มคอ.7 รายงานการประเมนิ ตนเองของหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑติ ประจาปกี ารศกึ ษา 2561 (รอบระยะเวลาประเมนิ วนั ท่ี 1 มิถุนายน 2561 ถึง วันท่ี 31 พฤษภาคม 2562) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต ระดบั ปริญญาตรี สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2554 สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั กาฬสนิ ธ์ุ วนั ที่รายงาน 23 เมษายน พ.ศ. 2562
ข คานา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2554 ผ่านการรับรองจากสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาฬสนิ ธุ์ เมอื่ วนั ท่ี 21 มกราคม 2554 และสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบให้ความเห็นชอบ เม่ือวันที่ 1 กันยายน 2554 โดยรับ นกั ศกึ ษาท่เี ขา้ ศึกษาในปกี ารศกึ ษา 2554 หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบ อัตโนมัติ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 ผ่านการรับรองจากสภามหาวทิ ยาลัยกาฬสนิ ธ์ุ เมือ่ วนั ท่ี 12 ตลุ าคม 2561 และอยรู่ ะหว่างให้สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบใหค้ วามเห็นชอบ ผ่านระบบ CHECO โดยรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในปี การศึกษา 2562 วัตถุประสงค์ของการเขียนรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เพ่ือรายงานผลการดาเนินงานของการเปิดสอนปีการศึกษา 2561 ซึ่งในปี การศกึ ษาดังกล่าวดาเนินการปิดสอนตามเล่ม มคอ.2 หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2554 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ได้นาเสนอหวั ข้อในรายงาน ดังน้ี หมวดท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป หมวดที่ 2 อาจารย์ หมวดท่ี 3 นักศึกษาและบัณฑติ หมวดท่ี 4 ขอ้ มูลสรุปรายวชิ าและ คุณภาพการสอน หมวดท่ี 5 การบริหารหลักสูตร หมวดท่ี 6 ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพ หลักสูตรจากผู้ประเมิน หมวดท่ี 7 การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร และหมวดที่ 8 แผน การดาเนินการเพ่อื พฒั นาหลกั สตู ร หวังว่ารายงานผลการดาเนินงานหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554 คณะกรรมการจัดทาเอกสารนาเสนอแก่คณะกรรมการพิจารณาข้อเสนอแนะจาก หลายฝ่ายเพอื่ นาไปสู่การพัฒนาหลกั สตู รใหเ้ หมาะสมกับผเู้ รยี นเปน็ ลาดับต่อไป นายรณชยั สงั หม่นื เม้า ประธานหลกั สตู ร
สารบัญ ค คานา หนา้ สารบัญ ข บทสรปุ ผ้บู ริหาร ค หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไป ง หมวดที่ 2 อาจารย์ 1 หมวดท่ี 3 นักศึกษา และ บัณฑิต 4 หมวดท่ี 4 ข้อมลู สรปุ รายวชิ าและคณุ ภาพการสอน 23 หมวดที่ 5 การบรหิ ารหลกั สูตร 32 หมวดท่ี 6 ข้อคดิ เห็น และข้อเสนอแนะเกีย่ วกบั คุณภาพหลกั สูตรจากผปู้ ระเมนิ 55 หมวดที่ 7 การเปลีย่ นแปลงทม่ี ีผลกระทบต่อหลกั สตู ร 62 หมวดท่ี 8 แผนการดาเนินการเพือ่ พัฒนาหลกั สตู ร 64 สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายใน 65 68
ง บทสรปุ ผบู้ ริหาร ปีการศกึ ษา 2561 คณะกรรมการประจาหลกั สตู ร สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ประเมนิ คณุ ภาพ ของหลกั สูตรตามแบบรายงานการผลการดาเนินการของหลักสูตร (มคอ.7) ของสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) และมหาวิทยาลัยเห็นชอบรายงานผลการดาเนินงานของหลกั สูตรจดั ทาเปน็ 7 หมวดมีผล การประเมินคุณภาพหลักสูตรตามเกณฑ์การประกันคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร 6 องค์ประกอบ 14 ตัว บ่งช้ี เป็นตัวบ่งชี้บังคับที่ประเมินการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 ที่ กาหนดโดย สกอ. คอื องคป์ ระกอบท่ี 1 มี 1 ตวั บ่งชี้ ผลการประเมนิ ผ่าน 8 ข้อ ผลการประเมนิ ผ่านหลักสูตร ไดม้ าตรฐาน องคป์ ระกอบที่ 2-6 มี 13 ตวั บง่ ชี้ สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายใน องค์ประกอบ จานวนตัวบ่งชี้ คะแนนประเมนิ เฉล่ีย ระดับคุณภาพ องคป์ ระกอบท่ี 1 1 ผา่ น หลกั สตู รไดม้ าตรฐาน องคป์ ระกอบท่ี 2 2 4.43 ระดับคุณภาพดมี าก องคป์ ระกอบท่ี 3 3 2.83 ระดบั คณุ ภาพปานกลาง องค์ประกอบที่ 4 3 2.78 ระดบั คุณภาพปานกลาง องค์ประกอบท่ี 5 4 3.50 องค์ประกอบที่ 6 1 4.00 ระดับคณุ ภาพดี 13 3.09 ระดบั คุณภาพดี เฉล่ยี รวมทุกตวั บง่ ชี้ ระดับคณุ ภาพดี จุดเดน่ และแนวทางเสริม/จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรบั ปรุง จุดเด่นและแนวทางเสริม 1. มีครุภัณฑ์ประจาห้องปฏิบัติการการจาลองสถานการณ์ แหล่งค้นคว้าและเรียนรู้ที่ทันสมัย โดยมี แผนการเพมิ่ ครุภัณฑท์ างด้านวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ เพื่อความสะดวกในการจัดการเรยี นการสอน 2. สาระของรายวิชาในหลักสูตร มีการดาเนินการและวางแผนอย่างเป็นระบบตามมาตรฐานวิชาชีพ และจะมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาชว่ ยในการเรียนการสอนใหม้ ากขึ้น เพอ่ื ใหท้ นั ต่อความตอ้ งการในอนาคต ต่อไป 3. บัณฑิตได้งานทาตรงสายวิชาชีพ โดยมีการสนับสนุนให้นกั ศึกษาช้ันปีท่ี 4 ออกสหกิจในสายงานที่ ตรง เพ่ือเพ่มิ ประสบการณใ์ ห้แกบ่ ณั ฑติ 4. นกั ศกึ ษามที ักษะทางดา้ นปฏบิ ัติ และสามารถนาทักษะทางปฏบิ ตั ิไปประยุกตใ์ ช้ในวชิ าชีพได้ 5. อาจารย์ประจาหลกั สตู รมกี ารจัดอาจารยผ์ ้สู อนไดเ้ หมาะสมกับรายวิชา อาจจัดตง้ั งบประมาณในการ สง่ เสริมพฒั นาอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รเพ่มิ ขึ้น จดุ ทค่ี วรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง 1. ควรสนับสนุนและวางแผนใหอ้ าจารยป์ ระจาหลกั สตู รขอตาแหน่งทางวิชาการ 2. ควรมีการสนับสนุนให้อาจารย์ประจาหลักสูตรได้ลาศึกษาต่อและให้ทุนสนับสนุนการศึกษาต่อใน ระดบั ทีส่ ูงขึน้ และตรงสาขาวชิ าในหลกั สูตรทรี่ ับผดิ ชอบอยู่ 3. ควรใช้เทคโนโลยีร่วมในการสารวจและประเมินผลต่างๆ จะทาให้การดาเนินงานมีความสะดวก รวดเร็วย่ิงขึน้
จ การรายงานผลการดาเนินงานผลการประเมนิ ตนเองและแนวทางการปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สตู ร เพื่อนาเสนอต่อคณะกรรมการประเมนิ ระดับหลกั สูตร คารับรองข้อมูลการรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม คอมพวิ เตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั กาฬสินธ์ุ ปีการศกึ ษา 2561 1. คารบั รองข้อมลู การรายงานการดาเนนิ งานของหลกั สตู ร ถกู ตอ้ ง ครบถ้วนโดยอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร ท่ี ชื่อ-นามสกุ ล ตาแหนง่ ลายเซน็ วนั ท่รี ับรอง 1. นายรณชยั สังหมืน่ เม้า ประธานอาจารย์ประจาหลักสูตร 23 เมษายน 2562 2. นายสรายทุ ธ กรวริ ตั น์ อาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร 23 เมษายน 2562 3. นายภูริ จนั ทิมา 4. นายอ้มุ บุญ เชลียงรชั ต์ชัย อาจารยป์ ระจาหลักสูตร 23 เมษายน 2562 5. นางอจั ฉรา ชมุ พล อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร 23 เมษายน 2562 อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร 23 เมษายน 2562 2. การรบั รองรายงานผลการดาเนนิ การของหลักสูตร โดยผูบ้ ังคบั บญั ชา ผู้บงั คับบัญชาให้คารับรอง ………………………………………. (ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ ุรนิ ทร์ พงษส์ กลุ ) คณบดคี ณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม วันท.่ี ...... เดือน...........พ.ศ..........
หมวดท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป รหสั หลกั สูตร : 25541401100455 อาจารย์ประจาหลกั สูตร มคอ. 2 ปจั จบุ ัน หมายเหตุ (ระบคุ ร้ังที่/วันที่ผ่านสภามหาวิทยาลัย) 1. นายกษดิ ศิ จรญู ไพศาล 1. นายรณชยั สังหม่ืนเมา้ 2. นายรพพี งษ์ แย้มสวุ รรณ 2. นายสรายุทธ กรวิรัตน์ ครง้ั ท่ี 11/2561 วันท่ี 12 ตุลาคม 2561 3. นางสาวปิน่ นารี ขรู รี งั 3. นายภรู ิ จันทิมา ครั้งที่ 11/2561 วันที่ 12 ตลุ าคม 2561 ครง้ั ที่ 2/2562 วนั ที่ 25 กุมภาพนั ธ์ 2562 4. นายสรุ ศักด์ิ ปทั มดษิ ฐ์ 4. นายอมุ้ บญุ เชลยี งรชั ตช์ ัย 5. นายอัครวัตร คณู คาตา 5. นางอจั ฉรา ชุมพล ครั้งท่ี 11/2561 วนั ที่ 12 ตุลาคม 2561 ครั้งท่ี 11/2561 วันท่ี 12 ตลุ าคม 2561 อาจารยผ์ ้สู อน (อาจารย์ประจาภายในสถาบัน) ตามเอกสารแนบ มคอ.2 อาจารยผ์ ู้สอน (อาจารย์พิเศษภายนอกสถาบัน) ไมม่ ี สถานทจ่ี ดั การเรยี นการสอน สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอตั โนมัติ คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั กาฬสนิ ธ์ุ
2 องคป์ ระกอบที่ 1 การกากบั มาตรฐาน ตัวบ่งช้ีท่ี 1.1 การบรหิ ารจัดการหลกั สตู รตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสตู รท่ีกาหนดโดยสานักงาน คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (ระดบั ปริญญาตร)ี การคิดรอบปี : ปกี ารศกึ ษา เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 ผลการดาเนินงาน การประเมนิ คณุ ภาพภายในระดบั หลกั สตู ร พร้อมทั้งเอกสารอ้างองิ ตามเกณฑ์คุณภาพ ระดับหลกั สตู ร (3 ข้อ ประกอบด้วย ข้อ 1 ,2 และ 11) ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนนิ งาน รายการเอกสาร หลักฐาน 1 จานวนอาจารย์ ไมผ่ ่าน 1.1-1 มคอ.2 ประจาหลักสตู ร ผา่ น ผลการดาเนนิ งานดงั น้ี รายช่ืออาจารย์ประจา 1. มอี าจารยป์ ระจาหลักสตู รทีก่ าหนดใน ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ มคอ. 2 จานวน 5 คน ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร 2 คณุ สมบตั ิของ ไมผ่ ่าน 1.1-1 มคอ.2 อาจารย์ประจาหลกั สูตร ผ่าน ผลการดาเนินงานดงั นี้ ประวตั อิ าจารยป์ ระจา 1. อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนมีคุณสมบัติ หลกั สูตร และ เปน็ ไปตามคณุ สมบัติหลกั สตู ร ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร 11 การปรบั ปรงุ หลกั สูตร ไม่ผ่าน 1.1-2 มคอ.2 หลักสูตร ตามรอบระยะเวลา ท่ีกาหนด ผ่าน ผลการดาเนนิ งานดังน้ี วิศวกรรมบณั ฑติ 1. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ส า ขา วิ ชา วิ ศว ก ร ร ม วิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ (หลักสตู รใหม่ พ.ศ.2554) คอมพิวเตอร์ (หลักสูตร เริ่มใช้ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2554 เป็น ใหม่ พ.ศ.2554) ต้นมา โดยได้รบั อนุมตั จิ ากสภามหาวิทยาลยั เมื่อ 1.1-3 มคอ.2 หลักสูตร วั น ท่ี 21 ม ก ร า คม 2554 แ ล ะ ส า นั ก ง า น วศิ วกรรมบัณฑิต คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบการ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เห็นชอบหลักสูตรเม่อื วันที่ 8 มนี าคม 2561 แ ล ะ ร ะ บ บ อั ต โ น มั ติ 2. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ( ห ลั ก สู ต ร ป รั บ ป รุ ง วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ 2562) (หลักสูตรปรับปรุง 2562) ผ่านการรับรองจาก สภามหาวิทยาลัยกาฬสนิ ธุ์ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2561
3 ผลการประเมนิ ตนเอง คะแนนประเมินตนเอง เปา้ หมาย ปีถดั ไป ผลการประเมิน เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน ผา่ น ปที ี่แล้ว ผา่ น ( 3 ขอ้ ) ไม่ผ่าน ผา่ น ผ่าน 3 ข้อ ผา่ น รายการหลักฐาน รายการหลกั ฐาน หมายเลข ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร และผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร วค . 1.1-1 วค . 1.1-2 มคอ.2 หลักสูตรวศิ วกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2554) วค . 1.1-3 มคอ.2 หลักสตู รวศิ วกรรมบัณฑิต วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอตั โนมตั ิ (หลกั สตู ร ผูก้ ากบั ดแู ลตวั บ่งช:้ี ปรบั ปรงุ 2562) 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชยั สงั หม่ืนเม้า, 0874778519 ผู้จดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล/รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชัย สังหม่ืนเมา้ , 0874778519 การรายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 1 จดุ เด่น โอกาสในการพัฒนา 1. อาจารย์ประจาหลกั สตู รและอาจารย์ 1. อาจารยป์ ระจาหลักสูตรสามารถเพ่มิ วฒุ กิ ารศกึ ษา ผ้รู บั ผิดชอบหลักสตู รในปจั จบุ ันเป็นอาจารยท์ ม่ี ี และขอตาแหน่งทางวชิ าการได้ ความสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรทเ่ี ปดิ สอน 2. การเรยี นการสอนครอบคลมุ กบั นักศึกษา ทาให้ 2. สัดส่วนอาจารยต์ อ่ นกั ศึกษาเพียงพอตอ่ การ นักศึกษาเขา้ ใจบรบิ ทตามการจดั การเรยี นการสอนใน เรียนการสอน หลักสตู รมากขึน้
4 หมวดที่ 2 อาจารย์ องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ ตวั บง่ ชีท้ ่ี 4.1 การบริหารและพฒั นาอาจารย์ การคิดรอบปี : ปีการศึกษา ผลการดาเนินงาน : 1. ระบบการรบั และแตง่ ตัง้ อาจารย์ประจาหลักสูตร เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร จานวนไมน่ ้อยกว่า 5 คน ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรทกุ ทา่ นมคี ุณสมบตั ิตามเกณฑ์ มาตรฐานที่ สกอ. กาหนด ระบบและกลไกการรบั และแต่งต้งั อาจารย์ประจาหลักสตู ร ดงั น้ี P : หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ มีแนวทาง และการดาเนนิ งานเก่ยี วกบั การบริหารอาจารยเ์ ป็นไปตามขอ้ กาหนดของทางมหาวิทยาลยั และคณะฯ ดังน้ี 1.1 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ จัดการศึกษา 1 หลักสูตร คือ หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ ต้องมีอาจารยป์ ระจาหลักสูตรจานวน 5 ทา่ น 1.2 ระบบการรับอาจารย์ใหม่ของสาขา จะกาหนดคุณวุฒิแตล่ ะสาขาอาจมหี ลักเกณฑต์ ่างกันของ ผู้สมคั ร ใหต้ รงหรือเกย่ี วขอ้ งกับหลักสตู ร โดยผา่ นการทดสอบขอ้ เขยี น สอบปฏบิ ตั กิ ารสอนและสอบสมั ภาษณ์ ต้องมีคะแนนผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 1.3 มหาวิทยาลัยมีการจัดปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ ปีละ 1 ครั้ง โดยกองบริหารงานบุคคล คณะฯ และหัวหน้าสาขาวิชามีส่วนร่วมในการแนะนาการจัดการเรียนการสอนใหอ้ าจารย์ใหม่ในการประชุมพัฒนา บุคคลากรเป็นประจาทุกปี 1.4 อาจารย์สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้รับการพัฒนาความรู้ทาง วิชาการและวิชาชีพ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยงบประมาณของคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี อุตสาหกรรม นอกจากน้นั คณะฯ และมหาวิทยาลัยมีการจดั อบรมความรู้ทางวิชาการให้อาจารย์ในภาพรวม ให้แกอ่ าจารย์ 1.5 อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรทั้ง 5 ทา่ น มคี ุณวุฒติ รงและเก่ยี วเนอ่ื งกบั หลกั สูตรทีจ่ ัดการศกึ ษา D : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้ ดาเนินงานเก่ียวกับการรับและการแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตรตามระบบและข้อกาหนดของ มหาวิทยาลยั ฯ และคณะฯ ซง่ึ ผลการดาเนินการในปกี ารศึกษา 2561 มดี งั น้ี หลักสูตรมกี ารประชมุ (การประชุมครง้ั ท่ี 1/2561) พจิ ารณาจานวนอาจารย์ : นักศึกษา ในปีการศกึ ษา 2561 มีจานวนนักศึกษารวมท้ัง 4 ช้ันปี จานวน 2 คน และอาจารย์ประจาหลักสูตรจานวน 5 ท่านซ่ึงเป็น
5 อัตราส่วน 2:1 อยู่ในเกณฑ์ที่สานักงานการอุดมศึกษากาหนด ทั้งนี้ในรอบปีการศึกษา 2561 ที่ผ่านมา ทาง หลักสตู รไดม้ กี ารแต่งต้ังและรับสมคั รอาจารยใ์ หม่ 1 ทา่ น คือ นายภูริ จนั ทิมา C : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้ ดาเนนิ การประชมุ (การประชมุ ครัง้ ท่ี 1/2561) เพ่อื ตดิ ตามแผนการบริหารบคุ คลในการวางแผนกรอบ อัตรากาลงั และจานวนผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู รใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ที่ สกอ. กาหนด ดังน้ี วางแผน อตั รากาลงั ในหลักสตู ร ดงั ตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 ตารางแผนการกลบั เข้าปฏิบัตริ าชการบุคลากรท่ีลาศึกษาตอ่ ลาดับที่ ชอื่ -นามสกุล ปี พ.ศ. ท่ีกลบั เขา้ ปี พ.ศ.ที่คาดว่าจะ ปฏิบตั ิราชการ สาเร็จการศึกษา 1 นายธนกร ญาณกาย 2560 2562 2 นางอัจฉรา ชุมพล 2561 2563 3 นายวรพจน์ สมมลู 2561 2563 4 นายสรายุทธ ฐิตะภาส 2562 2563 จากการดาเนนิ งานตามท่ีกระบวนการกาหนดไว้ พบว่า 1. ตามทห่ี ลักสูตรไดข้ อเปลย่ี นแปลงอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร เพ่ือขออนมุ ตั ิสภาพ ผลคือ ได้รบั อนมุ ัติ ในการเปล่ียนแปลงอาจารย์ประจาหลักสูตร เม่ือวันท่ี 25 กุมภาพันธ์ 2562 ซึ่งทาให้จานวน อาจารย์ประจาหลักสูตรครบ เปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. ตามทห่ี ลกั สตู รไดต้ ิดตามแผนการบรหิ ารบคุ คล ทาให้หลกั สูตรทราบวา่ จานวนอาจารยท์ มี่ ีคุณวฒุ ิ ระดบั ปริญญาเอก มแี นวโนม้ เพมิ่ ขึ้น A: หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้ ดาเนินการพัฒนาและวิพากษ์หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) โดยได้มีการเปล่ียนแปลงอาจารย์ประจาหลักสูตรจาก นายกาธร สารวรรณ ซึ่งไปประจาหลกั สตู รวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นนายภูริ จันทิมา ซ่ึงได้รับการบรรจใุ หม่ และเตรียมการเปลยี่ นแปลงอาจารย์ประจาหลักสตู รจากนายสรายทุ ธ กรวริ ตั น์ ซง่ึ ได้ลาศึกษาตอ่ เม่อื วันท่ี 7 มกราคม 2562 เป็น นายธนกร ญาณกาย ซ่ึงเป็นอาจารย์ประจาสาขาวิชาวิศวกรรม คอมพวิ เตอร์และระบบอตั โนมตั ิ
6 2. ระบบการบรหิ ารอาจารย์ เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู รได้รบั การมอบหมาย ภาระ ความพึงพอใจของอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร งานที่เหมาะสม มีแนวโน้มทีด่ ขี นึ้ มีระบบและกลไก ดังนี้ P : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มีการ บริหารอาจารย์เป็นไปตามกลไกการบริหารอาจารย์ของการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลยั ฯ ดัง รายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.1 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีนโยบายในการพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณวฒุ ิ และตาแหน่งทางวิชาการโดยจดั ทาเปน็ แผนระยะยาวด้านอัตรากาลงั คนในการศึกษาต่อในระดับทสี่ งู ขึ้นและ การจดั ทาตาแหน่งทางวิชาการ 2.2 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีนโยบายสนับสนุนให้บุคลากรในสาขาได้ ศกึ ษาตอ่ ที่ตรงสายในระดับท่ีสูงขนึ้ ในสถาบันการศึกษาภาครัฐโดยงบประมาณของมหาวิทยาลยั 2.3 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอัตโนมตั ิ ได้รับการจัดสรรอตั ราอาจารย์ผูส้ อนเพ่ิม เพ่อื เปน็ ไปตามเกณฑ์ สกอ. ในเร่อื งสัดส่วนของอาจารย์ประจาต่อนักศึกษา 2.4 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จัดทาคาส่ังแต่งต้ังอาจารย์ประจาหลักสตู ร เพ่อื กาหนดบทบาทและหนา้ ท่ีความรับผิดชอบอย่างชดั เจน 2.5 สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ มีเกณฑใ์ นการกาหนดอาจารยป์ ระจาวชิ าจาก ประสบการณใ์ นการสอนโดยใหอ้ าจารยก์ รอกประวตั กิ ารสอนและความเช่ียวชาญเฉพาะดา้ นและนามากาหนด ภาระการสอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษา 2.6 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มอบรางวัลอาจารย์ผู้สอนดีเด่น อาจารย์ นกั วจิ ัยดเี ด่น และอาจารย์กจิ กรรมดเี ด่น แกอ่ าจารย์ในสาขาวิชา 2.7 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอตั โนมัติ มีระบบการยกย่องและธารงรักษาอาจารย์ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เชน่ การมอบรางวัล การมอบหมายหน้าท่ีทรี่ บั ผดิ ชอบในสาขาวิชาฯ ท่หี ลักสูตรสงั กดั ตาม ความสามารถและความถนัดของแตล่ ะบุคคล โดยใหม้ ีภาระงานในปรมิ าณทเี่ ท่าเทยี มกัน D : ในปีการศึกษาที่ผ่านมา หลักสูตรมีการประชุมวางแผนเพื่อพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณสมบัติตามที่ สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษากาหนด ซึ่งที่ประชุมมุ่งเน้นให้เพ่ิมคุณวุฒิของอาจารย์ประจา หลกั สตู ร และตาแหนง่ วิชาการของอาจารยป์ ระจาหลักสูตร จงึ ได้ร่วมกันวางแผนพฒั นาคุณวฒุ ิ และ ตาแหนง่ วชิ าการ ในภาคการศึกษาที่ 1/2561 ดงั นี้ ลาดับท่ี อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร การดาเนินงาน 1 นายรณชัย สงั หมื่นเม้า - ดาเนินการเขยี นบทความวจิ ัยเพอ่ื เข้าสูต่ าแหนง่ ทางวิชาการ - ขอการสนบั สนุนการวิจัยปี 2561 2 นายสรายุทธ กรวริ ตั น์ - ดาเนินการเตรยี มตวั เพ่ือลาศกึ ษาต่อ 3 นายภรู ิ จันทมิ า - ดาเนนิ การเขยี นบทความวิจัยเพ่อื เข้าส่ตู าแหนง่ ทางวิชาการ 4 นายอุม้ บุญ เชลยี งรัชต์ชยั - ดาเนินการเขียนบทความวจิ ัยเพ่อื เตรยี มเขา้ สตู่ าแหนง่ ทางวิชาการ 5 นางอัจฉรา ชมุ พล - เพิม่ คณุ วุฒิระดบั ปริญญาเอก
7 หลกั สูตรได้มีการประชมุ วเิ คราะห์ปญั หาความล่าช้าของการเพ่มิ คณุ วุฒอิ าจารยป์ ระจาหลักสูตร และ ตาแหน่งวิชาการของอาจารย์ ซง่ึ พบว่า ข้อเสนอการวจิ ยั ทเี่ สนอยังไมใ่ ช่ประเดน็ ท่ีเร่งดว่ นและจาเป็น ประกอบ กับการควบรวมมหาวิทยาลัยส่งผลให้การดาเนินงานด้านทุนสนับสนุนการศึกษาต่อต้องชะลอตัว พร้อมท้ัง ภาระงานด้านอื่น ๆ ท่ีมีมาก ทาให้การปรับแก้เอกสารเพ่ือขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการและการเขียน บทความวิจยั เพื่อขอปิดโครงการวิจยั ลา่ ช้า ที่ประชุมจึงมีมติใหอ้ าจารยท์ ุกทา่ นรับผิดชอบและแกป้ ัญหาในแต่ ละกรณี ๆ ไป C : สืบเน่ืองจากปีการศึกษา 2560 ในการแก้ไขปัญหาการบริหารอาจารย์ในส่วนของหน้าที่ทไี่ ด้รับ มอบหมายภายในสาขา เพ่ือให้อาจารย์ทุกท่านเข้าใจในบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ และเพื่อให้การ บริหารอาจารยภ์ ายในสาขาฯ เปน็ ไปอย่างราบรืน่ ทางหลักสูตรจึงไดด้ าเนนิ การแบ่งภาระหน้าที่ดูแล งานแตล่ ะฝ่ายใหส้ อดคลอ้ งกับสาขาวิชาฯ โดยมีประธานหลกั สูตรเปน็ ทป่ี รกึ ษา ตอ่ เนื่องในปกี ารศึกษา 2561 ดงั น้ี งานพัสดุและการเงินควรมีอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบโดยเฉพาะ เพ่ือดาเนินการจัดซอ้ื จดั จ้างพัสดุการสอน และงานวจิ ยั เนื่องจากไดม้ ีการจดั ตั้งสาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอตั โนมตั ิขึ้น และในงานทกุ ฝา่ ย ใหม้ อี าจารยป์ ฏบิ ัติหนา้ ท่ี 2 คน โดยมีผู้รับผดิ ชอบหลกั 1 คนตามคาสัง่ ของคณะฯ 1) งานพัฒนานักศึกษา ประกอบด้วย การดูแลกิจกรรมของนักศึกษาของหลักสูตรวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ทั้งหมด กิจกรรมของสาขาฯ กิจกรรมของคณะฯ กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯ และ Website ของสาขา มอบหมายให้ อาจารย์ธนกร ญานกาย และอาจารย์ภูริ จันทมิ า เปน็ ผดู้ แู ลและประสานงานกับสาขาวชิ าฯ 2) พัสดุและการเงิน ประกอบไปด้วย งานธุรการหลกั สูตร การดูและติดตามกากับวัสดุครภุ ัณฑ์ สาขา มอบหมาย อาจารย์อภิชัย สารทอง และ อาจารย์รณชัย สังหม่ืนเม้า เป็นผู้ดูแลและ ประสานงานกบั สาขาวิชาฯ 3) งานแผนและประกัน ประกอบด้วย งานแผนของหลกั สตู รและการประกันคุณภาพหลกั สูตร มอบหมาย อาจารย์อัจฉรา ชุมพล และ อาจารย์รณชัย สังหม่ืนเม้า เป็นผู้ดูแลและ ประสานงานกบั สาขาวชิ าฯ 4) งานวิชาการ งานทะเบียนและวิจัย ประกอบด้วย งานวิชาการทั้งหมดภายในหลักสูตร งานวิจัยอาจารย์/นักศึกษา งานสหกิจศึกษา การรวบรวมข้อมูล มคอ. 3-4-5-6 และงาน วชิ าการนักศึกษา มอบหมาย อาจารย์รณชัย สังหม่ืนเม้า และ อาจารย์อุ้มบญุ เชลยี งรชั ต์ชยั เปน็ ผดู้ ูแลและประสานงานกับสาขาวชิ าฯ 5) งานสารบรรณ ประกอบด้วยงานรับส่งเอกสาร บันทึกข้อความ ท้ังภายในและภายนอก มอบหมาย อาจารยภ์ รู ิ จันทิมา และ อาจารย์รณชัย สงั หม่ืนเมา้ เปน็ ผู้ดูแลและประสานงาน กบั สาขาวชิ าฯ 6) งานอาคารสถานที่ ประกอบด้วยงาน อุปกรณ์ วัสดุ ห้องเรียนให้มคี วามพร้อมต่อการใชง้ าน มอบหมาย อาจารยอ์ ภิชยั สารทอง และ อาจารยก์ าธร สารวรรณ เปน็ ผูด้ ูแล 7) งานแนะแนวการศกึ ษาและประชาสมั พนั ธ์หลกั สตู ร ดูแลเพจสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ฯ มอบหมาย อาจารย์อุ้มบุญ เชลียงรัชต์ชัย และอาจารย์ธนกร ญานกาย เป็นผู้ดูแลและ ประสานงานกบั สาขาวชิ าฯ
8 A: ในปกี ารศกึ ษา 2561 การบรหิ ารอาจารย์ของหลกั สตู รเปน็ ไปอย่างราบรื่น มกี ารแบ่งหน้าทีก่ ันอยา่ ง ชัดเจนและสามารถมอบหมายงานใหก้ ันได้ ไม่พบปญั หาในส่วนของผรู้ ับผิดชอบ สง่ ผลต่อการบรหิ าร อาจารยภ์ ายในสาขาฯ ทเ่ี ป็นไปอย่างคลอ่ งตวั หวั หน้าสาขาฯ สามารถมอบหมายงานและผลลพั ธ์ของ งานที่มอบหมายประสบความสาเร็จและได้รับความร่วมมือจากอาจารย์และผู้ร่วมดาเนนิ การ และได้ นาผลการดาเนินงานเข้าสู่ท่ีประชุมหลักสูตรให้ร่วมกันวิเคราะห์หาข้อบกพร่องและปรับปรุงการ ดาเนนิ งาน เพ่อื ยดึ ถอื ปฏบิ ตั ใิ นปีการศกึ ษา 2562 ต่อไป 3. ระบบการส่งเสริมและพฒั นาอาจารย์ เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ อาจารยม์ ผี ลงานวจิ ัยไดร้ บั ตพี ิมพเ์ ผยแพร่ใน เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ อาจารยป์ ระจาหลกั สตู รทุกคนไดร้ ับการส่งเสริม ฐานขอ้ มูลทสี่ งู ข้นึ และพัฒนาตนเอง การส่งเสรมิ และพัฒนาอาจารย์ มีระบบและกลไก ดังน้ี P : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้มี กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ตามแผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของ คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ดังนี้ 3.1 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้จัดสรรงบประมาณให้บุคลากรได้รับการ พัฒนาทางวิชาชพี อยา่ งตอ่ เนือ่ ง โดยสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ สง่ เสริมให้อาจารย์ใน สาขาวชิ าเขา้ รับการอบรมกบั องค์กรทางวิชาชพี เพอื่ ใหอ้ าจารยน์ าความรูท้ ีไ่ ด้รบั มาพัฒนาการจดั การเรียนการ สอนและส่งผลต่อคุณภาพของบัณฑิตในอนาคต 3.2 คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีนโยบายใหอ้ าจารย์ต้องจัดทางานวจิ ยั อยา่ ง น้อย 1 เร่อื งและงานวิจยั ทุกเรือ่ งตอ้ งนาไปใชป้ ระโยชน์หรือไดร้ บั การเผยแพร่ 3.3 คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีนโยบายให้แต่ละสาขาต้องจดั ประชมุ อย่าง น้อย 4 คร้ัง เพ่ือวางแผนและติดตามการดาเนนิ งานการจัดการเรยี นการสอนของแต่ละสาขา และสาขามกี าร จดั ประชมุ และจัดทารายงานการประชุมเพอ่ื รายงานตอ่ คณะฯ 3.4 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กาหนดให้ทุกหลักสูตรต้องจัดทาวิจัยในชั้น เรียนอย่างน้อยหลักสูตรละ 1 รายวิชา โดยสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ ได้นามา ดาเนนิ การตามนโยบายของคณะฯ ทง้ั นเ้ี พ่อื นามาพัฒนาการจดั การเรียนการสอนในแตล่ ะรายวิชา 3.5 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอตั โนมัติ ไดน้ าผลการประเมินการสอนของอาจารยซ์ ง่ึ แสดงใน มคอ.5 มาปรบั ปรุงการจดั การเรียนการสอนครั้งตอ่ ไปซ่ึงแสดงไวใ้ น มคอ.3 ในภาคเรยี นถดั ไป
9 3.6 อาจารย์พี่เลย้ี งในสาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอตั โนมัติ ได้นาเทคนคิ การสอนท่ดี ีมา ถ่ายทอดสูอ่ าจารย์ร่นุ ใหม่ในสาขา D : ในปกี ารศึกษา 2561 หลักสตู รมีการดาเนินงานให้อาจารยป์ ระจาหลกั สตู รได้เข้ารว่ มโครงการเพอ่ื พฒั นาทักษะทางดา้ นความร/ู้ การฝกึ อบรมโครงการต่าง ๆ และไดไ้ ปร่วมนาเสนอผลงานทางวิชาการ ในงานประชมุ ระดับชาติและนานาชาติ C : ทางหลักสูตรฯ ได้ประชุมเพ่ือรายงานผลการเข้าร่วมโครงการ เพ่ือช้ีแจงและหาแนวทางใน การปรับปรงุ กระบวนการพฒั นาอาจารย์เพือ่ นาไปประยุกต์ใช้ในการสอน ซ่ึงจากการฝกึ อบรมทาใหไ้ ด้ แนวคิด ในการนาเน้ือหาเกย่ี วกับ ออกแบบควบคมุ สมองกลฝงั ตัว และ การสร้างสิง่ ประดิษฐ์ หุ่นยนต์ เพ่ิมเติมในรายวิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบ้ืองต้น โดยเน้นให้นักศึกษาได้เข้าใจจาก กรณศี ึกษาและสื่อการสอน และจากการเสนอแผนการพัฒนาอาจารยใ์ นปีการศกึ ษา 2561 (วาระการ ประชุม 2/2561) ให้สนับสนุนอาจารย์ประจาหลักสูตรได้ออกศึกษาดูงานต่างสถาบันในหลักสูตร เดียวกนั หรอื เทียบเคยี งกนั หรอื อบรมนอกสถานท่ี ซ่งึ อาจารย์รณชยั สงั หมื่นเม้าและอาจารย์ภรู ิ จันทิ มา ได้ไปศึกษาดูงานที่ มหาวิทยาลัยราชมงคลอีสาน จังหวดั นครราชสมี า มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี สถาบันเทคโนโลยีไทย-เยอรมัน จังหวัดชลบุรี บริษัท SMC นิคมอุตสาหกรรมแอทเทิรน์ ซีบอรด์ และ Omron Thailand กรุงเทพฯ ระหวา่ งวันที่ 1 – 4 เมษายน 2562 A: หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมตั ิ ได้มีการวาง แผนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ตามแผนปฏิบัติการ โดยสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรม บริการวิชาการแก่สังคมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้และคุณธรรม กระตุ้นให้อาจารย์ทาผลงาน วิชาการในสาขาวิชาและส่งเสริมการทาวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและ ความเชี่ยวชาญในสาขาวชิ าชีพ การดาเนินงาน 1. สาขาวชิ าฯ ประชมุ วางแผนการพัฒนาศกั ยภาพอาจารย์ 2. สาขาวิชาฯ ประชุมวางแผนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ และแจ้งแนวทางในการส่งเสรมิ และ พัฒนาอาจารย์ให้บคุ ลากรทราบ ดังน้ี 2.1 การสง่ เสรมิ และพัฒนาดา้ นการศึกษาต่อในระดบั ที่สงู ขน้ึ 2.2 การส่งเสริมและพัฒนาดา้ นการเขา้ สตู่ าแหน่งทางวชิ าการ 2.3 การสง่ เสรมิ และพฒั นาด้านวิชาชพี 2.4 การสง่ เสรมิ และพัฒนาด้านการวิจยั 3. อาจารยแ์ ตล่ ะท่านมีแผนการพฒั นาตนเอง 4. สาขาวิชาไดต้ ิดตามผลประเมินความพึงพอใจ ในกระบวนการสง่ เสรมิ และพัฒนาอาจารย์ ซงึ่ ผลการ ประเมิน อย่ใู นระดบั มาก อาจารย์ทุกท่านมีความสนใจและให้ความสาคัญในการพัฒนาตนเอง และพรอ้ มทีจ่ ะ เขา้ ร่วมโครงการที่จัดขนึ้ ทุกโครงการ 5. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสตู ร ได้ส่งผลงานวิจัยเพื่อเผยแพร่ ในฐานขอ้ มลู สูงขนึ้ ดังนี้
10 ลาดับท่ี ชือ่ -สกลุ ผลงานวิจยั ชื่อวารสารหรอื ระดบั คณุ ภาพ ประชุมวชิ าการ ผลงานทาง วชิ าการ 1 นายอุ้มบุญ เชียงรชั ต์ชัย Improvement an efficiency of การประชมุ วชิ าการ 0.2 transportation in post office ขา่ ยงานวิศวกรมอตุ 0.8 by Automatic line following สาหการ 0.2 bot messenger 0.4 2 นางอจั ฉรา ชมุ พล Using the Hybrid DEA-TOPSIS วารสารวิชาการ Technique for Selecting the เทคโนโลยี Suitable Biomass Materials for อุตสาหกรรม Processing into Fuel Briquettes 3 นายสรายุทธ กรวิรตั น์ Development of Instruction การประชุมวชิ าการ นายรณชัย สงั หม่ืนเม้า Media for Simulating ขา่ ยงานวิศวกรมอุต 4 นายสรายุทธ กรวริ ตั น์ Warehouse by Augmented สาหการ Reality (AR) Selection of the Best Laptop วารสารวจิ ัย for Educational Purposes using มหาวทิ ยาลยั Hybrid Decision Making เทคโนโลยีราช Technique มงคลศรวี ชิ ัย 6. อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู รได้รับการอบรมและพัฒนาทางวชิ าการ ดังน้ี ชอ่ื อาจารย์ ช่ือโครงการพัฒนาทักษะทางดา้ นความร/ู้ การ สรุปข้อคดิ เหน็ และประโยชนท์ ี่ ฝกึ อบรมต่างๆ ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมได้รับ การบรกิ ารวิชาการ - นายอุ้มบุญ เชลียงรชั ต์ชัย โครงการบริการวิชาการ เร่อื ง “สัปดาห์วทิ ยาศาสตร์ เกดิ ประสบการณด์ ้านวิชาการ สรา้ ง - นายรณชัย สังหมื่นเม้า แ ห่ ง ช าติ ( ส่ วนภู มิ ภ าค ) ป ร ะ จาปี 2 5 6 1 ” เครือข่ายโรงเรียนมธั ยมศึกษาตอน 18 - 19 สงิ หาคม 2561ณ มหาวิทยาลัยกาฬสนิ ธุ์ ปลาย - นางอจั ฉรา ชุมพล - นายสรายุทธ กรวิรัตน์ - นายอุ้มบญุ เชลียงรัชตช์ ัย โครงการบริการวิชาการ เรื่อง “คา่ ยเส้นทางสู่วิศวกร เกดิ ประสบการณ์ด้านวชิ าการ สร้าง - นายรณชยั สงั หม่ืนเม้า คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เครอื ขา่ ยโรงเรยี นมัธยมศึกษาตอน มหาวทิ ยาลยั กาฬสินธ์ุ” 23 - 25 พฤศจิกายน 2561 ปลาย และบูรณาการการเรียนการ - นายภรู ิ จันทมิ า - นางอัจฉรา ชมุ พล ณ มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ สอนกับโครงการบรกิ ารวชิ าการเพอ่ื - นายสรายุทธ กรวิรัตน์ ยกระดับการสอนในชั้นเรียน - นายอุ้มบญุ เชลยี งรัชต์ชยั โครงการบริการวิชาการ เรื่อง “อบรมพัฒนาทักษะ เกิดประสบการณ์ด้านวิชาการ สรา้ ง - นายรณชยั สงั หม่ืนเม้า การสร้าง port folio และ resume เพ่ือสมั ค ร เครือขา่ ยโรงเรียนมธั ยมศึกษาตอน - นายภรู ิ จันทิมา - นางอจั ฉรา ชุมพล TCAS” 30 พฤศจิกายน 2561 ณ มหาวิทยาลัย ปลาย และบูรณาการการเรยี นการ - นายสรายุทธ กรวิรตั น์ กาฬสนิ ธุ์ สอนกับโครงการบรกิ ารวิชาการเพื่อ ยกระดบั การสอนในชนั้ เรยี น
11 ช่ืออาจารย์ ชอื่ โครงการพฒั นาทกั ษะทางด้านความร/ู้ การ สรปุ ขอ้ คิดเห็นและประโยชนท์ ี่ ฝกึ อบรมต่างๆ ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไดร้ ับ - นายอุ้มบุญ เชลียงรัชตช์ ยั โครงการบริการวิชาการ เร่ือง “โครงการอบรมเชิง เกดิ ประสบการณด์ ้านวิชาการ สร้าง - นายรณชัย สงั หมื่นเม้า ปฏิบตั กิ ารและการแข่งขันยานพาหนะควบคมุ ดา้ นโล เครือข่ายโรงเรยี นมธั ยมศึกษาตอน จสิ ติกส์ (Controlled Logistics Vehicle; CLV)” ปลาย และบูรณาการการเรียนการ - นายภูริ จนั ทิมา 22 - 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ณ มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ สอนกบั โครงการบรกิ ารวิชาการเพอ่ื - นางอจั ฉรา ชุมพล - นายสรายุทธ กรวริ ัตน์ ยกระดบั การสอนในชน้ั เรยี น - นายรณชยั สงั หมื่นเม้า วทิ ยากรอบรมการใชง้ าน TurtleBot๓ และ Robot เกดิ ประสบการณด์ ้านวชิ าการ สร้าง - นายภูริ จันทมิ า Operating System (ROS) เครือขา่ ยโรงเรยี นมัธยมศึกษาตอน (ภาพบรรยากาศ) ปลาย และบรู ณาการการเรยี นการ สอนกบั โครงการบรกิ ารวิชาการเพอ่ื ยกระดบั การสอนในชั้นเรียน - นายรณชัย สังหมื่นเม้า โครงการนักประดษิ ฐ์หุ่นยนต์รนุ่ เยาว์และการแข่งขนั เกดิ ประสบการณ์ด้านวิชาการ สร้าง - นายภูริ จันทมิ า สิ่งประดษิ ฐ์ หนุ่ ยนต์ และ เทคโนโลยี Kamalasai เครือข่ายโรงเรยี นมธั ยมศึกษาตอน - นายสรายทุ ธ กรวิรตั น์ Robotics 2018 ปลาย และบูรณาการการเรียนการ สอนกับโครงการบรกิ ารวชิ าการเพอ่ื ยกระดบั การสอนในชั้นเรยี น - นายอุ้มบุญ เชลียงรชั ตช์ ัย อบรมหลักสูตรออกแบบควบคุมสมองกลฝังตัว เกิดประสบการณ์ด้านวิชาการ และ - นายรณชัย สังหมื่นเม้า สานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานจงั หวดั กาฬสินธุ์ บู ร ณ า ก า ร ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น กั บ โ ค ร ง การ บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร เ พื่ อ ยกระดบั การสอนในชัน้ เรยี น การอบรม - นายรณชัย สงั หมื่นเม้า อบรม โครงการ เร่อื ง TurtleBot ระหว่างวันท่ี ๑๑- เกดิ ประสบการณ์ด้านวิชาการ และ - นายสรายุทธ กรวริ ัตน์ ๑๔ มถิ นุ ายน ๒๕๖๑ ณ มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย์ บูรณาการการเรียนการสอนเพ่ือ ยกระดับการสอนในชั้นเรยี น - นางอัจฉรา ชมุ พล การสร้างแนวคิดวิจัยใหม้ ีชยั ต่อแหล่งทุน\" โดย Multi เพมิ่ มมุ มองดา้ นการวิจยั แนวคดิ การ Mentoring System (MMS6) ทาวิจัยที่ช่วยตอบสนองนโยบายของ ชาติ - นายอุ้มบุญ เชลียงรัชต์ชัย อบรม “สถาบันพระมหากษตั ริย์กับประเทศไทย” ไดท้ ราบประวตั ิศาสตรข์ องสถาบนั - นายรณชยั สงั หมื่นเม้า 20 เมษายน 2562 ณ มหาวิทยาลยั กาฬสินธ์ุ พระมหากษตั ริยก์ ับประเทศไทย ทา - นายภูริ จันทมิ า ใหเ้ กดิ ความรักและศรัทธาในสถาบัน - นางอัจฉรา ชมุ พล พระมหากษัตริย์มากยงิ่ ข้ึน พรอ้ มจะ - นายสรายทุ ธ กรวริ ตั น์ นอ้ มนาคาสอนปฏบิ ตั ิในการทางาน - นายรณชยั สงั หม่ืนเม้า อบรม “โครงการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลกั สตู รใหม่ เกดิ ประสบการณ์ด้านวชิ าการและ - นายภูริ จนั ทมิ า ดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดา้ น สร้างเครือขา่ ยสถานที่ศึกษาดูงาน วศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โครงการยอ่ ยท่ี 2 และสหกจิ ศึกษาของนักศึกษา จัดทาหลักสตู รใหม่ วิศวกรรมศาสตรบ์ ัณฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรมแมคคาโทรนิกส์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) กิจกรรมท่ี 1 สารวจข้อมลู เบื้องต้นและ ศกึ ษาดงู าน”
12 ช่อื อาจารย์ ชื่อโครงการพฒั นาทกั ษะทางดา้ นความรู้/การ สรุปขอ้ คิดเหน็ และประโยชน์ท่ี ฝึกอบรมต่างๆ ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมได้รบั การสัมมนา - นายรณชยั สงั หมื่นเม้า 1 – 4 เมษายน 2562 ณ นครราชสีมา ชลบุรี - นายภรู ิ จนั ทิมา กรุงเทพฯ งานประชุมวชิ าการ - อุม้ บุญ เชลียงรชั ตช์ ยั การประชุมสัมมนา “Roadshow in AI Innovation เกดิ ประสบการณ์ด้านวชิ าการและ - นายรณชยั สังหมื่นเม้า JumpStart” 14 ธันวาคม 2561 ณ อุทยาน สรา้ งเครอื ขา่ ยงานวจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ จงั หวดั ขอนแก่น กาญจนวิทย์ แจ่มพงษ์, พิณพฒั น์ บางเพช็ ร, วริ ัตน์ นานักศกึ ษาเข้ารว่ มนาเสนอ ชา่ งพูด, ปยิ ณัฐ โตอ่อน, อุ้มบุญ เชลียงรัชต์ชัย และ บทความแบบปากเปล่า ทาให้เกดิ ณฐั นันท์ อิสสระพงศ์. 2561. การเพ่มิ ประสิทธภิ าพ ประสบการณด์ ้านวิชาการ สร้าง การขนส่งภายในสานักงานด้วยรถเดินตามเสน้ เสริมความกล้าแสดงออก และสร้าง อตั โนมัติ กรณศี ึกษา ท่ที าการไปรษณียก์ าฬสินธุ์. เครอื ข่ายงานวจิ ยั การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอตุ สาหการ (IE NETWORK 2018) ระหวา่ งวนั ท่ี 23 - 26 กรกฏาคม 2561 จงั หวัดอบุ ลราชธานี. 75. อภิสิทธ์ิ พิริยะตะกลุ วาลี ภารสไว สรายทุ ธ กรวิรัตน์ นานักศึกษาเข้ารว่ มนาเสนอ และนายรณชยั สังหมนื่ เม้า. 2561. การพัฒนาส่ือ บทความแบบปากเปล่า ทาใหเ้ กิด การสอนแบบจาลองคลังสินค้าด้วยวธิ ีความเป็นจรงิ ประสบการณด์ า้ นวิชาการ สร้าง เสริม. การประชุมวิชาการขา่ ยงานวิศวกรรมอตุ สา เสรมิ ความกล้าแสดงออก และสรา้ ง หการ (IE NETWORK 2018) ระหวา่ งวนั ท่ี 23 - 26 เครือข่ายงานวิจยั กรกฏาคม 2561 จังหวดั อบุ ลราชธานี. 121. ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมิน เปา้ หมาย คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย เป้าหมาย ปีทแ่ี ล้ว 6 ระดับ (,) ปถี ัดไป ระดับ 3 ระดบั 4 (คะแนน 0-5) ระดบั 4 ระดบั 3 รายการหลกั ฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข รายงานการประชมุ วาระการประชมุ 2/2561 วค 4.1-1 เอกสารการเข้าร่วมโครงการฯ วค 4.1-2 ผู้กากับดแู ลตัวบ่งช:ี้ ผูจ้ ัดเก็บรวบรวมข้อมูล/รายงานผลการดาเนนิ งาน: 1. นางอัจฉรา ชมุ พล, 0832907447 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชยั สงั หมืน่ เมา้ , 0874778519 2. นายรณชยั สงั หม่ืนเมา้ , 0874778519
13 ตวั บ่งช้ที ี่ 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีคณุ วุฒิปรญิ ญาเอก การคดิ รอบปี : ปกี ารศึกษา สตู รการคานวณ x 100 1. คานวณค่าร้อยละของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รทม่ี ีวฒุ ิปรญิ ญาเอก ตามสูตร จานวนอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รทม่ี ีคุณวฒุ ปิ รญิ ญาเอก จานวนอาจารยป์ ระจาหลักสตู รทง้ั หมด 2. แปลงค่ารอ้ ยละทีค่ านวณไดใ้ นข้อ 1 เทยี บกับคะแนนเตม็ 5 คะแนนทไ่ี ด=้ ร้อยละของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรที่มคี ณุ วุฒปิ ริญญาเอก x5 ร้อยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรทมี่ คี ุณวฒุ ปิ ริญญาเอกทกี่ าหนดใหเ้ ปน็ คะแนนเต็ม 5 สรปุ จานวนอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รจาแนกตามคณุ วุฒกิ ารศกึ ษา หนว่ ยวัด ผลการดาเนินงาน จานวนอาจารยต์ ามคณุ วุฒิการศกึ ษา คน 0 คน 5 อาจารย์วุฒปิ รญิ ญาตรี อาจารย์วฒุ ปิ รญิ ญาโท คน 0 อาจารยว์ ฒุ ปิ รญิ ญาเอก คน 10 รวมจานวนอาจารยป์ ระจาทง้ั หมด (นบั รวมทลี่ าศึกษาตอ่ ) รอ้ ยละ 0 ร้อยละอาจารย์ประจาที่มวี ุฒปิ รญิ ญาตรี ร้อยละ 100 ร้อยละอาจารยป์ ระจาทม่ี วี ฒุ ปิ รญิ ญาโท รอ้ ยละ 0 รอ้ ยละอาจารยป์ ระจาที่มวี ุฒปิ รญิ ญาเอก
14 แบบรายงานอาจารยป์ ระจาหลักสูตรทีม่ ีคณุ วฒุ ิปรญิ ญาเอก ระยะเวค าการปฏิบัติงาน วฒุ กิ ารศึกษา ที่ ชอื่ -สกุล ปรญิ ญา ปริญญา ปรญิ ญา นอ้ ยกว่า 6-9 มากกวา่ จานวน ตรี โท เอก 6 เดอื น เดอื น 9 เดอื น (คน) รวม 0 รวมทง้ั สิ้น คา่ ร้อยละของอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร 0 คน ทมี่ ีวุฒิปรญิ ญาเอก คะแนนทไ่ี ด้ ร้อยละ 0 0 คะแนน * กรณีอาจารย์ท่รี ับเขา้ มาปฏิบตั ิงานใหม่ ให้พิจารณาระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ าน ผลการประเมินตนเอง ตัวบง่ ช้ที ี่ 4.2.1 ผลการประเมนิ เปา้ หมาย คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลุเป้าหมาย เปา้ หมาย ปีทีแ่ ลว้ 0 (,) ปถี ัดไป 05 5 รายการหลักฐานหมายเลข รายการหลกั ฐาน วค 4.2.1-1 ประวัตอิ าจารยป์ ระจาหลกั สูตร ผ้กู ากับดแู ลตวั บง่ ช:ี้ ผูจ้ ดั เก็บรวบรวมข้อมูล/รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชัย สงั หมืน่ เม้า, 0874778519 2. นายรณชัย สงั หมื่นเมา้ , 0874778519
15 4.2.2 รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรท่ดี ารงตาแหน่งทางวิชาการ การคดิ รอบปี : ปีการศึกษา สูตรการคานวณ 1. คานวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรทด่ี ารงตาแหนง่ ทางวชิ าการ ตามสูตร จานวนอาจารยป์ ระจาหลักสตู รทด่ี ารงตาแหนง่ ทางวชิ าการ x 100 จานวนอาจารยป์ ระจาหลักสูตรทั้งหมด 2. แปลงคา่ รอ้ ยละท่ีคานวณไดใ้ นขอ้ 1เทยี บกับคะแนนเตม็ 5 รอ้ ยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรทด่ี ารงตาแหนง่ ทางวชิ าการ คะแนนทีไ่ ด้ = รอ้ ยละของอาจารย์ประจาหลักสตู รทดี่ ารงตาแหน่งทางวชิ าการที่กาหนดให้เปน็ x5 คะแนนเตม็ 5 สรปุ จานวนอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรจาแนกตามตาแหน่งทางวชิ าการ จานวนอาจารยต์ ามคณุ วุฒิการศึกษา หน่วยวดั ผลการดาเนนิ งาน ศาสตราจารย์ คน 0 รองศาสตราจารย์ คน 0 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ คน 0 อาจารย์ที่ไมม่ ตี าแหนง่ ทางวิชาการ คน 5 รวมจานวนอาจารยป์ ระจาทั้งหมด (นบั รวมทล่ี าศกึ ษาต่อ) คน 10 รวมอาจารย์ประจาทีม่ ตี าแหนง่ วชิ าการ (ผศ.,รศ. และ ศ.) คน 0 รอ้ ยละอาจารยป์ ระจาที่มตี าแหนง่ วชิ าการ (ผศ.,รศ. และ ศ.) รอ้ ยละ 0 แบบรายงานอาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีตาแหนง่ ทางวิชาการ ที่ ช่อื -สกุล อ. ผศ. รศ. ศ. นอ้ ยกว่า 6-9 มากกวา่ จานวน 6 เดือน เดอื น 9 เดือน (คน) 1. - 0 คน รวม รอ้ ยละ 0 รวมทั้งสนิ้ 0 คะแนน ค่ารอ้ ยละของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร ท่ีดารงตาแหนง่ ทางวชิ าการ คะแนนท่ีได้ *กรณอี าจารย์ท่ีรับเข้ามาปฏบิ ตั ิงานใหม่ ให้พจิ ารณาระยะเวลาการปฏบิ ัติงาน
16 ผลการประเมนิ ตนเอง ตวั บ่งชี้ท่ี 4.2.2 ผลการประเมนิ เปา้ หมาย คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลุเป้าหมาย เปา้ หมาย ปีทีแ่ ลว้ 1 0 (,) ปีถัดไป 0 1 รายการหลกั ฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข ประวัตอิ าจารยป์ ระจาหลักสูตร วค 4.2.2-1 ผกู้ ากบั ดแู ลตวั บ่งช:ี้ ผู้จัดเกบ็ รวบรวมข้อมูล/รายงานผลการดาเนนิ งาน: 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอจั ฉรา ชมุ พล, 0832907447 2. นายรณชัย สังหมนื่ เมา้ , 0874778519 2. นายรณชยั สงั หมืน่ เมา้ , 0874778519 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสตู ร การคิดรอบปี : คิดรอบปีปฏิทนิ (ใช้ปีเดยี วกันกบั ปีการศกึ ษา) สตู รการคานวณ 1. คานวณรอ้ ยละของผลรวมถว่ งน้าหนกั ของผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรตามสตู ร ผลรวมถ่วงนา้ หนักของผลงานวชิ าการของอาจารย์ประจาหลักสูตร x 100 จานวนอาจารยป์ ระจาหลักสตู รทัง้ หมด 2. แปลงค่ารอ้ ยละท่คี านวณได้ในขอ้ 1เทียบกบั คะแนนเตม็ 5 x5 ร้อยละของผลรวมถว่ งน้าหนักของผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร คะแนนทไ่ี ด้ = รอ้ ยละของผลรวมถว่ งนา้ หนกั ของผลงานวิชาการของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร ท่กี าหนดใหเ้ ป็นคะแนนเต็ม 5
17 สรุปผลงานวิชาการ/งานสรา้ งสรรค์ของอาจารย์ประจาหลักสตู รทีต่ พี ิมพ์เผยแพร่ ประเภทผลงานวิชาการ/งานสร้างสรรค์ของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร นา้ หนกั จานวน ผลรวม ระดับปริญญา (ตร/ี โท/เอก) ผลงาน ถว่ ง นา้ หนกั ผลงานทางวชิ าการ 1.1 บทความวิจัยฉบับสมบรู ณท์ ี่ตพี ิมพ์ในรายงานสบื เน่อื งจากการประชมุ วชิ าการระดับชาติ 0.20 2 0.40 1.2 บทความวิชาการฉบับสมบูรณท์ ต่ี ีพิมพ์ในรายงานสบื เนื่องจากการประชุมวิชาการ 0.20 ระดับชาติ 2.1 บทความวิจยั ฉบับสมบูรณท์ ต่ี ีพมิ พใ์ นรายงานสืบเนือ่ งจากการประชุมวชิ าการระดับนานาชาติ 0.40 2.2 บทความวิชาการฉบบั สมบูรณท์ ต่ี พี มิ พใ์ นรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวชิ าการระดับานาชาติ 0.40 2.3 บทความวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์ทีต่ พี ิมพ์ในวารสารทางวิชาการทไ่ี มอ่ ยู่ในประกาศของ ก.พ.อ. แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันเพื่ออนมุ ัตแิ ละจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และ 0.40 แจ้งให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนบั แตว่ ันทีอ่ อกประกาศ 2.4 บทความวชิ าการฉบับสมบรู ณ์ที่ตีพมิ พ์ในวารสารทางวชิ าการท่ไี ม่อย่ใู นประกาศของ ก.พ.อ.แต่ 1 0.40 สถาบนั นาเสนอสภาสถาบนั เพ่ืออนุมตั ิและจัดทาเป็นประกาศใหท้ ราบเป็นการทว่ั ไปและ แจง้ ให้ 0.40 กพอ./กกอ.ทราบภายใน 30 วันนบั แต่วันที่ออกประกาศ 2.5 ผลงานที่ไดร้ ับการจดอนุสทิ ธบิ ัตร 0.40 3.1 บทความวจิ ยั ทีต่ พี ิมพใ์ นวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 0.60 3.2 บทความวชิ าการท่ตี พี มิ พ์ในวารสารวิชาการทป่ี รากฏในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 0.60 0.80 4.1 บทความวิจัยท่ตี ีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดบั นานาชาตทิ ี่ไม่อย่ใู นฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ.แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันเพื่ออนุมัติและจดั ทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนบั แตว่ ันที่ออกประกาศ 4.2 บทความวิชาการทตี่ พี มิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีไมอ่ ยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ 0.80 ก.พ.อ.แตส่ ถาบนั นาเสนอสภาสถาบันเพื่ออนมุ ตั แิ ละจดั ทาเป็นประกาศใหท้ ราบเปน็ การทว่ั ไปและ แจง้ ให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ
18 ประเภทผลงานวชิ าการ/งานสร้างสรรค์ของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร น้าหนกั จานวน ผลรวม ระดับปรญิ ญา (ตร/ี โท/เอก) ผลงาน ถว่ ง น้าหนกั ผลงานทางวชิ าการ (ตอ่ ) 4.3 บทความวิจัยทีต่ ีพิมพ์ในวารสารวิชาการทีป่ รากฏในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 1 0.80 1 0.80 4.4 บทความวชิ าการท่ีตพี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการที่ปรากฏในฐานข้อมูลTCI กลุม่ ท่ี 1 0.80 5.1 บทความวจิ ัยที่ตพี ิมพใ์ นวารสารวชิ าการระดบั นานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมลู ระดับ นานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรอื ระเบียบคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาว่าด้วยหลกั เกณฑ์การ 1.00 พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ พ.ศ. 2556 5.2 บทความวิชาการท่ตี พี ิมพใ์ นวารสารวิชาการระดับนานาชาตทิ ี่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับ 1.00 นานาชาตติ ามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์ การพิจารณาวารสารทางวชิ าการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการพ.ศ. 2556 5.3 ผลงานทไ่ี ด้รับการจดสิทธิบัตร 1.00 5.4 ผลงานวิชาการรับใช้สงั คมทไ่ี ดร้ บั การประเมินผ่านการประเมนิ ตาแหน่งทางวิชาการแล้ว 1.00 5.5 ผลงานวิจยั ที่หน่วยงานหรอื องค์กรระดบั ชาตวิ า่ จา้ งใหด้ าเนินการ 1.00 5.6 ผลงานคน้ พบพันธพ์ุ ืช พันธ์ุสัตว์ ทีค่ ้นพบใหมแ่ ละได้รบั การจดทะเบยี น 1.00 5.7 ตาราหรอื หนังสอื ท่ีได้รับการประเมนิ ผ่านเกณฑ์การขอตาแหนง่ ทางวชิ าการแลว้ 1.00 1.00 5.8 ตาราหรือหนังสือท่ีผา่ นการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตาแหนง่ ทางวชิ าการแต่ ไมไ่ ด้นามาขอรับการประเมินตาแหนง่ ทางวิชาการ 0.20 งานสรา้ งสรรค์ 0.40 6. งานสร้างสรรคท์ ีม่ ีการเผยแพรส่ สู่ าธารณะในลักษณะใดลักษณะหน่งึ หรอื ผ่านสอื่ 0.60 อเิ ล็กทรอนิกส์ online 0.80 7. งานสร้างสรรคท์ ี่ไดร้ ับการเผยแพร่ในระดบั สถาบัน 1.00 8. งานสร้างสรรคท์ ี่ได้รบั การเผยแพร่ในระดับชาติ 5 9. งานสร้างสรรคท์ ไี่ ด้รับการเผยแพรใ่ นระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ 4 10. งานสรา้ งสรรคท์ ่ีไดร้ บั การเผยแพรใ่ นระดบั ภมู ภิ าคอาเซยี น/นานาชาติ จานวนอาจารย์ประจาหลักสตู รทั้งหมด - จานวนผลงานวิชาการท้ังหมด 1.60 จานวนผลงานสรา้ งสรรคท์ ้งั หมด - 32 ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสตู ร - 4 ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานสรา้ งสรรค์ของอาจารย์ประจาหลักสูตร ร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร - รอ้ ยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานสรา้ งสรรคข์ องอาจารย์ประจาหลกั สูตร ค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนกั ของผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร คา่ ร้อยละของผลรวมถว่ งนา้ หนักของผลงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ประจาหลกั สตู ร
19 ผลการประเมนิ ตนเอง ตวั บง่ ช้ีท่ี 4.2.3 ผลการประเมิน เป้าหมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย เป้าหมาย ปีท่แี ล้ว 4 (,) ปถี ัดไป 05 5 รายการหลกั ฐาน รายการหลกั ฐาน หมายเลข เอกสารผลงานวิชาการ วค 4.2.3-1 - การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรมอตุ สาหการ - วารสารวชิ าการเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม - การประชมุ วิชาการข่ายงานวิศวกรมอุตสาหการ - วารสารวจิ ยั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการดาเนนิ งาน ตัวบ่งช้ี 0 0 4.2.1 รอ้ ยละคุณวฒุ ิปริญญาเอก 4 4.2.2 รอ้ ยละอาจารยท์ ี่มีตาแหน่งทางวิชาการ 4.2.3 ผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร 1.33 คา่ เฉลี่ยทัง้ 3 ตัวบง่ ช้ี ผลการประเมนิ ตนเอง ตัวบ่งชีท้ ี่ 4.2 ผลการ คะแนนประเมนิ บรรลุ ตนเอง เป้าหมาย ประเมินปีท่ี เป้าหมาย (,) เปา้ หมายปีถัดไป 1.33 2.00 แล้ว 1.67 1.80
20 ตัวบง่ ชที้ ่ี 4.3 ผลท่เี กิดกับอาจารย์ สถานะของอาจารย์ การคดิ รอบปี : ปีการศึกษา คงอยู่ เกษียณ ลาออก ผลการดาเนินงาน : 1.การคงอยขู่ องอาจารย์ รายชื่ออาจารยใ์ นปีการศกึ ษา 2561 1. นายรณชยั สงั หม่นื เม้า 2. นายสรายุทธ กรวริ ัตน์ 3. นายภรู ิ จันทมิ า 4. นายอุม้ บุญ เชลียงรัชต์ชยั 5. นางอจั ฉรา ชมุ พล 2. ความพึงพอใจของอาจารย์ ระดับความพงึ พอใจของอาจารยท์ มี่ ตี อ่ การบรหิ ารหลกั สูตร เฉล่ยี ไม่น้อยกวา่ 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0 ประเด็นการประเมนิ คะแนนจากการสารวจ ร้อยละของคะแนน จากการสารวจ 1. การวางแผนระยะยาวด้านอัตรากาลังอาจารย์ให้ 3.4 68 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู ร 2. การกาหนดบทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบของ 3.8 76 อาจารย์ประจาหลกั สูตรมคี วามชดั เจน 3. อาจารย์ประจาหลักสูตรมีส่วนร่วมในการประชุม เพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงาน 3.2 64 หลกั สูตร 4. การจัดรายวิชามีความเหมาะสมตรงกับความรู้ 4 80 ความสามารถของอาจารยผ์ ู้สอน 5. จานวนภาระงานสอนของอาจารย์ท่ีเป็นจริงใน 4 80 หลักสูตรมคี วามเหมาะสม 6. การประเมินการสอนของอาจารย์ และนาผลมาใช้ ในการส่งเสริมพัฒนาความสามารถด้านการสอน 3.8 76 ของอาจารย์ 7. อาจารย์ใหม่ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือ 3.4 68 คาแนะนาดา้ นการจัดการเรียนการสอน 8. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ 3.4 68 และ/หรือวชิ าชีพ อย่างนอ้ ยปีละหน่ึงครงั้
21 9. อาจารย์ได้รับการส่งเสริมให้เข้าสู่ตาแหน่งทาง 3.2 64 วชิ าการและศกึ ษาต่อ 3.8 76 10. การเสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการระหว่าง 3.4 68 อาจารย์ทัง้ ในและระหว่างหลักสูตร 3.58 71.64 11. ส่ิงสนับสนนุ การเรียนรู้ เฉลี่ยผลการประเมินความพงึ พอใจของอาจารย์ ข้อมูล ปี (ขอ้ มูลจากปที ่เี ปิดสอนจนถึงปัจจุบัน) 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 ความพึงพอใจของ อาจารย์ - - - - - 3.58 3.58 ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมิน เปา้ หมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย เปา้ หมาย ปีทีแ่ ล้ว 6 ระดับ (,) ปถี ัดไป 34 (คะแนน 0-5) 4 4 รายการหลกั ฐาน รายการหลกั ฐาน หมายเลข คาส่ังแต่งตัง้ คณะกรรมการพัฒนาหลกั สูตร กรรมการวิพากษ์ วค 4.3-1 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 วค 4.3-2 แบบประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจาหลกั สูตรต่อการ บรหิ ารจดั การหลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชา วค 4.3-3 วิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละระบบอัตโนมตั ิ ปกี ารศกึ ษา 2561 วค 4.3-4 ผลการคานวณความพึงพอใจของอาจารยใ์ นการบริหารและ พฒั นาอาจารย์ รายงานการประชมุ 4/2561 ผูก้ ากบั ดแู ลตัวบ่งช:้ี ผูจ้ ัดเกบ็ รวบรวมข้อมลู /รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอจั ฉรา ชมุ พล, 0832907447 1. นางอจั ฉรา ชมุ พล, 0832907447 2. นายรณชยั สังหม่ืนเม้า, 0874778519 2. นายรณชัย สังหมืน่ เมา้ , 0874778519
22 การรายงานผลการวิเคราะห์จดุ เดน่ และโอกาสในการพัฒนา องคป์ ระกอบท่ี 4 จุดเดน่ โอกาสในการพัฒนา 1. อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตรมีคุณวฒุ ติ รงตาม 1. จดั ตง้ั งบประมาณในการส่งเสรมิ พฒั นาอาจารย์ ขอ้ กาหนดมาตรฐาน และไดร้ บั มอบหมายสอนใน ผ้รู บั ผิดชอบหลักสูตรเพมิ่ ขนึ้ เชน่ การอบรม การศกึ ษา วิชาท่ีเช่ยี วชาญ ดงู านในสถานประกอบการ 2. มีการจัดอาจารยผ์ สู้ อนไดเ้ หมาะสมกบั รายวิชา 2. สง่ เสรมิ ให้อาจารย์ดาเนินการขอตาแหนง่ ทาง 3. อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สูตรทมี่ ผี ลงานทาง วิชาการ วิชาการเผยแพรม่ จี านวนเพ่มิ ขน้ึ 3. อาจารยส์ ามารถนาความรทู้ ไี่ ด้จากการอบรมมา บรหิ ารหลกั สตู ร และนามาปรับปรงุ การเรยี นการสอน ใหท้ นั สมยั มากยง่ิ ขึน้ 4. อาจารยค์ ณุ วุฒิปรญิ ญาเอก มแี นวโนม้ เพิ่มขึน้
23 หมวดท่ี 3 นักศกึ ษาและบณั ฑติ องคป์ ระกอบที่ 2 บณั ฑติ ตัวบง่ ชีท้ ี่ 2.1 คุณภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ การคิดรอบปี : ปีการศึกษา สูตรการคานวณ คะแนนท่ไี ด้ = ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมนิ บณั ฑติ จานวนบณั ฑิตทไ่ี ดร้ บั การประเมนิ ท้งั หมด ผลการดาเนนิ งาน ผลรวมของคา่ คะแนนท่ีไดจ้ ากการประเมินบัณฑิต ..................18.52............................. จานวนบณั ฑติ ท่ีไดร้ ับการประเมินทงั้ หมด ..................6……............................... (ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 20 ของจานวนบณั ฑิตที่สาเร็จการศกึ ษา) คะแนนท่ไี ด้ .................23.31............................... (ใช้คะแนนผลการประเมินจากวงเลบ็ 12 ของเกณฑป์ ระเมนิ ขอ้ 12 ในตวั บง่ ชีท้ ี่ 1.1) วิธกี ารคานวณ แทนค่าจากสูตร คะแนนทไี่ ด้ = 23.31 = 3.89 6 ขอ้ มลู ประกอบ จานวนบณั ฑติ ทร่ี ับการประเมนิ จากผ้ใู ช้บณั ฑติ จะตอ้ งไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 20 ของจานวนบณั ฑติ ที่ สาเรจ็ การศกึ ษา จากการสารวจความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บัณฑติ จากผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา 7 คน มีผตู้ อบ แบบสอบถาม จานวน 6 คน คิดเป็น ร้อยละ 87.50 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดับ 3.89 ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ เป้าหมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย เป้าหมาย ปีที่แลว้ 3.80 3.89 (,) ปถี ัดไป 3.71 3.90
24 รายการหลักฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข ผลประเมินคณุ ภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ วค. 2.1-1 ระดับอุดมศกึ ษาและอัตลักษณ์บัณฑิต ผู้กากบั ดแู ลตวั บง่ ช:ี้ ผจู้ ัดเก็บรวบรวมขอ้ มลู /รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอจั ฉรา ชมุ พล, 0832907447 2. นายรณชยั สงั หมน่ื เม้า, 0874778519 2. นายรณชยั สังหมนื่ เม้า, 0874778519 ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2.2 (ปริญญาตร)ี รอ้ ยละของบัณฑิตปรญิ ญาตรที ่ีได้งานทาหรือประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี การคิดรอบปี : ปกี ารศกึ ษา สูตรการคานวณ 1. คานวณคา่ ร้อยละของบัณฑิตปรญิ ญาตรที ี่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ตามสูตร จานวนบัณฑติ ปริญญาตรีทไี่ ด้งานทาหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี จานวนบัณฑิตทีต่ อบแบบสารวจทัง้ หมด 5 x100 100 5 การคานวณค่ารอ้ ยละนีไ้ มน่ าบณั ฑติ ที่ศกึ ษาต่อ เกณฑ์ทหาร อปุ สมบท และบัณฑิตทม่ี ีงานทาแลว้ แต่ไม่ได้ เปล่ยี นงานมาพิจารณา 2. แปลงคา่ รอ้ ยละทีค่ านวณ ได้ในข้อ 1 เทยี บกบั คะแนนเต็ม 5 คะแนนทไี่ ด้ = คา่ รอ้ ยละของบณั ฑติ ปรญิ ญาตรที ี่ไดง้ านทาหรอื ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี x5 100 คะแนนที่ได้ 100 x5 5 100 หมายเหตุ : จานวนบณั ฑิตท่ตี อบแบบสารวจจะต้องไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 ของจานวนบณั ฑิตที่สาเร็จ การศกึ ษา
25 ภาวะการมงี านทาของบณั ฑติ ภายในเวลา 1 ปี จานวน ขอ้ มูลพืน้ ฐาน จานวนบณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรีทง้ั หมด 7 5 จานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทต่ี อบแบบสารวจ 4 จานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีท่ีได้งานทาหลังสาเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ ประกอบอาชพี อสิ ระ) 1 - - ตรงสาขาทเ่ี รียน - ไมต่ รงสาขาทเี่ รยี น จานวนบณั ฑิตระดับปรญิ ญาตรที ปี่ ระกอบอาชพี อิสระ จานวนบัณฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรีที่มีกิจการของตนเองทีม่ ีรายไดป้ ระจาอยแู่ ลว้ จานวนผู้สาเร็จการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรีท่มี ีงานทากอ่ นเข้าศึกษา - จานวนบัณฑิตระดับปรญิ ญาตรที ศ่ี ึกษาตอ่ - จานวนบณั ฑติ ระดับปริญญาตรีทีอ่ ุปสมบท - จานวนบัณฑติ ระดับปริญญาตรีที่เกณฑท์ หาร - รอ้ ยละของบัณฑิตท่ไี ด้ทางานหรอื ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี รอ้ ยละ 100 การวเิ คราะหผ์ ลทไ่ี ด้ หลกั สตู รวศิ วกรรมคอมพวิ เตอรย์ ังคงเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน และเพือ่ ให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดแรงงาน สถานการณ์ทเี่ ปลย่ี นแปลงและความทันสมยั ของเทคโนโลยีในอนาคตคาด จึงไดม้ ี การปรบั ปรุงหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอตั โนมตั ิ พ.ศ.2562 ให้มคี วามทนั สมยั มากข้นึ ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ เปา้ หมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลุเปา้ หมาย เปา้ หมาย ปที ี่แล้ว 5 (,) ปถี ดั ไป 55 5 รายการหลักฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข - แบบสอบถามภาวะการมงี านทาของบณั ฑติ วค. 2.2-1-1 - สรปุ ผลภาวะการมีงานทาของบัณฑติ
ผูก้ ากบั ดแู ลตัวบง่ ช้:ี 26 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 ผ้จู ัดเก็บรวบรวมขอ้ มลู /รายงานผลการดาเนนิ งาน: 2. นายรณชยั สังหมื่นเม้า, 0874778519 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชัย สงั หมื่นเม้า, 0874778519 การรายงานผลการวเิ คราะห์จดุ เดน่ และโอกาสในการพฒั นา องคป์ ระกอบที่ 2 จุดเดน่ โอกาสในการพัฒนา บัณฑิตมคี ณุ ธรรม และจริยธรรม ความรับผิดชอบ พฒั นานกั ศึกษาในสว่ นการใชเ้ ทคโนโลยีทส่ี ามารถ และมที กั ษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลสงู นาไปใช้ในการปฏบิ ตั งิ านได้
27 องคป์ ระกอบที่ 3 นกั ศึกษา ตัวบง่ ช้ที ี่ 3.1 การรบั ศึกษา การคิดรอบปี : ปีการศกึ ษา 2561 หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ได้ทาการงดรับนักศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 จนถึงปีการศกึ ษา 2561 เนื่องจากยงั ไม่ไดร้ บั การปรบั ปรงุ หลกั สตู ร ฉะนั้น ตวั บ่งช้ีท่ี 3.1 จงึ ไม่ขอรับการประเมนิ ตวั บ่งชีท้ ี่ 3.2 การสง่ เสรมิ และพัฒนานักศกึ ษา การคิดรอบปี : ปีการศกึ ษา 2561 ผลการดาเนินงาน : 1. การควบคมุ การดแู ลการให้คาปรกึ ษาวชิ าการและแนะแนวแกน่ ักศกึ ษาในระดับปริญญาตรี หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอตั โนมตั ิ มรี ะบบการ ควบคุมดูแลการให้คาปรกึ ษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี ตามกาหนดการและการ มอบหมายของมหาวิทยาลัยฯ และคณะฯ คือ ระบบ ESS แฟ้มอาจารย์ที่ปรึกษา ตลอดจนการจัดห้องให้ คาปรกึ ษา โดยในปกี ารศกึ ษา 2561 มีผลการดาเนนิ งานดงั น้ี P : มกี ารวางแผนดูแลการให้คาปรกึ ษาด้านวิชาการและแนะแนวแกน่ ักศกึ ษา โดยการแต่งตั้งอาจารย์ ทีป่ รกึ ษาประจาปกี ารศกึ ษา 2561 ดงั น้ี นักศกึ ษารหสั 58 อาจารยธ์ รรมนญู ปญั ญาทพิ ย์ และอาจารยอ์ ัจฉรา ชมุ พล D : 1. มกี ารจัดระบบและกลไกในการควบคุม/ดแู ล/ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมนักศึกษา คอื มคี มู่ ือ ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมนักศกึ ษาประจาปี พ.ศ. 2561 และใบเชค็ กจิ กรรมนักศึกษา จากการดาเนินงานใน ปกี ารศกึ ษา 2560 พบวา่ จานวนหนว่ ยกติ ของนกั ศึกษาบางรายไมค่ รบซงึ่ อาจเกดิ ความผิดพลาดของการบนั ทึก ข้อมูล และหาหลักฐานมาประกอบเพื่ออ้างอิงไม่ครบ ทางหลักสูตรฯ จึงได้นาปัญหาดังกล่าวเข้าสู่ท่ีประชุม สาขาวิชาฯ เพื่อหาทางช่วยเหลือนักศึกษา และในปีการศึกษา 2561 ได้มีการจัดทาคูปองกจิ กรรมสาหรบั ให้ นักศึกษาบนั ทึกข้อมลู ลงในระบบ แทนการลงนามของอาจารย/์ เจ้าหน้าท่ที ่ดี ูแลกิจกรรม โดยใหท้ ุกกิจกรรมที่ นักศึกษาเข้าร่วมต้องมีการถ่ายภาพบันทึกเป็นหลักฐานในการขอคะแนนจานวนหน่วยกิตกิจกรรม ทาให้ สามารถแก้ปัญหาดงั กล่าวได้เปน็ อย่างดี 2. มีการจัดชอ่ งทางการตดิ ต่อสอ่ื สารระหวา่ งนักศกึ ษาและอาจารย์ท่ปี รกึ ษา โดยทางหลกั สูตรฯ ได้จัดประชมุ การจดั ช่องทางตดิ ตอ่ ส่ือสารระหว่างนกั ศกึ ษาและอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ประจาหลักสูตร โดยกาหนดช่องทางในการติดต่อสอ่ื สาร คือ สร้างกลุ่ม Facebook และใหอ้ าจารย์ทป่ี รึกษาเก็บข้อมลู ประวัติ สว่ นตวั ของนักศกึ ษาไว้ และสาขายงั กาหนดใหอ้ าจารย์ท่ีปรกึ ษาตอ้ งให้ขอ้ มูลสว่ นตวั (เบอรโ์ ทร และ E-mail) ของอาจารย์ท่ีปรกึ ษาเพ่ือใหน้ ักศึกษาสามารถติดต่อไดด้ ้วย ผลการดาเนินงานปีการศึกษา 2561 คือ ได้มีการ ดาเนินการอย่างตอ่ เน่ืองจากผลการดาเนินการงานในปี 2560 โดยในปี 2561 มีการเพ่ิมช่องทางในการติดต่อ นักศึกษาคือใช้ Social Media พบว่า การดูแลนักศึกษาในที่ปรึกษาให้ผลตอบรบั ดีข้ึน ทันสมัย รวดเร็วและ สามารถดูแลนักศกึ ษาได้ครอบคลมุ อกี ทงั้ ปญั หาที่นักศึกษาพบเจอระหว่างการเรยี น สามารถปรึกษาอาจารยท์ ่ี ปรึกษาและไดร้ บั การแกไ้ ขไดท้ นั เวลา C : หลักสูตรฯ มีการประเมินกระบวนการ พบว่า ในการให้คาปรึกษาควรจะมีการบันทึกการให้ คาปรึกษาเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร และสรปุ ประเด็นปญั หาใหช้ ัดเจน เพื่อที่จะได้นาขอ้ มูลปญั หาไปเป็น แนวทางการแก้ไขสาหรบั นักศึกษารนุ่ ตอ่ ไป
28 A : หลกั สูตรฯ มกี ารนาเอาผลการประเมินกระบวนการ มาปรับปรงุ และพัฒนาในปี 2562 โดยมกี าร ประชุมเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบันทึกการใหค้ าปรกึ ษาของอาจารยท์ ่ีปรึกษา โดยอาจารย์ท่ี ปรกึ ษาจะตอ้ งสรปุ นาเสนอในทป่ี ระชมุ อาจารยป์ ระจาหลกั สูตร 2. การควบคมุ ระบบการดแู ลการให้คาปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ในระดับบัณฑติ ศึกษา ไม่มีนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา 3. การพฒั นาศกั ยภาพนักศกึ ษาและการเสรมิ สรา้ งทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 P: หลกั สตู รฯ ไดม้ ีระบบในการควบคุม/ดแู ล ใหน้ กั ศกึ ษาได้เข้ารว่ มในการจดั กจิ กรรมการพฒั นา นกั ศกึ ษาเสริมสร้างทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 ทีท่ างคณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จัดขึ้น โดยจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปี เพื่อขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา เสรมิ สร้างคุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต และความเท่าเทียมกันในสังคม ท้ังนี้คณะฯ กาหนดให้ทุกสาขาวิชาภายใต้คณะฯ ได้ ส่งเสรมิ นักศกึ ษาใหม้ สี ว่ นร่วมในโครงการพรอ้ มกับแตง่ ต้งั คณะกรรมการหรอื บุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถ ในการเสรมิ สร้างและกากบั ดูแลโครงการต่างๆ พร้อมท้งั จัดทาการประเมินผลแบบสอบถามจากนกั ศึกษาที่เขา้ ร่วมโครงการ และนารายงานผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไข และเสนอให้มีการพิจารณาให้มีในแผนปี การศกึ ษาถดั ไป D: หลักสตู รฯ ไดด้ านเนนิ การพัฒนาศักยภาพนกั ศึกษา โดยทางหลกั สูตรได้เน้นพัฒนาทกั ษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพผ่านการจดั กิจกรรมโครงการต่างๆ โดยการพานักศึกษาเข้าร่วมการ อบรมเชิงปฏิบัตกิ าร รวมถงึ การเนน้ ปฏบิ ตั ิจริง ดังนี้ C: หลักสตู รฯ ได้ประเมินกระบวนการ พบว่า กระบวนการของหลกั สูตรมีประสิทธิภาพดี โดยสะท้อน จากการเข้ารอบแข่งขนั NSC และไดร้ ับทุนรอบแรก หวั ข้อ การพฒั นารถเข็นอัจฉริยะสาหรับผสู้ ูงอายุ A: จากผลการประเมินทางหลักสูตร จะยังคงนโยบายเสริมทักษะทางวิชาชีพให้สอดคล้องกับ สถานการณป์ จั จุบนั ใหเ้ ป็นโครงการต่อเนอื่ งอย่ใู นแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี 2562 ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมิน เปา้ หมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย เป้าหมาย ปีที่แล้ว 6 ระดบั (,) ปีถดั ไป 44 ( คะแนน 0-5) 5 4 รายการหลกั ฐาน รายการหลกั ฐาน หมายเลข แผนปฏิบัตริ าชการ คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม วค. 3.2-1 ประจาปงี บประมาณ 2562 วค. 3.2-2 รายงานการประชมุ 2/2561 วค. 3.2-3 - แบบสอบถามความพงึ พอใจของนักศึกษาต่อการดแู ลและให้ คาปรกึ ษาด้านวิชาการและแนะแนว - ภาพกจิ กรรมสง่ เสรมิ ทักษะนกั ศกึ ษาในโครงการ NSC
ผกู้ ากับดแู ลตัวบง่ ช:้ี 29 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 ผจู้ ดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู /รายงานผลการดาเนนิ งาน: 2. นายรณชยั สงั หมืน่ เมา้ , 0874778519 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชยั สังหมน่ื เม้า, 0874778519 ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3.3 ผลทเี่ กดิ กบั นักศกึ ษา การคดิ รอบปี : ปีการศึกษา 2561 ผลการดาเนินงาน : อัตราการคงอยู่ ปี จานวน จานวนคงอยูต่ ามหลกั สูตร จานวนที่ ร้อยละ การศึกษ รับเขา้ ลาออก อตั ราคง 2557 2558 2559 2560 2561 และคดั ชอื่ า 5 54- - ออกสะสม อยู่ 8 8 88 - จนถึงสิ้นปี - 5 32 2 การศกึ ษา งดรบั นกั ศึกษา 2556 งดรับนกั ศึกษา 1 80.00% งดรบั นกั ศกึ ษา - 100% 2556 5 5 3 40.00% 2557 8 - 2558 5 - 2559 2560 2561 ปจั จัยท่ีมผี ลกระทบต่อจานวนนกั ศึกษา 1. นักศึกษา รหัส 56 มอี ตั ราคงอยหู่ ลงั ส้ินปกี ารศึกษา ร้อยละ 75 เนื่องจากนกั ศกึ ษาประสบอบุ ตั ิเหตุ เสยี ชวี ิต 1 คน 2. จานวนนักศึกษา รหสั 58 มอี ตั ราคงอยู่หลังสน้ิ ปกี ารศกึ ษา ร้อยละ 40 เนือ่ งจากนักศึกษาพ้นสภาพ การศึกษา 3. ตัง้ แตป่ ีการศึกษา 2559 งดรบั นกั ศกึ ษา ปรบั ปรุงหลักสตู ร พ.ศ. 2562
30 การสาเร็จการศึกษา ปี จานวน จานวนสาเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตร จานวนท่ี การศกึ ษ รับเขา้ ลาออกและ ร้อยละ 2557 2558 2559 2560 2561 คัดชอ่ื ออก อตั รา า 5 55- - สะสมจนถงึ สาเร็จ 8 8 88 - 2556 - 5 32 2 สิน้ ปี การศึกษา งดรับนักศกึ ษา การศึกษา 2556 5 5 งดรับนกั ศกึ ษา งดรบั นักศกึ ษา 4 80.00% 2557 8 - 5 62.50% 2 40.00% 2558 5 - 2559 2560 2561 ปจั จัยทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การสาเร็จการศกึ ษา ดังนี้ 1. การให้กองทนุ กู้ยมื เพ่อื การศกึ ษาจากรัฐบาลลดลง และจากการสอบถามนักศึกษา พบว่า สภาพ เศรษฐกิจฝืดเคือง ค่าครองชีพค่อนข้างสงู ทาให้นักศึกษาขาดทุนทรัพย์ในการเขา้ ศึกษาตอ่ และ เมอื่ เข้าศึกษาแล้วไมม่ ีความสามารถในการดารงชีพขณะศึกษาได้ 2. ความรู้พ้ืนฐานด้านคณิตศาสตรแ์ ละภาษาอังกฤษ นักศึกษาบางส่วนมีพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ และภาษาองั กฤษ ไม่ดี ทาให้ไมส่ ามารถเรยี นได้ จึงลาออก ความพึงพอใจและผลการจดั การข้อรอ้ งเรยี นของนักศกึ ษา (แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีต่อการจดั การเรียนการสอน และท่ีมีตอ่ หลักสตู รในด้านการเสริมคณุ ลกั ษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค)์ ความพึงพอใจของนักศกึ ษาท่ีมตี ่อการจดั การข้อรอ้ งเรยี น จานวน จานวนนักศกึ ษา คะแนน รอ้ ยละของ จากการ คะแนนจากการ ประเด็นการประเมิน นักศกึ ษา ทีต่ อบแบบ สารวจ 1. ชอ่ งทางในการร้องเรียน ทั้งหมด สารวจ 4.00 สารวจ 2 80.00 2 4.50 90.00 หลายช่องทาง 5.00 100.00 2. ความกระตอื รอื รน้ ในการ 2 2 4.50 จดั การเรยี นการสอน 90.00 5.00 3. ความรวดเรว็ ในการ 2 2 4.60 100.00 จัดการขอ้ รอ้ งเรียน 92.00 4. คุณภาพในการจดั การข้อ 2 2 รอ้ งเรียน 5. วิธีการจัดการข้อร้องเรยี น 2 2 เฉลย่ี 2 2
31 ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมนิ เปา้ หมาย คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย เปา้ หมาย ปที แี่ ล้ว 6 ระดับ (,) ปีถดั ไป 33 (คะแนน 0-5) 4 3 รายการหลกั ฐาน รายการหลกั ฐาน หมายเลข จานวนนักศึกษาในระบบทะเบียนนกั ศกึ ษา ผลประเมินความพงึ พอใจการจัดการขอ้ ร้องเรยี นของนักศกึ ษา วค. 3.3-1 วค. 3.3-2 ผกู้ ากบั ดูแลตัวบ่งช:ี้ ผูจ้ ดั เก็บรวบรวมขอ้ มูล/รายงานผลการดาเนนิ งาน: 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชยั สังหม่นื เมา้ , 0874778519 2. นายรณชัย สงั หมนื่ เมา้ , 0874778519 การรายงานผลการวิเคราะหจ์ ุดเดน่ และโอกาสในการพัฒนา องคป์ ระกอบที่ 4 จดุ เด่น โอกาสในการพัฒนา นกั ศึกษามที ักษะดา้ นการปฏิบตั จิ รงิ นกั ศึกษาท่เี ข้าศกึ ษาในหลกั สตู รนสี้ ามารถนาทกั ษะทาง ปฏิบตั ไิ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นวชิ าชพี ได้
32 หมวดที่ 4 ข้อมลู สรุปรายวชิ าและคณุ ภาพการสอน องคป์ ระกอบที่ 5 หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมินผู้เรียน ตวั บง่ ช้ีที่ 5.1 สาระของรายวชิ าในหลักสูตร การคิดรอบปี : ปกี ารศึกษา 2561 ผลการดาเนินงาน : สรุปผลรายวิชาบังคับทเี่ ปดิ สอนในภาค/ปีการศึกษา (นามาจาก มคอ.5 ของแตล่ ะวิชา) หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554 รหัส ภาค/ ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนกั ศึกษา ลง สอบผ่าน ชื่อวิชา ปกี าร A B+ B C+ C D+ D F S U IP NP I W Audit ทะเบียน ศึกษา 22 04-454-322 โครงงานวศิ วกรรม 2/2561 2 คอมพิวเตอร์ 2 สรปุ ผลรายวชิ าประสบการณ์ภาคสนามทเี่ ปดิ สอนในภาค/ปีการศึกษา (นามาจาก มคอ.5 ของแต่ละวิชา) หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554 รหสั ภาค/ ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนักศกึ ษา ชื่อวิชา ปีการ A B+ B C+ C D+ D F S U IP NP I W Audit ลง สอบผ่าน ศกึ ษา ทะเบียน 04-454-423 1/2561 2 22 สหกจิ ศกึ ษา สรปุ ผลรายวชิ าเลือกท่ีเปดิ สอนในภาค/ปีการศึกษา (นามาจาก มคอ.5 ของแตล่ ะวิชา) หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2554 รหัส ภาค/ รอ้ ยละการกระจายของเกรด จานวนนักศกึ ษา ลง สอบผ่าน ชื่อวิชา ปกี าร A B+ B C+ C D+ D F S U IP NP I W Audit ทะเบียน ศกึ ษา 22 04-454-178 การศกึ ษาเฉพาะทาง 2/2561 1 1 - เรอื่ งวิศวกรรม คอมพวิ เตอร์
33 สรุปผลรายวชิ าเลือกเสรที ีเ่ ปิดสอนในภาค/ปีการศึกษา (นามาจาก มคอ.5 ของแตล่ ะวชิ า) หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2554 รหัส ภาค/ ร้อยละการกระจายของเกรด จานวนนกั ศึกษา ลง สอบผ่าน ช่ือวชิ า ปีการ A B+ B C+ C D+ D F S U IP NP I W Audit ทะเบียน ศึกษา 22 02-051-315 2/2561 2 เทคโนโลยธี ุรกรรม 2/2561 2 22 อิเล็กทรอนิกส์ 02-050-310 กฎหมายเทคโนโลยี สารสนเทศ 1. การออกแบบหลักสตู รและสารวชิ าในหลกั สูตร 1.1 พนั ธกจิ ของมหาวิทยาลัยกาฬสนิ ธ์ุ 1.1.1 แสวงหาความจริงเพือ่ ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ โดยบูรณาการภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นภูมิ ปัญญาไท ภูมิปัญญาสากล เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้อันมีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา คณุ ภาพ ชวี ติ ของประชาชน 1.1.2 สร้างบัณฑิตที่มคี วามรูค้ ู่ความดี ใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ดาเนินชีวิตดว้ ยปัญญา สานกึ ในความเป็นไทย มีความรักและความผูกพันท้องถิ่น รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง สามารถเผชิญปัญหาและ พัฒนาการดาเนนิ ชวี ติ ตลอดการประกอบอาชีพไดอ้ ย่างเหมาะสมกับยคุ สมัย 1.1.3 เสริมสร้างความรคู้ วามเข้าใจในระดับคุณค่า ความสานึกและภูมิใจในวัฒนธรรมของ ท้องถ่ินและของชาติ ใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมเป็นทุนการสร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่นและของชาติ โดยรวม 1.1.4 เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของวชิ าชพี ครู สร้าง และพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 1.1.5 สร้าง เสริมเครือข่ายความร่วมมือ และช่วยเหลือเก้ือกูลกัน ระหว่างมหาวิทยาลัย ชุมชน องคก์ รอ่ืนทั้งในและประเทศเพื่อการพฒั นาท้องถ่ิน 1.1.6 ศึกษา และแสวงหาแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยพี ื้นบา้ นและเทคโนโลยีสมยั ใหม่ให้ เหมาะสม กับการดาเนินชีวิตและประกอบอาชีพของคนในท้องถ่ิน รวมทั้งการจัดการบารุงรกั ษา และการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งสมดุลและยัง่ ยนื 1.1.7 ศึกษา ส่งเสริม สืบสานโครงการอันเน่ืองมาจากแนวพระราชดาริในการปฏิบัติภารกจิ ของมหาวทิ ยาลัยเพื่อการพฒั นาทอ้ งถน่ิ 1.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกจิ 1.2.1 ประเทศไทยจะต้องดาเนินการตามข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area -AFTA) พ.ศ.2535 เพอื่ เสริมสรา้ งศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ให้กบั สนิ คา้ อาเซยี นในตลาดโลก (2015) 1.2.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 11 (พ.ศ.2555 – 2559) ที่มุ่งเนน้ ให้ประเทศไทยเปน็ ฐานการผลิตสนิ คา้ และบรกิ าร การสรา้ งความเป็นธรรมในสงั คม ลดความเหลอื่ มลา้ ทาง เศรษฐกจิ และ สร้างภูมคิ ุ้มกันเมื่อเกดิ วิกฤตการณก์ ารเปล่ยี นแปลง ทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ 1.2.3 ปจั จุบนั ความตอ้ งการแรงงานของสถานประกอบการ ต้องการผมู้ คี วามรู้ ความสามารถ ในการสื่อสาร ทัง้ ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ
34 1.2.4 การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ รวมทั้งนวัตกรรมและ องคค์ วามรู้ใหม่ ท่ีกา้ วหนา้ อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะภาคอตุ สาหกรรม 1.3 สถานการณ์หรอื การพฒั นาทางสังคมและวฒั นธรรม 1.3.1 การเปลี่ยนแปลงทางวฒั นธรรม และสังคม รวมทง้ั การสื่อสาร ในยุคโลกาภวิ ัฒน์ ความกา้ วหน้า ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ มีผลกระทบกับวฒั นธรรมและสังคม 1.3.2 การประกันคุณภาพการศึกษา ตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 มกี ารเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ ทงั้ ในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั 1.3.3 ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพ่ือสร้าง ความ เขม้ แข็งและมาตรฐาน ในสาขาวิชา 1.3.4 การเคล่อื นยา้ ยแรงงาน เข้ามาในเมือง ทาให้เกดิ ปัญหาทางสงั คม และคุณภาพชวี ติ 2. การปรับปรุงหลกั สตู รให้ทนั สมัยตามความกา้ วหน้าในศาสตร์สาขาวชิ านน้ั ๆ P : มีระบบและกลไกสาระของรายวิชาในหลกั สตู ร หลักสูตรฯ ไดม้ กี ารจัดทาระบบและกลไกสาระของรายวิชาในหลักสตู ร โดยมีวัตถุประสงคเ์ พอื่ ให้เกิด ประสิทธิภาพในกระบวนการออกแบบและกาหนดสาระรายวิชาของหลักสูตร เพื่อจ ะได้มีการปรับปรุง หลักสูตรให้ทันสมัย ตามความก้าวหน้าของศาสตร์ในสาขาวิชา และเพ่ือเป็นการสร้างแนวปฏิบัติท่ีดีใน กระบวนการบริหารจดั การสาระรายวชิ าของหลักสตู ร แม้ทุกหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาเปิดการเรียนการสอนต้องผ่านการรับทราบจากสานักงาน คณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) และมีการปรบั ปรงุ ทกุ 5 ปี แล้ว แต่ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรมีการควบคมุ กากับการจัดทารายวิชาต่าง ๆ ให้มีเนื้อหาท่ีทันสมัย ก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการท่ีเปล่ียนแปลง ตลอดเวลา ตลอดจนมีเน้ือหาที่เหมาะสมกับระดับของหลักสูตร โดยสนองความต้องการของนักศึกษาและ ตลาดแรงงาน/ผ้ใู ชบ้ ณั ฑิต เพอื่ ผลิตบัณฑิตออกสตู่ ลาดแรงงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพสงู สุด ดังน้ัน หลักสูตรฯ จึงได้มีการจัดทาระบบและกลไกของสาระรายวิชาในหลักสูตร เพ่ือใช้เป็นแนวทางใน การดาเนินงาน ตลอดจนติดตาม ประเมินกระบวนการระบบและกลไกของการบริหารจัดการสาระรายวิชา ของหลักสตู ร เพ่อื นามาปรับปรงุ และพัฒนากระบวนการอยา่ งเปน็ รูปธรรมกอ่ ให้เกดิ แนวปฏบิ ตั ิทีด่ ีตอ่ ไป โดยรายละเอยี ดกระบวนการของระบบและกลไกสาระของรายวชิ าในหลักสตู ร สามารถอธิบายไดด้ ังน้ี 1. อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรฯ ประชุมวางแผนเพอื่ ออกแบบหลักสตู ร โดยการนาข้อมูลจากการสารวจ ความต้องการของตลาดแรงงาน/ผู้ใช้บัณฑิต และวิเคราะห์สภาวการณ์ในปัจจุบัน มาใช้ในการพิจารณา ออกแบบหลกั สูตร 2. งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษาดาเนินการจัดทา Concept Paper และนาเสนอเพ่อื รับ ความเหน็ ชอบ จากคณะกรรมการตา่ ง ๆ ตามลาดบั ดงั นี้ คณะกรรมการประจาคณะ คณะทางานทบทวนหลกั สตู รและแผนการรบั นักศกึ ษา คณะกรรมการวางแผนและพฒั นามหาวทิ ยาลยั คณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลยั คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลัย
35 3. หลังจากได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยแล้ว กองแผนงานดาเนินการ บรรจหุ ลักสตู รใหมล่ งในแผนพัฒนาการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษาของมหาวิทยาลัย 4. คณะฯ สง่ รายชือ่ คณะกรรมการพฒั นาหลักสูตร (ในกรณีทค่ี ณะฯ ดาเนนิ การพัฒนาหลักสูตรใหม่) และ/หรือ คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร (ในกรณีท่ีคณะฯ ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรเดิมตามรอบ ระยะเวลาตามเกณฑ์ท่ีกาหนด) ไปยังสานักบรหิ ารและพัฒนาวิชาการ เพ่ือดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ ดังกล่าว 5. คณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร ดาเนินการจัดทา (ร่าง) หลักสูตร โดยมีการกาหนด รายละเอยี ดของหลกั สตู ร (มคอ.2) รวมถึงบรรจุรายวิชาท่ีมีเน้อื หาสัมพันธ์กับรายละเอยี ดของหลักสตู ร โดย เนื้อหาไม่มีความซ้าซ้อน มีความทันสมัย ตลอดจนมีความเหมาะสมกับระดับการศึกษาของหลักสูตร ตาม รายละเอยี ด และรูปแบบท่สี านักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษากาหนด 6. คณะฯ ส่งรายช่ือคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรไปยังสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ เพ่ือ ดาเนินการแต่งต้ัง จากนั้นคณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร จะดาเนินการวิพากษ์ (ร่าง) หลักสูตร แล้วนาผล การวิพากษ์เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลกั สูตร เพ่ือดาเนินการจดั ทารายละเอยี ดของหลักสตู ร ตามแบบ มคอ.2 7. คณะกรรมการพัฒนา/ปรบั ปรุงหลักสตู ร นาเสนอ มคอ.2 ต่อท่ีประชุมคณะกรรมการวชิ าการของ คณะฯ และคณะกรรมการประจาคณะ เพ่ือขอรบั ความเหน็ ชอบ ตามลาดบั 8. คณะฯ ส่ง มคอ.2 ไปยังสานักบริหารและพัฒนาวิชาการเพ่ือตรวจสอบรูปแบบ และนาเสนอต่อ คณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารมหาวทิ ยาลัย คณะอนุกรรมการสภามหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย เพื่อพจิ ารณาอนุมตั ิ ตามลาดับ 9. สานักบริหารและพัฒนาวิชาการดาเนินการจัดส่งหลักสูตรไปยังสานักงานคณะกรรมการการ อดุ มศกึ ษา (สกอ.) เพอื่ เสนอให้รบั ทราบ 10. คณะฯ ส่งรายชื่ออาจารย์ประจาหลกั สตู รไปยังสานักบรหิ ารและพัฒนาวิชาการเพ่ือดาเนินการ แต่งตง้ั อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร 11. หลักสูตรฯ ดาเนินการจัดการเรียนการสอน โดยมีอาจารย์ประจาหลักสูตรเป็นผู้บริหารกากับ ตดิ ตาม และควบคมุ ใหห้ ลกั สตู รดาเนินการตามเกณฑ์ท่กี าหนด 12. เม่ือครบรอบระยะเวลาตามเกณฑ์ที่กาหนด (5 ปี) อาจารย์ประจาหลักสตู รฯ จะจัดประชุมเพอื่ ทบทวนผลการดาเนินงานของหลักสูตร และวางแผนการปรับปรุงหลักสูตร โดยดาเนินการตามข้ันตอนท่ี กาหนด D : มีการนาระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดาเนินงานการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาใน หลกั สูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554 และ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) มีวัตถุประสงค์เพ่ือผลิตบัณฑิตทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ที่มีความรู้ ความสามารถและมีประสบการณ์โดยมคี วามรอบร้ทู งั้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัติสามารถนาความรไู้ ปใชใ้ นการ ประกอบอาชีพในภาครฐั และภาคเอกชน และประกอบอาชีพอิสระหรือการศึกษาต่อในระดับที่สูงข้ึน และนา ความร้ไู ปพัฒนาประเทศในด้านคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี ได้อยา่ งเหมาะสมและเป็นที่ต้องการของสงั คม C : มีการประเมนิ กระบวนการออกแบบหลกั สตู รและสาระรายวิชาในหลักสูตร อาจารย์ประจาหลักสูตรได้ร่วมพิจารณาหลักเกณฑ์ของการปรับปรุงหลักสูตรให้เกิดความทันสมัย (การประชุมครั้งที่ 1/2561) โดยท่ีประชุมมีมติให้เปดิ รับนกั ศึกษาเทียบโอน เพ่ือโดยสนองความต้องการของ นักศึกษา และตลาดแรงงาน ประกอบกับการพัฒนาหลกั สตู รยดึ หลกั ไทยแลนด์ 4.0 ตามนโยบายของรัฐบาล
36 ทิศทางการพัฒนาประเทศใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และข้อเสนอแนะจากการเข้า ร่วมโครงการเพื่อพัฒนาทักษะทางด้านความรู้/การฝึกอบรมโครงการต่างๆของอาจารย์ และแจ้งอาจารย์ ประจารายวิชาในหลักสูตรทราบเพ่ือให้อาจารย์ประจารายวิชาแสดงความต้องการท่ีจะแก้ไขรายวิชามายัง หลักสูตรเพือ่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู สาหรบั กากับและติดตามการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมยั A : การปรบั ปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมินการออกแบบหลกั สูตรและสาระรายวิชาใน หลกั สูตร ผลจากการประเมินกระบวนการออกแบบหลกั สตู รและสาระรายวิชาในหลกั สูตรได้ทาการปรับปรุง หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2562 ขึ้น เพื่อรองรบั ความตอ้ งการของนกั ศกึ ษาทเี่ ข้าศกึ ษาต่อดว้ ยวิธกี ารเทยี บโอนผลการ เรยี น และไดน้ าขอ้ เสนอแนะจากอาจารย์ประจาหลกั สตู รมาทาการปรบั ปรงุ รายวิชาภายในหลกั สูตรฯ เพ่อื ใหม้ ี ความสอดคลอ้ งกบั หลกั ไทยแลนด์ 4.0 ตามนโยบายของรัฐบาล 2.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554 และ หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2562 มีการพฒั นาหลักสตู รใหส้ อดคลอ้ งกับระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร ว่าด้วย วชิ าพ้นื ฐานทางวิทยาศาสตร์ วิชาพืน้ ฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ และวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม ท่สี ภาวศิ วกรจะ ให้การรับรองปริญญา ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม และมีโครงสร้างหลักสตู รเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน หลกั สตู รระดบั ปริญญาตรี ของสานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา เพื่อใชป้ ระกอบการพิจารณารบั รองวฒุ ิ ปรญิ ญาตรี วิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2.2 หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ ไดถ้ กู พัฒนาเพ่ือ ตอบสนอง โดยสนองความต้องการของนักศึกษา ตลาดแรงงาน และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการ ปฏบิ ัตงิ านทางดา้ นวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ 2.3 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มีโครงสร้าง หลักสูตรที่มีเน้ือหาสาระวิชา ในหมวดวิชาเฉพาะตรงตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาวิชาสาขา วิศวกรรมศาสตร์ และมีรายละเอียด เนื้อหารายวิชาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี สานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษาและระเบยี บคณะกรรมการสภาวิศวกร 2.4 เนื้อหาของหลกั สูตรในแต่ละรายวิชาปรบั ปรุงใหท้ ันสมัย โดยเฉพาะเนอ้ื หาสาระสาคัญของหมวดวชิ า เฉพาะ ได้กาหนดตามระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร แบ่งเปน็ 5 ดา้ น ดังนี้ 2.4.1 ความรูด้ ้านวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ 2.4.2 ความรดู้ า้ นวิชาพ้นื ฐานวิศวกรรมศาสตร์ 2.4.3 ความร้ดู า้ นวชิ าชีพบงั คบั 2.4.4 ความรู้ดา้ นวิชาชพี เลอื ก 2.4.5 ความรู้ด้านวิชาฝกึ งานและสหกจิ ศกึ ษา 2.5 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ มีคาอธิบาย รายวิชาท่ีเหมาะสมกับช่ือวิชา มีจานวนหน่วยกิตและเนื้อหาครอบคลุมกว้างขวางครบถ้วนในสิ่งท่ีควรเรียน ทางดา้ นวิศวกรรม และรายวิชามคี วามต่อเนอื่ งเชอื่ มโยงสมั พนั ธก์ ันระหว่างรายวิชาตามรายวชิ าบงั คบั กอ่ นและ รายวิชาต่อเน่ือง โดยเนื้อหาท่ีกาหนดในแต่ละรายวิชาจะไม่มีความซับซ้อนกัน และเหมาะสมกับการศึกษา ระดบั ปริญญาตรี 2.6 สาขาวิชากาหนดใหอ้ าจารย์ประจาวชิ าจัดทา มคอ. 3 ในแตล่ ะรายวิชา โดยกาหนดนา้ หนกั คะแนนตาม ผลการเรียนรู้ท่ียกมาจาก มคอ. 2 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนจึงตรงกับผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กาหนดใน รายวิชา และหลกั สูตร
37 2.7 สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอตั โนมัติ มกี ารจดั การเรียนการสอนครอบคลมุ เนอ้ื หาสาระ ที่กาหนดในคาอธบิ ายรายวชิ าอย่างครบถว้ น ซึง่ เกดิ จากการแบง่ หนว่ ยเรยี นใน มคอ. 3 ตามคาอธิบายทป่ี รากฏ ใน มคอ. 2 2.8 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบอัตโนมตั ิ มีการจัดแผนการเรียนของนกั ศึกษาตามรายวชิ า บังคับก่อนและรายวิชาต่อเน่ืองตามลาดับก่อนหลัง เพื่อให้นักศึกษาสามารถนาความรู้พ้ืนฐานมาต่อยอดใน รายวิชาต่อเน่ืองได้ และกาหนดให้อาจารย์ท่ีปรึกษาต้องตรวจสอบรายวิชาบังคับก่อน ก่อนให้นักศึกษ า ลงทะเบียนรายวิชาต่อเน่ือง นอกจากนั้นกาหนดให้อาจารย์ประจาวิชาแจง้ รายละเอียดรายวิชา โดยเน้นการ สอบถามนักศึกษาถงึ รายวิชาบงั คบั กอ่ น ก่อนเริ่มเรยี นในรายวชิ าตอ่ เน่ืองทกุ คร้ัง 2.9 สาขาวิชามีการจัดแผนการเรียนของนักศึกษาเป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตรและข้อกาหนดของ มหาวิทยาลยั และจัดแผนการเรียนใหน้ กั ศึกษาสาเร็จการศกึ ษาตามเวลาของหลักสตู ร ในกรณีทน่ี กั ศึกษามผี ล การเรียนซึง่ ไมเ่ ป็นไปตามแผนการเรียนตลอดหลกั สูตรท่กี าหนดไว้ สาขามีแนวทางใหน้ กั ศึกษาขอเปิดรายวิชา ภาคฤดูร้อนนอกแผนการเรียน เพ่ือให้สาเร็จการศึกษาได้ในเวลาที่เหมาะสม โดยให้ถือปฏิบัติตามประกาศ มหาวิทยาลยั ฯ เรอื่ ง หลกั เกณฑก์ ารขอเปดิ รายวิชาภาคฤดรู อ้ นนอกแผนการเรยี น ลงวนั ท่ี 30 เมษายน 2557 รายละเอยี ด คือ 2.9.1 รายวชิ าทจี่ ะสาเร็จการศกึ ษาในภาคฤดรู อ้ น 2.9.2 รายวิชาทีข่ อเทยี บโอนผลการศกึ ษาแลว้ ผลการเทยี บโอนไมผ่ า่ น 2.9.3 รายวิชาท่ีเคยลงทะเบยี นเรยี นแลว้ ผลการเรยี นตก (F) หรือ ออ่ นมาก (D) หรอื ออ่ น (D+) 2.9.4 รายวิชาทเี่ ป็นวชิ าบงั คบั กอ่ นของรายวิชาทจี่ ะลงทะเบียนเรยี นในภาคการศกึ ษาปกตถิ ัดไป 2.9.5 รายวิชาทเ่ี คยลงทะเบียนเรยี นแลว้ ผลการเรยี นเป็นโมฆะ 2.9.6 รายวิชาตอ่ เนื่องตามทสี่ ภาวชิ าชีพกาหนด 2.10 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ จัดทาหลักสูตรโดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาน ประกอบการ และหนว่ ยงานราชการท่เี ปน็ ผู้ใช้บณั ฑิต เพ่อื ร่วมกันวิพากษ์หลกั สตู รและไดป้ รับเปล่ียนรายวิชา โดยเฉพาะวิชาเลือก ซ่งึ แบ่งเป็นวชิ าชพี เลือก 9 หนว่ ยกิต ให้เป็นไปตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และมี ความทนั สมยั นอกจากนัน้ ยังมวี ิชาเลือกเสรีอกี 6 หน่วยกติ 2.11 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบอัตโนมัติ จัดการศึกษาท่ีศูนย์พื้นที่ในเมือง เพ่ือให้การจดั การศกึ ษาเปน็ มาตรฐานเดยี วกันสาขาไดก้ าหนดให้ทุกศูนยพ์ น้ื ที่ตอ้ งรว่ มกนั จัดทา มคอ. 3 และรายงานผลการ ดาเนินงานรายวิชา หรือ มคอ. 5 ให้แก่หัวหน้าสาขาวิชาประจาคณะ เพื่อกาหนดแนวทางการทวนสอบ ผลสมั ฤทธิ์ 2.12 สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ ได้กาหนดโครงสร้างหลกั สตู รไว้ ดงั นี้ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554 มโี ครงสร้างหลักสตู รดงั น้ี ก. หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป 33 หนว่ ยกิต 1. กลุ่มวิชาภาษาและการส่อื สาร 9 หนว่ ยกติ 2. กลมุ่ วิชามนษุ ยศาสตร์ 9 หน่วยกติ 3. กลมุ่ วิชาสังคมศาสตร์ 6 หนว่ ยกติ 4. กลมุ่ วชิ าคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 9 หน่วยกติ ข. หมวดวิชาเฉพาะ 97 หน่วยกติ 1. กลุ่มวชิ าพนื้ ฐาน 31 หนว่ ยกิต 2. กล่มุ วิชาชพี บังคับ 51 หนว่ ยกติ
38 3. กล่มุ วิชาเลอื ก 15 หนว่ ยกิต ค. หมวดวิชาประสบการณ์ภาคสนาม 6 หน่วยกติ ง. หมวดวชิ าเลอื กเสรี 6 หน่วยกติ รวม 142 หน่วยกติ หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2562 มโี ครงสร้างหลกั สตู รดงั นี้ ก. หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป 30 หนว่ ยกติ 1. กลุม่ วิชาภาษาและการสื่อสาร 15 หน่วยกิต 2. กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3 หน่วยกติ 3. กลุ่มวชิ าสงั คมศาสตร์ 3 หน่วยกติ 4. กลุ่มวิชากลุ่มวิชาคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต และเทคโนโลยี 5. กลุม่ วิชากฬี าและนนั ทนาการ 3 หน่วยกติ ข. หมวดวชิ าเฉพาะ 106 หน่วยกติ 1. กลมุ่ วชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ 10 หนว่ ยกิต 2. กลมุ่ วิชาพ้ืนฐานวิศวกรรมศาสตร์ 20 หนว่ ยกิต 3. กลุ่มวิชาชีพบังคับ 59 หน่วยกิต 4. กลุ่มวชิ าชพี เลือก 9 หน่วยกิต 5. กลุ่มวชิ าฝกึ งานและสหกจิ ศึกษา 8 หน่วยกติ ค. หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หน่วยกิต รวม 142 หนว่ ยกติ ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ เป้าหมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย เป้าหมาย ปที ีแ่ ล้ว 6 ระดบั (,) ปีถดั ไป 33 (คะแนน 0-5) 4 3 รายการหลักฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข เอกสาร มคอ. 2 (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ.2554) วค. 5.1-1 เอกสาร มคอ. 2 (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ.2562) ใบรายงานผลการศึกษาแบบสะสม ระดับปรญิ ญาตรี สาขาวิชา วค. 5.1-2 วศิ วกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอตั โนมัติ ผู้กากบั ดูแลตวั บง่ ชี้: ผ้จู ัดเก็บรวบรวมขอ้ มูล/รายงานผลการดาเนินงาน: 1. นางอัจฉรา ชุมพล, 0832907447 1. นางอัจฉรา ชมุ พล, 0832907447 2. นายรณชยั สังหมนื่ เม้า, 0874778519 2. นายรณชัย สังหมืน่ เมา้ , 0874778519
39 ตวั บง่ ชที้ ่ี 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจดั การเรยี นการสอน การคิดรอบปี : ปกี ารศึกษา ผลการดาเนินงาน : ระบบและกลไก การกาหนดผสู้ อน การจดั การเรยี นการสอน และการกากบั ตดิ ตาม มคอ.3-4 มคอ.5-6 หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบอัตโนมตั ิ
40 1. การกาหนดผูส้ อน P : อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรประชุมวางแผน เพอ่ื พจิ ารณากาหนดคุณสมบตั แิ ละความเหมาะสม ของอาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยพิจารณาข้อมูลจากงานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา ดาเนินการสารวจและรวบรวมรายวิชาที่เปดิ สอนในแต่ละภาคการศึกษา ส่งให้อาจารย์ประจาหลักสูตร เพ่อื นามาเปน็ ข้อมูลในการประชุมวางแผนการจดั การเรียนการสอนและกาหนดผรู้ บั ผดิ ชอบในแตล่ ะรายวชิ า D : หลักสูตรได้ดาเนินการนาเสนอผลการพิจารณาแผนการจัดการเรียนการสอนและกาหนด ผู้รับผดิ ชอบในแต่ละรายวิชาตอ่ คณะกรรมการประจาคณะ เพื่อพิจารณาเห็นชอบและจัดสง่ ขอ้ มูลเข้าสูร่ ะบบ เพื่อใหท้ าการประกาศรายช่อื อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบการเรยี นการสอนในแตล่ ะรายวิชา อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบการเรียนการสอนในแต่ละรายวชิ า ดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนโดยมกี ารบูร ณาการในเรื่องการเรียนการสอนกับการวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม C : หลกั สตู รไดด้ าเนนิ การกากับติดตาม การดาเนินการจดั การเรียนการสอนตลอดปีการศึกษา 2561 ในแต่ละรายวิชา พบว่าโดยภาพรวมอาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชาสามารถควบคุมและจัดให้มีการจดั การ เรยี นการสอนได้ครบถว้ นตามแผนท่กี าหนด อกี ทั้งยังสามารถดาเนนิ การจดั การเรยี นการสอน โดยมีการบรู ณา การในเรือ่ งการเรียนการสอนกับการวิจัย การบริการวชิ าการแก่สงั คม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ได้ 2. การกากบั ติดตามและตรวจสอบการจดั ทาแผนการเรียนรู้ มคอ.3 และ มคอ.4 การจดั การเรียนการสอน P : หลักสูตรได้ประชุมวางแผนการจัดทา มคอ.3 และกาหนดวันส่งก่อนเปิดภาคเรียน จัดแบ่ง รายวชิ าทจี่ ะทาการทวนสอบความสมบูรณ์ของ มคอ.3 แต่ละวิชาใหแ้ ก่กรรมการเพอื่ ช่วยกนั ตรวจสอบแผนการ เรียนรู้ เพื่อให้มีผลสัมฤทธิ์ครบท้งั 5 ด้าน และนาปัญหาของการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ ของ มคอ.3 ภาค การศึกษาที่ผา่ นมา มาปรับแผนการปฏิบัติงานในภาคเรียนนี้ และเมื่อเปดิ ภาคเรียนแต่ละวิชาได้ทาการเรยี น การสอน หลักสูตรได้สมุ่ ติดตามกิจกรรม การเรยี นการสอนของอาจารย์ การวัดผลของอาจารย์ ให้สอดคลอ้ ง กับการเขยี น มคอ. 3 แต่ละรายวิชา คลา้ ยการนเิ ทศการสอน โดยเฉพาะวิชาทม่ี ีอาจารยผ์ ูส้ อนท่ีเข้ามาใหม่ ซ่ึง ประสบการณ์สอนยงั น้อย และเป็นการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ ช่วยช้ีแนะอาจารยผ์ ้สู อนอกี ดว้ ย หลักสูตรแจ้งกาหนดการระยะเวลาในการดาเนินการส่งมอบ มคอ.3-4 (นาส่งหลกั สูตรก่อนเปิดภาค เรยี น 15 วัน) และ มคอ.5-6 (นาส่งหลักสูตรหลังสน้ิ สดุ ภาคเรยี น 30 วัน) D : หลักสูตรได้ดาเนินการรวบรวม มคอ.3-6 ตามระยะเวลาท่ีกาหนด และได้ทาการประชุมหา หลักเกณฑ์ เพ่ือเลือกทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรยี นรู้ อย่างน้อย 25% ของรายวิชาท่ีเปิดเรียนทั้งหมดในภาค การศึกษาน้ี และแจ้งให้อาจารย์ประจาวิชาทุกทา่ นรบั ทราบว่าจะมีการทวนสอบ เพื่อให้เก็บหลกั ฐานการให้ คะแนน การวัดผล การประเมนิ ผลตา่ งๆ ให้ครบทัง้ 5 ดา้ น C : หลักสูตรไดด้ าเนินการสอบผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษาของรายวิชาทไี่ ดเ้ ลือกไว้ จานวน 25% ของ วิชาทั้งหมด โดยที่ประชุมตรวจสอบ ผลการเรยี นรู้ กับ มคอ.3 และการช้ีแจงของอาจารย์ประจาวิชา ซึ่งมีใน รายงานการทวนสอบรายวิชา ซึง่ ผลการทวนสอบปรากฎวา่ ทกุ รายวชิ าการประเมินผลสัมฤทธ์ิ สอดคล้องกับ มคอ.3 ท่ไี ด้วางแผนไว้จากผลการดาเนินงานการกากบั ดูแล และติดตามการทา มคอ. 3 และ มคอ.5 ผลปรากฎ ว่า มกี ารดาเนินการ 100 % จากนน้ั หลกั สูตรไดท้ าการประเมนิ ปัญหาอปุ สรรค์ของการ กากบั ติดตาม การทา มคอ.3 พบว่า
41 1) ผู้รับผิดชอบรายวิชาบางวิชาส่งล่าช้า คือได้หลังจากการเปิดภาคเรียน โดยเฉพาะรายวิชาศึกษา ทวั่ ไป และรายวชิ าทอ่ี าจารย์ผสู้ อนอยู่ต่างสาขาวชิ า 2) จุดมงุ่ หมายในรายวิชายงั ไมค่ รอบคลุมทุกมาตรฐาน โดยทาการปรับปรงุ แกไ้ ข ดังน้ี 2.1) กากบั ติดตามใหอ้ าจารยผ์ ูส้ อนส่ง มคอ.3 กอ่ นเปดิ ภาคการศึกษาในเทอมตอ่ มา โดยเนน้ ไปยังวชิ าศึกษาทวั่ ไป และรายวิชาทีม่ ีอาจารย์ผ้สู อนอยู่ตา่ งสาขา 2.2) หลักสูตรตรวจสอบความสอดคล้องของจุดมุ่งหมายรายวิชา การแบ่งเน้ือหารายวิชา หน่วยเรียน วิธีการสอน วิธีการประเมินผู้เรียนให้ครบถ้วน หากรายวิชาใดไม่ครบถ้วนให้อาจารย์ผู้สอนรีบ ปรับปรุงแก้ไขกอ่ นเปิดภาคเรยี น 3. การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทาง สังคม และการทานุบารงุ ศิลปะและวัฒนธรรม ระบบและกลไก การจดั การเรียนการสอนในระดบั ปริญญาตรีทีม่ กี ารบูรณาการกับการวิจยั การบรกิ ารทางวชิ าการ และการทานบุ ารุงศลิ ปะวฒั นธรรม หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์และ ระบบอตั โนมตั ิ
42 ผลการดาเนนิ งาน : P : อาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลกั สูตรประชมุ วางแผน เพื่อร่วมกนั ระดมความเหน็ เห็นวางแนวทางจัดการ เรียนการสอนในแต่ละรายวิชาให้สามารถต่อยอดเน้ือหาสาระความร้สู ่กู ารบรู ณาการกับการวิจยั การบรกิ าร ทางวิชาการ และการทานบุ ารุงศลิ ปวฒั นธรรม ท่ีประชมุ หลักสตู รเสนอแนะให้อาจารยผ์ ู้สอนดาเนินการจัดการเรยี นการสอนเปน็ ไปตามแผนการสอน ท่ีได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร (แผนการเรียนรวมตลอดหลักสูตร และใบ กาหนดผู้สอน) และแตล่ ะรายวิชาจดั การเรียนการสอนตามรายละเอยี ดของรายวชิ า (มคอ. 3) เมื่อส้นิ ภาคเรียน ให้รายงานผลการดาเนนิ การของรายวิชา (มคอ. 5) เก่ยี วกบั ภาพรวมของการจัดการเรยี นการสอนในวิชาน้ันๆ วา่ ได้ดาเนนิ การสอนอย่างครอบคลุมและเป็นไปตามแผนทว่ี างไว้ หากไมเ่ ป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ ตอ้ งให้เหตผุ ล และขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอนของรายวชิ าดงั กล่าวในครง้ั ตอ่ ไป D : หลกั สตู รไดด้ าเนนิ การให้อาจารย์ผูส้ อน/อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบรายวิชา ในรายวชิ าทีม่ เี นือ้ หาสาระ ทสี่ ามารถเช่ือมโยงต่อยอดบรู ณาการกับการวจิ ัย การบรกิ ารทางวิชาการ และการทานุบารงุ ศิลปวฒั นธรรม มี การจัดการเรยี นการสอนโดยการบรู ณาการรว่ มกับพนั ธกจิ ด้านต่างๆ C : หลักสูตรได้ดาเนินการกากับติดตาม ผลการดาเนินงานในรายวิชาท่ีมีการจัดการเรยี นการสอน แบบบรู ณาการต่อยอดรว่ มกบั พันธกิจดา้ นต่างๆ ดังนี้ - บูรณาการการเรยี นการสอนกับการวิจยั รายวิชาเตรยี มโครงงาน โดยอาจารย์ท่ีปรึกษาจะ ชว่ ยแนะนาหวั ขอ้ วชิ าโครงงาน ให้สอดคล้องกับงานวิจัยทอ่ี าจารยด์ าเนนิ การอยู่ และสามารถประยกุ ต์ ในการเรียนการสอนในวชิ านั้นๆ ได้ รวมทง้ั การบรกิ ารวชิ าการไดม้ นี กั ศกึ ษาช่วยแนะนาผ้เู ข้ารว่ มการ รับบริการวชิ าการ - บูรณาการการเรียนการสอนกับการทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม มีการบูรณาการกบั การทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม โดยกาหนดให้นักศึกษาทากิจกรรมและเผยแพรก่ จิ กรรมที่นกั ศึกษาดาเนินการ ผ่าน facebook และพานกั ศึกษาทานุบารงุ ศิลปวฒั นธรรมโดยการทาความสะอาดบรเิ วณวัดดงเมือง เปน็ ตน้ 4. การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา ให้สอดคล้องกับสาขาวิชา และความกา้ วหน้าของศาสตร์ P : อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรประชุมวางแผน เพือ่ ร่วมกันระดมความเหน็ เห็นวางแนวทางจดั การ เรียนการสอนในแต่ละรายวชิ าให้สามารถต่อยอดเนอ้ื หาสาระความรสู้ ูก่ ารบรู ณาการกับการวิจยั ให้สอดคลอ้ ง กบั สาขาวชิ าและความกา้ วหน้าของศาสตร์ ท่ีประชมุ หลักสูตรเสนอแนะให้อาจารยผ์ สู้ อนดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอนเปน็ ไปตามแผนการสอน และให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความก้าวหน้าของศาสตร์ ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร (แผนการเรียนรวมตลอดหลกั สตู ร และใบกาหนดผู้สอน) และแตล่ ะรายวชิ าจดั การเรียน การสอนตามรายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) เม่ือสิ้นภาคเรียนให้รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (มคอ. 5) เก่ียวกบั ภาพรวมของการจัดการเรยี นการสอนในวิชาน้ันๆ ว่าได้ดาเนินการสอนอยา่ งครอบคลมุ และ เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ หากไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ต้องให้เหตุผลและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการ จดั การเรยี นการสอนของรายวิชาดังกล่าวในคร้ังตอ่ ไป
43 D : หลกั สตู รไดด้ าเนินการให้อาจารย์ผู้สอน/อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบรายวชิ า ในรายวิชาทีม่ เี นอื้ หาสาระ ที่สามารถเช่ือมโยงต่อยอดบรู ณาการกบั การวจิ ัย ให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความก้าวหนา้ ของศาสตร์ มี การจัดการเรียนการสอนโดยการบูรณาการรว่ มกบั พนั ธกจิ ด้านต่างๆ C : หลักสูตรได้ดาเนินการกากับติดตาม ผลการดาเนินงานในรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน แบบบูรณาการตอ่ ยอดร่วมกับพันธกิจด้านต่างๆ 5. การแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีความเชี่ยวชาญ สอดคล้องหรอื สัมพนั ธก์ บั หัวขอ้ วิทยานพิ นธ์ P : อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รประชมุ วางแผน เพอ่ื รว่ มกันระดมความเห็นเหน็ วางแนวทางจดั การ เรียนการสอนในแต่ละรายวิชาโครงงานวิศวกรรมโลจสิ ตกิ ส์ ในการแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ สารนิพนธใ์ นระดับบณั ฑิตศกึ ษา ทมี่ คี วามเช่ียวชาญสอดคลอ้ งหรือสมั พนั ธ์กบั หวั ข้อวิทยานิพนธ์ โดยท่ีประชุมได้ทาการเสนอการแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ในระดับ บณั ฑติ ศึกษา ทีม่ คี วามเชย่ี วชาญสอดคล้องหรือสัมพนั ธ์กับหวั ขอ้ วิทยานิพนธ์ เพือ่ ให้สามารถพฒั นาโครงงานได้ ตรงตามความสามารถของทป่ี รกึ ษา จงึ ทาให้งานท่ีได้สมบูรณม์ ากท่ีสุด หากไมเ่ ปน็ ไปตามแผนที่วางไว้ ต้องให้ เหตผุ ลและขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอนของรายวิชาดงั กล่าวในครัง้ ต่อไป D : หลักสตู รไดด้ าเนนิ การแตง่ ต้งั อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธใ์ นระดับบัณฑติ ศึกษา ที่มคี วามเชีย่ วชาญสอดคล้องหรือสัมพนั ธก์ ับหวั ข้อวทิ ยานิพนธ์ ตามแผนที่วางไว้ C : หลักสูตรได้ดาเนินการกากับติดตาม ผลการดาเนินงานในรายวิชาที่มีการจดั การเรยี นการสอน แบบบูรณาการต่อยอดร่วมกับพนั ธกิจด้านตา่ งๆ 6. การช่วยเหลือ กากับ ติดตาม ในการทาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ ผลงานในระดบั บัณฑิตศึกษา ++ไม่ม+ี + ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ เป้าหมาย คะแนนประเมินตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย เป้าหมาย ปที แี่ ลว้ 6 ระดับ (,) ปีถดั ไป 34 (คะแนน 0-5) 4 3 รายการหลักฐาน รายการหลักฐาน หมายเลข รายงานการประชุม คร้งั ท่ี 4/2561 งานวจิ ัยที่มกี ารประยุกตก์ บั การเรียนการสอน วค. 5.2-1 วค. 5.2-2 - การพฒั นาเวบ็ แอปพลคิ ชันจองสลากกนิ แบ่งรฐั บาลดว้ ย เทคนิค Responsive Web - การพัฒนาเวบ็ ไซตผ์ สมผสานกบั เทคโนโลยีความจริงเสริม เพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพการทอ่ งเที่ยวจงั หวัดกาฬสินธุ์
ผู้กากับดแู ลตัวบ่งช:้ี 44 1. นางอัจฉรา ชมุ พล, 0832907447 ผ้จู ัดเก็บรวบรวมขอ้ มลู /รายงานผลการดาเนนิ งาน: 2. นายรณชยั สังหม่ืนเมา้ , 0874778519 1. นางอจั ฉรา ชุมพล, 0832907447 2. นายรณชยั สงั หมืน่ เม้า, 0874778519 ตัวบ่งชีท้ ี่ 5.3 การประเมนิ ผเู้ รียน การคดิ รอบปี : ปกี ารศกึ ษา ผลการดาเนนิ งาน : 1. การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ P : อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู รได้ประชุมวางแผนกิจกรรมการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ (TQF) เพ่ือพิจารณากาหนดคณะดาเนินงานผรู้ ับผดิ ชอบกจิ กรรม การประเมนิ ผลการเรียนรู้ประจาปีการศึกษา 2561 อีกท้ังได้กาหนดกรอบระยะเวลาในการดาเนินงานตาม ความเหมาะสมของขอ้ มูลและกจิ กรรมในแต่ละองค์ประกอบ D : หลักสูตรได้กากับติดตามรวบรวมข้อมลู ที่เกี่ยวข้องในทุกด้าน โดยเฉพาะการกากับติดตามการ นาส่งเอกสาร มคอ.3, 4, 5, 6 ให้ครบถ้วนทุกรายวิชาภายในระยะเวลากาหนด และจัดให้มีการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา (Curriculum Mapping) เพื่อนาผลสรุปข้อมูลมา รวบรวมในการจัดทา มคอ.7 เพ่อื รายงานคณะฯ ตามลาดบั C : จากการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาประจาปีการศึกษา 2561 พบว่านักศึกษาผลการ เรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรูท้ ้ัง 6 ด้าน แต่มีข้อสังเกต คือ มาตรฐานด้านความรู้และมาตรฐานทักษะทาง ปญั ญา นักศกึ ษามีผลการเรียนรู้ไม่เปน็ ไปตามเกณฑซ์ ่ึงเปน็ ไปในทิศทางเดียวกันกับปกี ารศกึ ษา 2560 เม่ือนา ผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษามาเปรยี บเทียบกันแล้ว พบว่านักศึกษามีค่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ใน ภาพรวมเพมิ่ ขนึ้ และมาตรฐานดา้ นความรแู้ ละมาตรฐานทักษะทางปญั ญา พบวา่ นักศึกษามผี ลการเรยี นรไู้ ม่ เปน็ ไปตามเกณฑ์เช่นเดยี วกนั ระบบและกลไก การประเมนิ ผลการเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ (TQF) หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละระบบอัตโนมตั ิ
45 2. การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของนกั ศึกษา P : อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประชุมวางแผนการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของ นักศกึ ษาประจาปกี ารศึกษา 2561 เพ่อื พิจารณากาหนดคณะดาเนินงานผรู้ ับผดิ ชอบและดาเนนิ งานตามแผน D : คณะดาเนินงานผ้รู บั ผดิ ชอบผลการประเมินผลการเรียนรขู้ องนักศึกษา และได้รวบรวมขอ้ มลู เพอื่ นามาสูร่ ะบบและกลไกในการตรวจสอบการประเมินผลการเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษา C : จากการผลการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในปีการศึกษา 2561 คณะ ดาเนินงานไดร้ ่วมประชุมวิเคราะห์ข้อมูลและทาการสรปุ ผล เพือ่ แจง้ ผลสรุปใหผ้ ู้ที่เก่ียวข้องในหลักสูตรทุกคน ไดร้ บั ทราบผลและนาขอ้ เสนอแนะต่างๆ ไปปรบั ปรงุ ใหเ้ กิดการพฒั นาในปกี ารศกึ ษาต่อๆ ไป ระบบและกลไก การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรขู้ องนกั ศกึ ษา หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ า วศิ วกรรมคอมพิวเตอรแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ
Search