Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการฝึกงาน2564

รายงานการฝึกงาน2564

Description: รายงานการฝึกงานทดสอบ

Search

Read the Text Version

รายงานการฝึกงาน จดั ทำโดย นางสาวมนสั นนั ท์ สวุ รรณคร 62202010160 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาการบญั ชี สถานที่ฝกึ งาน วิทยาลัยอาชวี ศึกษาพิษณุโลก ระยะเวลาในการฝกึ งาน ระหวา่ งวนั ที่ 1 มถิ ุนายน ถงึ วนั ท่ี 30 กนั ยายน ภาคการศกึ ษา 2564 ปีการศกึ ษา 2564 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาพิษณโุ ลก

คำนำ รายงานการฝึกงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ในระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ในการฝึกงานครั้งนี้ ข้าพเจ้าได้เริ่มฝึกงานตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึงวันที่ 30 กันย ายน 2564 ผลจากการฝึกงานในครั้งนี้ทำให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้และทักษะประสบการณ์จริงในการทำงาน ยังถือ เปน็ การประมวลความรทู้ ่ีได้ศกึ ษามาใชง้ านจริงในการฝึกงานครั้งน้ีและยงั ได้รู้ถึงข้อบกพร่องของตัวเองและทำ ให้รู้จักแก้ไขส่วนที่บกพร่องเพื่อให้สารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ ข้าพเจ้าขอขอบคุณ นายภูมิพัฒน์ วน พิพฒั นพ์ งศ์ และนายจักรพรรด์ิ พูลชู ที่ช่วยให้การฝกึ งานของข้าพเจ้าสำเรจ็ ตามจุดประสงคข์ องหลกั สูตร รายงานการฝึกงานเล่มน้ีคงจะเป็นประโยชนส์ ำหรับผู้ท่ีสนใจไม่มากก็น้อย ถา้ มขี อ้ ผดิ พลาดประการใด ผู้จัดทำกช็ ขออภยั มา ณ ท่นี ้ี นางสาวมนัสนันท์ สวุ รรณคร ผจู้ ัดทำ

บทคดั ยอ่ ในการฝึกงานครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ซึ่งมี วัตถุประสงค์ดงั น้ี 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เพิ่มทักษะสร้างเสริมประสบการณ์และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเป็นจริงในสถาน ประกอบการและเปน็ แนวทางในการประกอบอาชพี 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรยี นรถู้ ึงสภาพปัญหา และวิธกี ารแก้ไขปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ ขณะปฏิบัติงานอยา่ งมีเหตุผล 3. เพ่ือให้ผู้เรียนมคี วามรับผดิ ชอบ มรี ะเบยี บ วนิ ยั และทำงานร่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. เพื่อใหผ้ ู้เรียนมคี วามเจตคตทิ ด่ี ใี นการทำงาน มคี วามภมู ใิ จในวิชาชพี 5. เพ่อื ให้เป็นไปตามเกณฑก์ ารศกึ ษาตามหลักสตู รทสี่ ำนักงานคณะกรรมการอาชวี ศกึ ษากำหนด สถานทใี่ นการฝกึ งานของข้าพเจ้าคอื วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาพิษณโุ ลก 60 ถนน วงั จนั ทน์ ตำบล ในเมือง อำเภอเมอื งพษิ ณุโลก จังหวัดพษิ ณโุ ลก รหัสไปรษณยี ์ 65000 โทรศัพท์ 055 258 570 เป็นสถานประกอบการ ประเภทราชการในส่วนของขา้ พเจา้ ไดฝ้ กึ งานในตำแหนง่ เดก็ ฝึกงาน ซึ่งมหี น้าท่ี ดังน้ี 1. สแกนงานหนังสอื เดนิ ทางราชการ 2. เดินเอกสารไปยังแผนกตา่ งๆในวิทยาลยั อาชีวศึกษาพษิ ณุโลก 3. ลงวินโดวส์ในคอมพิวเตอร์ 4. ลา้ งแอร์ 5. จดั ทำหนงั สือราชการในโปรแกรม microsoft Word 6. ออกแบบหน้าปกของแผนกต่างๆใน canva.com 7. ฝึกทำ Portfolio ใน Sway365 ผลจากการฝกึ งานในครัง้ น้ที ำใหข้ ้าพเจา้ ไดป้ ระสบการณ์และความรู้ใหมๆ่ ดงั นี้ 1. ได้เรียนรูก้ ารใชโ้ ปรแกรมต่างๆในคอมพิวเตอร์ 2. สแกนเอกสารหนว่ ยงานราชการ 3. แกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้

สารบัญ หน้า ก เร่อื ง ข คำนำ บทคดั ยอ่ บทที่ 1 บทนำ 1.1 วตั ถุประสงคข์ องการฝึกงาน 1.2 ชว่ งเวลาในการฝกึ งาน 1.3 สภาพการทำงานในระหว่างเวลาการฝึกงาน 1.4 ผู้ควบคมุ ดูแลการฝึกงาน บทที่ 2 รายละเอยี ดของการฝกึ งาน 2.1 รายละเอยี ดของหน่วยงานทไ่ี ปฝึกงาน 2.2 รายละเอียดของงานทปี่ ฏิบัตฝิ กึ งาน บทที่ 3 สรุปผลการฝึกงาน 3.1 สรปุ ผลการฝกึ งาน 3.2 ประโยชน์ท่ีนักศึกษาได้รบั 3.3 ปญั หา อปุ สรรค 3.4 ขอ้ เสนอแนะ เอกสารอา้ งองิ ภาคผนวก - สมดุ บนั ทกึ การฝกึ งาน - รูปภาพหรอื ข้อมลู เพ่ิมเติมประกอบการฝึกงาน - สำเนาแผนที่แสดงสถานท่ีตง้ั ของหนว่ ยงานที่ฝกึ งาน - แบบลงเวลาเข้ารบั การฝึกงานของนกั ศึกษา

บทท่ี 1 บทนำ การฝึกงานเป็นการจดั กระบวนการเรียนรู้เพ่ือฝึกทักษะ กระบวนการคดิ การจดั การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ซึ่งจัดดำเนินการโดยความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษากับภาคการผลิตและหรือภาคบริหาร หลังจากผู้เรียนได้เรยี นรภู้ าคทฤษฎีและการฝกึ หัดหรือปฏิบัติ เบื้องต้นในสถานศึกษาแล้วระยะหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนไดส้ ัมผัสกับการปฏิบัติงานอาชพี เครื่องมอื ในการใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ อปุ กรณ์ทีท่ นั สมยั และบรรยากาศการทำงานทางธรุ กิจท่ีต้องแขง่ ขันกันในการ รักษาคณุ ภาพและมาตรฐานของงาน รวมทั้งการทำงานร่วมกัน ซง่ึ จะช่วยใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรู้จากประสบการณ์ จรงิ ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คดิ เป็น ทำเปน็ และเกิดการใฝร่ ู้อย่างตอ่ เนื่อง ตลอดจนเกิดความมั่นใจและเจตคติที่ดี ในการทำงานและการประกอบอาชะอิสระ เพื่อเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของการจัดการ อาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพสำนักงาน คณะกรรมการอาชีวศึกษาจึงได้กำหนดหลักการฝกึ งาน ดังน้ี 1. เปน็ การจัดฝกึ ประสบการณ์งานอาชีพใหก้ ับผเู้ รยี นในระบบท่ีเน้นการศึกษาในสถานศึกษาเปน็ หลัก 2. เป็นการจดั ฝึกประสบการณง์ านอาชีพตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ 3. เป็นการจัดฝึกประสบการณ์งานอาชีพ โดยเน้นการสร้างระบบเครือข่ายและการมีส่วนร่วมในการ จัดการอาชวี ศึกษากับสถานประกอบการ ชุมชน ทอ้ งถิน่ และความรว่ มมอื ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ ท้ังน้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา 4. เป็นการจัดฝึกประสบการณ์งานอาชีพที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาความรู้ความสามารถและ สมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านเพื่อการนำไปสู่การประกอบอาชีพ ทัง้ การจ้างงานและประกอบอาชีพอิสระ 1.1 วัตถุประสงคข์ องการฝึกงาน 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เพิ่มทักษะ สร้างเสริมประสบการณ์และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเป็นจริงใน สถานประกอบการและเปน็ แนวทางในการประกอบอาชีพ 2. เพื่อให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรถู้ ึงสภาพปัญหา และวธิ แี กไ้ ขปัญหาท่เี กดิ ขึ้นขณะปฏบิ ัติงานอย่างมเี หตุผล 3. เพื่อให้ผู้เรยี นมคี วามรับผดิ ชอบ มรี ะเบยี บ วินยั และทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนมเี จตคติท่ดี ีในการทำงาน มีความภมู ใิ จในวิชาชพี 5. เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กำหนด 1.2 ชว่ งเวลาในการฝึกงาน ระยะเวลาฝึกงานทั้งหมด 122 วัน เริ่มฝึกงานตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2564

ตารางแสดงวันปฏิบัติงาน ดงั น้ี จำนวน (วนั ) สปั ดาห์ที่ ระหวา่ งวนั ที่ มา ลากิจ ลาปว่ ย มาสาย วันหยดุ ของ วันหยดุ รวมท้ังหมด ปฏิบัตงิ าน หน่วยงาน ราชการ 1 1-4 มิ.ย. 3 - - - 1 1 5 2 7-11 ม.ิ ย. 5 - - - - - 5 3 14-18 มิ.ย. 5 - - - - - 5 4 21-25 ม.ิ ย. 5 - - - - - 5 5 28มิ.ย.-2ก.ค. 4 - 1 - - - 5 6 5-9 ก.ค. 5 - - - - - 5 7 12-16 ก.ค. 5 - - - - - 5 8 19-23 ก.ค. 5 - - - - - 5 9 26-30 ก.ค. 2 - - - 1 2 5 10 2-6 ส.ค. 5 11 9-13 ส.ค. 5 12 16-20 ส.ค. 5 13 23-27 ส.ค. 5 14 30ส.ค.-3ก.ย. 5 15 6-10 ก.ย. 5 16 13-17 ก.ย. 5 17 20-24 ก.ย. 5 18 27-30 ก.ย. 5 รวม 1.3 สภาพการทำงานในระหว่างเวลาการฝึกงาน ในการฝึกงานแต่ละวันโดยหัวหน้าผู้ควบคุมจะส่งงานในไลน์กลุ่มฝึกงานเพื่อความสะดวกและทำตาม คำสั่งของงานนั้นๆ โปรแกรมที่ใช้ในการทำงานคือ Microsoft Word, canva.com, Sway365, Microsoft Excel และ Power point นอกจากน้นั ยังมงี านเดนิ เอกสารในหน่วยงานตา่ งๆ สแกนงานของราชการและถ่ายเอกสาร มีการฝึกอบรมของประกันสังคมโดยทำหน้าที่แจกเอกสารบอกรายละเอียดการเขา้ ใชง้ านอินเตอร์เน็ต คอมพวิ เตอรข์ องวิทยาลยั บรรยากาศภายในหอ้ งโดยรวมแล้วเงียบสงบ

1.4 ผคู้ วบคมุ ดูแลการฝกึ งาน 1. นายภมู พิ ัฒน์ วนพิพฒั น์พงศ์ 2. นายจักรพรรด์ิ พลู ชู

บทที่ 2 รายละเอยี ดของการฝึกงาน 2.1 รายละเอียดของหน่วยงานท่ีไปฝึกงาน 2.1.1 ทต่ี ้งั วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก 60 ถนน วังจันทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัด พษิ ณโุ ลก รหัสไปรษณยี ์ 65000 เบอร์ 055 258 570 2.1.2 ประวตั ิโดยยอ่ ของหน่วยงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก เดิมชื่อ “โรงเรียนช่างเย็บเสื้อผ้า″ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2481 ณ บริเวณโรงเรียนจ่าการบุญ ต่อมา ย้ายมาตั้ง ณ ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่ 60 ถนนวังจันทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โดยมีเนื้อที่ 18 ไร่ 2 งาน 20 ตารางวา และเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนเย็บเสื้อผ้า และการช่างสตรีจังหวัดพิษณุโลก ในปี พ.ศ. 2518 ได้เปลี่ยนเป็น โรงเรียนอาชีวศึกษาพิษณุโลก และ พ.ศ. 2519 ยกฐานะเป็นวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาพษิ ณโุ ลก 2.1.3 ขอบเขตหนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบของหนว่ ยงาน 1. รวบรวมข้อมูลภายนอก และข้อมูลภายในสถานศึกษาทั้งเก้าด้านประมวลผลจัดเก็บจัดทำและ บรกิ าร ด้วยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์โดยประสานงานกับแผนกวชิ าและงานตา่ งๆในสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานอืน่ 2. รวบรวมและเผยแพร่สาระสนเทศ ท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ การจัดการศกึ ษาและประกอบอาชีพ 3. พัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลสถานศึกษา ให้สามารถเชื่อมโยงกับสถานศึกษาอื่นได้ สำนักงาน คณะกรรมการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาและหน่วยงานอนื่ ๆ 4. กำกบั ควบคุม ดูแลระบบให้เปน็ ไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการกระทำผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ 5. ดำเนนิ การเกีย่ วกบั ศนู ยก์ ำลังคนอาชีวศกึ ษาของสถานศึกษา 6. ประสานงานและใหค้ วามรรว่ มมือของหน่วยงานต่างๆ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา 7. จัดทำปฏทิ ินการปฏิบัตงิ าน เสนอโครงการและปฏบิ ตั งิ านตามลำดับขั้นตอน 8. ดูแลบำรงุ รักษา และรับผิดชอบทรัพย์สินของสถานศึกษาที่ไดร้ บั มอบหมาย 9. ปฏบิ ตั ิงานอ่ืนตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย

2.1.4 โครงสรา้ งการบริหารของหนว่ ยงาน ในส่วนนี้ให้นักศึกษาพิมพ์บรรยาย โครงสร้างการบริหารงานหน่วยงาน หน้าที่ความรับผิดชอบของ หน่วยงานทีส่ ำคัญ อยา่ งไรก็ดนี กั ศึกษาตอ้ งขออนุญาตจากผูด้ แู ลก่อน 2.2 รายละเอียดของงานที่ปฏิบัตฝิ ึกงาน ในส่วนนี้ให้นักศึกษาพิมพ์บรรยาย ลักษณะของงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายให้ปฏบิ ัติในหนว่ ยงาน โดยละเอียด ว่าเป็นงานประเภทอะไร นักศึกษามีส่วนการฝึกปฏิบัติอย่างไรบ้าง นักศึกษาต้องบรรยายในส่วน เนื้อหา และบรรยายในเชิงวิชาการให้เห็นภาพว่านักศึกษาได้นำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษามาประยุกต์ใช้ใน การปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งไร 2.2.1 ตำแหนง่ หน้าที่ และความรบั ผดิ ชอบของนกั ศกึ ษา ในส่วนนี้ให้นักศึกษาระบุตำแหน่งที่ได้รับในการฝึกงาน และภาระความรับผิดชอบโดยสังเขปของ ตำแหนง่ งานน้นั 2.2.2 ภาระงานทไ่ี ด้รับมอบหมายและรายละเอียดการปฏิบัตงิ าน ในส่วนนี้ให้นักศึกษาบรรยายถึงภาระงานหลักและภาระงานรองที่นักศึกษาได้รับมอบหมายจาก หน่วยงาน โดยระบุชื่อหรือลักษณะงาน และอธิบายถึงกระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นๆ โดย ละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการ ซึ่งนักศึกษาอาจใช้วิธีการเขียนบรรยายเชิงพรรณนา หรือการใช้ รูปภาพ ผังกระบวนการ ประกอบการอธิบายก็ได้กรณีที่นักศึกษาได้รับมอบหมายงานในลักษณะพิเศษ เช่น เป็นโครงงาน หรืองานที่ให้ทำอย่างต่อเนื่องเพียงงานใดงานหนึ่ง นักศึกษาสามารถบรรยายถึงงานและ กระบวนการทำงานนเ้ี ปน็ หลัก สว่ นงานประจำวนั หรืองานรองสามารถระบุโดยสังเขปได้ 2.2.3 ผลสำเรจ็ ของงาน ในส่วนนี้ให้นักศึกษาบรรยายถึงผลความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมาย โดยต้องแสดงให้เห็นถึง ประโยชน์ที่เกิดขึ้นต่องานและหน่วยงานอย่างขัดเจน และแสดงหลักฐานประกอบการบรรยาย ทั้งนี้ ผลท่ี เกิดขึน้ อาจแสดงไดเ้ ป็นขอ้ ๆ โดยเป็นไดท้ งั้ ในลักษณะของการพฒั นางานให้ดขี น้ึ หรือเป็นขนึ้ งานทีเ่ ปน็ รปู ธรรม อยา่ งขดั เจน

2.2.4 การประยุกต์ใช้ความรู้ในงานท่ีปฏบิ ัติ ในส่วนนี้ให้นักศึกษาบรรยายถึงการนำเอาความรู้ที่นักศึกษาได้รับการการเรียนในชั้นเรียน มา ประยุกตใ์ ชก้ บั งานท่ีได้รับมอบหมายใหป้ ฏบิ ตั ิ โดยอาจระบุชอ่ื รายวชิ าโดยชัดเจน รวมถงึ อธิบายให้เห็นว่ามีการ นำมาประยุกตใ์ ช้ได้อย่างไร

บทที่ 3 สรปุ ผลการฝกึ งาน 3.1 สรุปผลการฝึกงาน ในส่วนนี้ให้นักศึกษาบรรยายสรุปการฝึกงาน โดยกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการฝึกงาน หน่วยงานที่ ฝึกงาน ตำแหน่งและภาระงานท่ไี ด้รับมอบหมาย และผลสำเรจ็ ของการปฏิบตั งิ านของนกั ศกึ ษา 3.2 ประโยชน์ของการฝึกงาน 3.2.1 ประโยชน์ทีน่ ักศึกษาได้รับจากการฝึกงาน ได้รับประสบการณ์ใหม่และความรู้ในเร่ืองการใช้โปรแกรมเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และได้รู้เทคนคิ ต่างๆ เช่น การลงวินโดวส์ในคอมพิวเตอร์,การสแกนเอกสารในหน่วยงานราชการต่างๆ การใช้โปรแกรม Sway365 และยังนำความรู้จากงานศนู ยข์ อ้ มูลสารสนเทศเพ่ือพฒั นาฝีมืออกี ด้วย 3.2.2 ประโยชน์ท่หี น่วยงานได้รบั ไดน้ ักศึกษาช่วยงานเพ่ิมและกระจายงานให้กับนักศึกษาฝกึ งานไดม้ ากขึน้ ทำใหห้ ัวหน้าผู้ควบคุมมีเวลา ในการทำงานชนิ้ อื่นมากข้นึ และไดม้ ิตรภาพสำหรบั การฝกึ งานในครง้ั นี้ 3.3 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางการแก้ไขปญั หา ปญั หาท่เี กิดขึน้ ระหวา่ งการทำงาน คอื เวลาเปดิ ใชง้ านคอมพวิ เตอร์ ในสว่ นนใ้ี ห้นักศึกษาบรรยายถึงปัญหาและอปุ สรรคทีเ่ กิดข้นึ ในระหว่างการฝึกงานโดยระบสุ าเหตขุ อง ปญั หา หรอื อุปสรรคที่เกดิ ขนึ้ แนวทางในการแก้ไข และแนวทางในการปอ้ งกนั ปญั หา เพือ่ มใิ ห้ปัญหานี้ เกิดข้นึ ในการฝึกงานของนักศึกษารุน่ ต่อไป นักศึกษาตอ้ งระบุขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมในรายงานฉบบั นี้ เพือ่ เป็นแนวทางให้ผูป้ ระสานรายวิชาหรอื ผู้ ท่ีเก่ียวขอ้ งทราบ และนำไปสกู่ ารพฒั นาทีด่ ีขึ้นในกระบวนการฝกึ งานของแตแ่ ละหลกั สตู รในอนาคต 3.4 ขอ้ เสนอแนะ ในสว่ นน้ีให้นักศกึ ษาใหข้ อ้ เสนอแนะตามทัศนะของนักศึกษาเอง เพ่ือประโยชนต์ อ่ การพฒั นาทัง้ ในส่วน ของหนว่ ยงาน ตวั นักศกึ ษา และระบบการฝกึ งาน ทงั้ นีก้ ารเสนอแนะเพื่อการพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง อาจอยู่ใน สว่ นใดสว่ นหนง่ึ หรือทั้งหมดของระบบการดำเนินการฝึกงาน หน่วยงานที่ รบั ฝึกงาน ผทู้ ่เี กย่ี วขอ้ งกับการ ฝึกงานและการจดั ทำรายงานก็ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook