Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 96119-Article Text-239620-1-10-20170812 (2)

96119-Article Text-239620-1-10-20170812 (2)

Published by nidnoi3597, 2021-07-21 02:30:46

Description: 96119-Article Text-239620-1-10-20170812 (2)

Search

Read the Text Version

การสรา้ งสรรค์รูปแบบลักษณะตวั ละครการต์ ูนโดยใช้อตั ลักษณ์ลา้ นนา Creation of Cartoon Character using Lanna Identity นางสาวระรนิ ทร์ โรจนวฒั นว ุฒ ิ

การสรา้ งสรรคร็่ ูปแบบลักษณะตวั ละครการต่็ ูนโดยใช้อัตลกั ษณล็่ ้านนา Creation of Cartoon Character using Lanna Identity นางสาวระรนิ ทร์ โรจนวัฒนาว ุฒ ิ >>>>>>>>>>>>»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»»» บทคดั ย่อ การวจิ ัยนี้เปน็ การวิจยั แบบผสมผสาน ประกอบด้วยการวิจยั เชงิ พฒั นา การวจิ ัยเชิงคุณภาพ และการวิจยั เชงิ ทดลอง มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือสร้างสรรค์รูปแบบลักษณะตวั ละครการ์ตูนโดยใช้ อตั ลกั ษณ์ลา้ นนา และศกึ ษาความพงึ พอใจของกลุม่ ตวั อย่าง การสร้างสรรค์รปู แบบลกั ษณะตัวละคร การต์ นู โดยใชอ้ ตั ลกั ษณ์ล้านนาใชก้ ระบวนการออกแบบลักษณะตวั ละครจากภาพบคุ คลในจิตรกรรม ฝาผนงั วิหารลายคำ วดั พระสงิ หว์ รมหาวหิ าร รา่ งภาพเชงิ จติ รกรรมฝาผนงั แล้วพฒั นาสดั สว่ น องคป์ ระกอบทางกายภาพของตัวละครเป็นลกั ษณะตวั ละครการ์ตูนทม่ี อี ัตลักษณ์ล้านนาและ มปี ระสทิ ธิภาพ สามารถนำไปพฒั นาเป็นภาพยนตร์แอนิเมชันได้ ประเมินประสิทธภิ าพของลกั ษณะ ตวั ละครการ์ตูนโดยผเู้ ชย่ี วชาญทางดา้ นศลิ ปวัฒนธรรมล้านนาและด้านการพัฒนาสอื่ ประเมินความ พึงพอใจในรปู แบบลักษณะตัวละครการต์ นู โดยกลุม่ ตัวอยา่ งนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียน สาธติ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคอื ค่าร้อยละ คา่ เฉลีย่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ยั พบว่าการผลติ การต์ ูนสร้างสรรคร์ ปู แบบลักษณะตวั ละครการ์ตูนโดยใช้ อตั ลักษณล์ ้านนามีประสทิ ธภิ าพอยใู่ นระดับดีมาก สามารถนำไปใช้ในภาพยนตร์แอนิเมชันได้ และ กลมุ่ ตัวอย่างมคี วามพงึ พอใจต่อลกั ษณะตัวละครการ์ตูนท่ีสรา้ งสรรคโ์ ดยใชอ้ ัตลกั ษณ์ล้านนา อย่ใู นระดับดีมาก ทั้งนี้ควรมกี ารพฒั นาลักษณะตวั ละครการต์ ูนสู่ภาพยนตร์แอนเิ มชนั เพอ่ื นำเสนอ ความเปน็ อตั ลักษณล์ า้ นนาตอ่ สงั คมไทยผา่ นสอ่ื ทมี่ ีความสากลต่อไป คำสำคัญ ะลกั ษณะตวั ละครการต์ ูน แอนเิ มชัน อัตลักษณ์ลา้ นนา ABSTRACT The Mixed Method research consist of developmental research, qualitative research and experimental research aims to create cartoon character through Lanna identity and รณdy the satisfaction of a representative group. The creation of cartoon character using lanna identity has an inspiration from the characters on mural painting in Wihan lai come, Phra Sigha temple by 116

ประจำปีที1่ 3 ฉบบที่2 เมษายน-กนั ยายน 2555 drawing the original character and develops into capable Lanna characters which are able to expand to animation movie. These cartoon characters are evaluated by the experts in Lanna arts and evaluated the satisfaction by the representative stadents from Grade 6 stadents, Rajabhat Chiang Mai University Demonstration School. The statistics are analyzed by percentage and standard deviation. The research result finds that the creation of cartoon character using Lamia identity has high efficiency which is able to develop in to animation movie. The representative group is extremely satisfy to the characters which created through Lanna identity. Therefore, Lanna cartoon characters should be developed to animation movie to present Lanna identity to international media. Keyword ะCartoon character, Animation, Lanna identity บทนำ การต์ ูนมีอทิ ธิพลสำหรบั เยาวชนตอ่ การพฒั นาประเทศ'ชาติ ในด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี เดก็ จะเลยี นแบบพฤตกิ รรมต่างๆ ของการต์ ูน ไปจนถึงวัฒนธรรมทส่ี อดแทรกมากับ การต์ นู เชน่ พฤติกรรมการใชช้ วี ติ ประจำวนั การแต่งกาย เปน็ ตน้ (เอม องึ จติ รไพศาล, 2552 : 3) นิรันดร์ บญุ ยรัตพนั ธุ ได้กลา่ ววา่ “สิ่งแรกทเี่ ด็กจะชอบการต์ นู นัน้ เปน็ ลักษณะตัวการต์ ูน ถ้าถูกใจ แล้วจะชอบทันที และพยายามติดตามเลียนแบบ ” การออกแบบภาพยนตร์การต์ นู และภาพเคลื่อนไหว ท่ัวไปในปจ้ จบุ นั นนั้ การออกแบบที่มีโดยรวมมกั เป็นไปตามรูปแบบในเรื่อง การออกแบบลักษณะ ตวั ละคร (Character Design) รปู แบบศิลปกรรม (Art Direction) มลี ักษณะการออกแบบท่ีเหมือน ศิลปกรรมสากลหรือคอ่ นไปในแบบอยา่ งศิลปะตะวนั ตกซ่ึงลักษณะโดยรวมในเรอ่ื งรปู ร่าง รูปทรง สสี ัน และลักษณะการเคลอื่ นไหว (Animation Design) หรอื ลกั ษณะการดำเนินเรือ่ งทีท่ ำการออกแบบ ขนมาตามแบบอย่าง หรอื รูปแบบของศลิ ปวัฒนธรรมทางตะวันตกเช่นเดยี วกนั ส่วนท่ที ำการ ออกแบบภาพยนตรแ์ อนิเมชนั ใหด้ มู ลี กั ษณะเป็นแบบอย่างศิลปะตะวนั ออก และศิลปกรรม แบบไทยนนั้ ในปจ้ จุบนั ผลงานทีพ่ บเห็นอย่โู ดยทั่วไปกค็ งยังมีสัดสว่ นท่นี อ้ ยและยังมคี วามไม่ชดั เจน ในเร่ืองการศกึ ษาบันทกึ เป็นขนั้ ตอนต่อเนอ่ื งเปน็ หลกั ฐc*aานทีช่ ดั เจน (vวิสิษฐ์ จนั มา,~ 2547 : 1') ท้งั นยี งั รวมถงึ การ์ตนู ทีม่ ลี กั ษณะความเปน็ เอกลักษณข์ องศิลปกรรมพนื้ ถิน่ เชน่ รูปแบบศิลปกรรมภาคใต้ รูปแบบศิลปกรรมภาคอสี าน รูปแบบศิลปกรรมภาคเหนอื เป็นต้น หากจะกลา่ วถึงลา้ นนา หรือล้านนาไทยเปน็ คำพ้นื เมอื งใช้เรียกอาณาบริเวณเมืองตา่ งๆ ทีอ่ ยู่ในภาคเหนือของประเทศไทย ชาวไทยภาคเหนอื ได้สร้างสมศลิ ปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณีและวรรณกรรมต่างๆ ของตนเองขนมา และไดส้ บื ทอดกันมาอย่างต่อเน่ือง ดงั นั้นชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวล้านนา จงึ มีระเบียบแบบแผนเปน็ ของตนเอง มีกรอบชวี ิตเปน็ ของตนเอง มีการดำเนนิ ชวี ิตแบบพื้นฐานเป็นของตนเอง ด้วยสภาพภมู ศิ าสตร์และส่ิงแวดล้อมอนั อุดมสมบูรณ์ 117

วารสารวิจยั ราชภฏั เชียงใหม่ Rajabhat Chiangmai Research Journal ได้กลายเปน็ ป้จจยั สง่ เสรมิ ให้ดนิ แดนลา้ นนาเตบิ โตขน้ึ มาอยา่ งบริสทุ ธเ้ี ข้มแข็ง มภี าษา และวฒั นธรรม อนั เปน็ อตั ลกั ษณ์ของตนเอง จิตรกรรมฝาผนังไมเ่ พียงแตม่ คี ุณคา่ สูงยิง่ ในทางการศึกษาดา้ นสนุ ทรยี ศาสตรเ์ ทา่ นน้ั แตย่ ังแสดงใหเ้ หน็ เหตุการณ์ทางประวัติศาสตรช์ วี ิตความเป็นอยู่ สงั คม ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรมและ ขนบประเพณีของกลุ่มชนในท้องถิ่นนน้ั ด้วย ภาพพระราชวงั บา้ น วดั และอาคารอ่นื ๆ ทมี่ ลี ักษณะ เปน็ ภาพ 2 มิติ การจัดองค์ประกอบบางครง้ั แสดงเร่ืองหลายตอนอยู่ในหอ้ งภาพเดียวกนั ในขณะ เดียวกันก็แสดงใหเ้ ห็นวัฒนธรรมในสงั คม ซึง่ เก่ียวขอ้ งกบั เหตุการณใ์ นประวัตศิ าสตร์ ภาพเหลา่ นี จะปรากฏใหเ้ ห็นความเปล่ยี นแปลงต่างๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในวัฒนธรรมท้องถิน่ และโครงสรา้ งของสังคม ถิน่ น้ัน จติ รกรรมฝาผนงั ในวหิ ารลายคำ วัดพระสงิ หว์ รมหาวิหาร จังหวดั เชียงใหม่ จิตรกรรมเรอ่ื ง สงั ข์ทองนบั วา่ มีความโดดเด่นอยา่ งมาก เพราะนอกจากเขยี นไดอ้ ย่างสวยงามนา่ ประทับใจแลว้ ยงั เปน็ งานทไี่ ด้รับการยอมรบั วา่ แสดงเอกลกั ษณท์ อ้ งถิน่ ได้มากท่ีสุดจนนักวชิ าการถงึ กับกำหนดให้ เป็นจติ รกรรมฝาผนังแบบสกุลชา่ งเชยี งใหม่ (ชัยยศ อิษฎว์ รพันธ์, ภานพุ งษ์ เสาหสม, 2543 : 87) จากความเป็นมาและความสำคัญของป้ญหาดงั กล่าว ผู้วจิ ัยเหน็ ว่า การเปลย่ี นแปลง อันหลากหลาย ตัง้ แต่เร่ืองทางการเมืองและธุรกจิ ไปจนถงึ สุขภาพและความบันเทิง การรุกรานทาง วฒั นธรรมจากสือ่ โลกตะวันตกในรูปแบบต่างๆ ทำใหเ้ ยาวชนในแต่ละทอ้ งถ่นิ สร้างพฤติกรรม การลอกเลียนแบบวฒั นธรรมต่างชาติและถูกสลายอัตลกั ษณท์ างวฒั นธรรมท้องถ่นิ ของตนเองไป ดงั นัน้ ผู้วิจัยจงึ ต้องการสร้างสรรคร์ ปู แบบลกั ษณะตวั ละครการ์ตนู ทีม่ าจากพ้นื ฐานของ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมแบบอย่างของอัตลกั ษณล์ า้ นนาขึ้นมา โดยเร่มิ ตน้ ทำการออกแบบลักษณะ ตัวละคร รปู แบบการสร้างสรรคใ์ นดา้ นศลิ ปกรรมท้ังหมดให้มลี ักษณะของศิลปะล้านนา ด้วย อตั ลักษณ์ทางดา้ นวิถคี วามเปน็ อย่แู ละวัฒนธรรมการแต่งกาย โดยทำการประยุกต์ลกั ษณะศลิ ปะ ลา้ นนาให้มคี วามรว่ มสมยั มากขึน้ โดยศึกษาอัตลักษณล์ า้ นนาจากจติ รกรรมฝาผนงั เร่อื ง สงั ข์ทอง ของวหิ ารลายคำ วดั พระสงิ ห์วรมหาวิหาร จงั หวดั เชียงใหม่ ส่ือสารการออกแบบลกั ษณะตวั ละคร การ์ตูนผ่านวรรณกรรมชาดกนอกนบิ าตลา้ นนาเร่ือง เฉลยี วฉลาด เพ่อื สามารถทราบถึงกระบวนการ ออกแบบลกั ษณะตวั ละครการ์ตูนล้านนาทีย่ อมรับของเดก็ เยาวชน แสดงลักษณะความงดงามของ อัตลักษณ์ล้านนาให้เผยแพร่ตลอดจนถงึ การอนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรมของล้านนาและสามารถพฒั นา เปน็ ภาพยนตร์แอนิเมชันต่อไป 118

ประจำปที ่1ี 3 ฉบบท2่ี เมษายน-กันยายน 2555 วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพ่อื พัฒนารูปแบบลักษณะตัวละครการ์ตูนโดยใชอ้ ตั ลักษณ์ลา้ นนาใหม้ ปี ระสิทธิภาพ 2. เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจของกล่มุ ตวั อยา่ งท่มี ตี ่อลกั ษณะตัวละครการต์ ูนท่ใี ช้อัตลกั ษณ์ ล้านนาในการออกแบบ สมมุตฐิ านการวิจยั ลกั ษณะตัวละครการต์ ูนในวรรณกรรมชาดกนอกนบิ าต เร่ือง เฉลยี วฉลาด มีความเปน็ อตั ลกั ษณล์ ้านนา และสามารถนำไปพัฒนาเป็นภาพยนตรแ์ อนเิ มชนั ได้ ว ธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั ขอบเขตการศกึ ษาวิจัย ด้านเนอ้ื หา การวจิ ยั คร้งั นี้ เปน็ การสร้างสรรคร์ ูปแบบลักษณะตัวละครการต์ นู โดยนำตัวละครเอก จากวรรณกรรมชาดกนอกนบิ าต เรอื่ ง เฉลียวฉลาด จำนวน 7 ตวั ละคร ได้แก่ เฉลียวฉลาด ศรีนงคว์ ยั พระราชา ศรเี ฉลียว พ่อของเฉลียวฉลาด แม่ของเฉลยี วฉลาด และพอ่ ของศรีนงค์วัย ผ่านกระบวนการ ในการสรา้ งตวั ละครการ์ตูนเพ่อื พัฒนาเป็นภาพยนตรแ์ อนเิ มชัน โดยศกึ ษารูปแบบอตั ลักษณ์ล้านนา ด้านการแตง่ กาย ทา่ ทางและพฤตกิ รรม จากจิตรกรรมฝาผนัง เร่ือง สังขท์ อง ในวิหารลายคำ วัดพระสิงหว์ รมหาวิหาร จังหวดั เชียงใหม่ ร่างภาพลายเสนั ตามแบบอยา่ งและพัฒนาจากภาพบคุ คล ในจติ รกรรมฝาผนัง เปน็ ภาพรา่ งลายเสันดัดแปลงสดั สว่ นใหเ้ ป็นแบบการ์ตูน ดา้ นหนา้ ดา้ นขา้ ง และดา้ นหลัง จากนีน้ นำภาพรา่ งลายเสนั ไปสแกนเพื่อนำไปสรา้ งกราฟกิ ใสส่ สี ันในโปรแกรม Adobe Illustrator CS5 ซง่ึ เปน็ ตน้ แบบลักษณะตัวละครสำหรับพฒั นาเปน็ ภาพยนตร์แอนเิ มชนั ตวั แปรที่ใช้!นการศกึ ษา 1. ตวั แปรตน้ ได้แก่ ลักษณะตัวละครการต์ นู ลา้ นนาของวรรณกรรมชาดกนอกนบิ าต เร่อื ง เฉลียวฉลาด ท่ีพฒั นารูปแบบจากจติ รกรรมฝาผนังวิหารลายคำ วัดพระสิงหว์ รมหาวหิ าร จังหวัดเชียงใหม่ 2. ตวั แปรตาม ได้แก่ ประสทิ ธภิ าพในการสรา้ งสรรค์รูปแบบลกั ษณะตวั ละครโดยใช้ อัตลักษณ์ล้านนา 119

วารสารวจิ ยั ราชภฏั เชยี งใหม่ Rajabhat Chiangmai Research Journal ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง ดา้ นประชากร ไดแ้ ก่ ผชู้ ม ประกอบดว้ ย ผ้ทู ม่ี ีความเช่ียวชาญด้านเนอ้ื หา และด้านเทคนิค การผลิตสื่อเพอื่ หาประสทิ ธิภาพของรูปแบบลักษณะตวั ละครการ์ตูนโดยใชอ้ ัตลักษณล์ า้ นนาและ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ กลุม่ ตัวอยา่ ง ไดแ้ ก่ • ผ้เู ช่ยี วชาญดา้ นเน้อื หาและเทคนคิ การผลิตสือ่ จำนวน 6 คน • นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาชั้นปีท่ี 6 โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่ จงั หวัด เชยี งใหม่ จำนวน 30 คน เครอ่ื งมือทใ่ี ช้!นการวจิ ยั • ลักษณะตวั ละครการ์ตนู ท่ใี ช้อตั ลักษณล์ ้านนาในการออกแบบ • แบบประเมินประสทิ ธิภาพของรูปแบบลกั ษณะตวั ละครการ์ตูนโดยใชอ้ ัตลกั ษณ์ล้านนา • แบบประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ ลกั ษณะตวั ละครการต์ นู ข้ันตอนการดำเนนิ งานวิจยั 1. ศึกษาคน้ คว้าเอกสาร ตำรา และงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้องกับอตั ลักษณ์ลา้ นนา ภาพจติ รกรรม ฝาผนังวิหารลายคำ เรอ่ื ง สังขท์ อง วิหารลายคำ วัดพระสงิ หว์ รมหาวหิ าร วรรณกรรมชาดกนอกนิบาต เร่อื ง เฉลียวฉลาดและส่อื แอนเิ มชัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่เี กย่ี วกบั การสรา้ งสรรค์ตัวละครการต์ ูน 2. ศกึ ษากระบวนการออกแบบลักษณะตัวละครการต์ ูนไทย วเิ คราะหล์ กั ษณะตวั ละคร ในวรรณกรรมชาดกนอกนบิ าต เรือ่ งเฉลียวฉลาด 3. สรา้ งสรรค์ลักษณะตวั ละครการต์ qjูน 4 ขน้ั ตอน 3.1 บนั ทกึ ภาพประเภทภาพบุคคลในจิตรกรรมฝาผนงั เรื่อง สงั ขท์ อง วหิ ารลายคำ วดั พระสงิ ห์วรมหาวิหาร จงั หวัดเชียงใหม่ 120

ประจำปที ่ี13 ฉบบที่2 เมษายน-กนั ยายน 2555 ภาพการบนั ทกึ องคป์ ระกอบทางกายภาพของภาพบุคคลในจติ รกรรมฝาผนัง วิหารลายคำ 3.2 ขั้นพฒั นาแบบลักษณะองคป์ ระกอบตา่ งๆ ทางกายภาพของภาพบุคคลจากจติ รกรรม ฝาผนงั วิหารลายคำตามลักษณะ บุคลิกของตวั ละครเอกจากวรรณกรรมชาดกนอกนิบาต เรอ่ื ง เฉลียวฉลาด ภาพการพัฒนาภาพร่างเชิงจติ รกรรมฝาผนัง 121

วารสารวจิ ัยราชภัฏเชียงใหม่ Rajabhat Chiangmai Research Journal 3.3 ขน้ั การรา่ งภาพพฒั นาลักษณะตัวละคร นำรปู แบบลายเสนั แบบภาพบุคคล ในจติ รกรรมฝาผนัง วิหารลายคำ ทำการพฒั นาจากภาพแบบจิตรกรรมฝาผนงั เปน็ ลักษณะตัวละคร การ์ตนู โดยลดขนาดสัดส่วนของลกั ษณะตวั ละคร พัฒนาลักษณะขององค์ประกอบทางกายภาพ ของภาพบคุ คลในจติ รกรรมฝาผนงั วิหารลายคำ 3.4 ขน้ั การพัฒนารูปแบบลักษณะตัวละครการ์ตูนในกระบวนการทางคอมพวิ เตอร์ นำภาพร่างลกั ษณะตวั ละครการ์ตูนท่ีได้ปรับปรุงแกไ้ ขแลว้ นำไปสแกนและวาดองค์ประกอบตา่ งๆ ในโปรแกรม Adobe Illustrator Cs5 ภาพการพฒั นาลักษณะตวั ละครการต์ ูน ในโปรแกรม Adobe Illustrator CS5 4. การหาประสิทธภิ าพของลกั ษณะตัวละครการ์ตนู โดยใชอ้ ัตลกั ษณ์ลา้ นนา นำรปู แบบการสร้างสรรค์ลักษณะตัวละครการ์ตนู โดยใช้อัตลกั ษณล์ ้านนานำเสนอ ต่อผ้เู ชี่ยวชาญด้านเนอ้ื หาและผูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นเทคนคิ การผลิตส่อื และหาประสิทธภิ าพโดยใช้ แบบสอบถาม 122

ประจำปีท1ี่ 3 ฉบบที2่ เมษายน-กนั ยายน 2555 การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวจิ ยั ครงั้ น้ี ผ้วู จิ ัยดำเนนิ การตามขัน้ ตอน ดงั น ้ี 1. ชีแ้ จงรายละเอยี ดและขอ้ ตกลงเบื้องต้น วตั ถุประสงค์ในการเกบ็ ข้อมลู ให้กบั กลมุ่ ตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการวิจัย 2. นำรปู แบบลกั ษณะตวั ละครการ์ตนู ทผ่ี า่ นการประเมินประสิทธภิ าพมาแสดงให้กับ กลุ่มตวั อยา่ งซึ่งประกอบดว้ ยนกั เรียนระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่ 3. สงั เกตพฤตกิ รรมในการรับชมการต์ นู ของกลุม่ ตัวอย่าง 4. ใหน้ กั เรยี นกลุ่มตัวอย่างทำแบบประเมินความพึงพอใจตอ่ การสร้างสรรค์รปู แบบ ลกั ษณะตัวละครการ์ตนู ทใี่ ช้อตั ลกั ษณล์ า้ นนา โดยแบบประเมนิ แบง่ ออกเป็น 2 ดา้ นประกอบดว้ ย ดา้ นขอ้ มูลท่วั ไป และระดับความพงึ พอใจและความคดิ เห็นต่อการสรา้ งสรรค์รปู แบบลักษณะ ตัวละครการต์ นู โดยใช้อตั ลักษณล์ ้านนา การวเิ คราะห์ข้อมูล 1. การหาประสทิ ธภิ าพของส่อื จากผูเ้ ชยี่ วชาญ โดยการวดั ความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญ ตอ่ การแสดงรูปแบบลกั ษณะตวั ละครการ์ตนู โดยใช้อตั ลกั ษณ์ล้านนาออกแบบ วเิ คราะห์แบบสอบถาม ใชค้ ่าเฉลี่ย (Arithemetic Mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2. การประเมินความพึงพอใจภายหลงั การรับชมรูปแบบลกั ษณะตวั ละครการ์ตนู ทใ่ี ชอ้ ัตลกั ษณ์ล้านนาในการออกแบบ ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาช้นั ปที ่ี 6 โรงเรยี นสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่ วิเคราะห์ข้อมูลใชค้ า่ ร้อยละ คา่ เฉลี่ย (Arithemetic Mean) และ คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยและอภิปรายผล ผลการวิจยั 1. ผลของการนำกระบวนการพัฒนารปู แบบลักษณะตวั ละครการ์ตูนไทยมาใชใ้ นการกำหนด รูปแบบลักษณะตัวละครการ์ตนู ทมี่ อี ตั ลกั ษณ์ลา้ นนา ได้กำหนดรปู แบบลักษณะตวั ละครการ์ตูน ตามข้นั ตอน ได้แก่ ขัน้ กระบวนการคดิ (Thinking Process) เพอ่ื การสงั เคราะห์บุคลกิ ลกั ษณะ ตัวละครการต์ นู จากวรรณกรรมชาดกนอกนบิ าต เร่ือง เฉลยี วฉลาด ขั้นกำหนดกรอบ กระบวนการรบั รู้ (Perception Process) กำหนดกลมุ่ เปา้ หมาย ผูร้ บั ชมในช่วงกลมุ่ เด็กวยั เรียน (6-12 ปี) ขัน้ การกำหนด อัตลักษณ์ (Identity) ไดก้ ำหนดรูปแบบอัตลกั ษณล์ า้ นนาจากภาพบุคคลของจติ รกรรมฝาผนัง วหิ ารลายคำ วัดพระสงิ ห์วรมหาวหิ าร จงั หวัดเชียงใหม่ ขัน้ ความเชีย่ วชาญ (Experience) ได้กำหนด รปู แบบการสรา้ งภาพโดยการร่างภาพตน้ แบบเชงิ จติ รกรรมฝาผนงั และพฒั นาสดั สว่ นและองค์ประกอบ 123

วารสารวิจัยราชภัฏเชยี งใหม่ Rajabhat Chiangmai Research Journal ทางกายภาพของภาพบคุ คลเชิงจิตรกรรมฝาผนงั เป็นลกั ษณะตวั ละครการต์ นู บนกระดาษ แล้วจงึ นำไปพัฒนาในโปรแกรม Adobe Illustrator CS5 2. ผลการสร้างสรรค์รูปแบบลกั ษณะตวั ละครการ์ตนู โดยใชอ้ ัตลกั ษณ์ลา้ นนาท่ีมี ประสิทธภิ าพ ผู้วจิ ัยไดส้ รา้ งสรรคร์ ปู แบบลักษณะตวั ละครการต์ ูนโดยใชอ้ ัตลักษณ์ลา้ นนา จากภาพ บุคคลบนจิตรกรรมฝาผนัง วิหารลายคำ วัดพระสิงหว์ รมหาวิหาร จังหวัดเชยี งใหม่ และใชว้ รรณกรรม ชาดกนอกนบิ าต เร่ือง เฉลยี วฉลาด กำหนดบคุ ลกิ ของลักษณะตัวละครการต์ ูน โดยใช้กระบวนการ ออกแบบลักษณะตวั ละครแบบไทยสร้างสรรค์ลักษณะตวั ละครการต์ ูนท่ีมีอตั ลักษณ์ลา้ นนา จากการ ศกึ ษาภาพบุคคลจากจิตรกรรมฝาผนงั วิหารลายคำ วัดพระสงิ หว์ รมหาวหิ าร จงั หวดั เชยี งใหม่ บนั ทกึ องคป์ ระกอบทางกายภาพตา่ งๆ ของภาพบุคคลได้ร่างภาพต้นแบบ เชิงจติ รกรรมฝาผนงั พฒั นาสัดส่วนเป็นรปู แบบลักษณะตวั ละครการ์ตูน แล้วจงึ นำเขา้ โปรแกรม Adobe Illustrator CS5 เพอ่ื พัฒนาให้เปน็ ภาพกราฟิกสำหรับการนำไปพัฒนาเปน็ ภาพยนตร์แอนิเมชันตา่ งๆ ได้ 124

ประจำปที 1ี่ 3 ฉบบที2่ เมษายน-กันยายน 2555 3. ผลการศึกษาโปรแกรมสำหรบั การประยุกตใ์ ช้!นการสรา้ งลักษณะตวั ละครการต์ ูน เพอ่ื พัฒนาสู่ภาพยนตรแ์ อนิเมชนั โปรแกรม Adobe Illustrater CS5 มคี วามสามารถในการสร้างภาพ กราฟกิ ท่แี ม่นยำ ละเอียดและมปี ระสทิ ธิภาพในการสรา้ งภาพแบบ Vecter ซ่ึงสามารถนำไปพฒั นา เป็นรปู แบบภาพลกั ษณะต่างๆ ไดม้ ากมาย สามารถเชอ่ื มโยงเขา้ ส่โู ปรแกรมสำหรบั พฒั นา เปน็ ภาพยนตรไ์ ดห้ ลากหลายโปรแกรม 4. ผลการประเมนิ ประสทิ ธิภาพของลักษณะตวั ละครการ์ตูนโดยใช้อตั ลักษณล์ ้านนา จากผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นเนอ้ื หาและด้านพฒั นาส่ือในด้านความเหมาะสมของรูปร่างหนา้ ตาและลักษณะ ของตวั ละครอยู่ในระดับดี ความเหมาะสมของรูปร่างหน้าตาและลกั ษณะเฉพาะตวั ของตวั ละคร การต์ ูนอยใู่ นระดบั ดมี าก ความเหมาะสมของลกั ษณะเสือผ้าและการแต่งกายอยใู่ นระดบั ดีมาก ความเหมาะสมของสดั สว่ นของตัวละครการ์ตูนอย่ใู นระดบั ดมี าก การสร้างบคุ ลิกของตัวละครการ์ตนู อย่ใู นระดบั ดี ความสวยงามในการใช้สขี องตัวละครการ์ตูนอยู่ในระดบั ดมี าก ความเหมาะสม ของการออกแบบตามรูปแบบตัวละครจากจติ รกรรมฝาผนงั อยใู่ นระดับดี ลกั ษณะใบหน้าของตัวละคร การ์ตนู แสดงความเป็นอตั ลักษณ์ล้านนาอยู่ในระดับดีมาก ลกั ษณะรา่ งกายของตัวละครการ์ตนู แสดง ความเปน็ อตั ลักษณล์ ้านนาอยู่ในระดบั ดลี กั ษณะตัวละครการต์ ูนเป็นรปู แบบภาพบคุ คลท่พี บเหน็ ใน จิตรกรรมฝาผนัง วิหารลายคำ อยู่ในระดับดี ลกั ษณะตัวละครการ์ตนู สามารถถา่ ยทอดอัตลกั ษณล์ ้านนา อยู่ในระดับดมี าก และลักษณะตัวละครการ์ตูนสามารถนำไปพฒั นาเป็นภาพยนตร์การ์ตนู แอนเิ มชนั อยูใ่ นระดบั ดีมาก แสดงจากการประเมินการสร้างสรรค์รปู แบบลกั ษณะตวั ละครการต์ นู ลา้ นนา ผูเ้ ช่ยี วชาญดา้ นเนอ้ื หาและการพฒั นาส่ือมคี วามพงึ พอใจในเกณฑ์การประเมนิ ทงั้ 12 ดา้ น ลกั ษณะ ตวั ละครแสดงอตั ลักษณล์ ้านนาได้และมคี วามเหมาะสมในการพัฒนาเป็นภาพยนตรแ์ อนเิ มชนั ตอ่ ไป 5. ผลประเมินความพงึ พอใจของกลุ่มตวั อย่างท่ีมีต่อการสรา้ งสรรค์รูปแบบลกั ษณะ การ์ตนู โดยใช้อัตลกั ษณล์ ้านนา ด้านความเหมาะสมของรปู ร่างหนา้ ตาและลกั ษณะของตวั ละครการ์ตนู ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก ความเหมาะสมของรูปร่างหน้าตาและลักษณะเฉพาะตัวของตวั ละคร การต์ ูน ความพึงพอใจอย่ใู นระดับมากทสี่ ุด ความเหมาะสมของลักษณะเสือผา้ และการแต่งกาย ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากที่สุด ความเหมาะสมของสดั ส่วนของตวั ละครการ์ตนู ความพึงพอใจ อยูใ่ นระดับมากที่สดุ การสร้างบคุ ลิกของตัวละครการต์ นู ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากท่ีสดุ ความสวยงามในการใชส้ ีของตวั ละครการ์ตูน ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากที่สุด ความเหมาะสม ของการออกแบบตามรปู แบบตัวละครการ์ตูนจากจิตรกรรมฝาผนัง ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ ลกั ษณะใบหน้าของตวั ละครการต์ ูนแสดงความเป็นอัตลกั ษณ์ลา้ นนา ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ ลกั ษณะร่างกายของตัวละครการต์ นู แสดงความเปน็ อตั ลักษณ์ล้านนา ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก ทีส่ ดุ ลักษณะตัวละครการต์ นู เปน็ รปู แบบภาพบคุ คลที่พบเห็นในจิตรกรรมฝาผนัง วหิ ารลายคำ ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมาก ลักษณะตวั ละครการ์ตนู สามารถถา่ ยทอดอตั ลกั ษณล์ า้ นนา ความพงึ พอใจ อยใู่ นระดับมากที่สุด และลกั ษณะตัวละครการต์ ูนสามารถนำไปพฒั นาเปน็ ภาพยนตรก์ ารต์ นู แอนิเมชนั ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากที่สดุ แสดงใหเ้ ห็นว่าการสรา้ งสรรค์ลักษณะตวั ละครการ์ตนู มีความเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมายและสามารถแสดงอตั ลักษณล์ า้ นนาได้ 125

วารสารวิจยั ราชภัฏเชยี งใหม่ Rajabhat Chiangmai Research Journal การอภิปรายผล จากผลการวจิ ัยผลการสรา้ งสรรคร์ ปู แบบลักษณะตวั ละครการต์ นู โดยใชอ้ ตั ลักษณล์ ้านนา ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ ผู้วิจัยได้สร้างสรรค์รูปแบบลักษณะตัวละครการ์ตูนโดยใชอ้ ตั ลักษณล์ า้ นนา จากภาพบุคคลบนจิตรกรรมฝาผนัง วิหารลายคำ วดั พระสิงหว์ รมหาวหิ าร จงั หวัดเชยี งใหม่ และ ใชว้ รรณกรรมชาดกนอกนิบาต เรอื่ ง เฉลียวฉลาด ผู้วจิ ัยกำหนดบุคลิกของลกั ษณะตวั ละครการ์ตูน โดยใชก้ ระบวนการออกแบบลักษณะตวั ละครแบบไทย 4 ขน้ั ตอน คือ ข้นั ตอนกระบวนการคดิ (Thinking Process) ข้นั ตอนกำหนดกรอบ กระบวนการรับรู้ (Perception Process) ขนั้ ตอนการ กำหนดอัตลักษณ์ (Identity) ข้ันตอนความเช่ียวชาญ (Experience) (เอม อึงจติ รไพศาล, 2552) จาก การศึกษาภาพบคุ คลจากจติ รกรรมฝาผนัง วิหารลายคำ วัดพระสิงหว์ รมหาวิหาร บนั ทกึ องคป์ ระกอบทาง กายภาพตา่ งๆ ของภาพบุคคลได้รา่ งภาพตน้ แบบเชงิ จติ รกรรมฝาผนงั พฒั นาสัดสว่ นเป็นรูปแบบ ลกั ษณะตวั ละครการต์ ูน แลว้ จงึ นำเขา้ โปรแกรม Adobe Illustrator CS5 เพอื่ พัฒนาให้เปน็ ภาพ กราฟิกสำหรับการนำไปพฒั นาเปน็ ภาพยนตรแ์ อนิเมชันต่างๆ สอดคล้องกับแนวคดิ การสรา้ งสรรค์ ลักษณะตัวละครการ์ตนู ของ ปยุต เงากระจา่ ง ท่ีวา่ มาจากการวาดการต์ ูนภาพลอ้ แลว้ จึงปรบั เปล่ยี น เปน็ การต์ นู อน่ื ๆ (ปยตุ เงากระจา่ ง, 2548) และผลการวจิ ยั เรือ่ งการออกแบบภาพยนตรแ์ อนเิ มชนั ลักษณะไทยทว่ี า่ รปู รา่ งหรอื รูปทรงตดั ทอน ได้แก่ รปู ร่าง หรือรูปทรงของตัวละครท่ีสรา้ งขนนนั้ มี ลักษณะตดั ทอนรายละเอียดบางอย่างออกไป โดยเนน้ เฉพาะลักษณะทีเ่ ดน่ ๆ เท่านัน้ ไมค่ ำนึงถงึ กายวภิ าค และสดั สว่ นท่ีถqjกตอ้ งเท่าไรนัก แต่ก็ยังทสี่ ามารถบอกได้ว่าหมายถงึ อะไร (xวิสฐิ จนั มา,~ 2547)' จากการสรา้ งสรรคร์ ปู แบบลกั ษณะตัวละครการต์ นู โดยใชอ้ ตั ลักษณล์ า้ นนาที่ไดป้ ระเมนิ ประสิทธภิ าพจากผู้เชยี่ วชาญด้านเน้อื หาและผเู้ ชย่ี วชาญทางดา้ นพัฒนาสื่อ ทง้ั หมด 6 คน มีประสทิ ธภิ าพ อย่ใู นระดบั ดีมาก ซงึ่ เมือ่ พิจารณาตามรายการหลักแลว้ นั้น ในส่วนของความเหมาะสมของรปู รา่ งหนา้ ตา และลกั ษณะเฉพาะตัวของตวั ละครและลกั ษณะตวั ละครสามารถนำไปพฒั นาเป็นภาพยนตรก์ ารต์ นู แอนิเมชนั มคี ำประสิทธิภาพมากท่ีสุด ซง่ึ ในลกั ษณะตัวละครของวรรณกรรมชาดกนอกนบิ าต เรือ่ ง เฉลยี วฉลาด มีลกั ษณะทเี่ ป็นเชิงการต์ นู แบบเหนือจริง ใชล้ ักษณะตัวละครการ์ตนู แบบล้านนา เนอ้ื เรอื่ งจะมีการผจญภัย สัตว์พดู ได้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ เอม องึ จติ รไพศาล (2552 : 146) โดยกระบวนการในการออกแบบตวั ละครการต์ ูนไทยน้ัน จะสามารถพัฒนาการออกแบบต่อไปได้ เมื่อตอ้ งการออกแบบตวั การต์ นู บางประเภทเท่าน้นั ซ่ึงประเภทของการ์ตนู ท่ีใช้กระบวนการ ตงั กล่าวไดป้ ระสทิ ธภิ าพดถี งึ ดีมาก คอื การสรา้ งการ์ตนู แบบเหนอื จริง (Surrealistic) และการสรา้ ง การต์ ูนแบบบคุ ลาธิษฐาน (Personification) โดยกระบวนการดังกล่าวสามารถเป็นกระบวนการหนึ่ง ท่ีส่งเสรมิ ให้นักออกแบบการ์ตูนไทยหันมาให้ความสนใจในกระบวนการออกแบบการต์ นู ไทยและ พัฒนาการออกแบบการ์ตูนไทยเพ่ือควบค่ไู ปกับการพฒั นาประเทศชาติ เพ่ือเดก็ ไทยจะได้บริโภค สอ่ื การต์ นู ไทยทมี่ คี ุณภาพทัดเทยี มกบั ต่างประเทศ และซึมซับวฒั นธรรมไทย ผลการวจิ ัยพบว่า กลมุ่ ตัวอยา่ งได้แก่ นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 อายุ 10-12 ปมี คี วาม พึงพอใจตอ่ การสร้างสรรคร์ ปู แบบลกั ษณะการต์ ูนโดยใชอ้ ตั ลกั ษณ์ลา้ นนา ในดา้ นต่างๆ อยใู่ น ระดบั ความพงึ พอใจมากทสี่ ุด ซึ่งสอดคลอ้ งกับแนวคิดท่ีว่า ลักษณะของการ์ตูน ถกู สร้างขนมาเพ่อื 126

ประจำปที ี่13 ฉบบที2่ เมษายน-กันยายน 2555 วตั ถปุ ระสงคท์ ่แี ตกต่างกัน การ์ตูนในลกั ษณะของการเล่าเรื่องท่มี ีลกั ษณะรูปแบบการ์ตูน เน้ือหา การดำเนนิ เรื่องและการขมวดปมของเร่ืองในเชิงศิลปะ ดงั นน้ั การนำเสนอเรือ่ งต่างๆ นีเ้ อง จงึ เก่ียวขอ้ งกับรสนิยมของผชู้ มเปน็ หลกั ซึ่งมไิ ด้นำเสนอตามความพงึ พอใจของผู้สร้างเพียงฝา่ ยเดียว โดยกลุ่มเดก็ วยั เรยี น (6-12 ป)ี จะมลี ักษณะของการ์ตูน มคี วามเปน็ มนษุ ย์มากขนกว่ากลุ่มเด็กก่อน วัยเรยี นตัวละครอาจมลี ักษณะของกลุ่มเดก็ ๆ (Gang) เนือ้ หาซับซอ้ นและยาวขนซึ่งควรนำเสนอด้วย โครงการเรื่องท่สี นุกสนาน ตน่ื เตน้ มากข้นึ แต่ยงั คงเน้ือหาของนิทานส่ิงใกลต้ ัว (ศกั ดา วมิ ลจันทร์: 2548) จากการสังเกตพฤติกรรมของกลุ่มตวั อยา่ งยงั พบว่ามคี วามอยากรอู้ ยากศกึ ษาในเร่อื ง อตั ลกั ษณ์ล้านนาจากจิตรกรรมฝาผนงั อีกดว้ ย เดก็ สามารถเรียนร้วู ัฒนธรรมการแตง่ กายลา้ นนาผา่ น ลักษณะตัวละครการ์ตูน การเช่ือมโยงวฒั นธรรมจากรุ่นสรู่ ุ่นจงึ สามารถใชส้ ื่อภาพยนตรแ์ อนเิ มชนั ในการถา่ ยทอดสูเ่ ยาวชนได้เปน็ อยา่ งดี ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะการสร้างสรรคร์ ูปแบบลักษณะตวั ละครโดยใช้อตั ลักษณ์ล้านนา • ควรให้ความสำคัญกบั การแสดงออกทางทา่ ทางและอารมณ์บนใบหน้า เพราะทำให้ ผู้ชมมสี ่วนรว่ มกับเร่ืองราวได้งา่ ยขน้ึ จงึ ควรทำการออกแบบลกั ษณะการแสดงรว่ มด้วยกบั ลักษณะ ตวั ละครการต์ ูน • ในการนำลกั ษณะตัวละครการ์ตนู ไปพฒั นาสู่ภาพยนตรแ์ อนเิ มชนั ควรต้องคำนงึ ถงึ วธิ กี ารเคลอื่ นไหวของตัวละครดว้ ย ซง่ึ การออกแบบตอ้ งมาพร้อมกับความเปน็ ไปได้ • ควรนำลกั ษณะตวั ละครการต์ ูนท่ใี ช้อตั ลกั ษณล์ า้ นนาในการสร้างสรรคไ์ ปพัฒนา เปน็ ส่อื ในมิติอ่ืนๆ เพอื่ เผยแพรศ่ ิลปวัฒนธรรมล้านนา 2. ข้อเสนอแนะดา้ นการศึกษา • ดว้ ยจิตรกรรมฝาผนังมีเร่อื งราวและสอดแทรกวิถีชวี ติ ของคนพ้นื ถ่นิ ไวม้ ากมาย จำเป็นต้องศึกษาในดา้ นเนือ้ หาให้มากขึน้ เพอื่ สะทอ้ นรายละเอียดของลักษณะตวั ละครการต์ นู ใหม้ ี ความสอดคลอ้ งกนั มากขึ้น • ผู้วิจัยควรมกี ารทดลองเบอื งตน้ ในการเลือกองค์ประกอบทางกายภาพของภาพ บคุ คลในจิตรกรรมฝาผนังกบั กลุ่มตวั อยา่ งกอ่ นแลว้ นำมาพัฒนาเปน็ รูปแบบลักษณะตวั ละครการต์ นู อกี ครั้ง เพือ่ จะไดม้ ีความเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมายมากขน้ึ 3. ข้อเสนอแนะในการวจิ ัยครัง้ ตอ่ ไป • ควรมีการพัฒนาลกั ษณะการต์ ูนจากภาพจิตรกรรมฝาผนงั ดา้ นภาพสถาป้ตยกรรม และภาพธรรมชาติ เพือ่ นำไปเป็นสว่ นประกอบในการพฒั นาสภู่ าพยนตรแ์ อนเิ มชัน • ควรมกี ารศึกษาพัฒนารูปแบบลกั ษณะตัวละครการ์ตนู จากวรรณกรรมชาดกเร่ืองอืน่ ๆ 127

วารสารวจิ ยั ราชภฏั เชยี งใหม่ Rajabhat Chiangmai Research Journal เอกสารอ้างอิง กังวล เทยี นกัณฑเ์ ทศน.์ การวดั การวิเคราะห์ การประเมนิ ทางการศกึ ษาเบอ้ื งตน้ . กรุงเทพฯ: I ศqj นู ย์สอ่ื เสรมิ กรq งุ เทพ,7 2540. คqj ม่ ือการเขยี นการ์ตqj ูนดว้ ยตนเอง. กรไ งุ เทพฯ: แสงศิลปีการพมิ พ์,’ 2523. แจค๊ แฮมม์. เทคนิคสร้างสรรคก์ ารต์ q|ูน,' กรq ุงเทพฯ : ซีเอ็ดยqj ูเคชน่ั ,7 2540 ชยั ยศ อษิ ฎ์วรพนั ธ์ และ ภาณพุ งษ์ เลาหสม. วหิ ารลายคำ วดั พระสิงห์ ะ สถาปต้ ยกรรมและ จิตรกรรมฝาผนัง. กรงุ เทพฯ:โอ. เอส. พรินติงเฮา้ ส,์ 2543. ! ปยจตู เงากระจา่ ง. โรงเรยี นเขียนการต์ qjูน,7 กรq ุงเทพฯ : อนเิ มท พรนท์ แอนด์ ดไี ซน์,5 2535. ประคอง กรรณสตู ร. สถิติเพ่ือการวิจยั ทางพฤตกิ รรมศาสตร.์ พิมพค์ ร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, 2538. พระมหาสกล มหาวโี ร. วรรณกรรมล้านนาภาษาร่วมสมยั เฉลียวฉลาด. เชียงใหม่ : ส.ทรพั ย์การพิมพ์, 2549. พงษพ์ รรณ เรือนนนั ชยั . ลายแตม้ คนล้านนา. เชียงใหม่ : นพบจุรกี ารพมิ พ์,7 2545. I นริ มล เกิดมงคล, การศึกษาวิเคราะหว์ รรณกรรมเร่ืองเฉลียวฉลาดฉบบั ล้านนา. เชยี งใหม่ : บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม,่ 2542. นริ ตั ศิ ยั หงษ์ทอง, การพฒั นาส่อื ดิจติ อลของภาพจติ รกรรมฝาผนงั จากวรรณกรรมชาดก เรื่องกา่ํ ก๋าดา๋ . เชียงใหม่ : บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งใหม,่ 2554. ล้วน สายยศ และ องั คณา สายยศ. เทคนคิ การวิจัยทางการศึกษา. กรqุงเทพฯ : สq วุ รี ิยาสาสน์ ,7 2538. วัดพระสิงหว์ รมหาวหิ าร, เชียงใหม่ : บรษิ ทั วทิ อนิ ดีไซน์ จำกดั , 2528. วสิ ิษฐ์ จนั มา, การออกแบบภาพยนตร์ A nim ation ลกั ษณะไทย, เชยี งใหม่ : บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, 2547. ศกั ดา วิมลจนั ทร์,3 เข้าใจการต์qjูน. กรq งุ เทพฯ : เรอื นแกว้ การพิมพ,์~ 2548. . เจาะใจการ์ตูน-------------------------------------qjชq ดุ เขา้ ใจการต์qjูน,■กรq งุ เทพฯ : ม<นลนิธิเดก็ ,’ 2549. j เอม องึ จิตรไพศาล. การพฒั นากระบวนการออกแบบลกั ษณะตัวละครการต์ นู ไทยสำหรับ สือ่ แอนเิ มชั่น. มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม,่ 2552 Strauss, Groege. and Sayles. Leonard R. Personnel ะThe Human Problems of Management. Engle wood Cliffs, NJ: Prentice - Hall, 1960. Whitaker Steve. The Encyclopedia of Cartooning Techniques, Singapore: Page One Publishing Private Limited, 1994. _______________________________________ J 128

ประจำปีท่1ี 3 ฉบบท2่ี เมษายน-กนั ยายน 2555 บทปริทศั น์ การสร้างสรรคร็่ ปู แบบลกั ษณะตัวละครการ่ต็ ูนโดยใช้อัตลกั ษณ่ล็ ้านนา โดย อ.ดร.กรรณิกา เจมิ เทียนชัย วทิ ยาลยั นวัตกรรมและการจดั การ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา การต์ ูนคอื ภาพวาดงา่ ยๆ ท่เี ปีนสัญลกั ษณ์ซึง่ จำลองมาจากความคิด ซ่ึงมีแบบเฉพาะตวั ไม่เหมอื นภาพธรรมดาทว่ั ไปเพือ่ จดุ ม่งุ หมายในการบรรยายการแสดงออกซ่ึงอาจมีลกั ษณะเกนิ ความจรงิ เพ่อื ถ่ายทอดอารมณ์ หรือแสดงแนวคดิ ต่างๆ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจงา่ ยข้นึ สำหรบั การต์ ูนทนี่ ำเสนอ เรอื่ งราวในหนังสือนยิ มสร้างสำหรับการเรียนรูเ้ พ่ือเพม่ิ ทกั ษะการอ่าน การ์ตนู สามารถสรา้ งอารมณใ์ ห้ ผู้อา่ นได้ดี ผู้เขยี นจะตอ้ งมที กั ษะในการวาดและมีความสามารถสรา้ งจนิ ตนาการได้ดี การต์ นู ท่ีสรา้ งขึน้ ใน รปู หนังสือ เอกสารหรือส่ิงพมิ พ์เพื่อใช้ในการเรยี นร้ขู องนกั เรยี น สว่ นมากเปนี รปู ภาพช้ีนำ ประกอบเปีน สือ่ การเรยี นรู้ สำหรบั ลักษณะการ์ตูนท่ีผกู เปีนเรอ่ื งราวทำให้ผอู้ ่านเกิดความรสู้ ึกคลอ้ ยตาม มีอารมณ์รว่ ม ในบทบาทของตวั การ์ตูน และเชือ่ มโยงสู่ชีวิตของตนเอง จึงจัดอย่ใู นการ์ตนู ท่มี คี ุณคา่ ในการเรียนรู้ คุณลกั ษณะของการต์ นู ท่ที ำใหเ้ ด็กอ่านหนังสอื การ์ตนู มดี งั นี้คอื หนังสือการ์ตูนใหค้ วามพึงพอใจ สนองตอบความชอบความตอ้ งการของเดก็ อ่านง่าย คนที่อ่านไม่คลอ่ งกส็ ามารถเข้าใจเนอหาเรอ่ื งได้ โดยการดูรูปภาพ ลกั ษณะของการต์ ูนในปจ็ ธุบันไดม้ ีการพัฒนารูปแบบออกไปมากขึ้น บางครงั้ เปนี จนิ ตนาการสอู่ นาคต แปลกใหม่ เรา้ ใจและเสนอเร่อื งราวที่ลกึ ซงึ ได้ สรา้ งจนิ ตนาการใหผ้ เู้ รียนเรยี นรู้ไดเ้ ร็ว มผี ้นู ำการ์ตูนมาใช้ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนตงแต,อดตี จนถึง!เจจุบัน เนื่องจากการ์ตูนมลี ักษณะทีน่ ่าสนใจ การต์ ูนชว่ ยผ่อนคลายอารมณเ์ ครียด ทำใหบ้ ทเรียนสนุกสนาน ทำใหน้ ักเรยี นสนใจเนอหาวชิ ามากขึ้น แกการอา่ นได้ดี และทำใหน้ กั เรยี นสนใจในการอ่านมากข้ึน การต์ ูนชว่ ยให้ผูเ้ รยี นเข้าใจบทเรยี นเรว็ ยิ่งขึน้ เพราะการต์ ูนช่วยสอ่ื ความหมายให้เกดิ ความเขา้ ใจไดเ้ รว็ ยงิ่ ขน้ึ ทำให้การเรยี นดขี ึ้น สามารถนำการต์ นู มาใชไ้ ด้ต้ังแตเ่ ด็กในระดบั ชั้นตน้ ๆ จนกระทงั่ เดก็ โต และสามารถใช้ได้กบั ผู้ใหญเ่ ช่นเดยี วกัน การนำอัตลกั ษณ์ลา้ นนาโดยใช้กระบวนการออกแบบลกั ษณะตวั ละครการ์ตนู จากภาพบคุ คล ในจติ รกรรมฝาผนงั ซ่งึ มีความสวยงามนำมาถา่ ยทอดส่เู ดก็ โดยผ่านตัวละครการต์ ูนจงึ เปีนผลงาน สรา้ งสรรค์ท่ีเปนี ประโยชน์ต่อการเรียนรูข้ องเดก็ โดยควรมีการนำไปผลติ ผ่านส่ือในรปู แบบต่างๆ และนบั เปนี การอนุรักษ์ศิลปวฒั นธรรมล้านนาวธิ ีหนง่ึ ที่จะทำให้เด็กไดซ้ ึมซับผ่านตัวละครการต์ ูน นอกจากน้ี ตวั ละครการ๙ตนทีไ่ ด้พฒั นาขึ้นนยี ังสามารถนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการพฒั นาส่กู ารทำภาพยนตรแ์ อนิฒชน่ั ต,อไปั 129


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook