเฉพาะ พอ แม ปู ยา ตา ยาย เปนการยํ้าเรื่องวัยวุฒิ โดยเฉพาะในชนบท จึงทําใหชาวชนบทไมกลาเสนอความคิดริเริ่มที่มีเหตุยลที่เปนการขัดความประสงคของผูใหญ สวนในเมือง ลําดับอาวุโสก็ยังเปนสิ่งสําคัญ เชนใหเกยี รตผิ ูอาวุโส หรือไมผอู าวโุ สมกั จะดาํ รงตําแหนง สงู ตามลาํ ดบั 2. ความผูกพันทางสายโลหิต บิดามารดามักจะรักและหวงใยลูกของตนเอง ไมวาจะเปนโสดหรือสมรสแลว หรือเก้ือกูลใหญาติพี่นองอยูอาศัยบางเมื่อจําเปน และญาติทั้งสองฝายมักจะมีความเทาเทียมกัน คือ ใหความสําคัญของญาติทั้งทางขางพอและขางแมเราตอ งยอมรับวาครอบครัวไทยน้ัน พอแมมักจะมีความรักและผูกพันหวงใยลูกอยางลึกซ้ึงดวยความหวงใยลูกน่ีเอง พอแมจึงมักจะติดตามไปดูลูกทั้งที่เปนโสดอยู หรือแมจะสมรสแลวกต็ าม บางคร้งั เปน เหตุใหเกิดความขดั แยง หรือความไมพอใจระหวางเขยและสะใภ ซ่ึงอาจจะรวมถึงญาติพี่นองดวย ในชนบทชายหญิงที่สมรสแลวมักจะเลือกอยูกับพอแมของฝายหญิง ชวยพอแมทํามาหากินสักระยะหน่ึงกอนแยกเรือนไปอยูตามลําพังอิสระ คืออาจจะอยูรบั ใชพอแมจ นกระท่งั ลูกสาวที่ถัดไปแตงงานแลวนําสามีมาอยูชวยพอแม จึงแยกไปอยูตามลาํ พงั หรอื ไมก อ็ ยชู วยพอ แมจนมลี ูกคนแรกจงึ จะออกเรือน นอกจากน้ี แสงสุรีย ทัศนพูนชัย (2547, 126) ไดรวบรวมเก่ียวกับสถานการณครอบครัวไทยในปจจุบันวา ครอบครัวไทยในปจจุบันตองเผชิญกับสภาวการณท่ีเปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากปจจัยภายในครอบครัว และปจจัยแวดลอมในชุมชน สังคมและสิ่งแวดลอมสงผลกระทบตอแบบแผนการดําเนินชีวิตของครอบครัวแบบขยายมาเปน

ครอบครัวเดี่ยว จํานวนสมาชิกในครอบครัวมีการลดลงอยางตอเนื่องคิดโดยเฉลี่ยได 3.5คนตอครัวเรือน อัตราการจดทะเบียนสมรสก็ลดลงเหลือ 18.6 คูตอ 1,000 ครัวเรือนในขณะที่อัตราการหยารางกลับเพ่ิมสูงข้ึน โดยเฉพาะครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีอัตราการหยารางสูงท่ีสุด ครัวเรือนความอยูดีมีสุขดานชีวิตครอบครัว และสัมพันธภาพท่ีอบอุนในครอบครัวมีแนวโนมลดลง ขณะเดียวกันการพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจกลบั มที ิศทางทีด่ ขี ึน้ จากบทความพิเศษของ รุจา ภูไพบูลย (2542, 89-91) ไดกลาวถึงลักษณะครอบครัวไทย วาปจจุบัน ครอบครัวไทยมีการเปล่ียนแปลงลักษณะโครงสราง และจํานวนสมาชิกอยางเห็นไดชัด จากการศึกษาจํานวนประชากรไทย หลังสงครามโลกครั้งที่สอง จะเห็นวา อัตราการเพ่ิมของประชากรเพิ่มอยางรวดเร็ว และไดมีการดําเนินการ ควบคุมจาํ นวนประชากร อยางมีประสิทธิภาพในเวลาตอมา ท่ียังผลใหอัตราการเพิ่มของประชากรลดลง จากรอยละ 2.7 (พ.ศ.2508-2523) เหลือรอยละ 1.8 (พ.ศ.2523-2533) และเหลือรอยละ 1.3 ในป พ.ศ.2537 การเปล่ียนแปลงดังกลาว ทําใหโครงสรางประชากรมีการเปลี่ยนแปลงไป พบวา หญิงไทยมีบุตรเฉลี่ยลดลง จากมีบุตรเฉล่ีย 6 คน เม่ือราว 30 ปท่ีแลว เหลือเพยี งเฉลยี่ 2 คน ในปจจบุ ัน ผลคอื ครอบครัวมีขนาดลดลง เหลือเฉลี่ย 4.4 คนตอครอบครัว และสัดสวนของประชากรอายุต่ํากวา 15 ป หรือประมาณ ¼ ของประชากรทั้งหมด กลาวคือ เมื่อมีการเกิดของเด็กนอยลง ผูใหญวัยแรงงาน และผูสูงอายุมีจํานวนมาก เม่ือเทียบกับจํานวนเด็ก สัดสวนเด็กท่ีเปนภาระของผูใหญลดลง แตสัดสวนของผูสงู อายเุ พ่ิมขน้ึ อยา งชดั เจน นอกจากน้ัน ครอบครัวสวนใหญเปนครอบครัวเดี่ยว มากกวาเปนครอบครวั ขยาย โดยเฉพาะในกรงุ เทพฯ มคี รอบครวั เด่ียวถงึ รอยละ 86.7 ในการสํารวจสํามโนประชากรของสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวา มีจํานวนครัวเรือนเพิ่มข้ึนจาก 8 ลานครัวเรือน เม่ือ พ.ศ.2527 นั้น เปน 12 ลานครัวเรือน ในปพ.ศ.2537 จากการสํารวจประชากรป พ.ศ.2533 พบวา ในประชากรเกือบ 55 ลานคน มีอาชีพสวนใหญเปนเกษตรกรประมาณรอยละ 50 โดยที่ประชากรในชนบท มีอาชีพเปนเกษตรกร มากกวาประชากรในเมือง จํานวนสมาชิกเฉลี่ยเทากับ 4.4 คนตอครอบครัวพบวา ครอบครวั สว นใหญกวา 8 ลานครอบครัว เปนครอบครัวเด่ียว ท่ีเหลือเปนครอบครัวขยาย และอยูคนเดี่ยว ครอบครัวสวนใหญมีผูชายเปนหัวหนาครอบครัว จึงสรุปไดวาลักษณะครอบครัวไทยเดิม ที่มีลักษณะเปนครอบครัวขยาย ท่ีมีคนอยูรวมกันมากกวา 2รุน ในครอบครัวที่มีการลดจํานวนลง และพบวา ครอบครัวท่ีมีพอ แม ลูก อยูดวยกัน มีแนวโนม ลดลง มคี รอบครวั ท่ีมีการหยา แยก หมา ย เพิ่มมากขน้ึ ปจ จบุ นั ครอบครัวการหยารางเพ่ิมขึ้น จากการศึกษา พบวา ระยะเวลาการอยูรวมกันของคูสมรสนั้นสั้นลง จากสถิติของกรมการปกครอง ในป 2531 พบวา อัตราการหยารางเทากับ 8.5 ซึ่งเพ่ิมขึ้นจากป

2530 ทเี่ ทา กบั 7.3 จากขอมูลการสํารวจครอบครัวไทย ตามภาคตางๆ ทั่วประเทศจํานวน3,237 ครอบครัว ของสถาบันประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในป 2537พบวา ราวรอ ยละ 50 ของครอบครัวในเขตเมือง และชนบท มีสมาชิกระหวาง 4-6 คน และราวรอยละ 30 ท่ีมีจํานวนสมาชิก 1-3 คน แสดงวา ครอบครัวไมไดมีขนาดที่ใหญจนเกินไป และพบวา ในเขตเมือง และชนบท มีคูสมรสท่ีครอบครัวมีคูสมรส แตงงาน และอยูดวยกัน รอยละ 64.1-41.9 สวนท่ีเหลือ ถือเปนครอบครัวที่อยูในภาวะเสี่ยง เน่ืองจากโครงสรา งครอบครวั ไมสมบูรณ ประกอบดวย ครอบครัวเขตเมือง และเขตชนบท ที่คูสมรสไมอยูดวย รอยละ 3.1-5.3 โดยพบวา ผูหญิงมีสถานะสมรส แยก / หยา / หมาย มากกวาผูชาย สําหรับครอบครัวในชนบท จะเปนครอบครัวท่ีคูสมรสอยูดวยกันมากกวา ครอบครัวในเขตเมือง มีราวรอยละ 80 ของกลุมตัวอยางที่สัมภาษณ ที่แตงงานครั้งเดียว แลวยังอยูกินรวมกัน และพบจํานวนคร้ังของการแตงงานใหม มีวิสัยความถ่ีระหวาง 2-7 คร้ัง แสดงใหเห็นแนวโนม การเกิดปญหาเน่ืองจากครอบครัว มีโครงสรางที่ไมสมบูรณ ท่ีอาจนําไปสูการเปนครอบครัวในภาวะเส่ียง เพมิ่ มากขึน้ ในอนาคตสรปุ ภาพของวิวัฒนาการครอบครวั ไทยในอดีต ถึงปจจุบัน ยังแสดงการทําหนาที่สําคัญที่เกี่ยวของกับการดูแลสมาชิกใหม ใหเปนสมาชิกของสังคมท่ีมีคุณภาพ ดังน้ัน สถาบันครอบครัวจึงยังคงเปน สถาบันพื้นฐานของสังคม ท่ีจะมีผลตอการพัฒนาคุณภาพ ของประชากรไทย โดยเนนใหการดูแล ท้ังดานพัฒนาการทางรางกาย อารมณ จิตใจ ความคิดและศักยภาพเชิงเศรษฐกิจ และสังคมในอนาคต แตโครงสรางครอบครัวท่ีเปล่ียนแปลงไปเนื่องจากการแตกแยกของครอบครัว ทําใหครอบครัวจํานวนหนึ่ง เปนครอบครัวที่มีภาวะเส่ียงสูง ท่ีจะไมสามารถทําหนาท่ี บทบาท ในการดูแล อบรม เด็ก และเยาวชน ในครอบครวั ตนไดดี ครอบครวั ท่ีมารดา หรอื บิดาทาํ งานหาเล้ียงครอบครัวเพียงคนเดียว อาจมีปญหาเศรษฐกิจที่จะเกื้อกูลบุตร การใหเวลาเพื่อดูแล อบรม ส่ังสอน อาจไมเพียงพอและการที่ครอบครัวไทยมีลักษณะเปนครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น จะทําใหไมไดรับการเกื้อหนุนเชนเดียวกับ ครอบครัวไทยดั้งเดิม ท่ีเปนครอบครัวขยาย การสนับสนุนจากสมาชิกครอบครัวรุนกอน เชน ปู ยา ตา ยาย ที่ชวยปลูกฝง สืบทอดคานิยมในการดําเนินชีวิตรวมกับผูอื่น การเคารพ กตัญูผูใหญ จะไมไดรับการสืบทอดดังแตกอน ที่มีการเล้ียงดูเด็กในครอบครัวท่ีมีญาติ และเครือญาติอาศัยอยูรวมกันอยางใกลชิด สังคม และหนวยงานตางๆ จึงควรเกื้อกูลแกครอบครัว ท่ีมีปญหา เพ่ือปองกันปญหาสังคม ท่ีมีแนวโนมจะเกิดขึน้ ไดในอนาคต

กจิ กรรมเสนอแนะ 1. อธิบายความหมายและความสําคญั ของครอบครัวตามความเขา ใจของนกั ศึกษา 2. จงอธิบายถงึ ลกั ษณะโครงสรางของครอบครัวตามความเขาใจ 3. จงแสดงความคดิ เห็นท่ีมีตอสภาพการณเก่ียวกบั ครอบครัวไทย

เอกสารอางอิงเฉลียว บุญยงค. 2538. การศึกษาชีวิตครอบครัว. กรงุ เทพฯ. สาํ นักพมิ พมหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง.พรรณทิพย ศริ ิวรรณบุศย. 2545. จติ วิทยาครอบครวั . กรงุ เทพฯ. สํานักพิมพแหง จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั .รุจา ภไู พบูลย. 2542. “ครอบครวั ”. วารสารการสงเสรมิ สุขภาพและอนามัย ส่งิ แวดลอม. 22(ตุลาคม-ธนั วาคม)6: 89-91.วรวิทย พฒั นาอทิ ธิกลุ . 2546. “การโฆษณาและพฤติกรรมผูบรโิ ภค”. http://els.nsru.ac.th/advertising/chapter9.htm.สัญญา สญั ญาววิ ฒั น. 2544. สังคมวิทยาครอบครัว. กรงุ เทพฯ: สํานักพิมพแหง จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั .สมาคมคหเศรษฐศาสตรแหง ประเทศไทย.2524. ครอบครวั สมั พนั ธ. กรุงเทพฯ: สมาคมคหเศรษฐศาสตรแหงประเทศไทยในพระบรมราชินปู ถมั ภ.สพุ ตั รา สภุ าพ. 2537. สงั คมและวฒั นธรรมไทย คา นยิ ม: ครอบครัว: ประเพณ.ี กรุงเทพฯ: สํานักพมิ พไทยวฒั นาพานิช จํากัด.แสงสุรีย ทศั นพูนชัย. 2547. การขจัดภัยรา ยของครอบครวั และสงั คม. ควอตลิตอี้ อฟไลฟ. 84(ตุลาคม 2547)11: 126.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook