แผนเผชญิ เหตคุ วามปลอดภยั ใน สถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นแม่เกาะวิทยา อาเภอสบเมย จงั หวดั แม่ฮ่องสอน สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 2
คำนำ แผนเผชิญเหตคุ วามปลอดภยั สถานศึกษาโรงเรยี นบ้านแม่เกาะวทิ ยา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา แมฮ่ ่องสอน เขต ๒ จัดทาขน้ึ เพอ่ื นาไปใช้เป็นแนวทางในการปฏบิ ัติเม่อื เผชิญเหตุความไมป่ ลอดภยั ตอ่ นักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาในสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นแม่เกาะวิทยา สงั กัดสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต ๒ หวงั เป็นอย่างยงิ่ วา่ แผนเผชญิ เหตุความปลอดภยั สถานศกึ ษาเลม่ นีจ้ ะชว่ ยอานวยความสะดวก ให้แกผ่ ้ปู ฏบิ ตั งิ านกับหนว่ ยงานที่ เกยี่ วข้องและผปู้ ฏิบตั ไิ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี โรงเรียนบ้ำนแม่เกำะวิทยำ
สำรบัญ หนำ้ เรื่อง คานา สารบญั หลักการ วตั ถปุ ระสงค์ มาตรการความปลอดภยั ระบบมาตรฐานความปลอดภัย MOE SAFETY CENTER แนวการปฏบิ ัติการเผชิญเหตุ ภยั ที่เกดิ จากการใชค้ วามรุนแรง ของมนษุ ย์ (Violence) ภัยทเ่ี กดิ จากอุบัตเิ หตุ (Accident) ภัยที่เกดิ จากการถกู ละเมิดสทิ ธ์ิ (Right) ภยั ทเ่ี กิดจากผลกระทบตอ่ สุขภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) การเขา้ ค่ายลกู เสอื การลงโทษเดก็ นกั เรียน การตรวจสอบ ป้องกนั อาวธุ การจดั ระเบียบยานพาหนะ ภัยพบิ ัติธรรมชาติในพ้ืนที่ พายุฤดรู อ้ น โรคลมแดด ภัยทีเ่ กีย่ วกบั หนา้ ร้อน ภัยหนาว เด็กนักเรยี นจมนา้ แนวทางการชว่ ยเหลอื ดแู ล เยียวยา และการแกไ้ ขปญั หา บทบาทหนว่ ยงาน เอกสารอา้ งองิ ภาคผนวก
หลกั กำร ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ งนโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพื่อความปลอดภัย เพอื่ เรง่ สรา้ งความปลอดภัยในสถานศึกษา เพิ่มความเชื่อมัน่ ให้สงั คมและป้องกนั ภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ และภยั อื่นๆ ท้งั นส้ี านกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ซง่ึ ถือว่าเป็นหนว่ ยงานหลักที่จัดการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานของประเทศ จึงกาหนดนโยบายและ จดุ เนน้ ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานใหส้ อดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยเฉพาะจดุ เน้นด้านท่ี ๑ ดา้ นความปลอดภยั ที่มงุ่ พัฒนาสถานศึกษาให้เปน็ พื้นที่ปลอดภัยของผูเ้ รียนทุกคน พรอ้ มเสริมสรา้ ง ระบบและกลไกในการดแู ลความปลอดภัยอยา่ งเขม้ ข้น ให้กบั ผ้เู รียน ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาจากโรคภยั ต่างๆ ภยั พิบตั ิและภยั คกุ คามทกุ รูปแบบ สรา้ งภูมิค้มุ กนั การร้เู ทา่ ทนั ส่อื และเทคโนโลยี มีสุข ภาวะท่ีดี ดงั นัน้ ในการเรง่ รัดการทางานภาพรวมกระทรวงใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิ์ เพ่ือสรา้ งความเชือ่ มน่ั ความไวว้ างใจ ใหก้ ับสังคมและผลักดนั ให้การจดั การศกึ ษามคี ุณภาพ และประสิทธภิ าพในทุกมิตกิ ระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ กาหนดหลกั การสาคัญในการประกาศนโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารดา้ นความปลอดภยั ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพอื่ สรา้ งการรบั รู้ เสรมิ สรา้ งภูมคิ ุ้มกันให้กบั ผเู้ รยี นด้านความปลอดภยั ในสถานศึกษา ๒. เพอ่ื การดาเนินงานการเผชิญเหตุความปลอดภัยในสถานศึกษา ๓. เพื่อรายงานการดาเนนิ งานการเผชญิ เหตุดา้ นความปลอดภยั ต่อหนว่ ยงานตน้ สังกดั มำตรกำรควำมปลอดภยั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก้ าหนด มาตรการ ๓ ป ไดแ้ ก่ ป้องกนั ปลกู ฝัง และปราบปราม เปน็ มาตรการ ความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา การป้องกนั หมายถงึ การดาเนนิ การเกี่ยวกบั การวางแผนความปลอดภัย การจดั โครงสรา้ ง การบรหิ าร การวิเคราะห์ และการประเมนิ ความเสีย่ งอย่างรอบด้าน เพ่ือให้เกดิ ความปลอดภัยในสถานศกึ ษา การปลกู ฝัง หมายถงึ การดาเนินการเกยี่ วกบั การพัฒนาองคค์ วามรู้ การสร้างเจตคตทิ ด่ี ี การมจี ติ บริการ และเสรมิ สรา้ งทักษะ ความปลอดภัย ให้แก่ นักเรยี น ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาให้เกดิ ความยงั่ ยืน การปราบปราม หมายถงึ การดาเนนิ งานเก่ียวกับการเผชญิ เหตุ การเขา้ ถึงสถานการณ์ การแก้ไขปัญหา ความไม่ปลอดภยั และการดาเนินการกบั บุคคลทลี่ ะเมิด หรือประพฤตไิ มเ่ หมาะสม ด้วยความรอบคอบ รวดเร็ว และเป็นธรรม รวมถึงการช่วยเหลือ เยียวยา ฟ้ืนฟู ขอบข่ำยควำมปลอดภยั ของสถำนศึกษำ ขอบข่ายความปลอดภัยของสถานศึกษา มี ๔ กลุ่มภยั ไดแ้ ก่ ๑) ภยั ทเ่ี กดิ จากการใชค้ วามรนุ แรงของมนษุ ย์ (Violence) ๒) ภยั ทเ่ี กดิ จากอุบัตเิ หตุ (Accident) ๓) ภัยที่เกดิ จากการถกู ละเมิดสทิ ธ์ิ (Right) ๔) ภยั ท่ีเกดิ จากผลกระทบตอ่ สขุ ภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness)
ซ่ึงครอบคลุมภัยร้ายแรงที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดให้ต้องเร่งดาเนินการ ป้องกนั ปลกู ฝงั และปราบปราม อยา่ งรวดเร็วรอบคอบ เด็ดขาด ๑) การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ๒) ยาเสพตดิ ๓) การลว่ งละเมิดทางเพศ ๔) ภาวะจติ เวช ๕) การกลนั่ แกล้งรงั แก (Bullying) ๑. ภยั ทีเ่ กดิ จำกกำรใชค้ วำมรนุ แรงของมนษุ ย์ (Violence) ๑) การลว่ งละเมดิ ทางเพศ ๒) การทะเลาะววิ าท ๓) การกลั่นแกลง้ รังแก ๔) การชุมนมุ ประทว้ งและการจลาจล ๕) การก่อวนิ าศกรรม ๖) การระเบิด ๗) สารเคมีและวตั ถอุ ันตรายทาให้เกิดมลภาวะเป็นพิษ ๘) การลอ่ ลวง ลกั พาตัว ๒. ภยั ท่ีเกดิ จำกอุบัตเิ หตุ (Accident) ๑) ภยั ธรรมชาติ ๒) ภัยจากอาคารเรียน สงิ่ ก่อสร้าง ๓) ภยั จากยานพาหนะ ๔) ภยั จากการจัดกจิ กรรม ๕) ภยั จากเคร่อื งมือ อุปกรณ์ ๓. ภัยท่เี กิดจำกกำรถกู ละเมิดสทิ ธ์ิ (Right) ๑) การถกู ปลอ่ ยปละ ละเลย ทอดท้ิง ๒) การคกุ คามทางเพศ ๓) การไมไ่ ด้รับความเป็นธรรมจากสงั คม ๔. ภัยทเี่ กิดจำกผลกระทบตอ่ สุขภำวะทำงกำยและจติ ใจ (Unhealthiness) ๑) ภาวะจติ เวช ๒) ตดิ เกม ๓) ยาเสพตดิ ๔) โรคระบาดในมนษุ ย์ ๕) ภัยไซเบอร์ ๖) การพนัน ๗) มลภาวะเป็นพิษ ๘) โรคระบาดในสตั ว์ ๙) โรคภาวะทุพโภชนาการ ๑๐) ภัยอื่น ๆ เพ่ิมเติม
ระบบมำตรฐำนควำมปลอดภัย MOE SAFETY CENTER MOE Safety Center เปน็ ระบบมาตรฐานความปลอดภยั ในสถานศกึ ษาโดยใชห้ ลกั Digital Based Management เป็นรปู แบบ วิธกี าร หรือกระบวนการในการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน นักศึกษา ให้เกดิ การเรียนรู้ อย่างมคี ณุ ภาพ มีความสุข และไดร้ บั การปกปอ้ ง คมุ้ ครองความ ปลอดภัยทั้งด้านรา่ งกายและจติ ใจ รวมถึงการ เสริมสร้างทกั ษะให้ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการดูแลตนเองจากภยั อันตรายตา่ งๆนกั เรยี น ครู และบคุ ลากร ทาง การศกึ ษา หรือประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถงึ ระบบ MOE Safety Center เมอื่ มคี วามรสู้ กึ ไมป่ ลอดภยั และมี ความประสงค์จะร้องทุกข์ รอ้ งเรยี น หรอื เตอื นให้ทราบวา่ สถานศกึ ษาแหง่ หนึง่ กาลงั เกิดภยั อยา่ งหน่งึ อยา่ งใดใน ๔ กลมุ่ ภัย ไดแ้ ก่ ภัยทเ่ี กดิ จากการใชค้ วามรุนแรงของมนุษย์ ภยั ทีเ่ กิดจากอบุ ัตเิ หตุ ภัยทเี่ กดิ จากการถกู ละเมิดสิทธิ์ และภยั ทีเ่ กิดจากผลกระทบตอ่ สุขภาวะทางกายและจติ ใจ ทัง้ นี้นักเรยี น ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผูป้ กครอง และประชาชนท่ัวไป ทไี่ ดร้ ับผลกระทบ ประสบเหตุหรอื เห็นเหตกุ ารณ์ สามารถแจง้ เหตุได้ ๔ ชอ่ งทาง ดงั น้ี ๑. Application MOE Safety Center ๒. www.MOESafetyCenter.com ๓. LINE @MOESafetyCenter ๔. หรอื ที่ call center ๐๒-๑๒๖๖๕๖๕
แนวปฏบิ ตั กิ ำรเผชิญเหตุ แนวปฏิบตั ิกำรเผชิญเหตุ โรงเรียนบ้านแม่เกาะวทิ ยา จดั ใหม้ กี ารเตรียมความพรอ้ มการเผชิญเหตคุ วามไมป่ ลอดภัย สถานศกึ ษามี การซกั ซอ้ มอย่างเคร่งครดั สมา่ เสมอ หากเกดิ กรณีฉกุ เฉินเหตคุ วามไมป่ ลอดภัยตอ้ งมีความพร้อมในการเผชิญเหตุ เพอื่ ลดระดบั ความรุนแรง ระงับเหตกุ ารณค์ วามไมป่ ลอดภัย หรือแกไ้ ขปญั หา ซึ่งมีขนั้ ตอนแนวดาเนนิ การเผชญิ เหตุ ดังนี้ ขั้นตอนแนวดำเนนิ กำรเผชญิ เหตุ ๑. เมื่อโรงเรียนไดร้ บั แจง้ เหตุ ตรวจสอบขอ้ มลู เบอื้ งตน้ ประเมินปัญหาสถานการณ์ ๒. รายงานผูอ้ านวยการโรงเรยี นและแจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center สามารถแจ้งเหตุได้ ๔ ช่องทาง ดังนี้ ๑. Application MOE Safety Center ๒. www.MOESafetyCenter.com ๓. LINE @MOESafetyCenter ๔. หรอื ท่ี call center ๐๒-๑๒๖๖๕๖๕ - แจง้ ผู้ทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการดาเนินการชว่ ยเหลือ - แจ้งผ้ปู กครอง ๓. ดาเนินการระงับเหตกุ ารณค์ วามไมป่ ลอดภยั หรือแกไ้ ขปัญหา ๔. ตดิ ตาม/ดูแลช่วยเหลือ/คุม้ ครอง/ ให้คาปรกึ ษาแก่เดก็ นกั เรียนโดยคานงึ ถงึ ความปลอดภยั ๕. จัดเก็บข้อมูลการดาเนนิ งาน สรุปผลการดาเนนิ งาน แนวทำงดำเนินกำรเผชิญเหตุ เม่ือเกดิ เหตกุ ารณค์ วามไม่ปลอดภัยโรงเรยี นปฏิบัติการเผชญิ เหตุ เพื่อลดระดบั ความรุนแรง ระงับ เหตกุ ารณค์ วามไม่ปลอดภัย หรอื แกไ้ ขปญั หาตามขอบขา่ ยความปลอดภัยของสถานศึกษา ๔ กลุ่มภัย ดังนี้ ๑. ภัยทเ่ี กดิ จำกกำรใช้ควำมรุนแรงของมนษุ ย์ ๑.๑ กำรลว่ งละเมิดทำงเพศ ๑) เมือ่ โรงเรยี นไดร้ บั แจง้ เหตุ ตรวจสอบขอ้ มูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ ๒) รายงานผ้อู านวยการโรงเรียน แจ้งครูทป่ี รกึ ษาหรอื ผู้ทเี่ กีย่ วขอ้ งในการดาเนินการชว่ ยเหลือ และแจ้งผ้ปู กครอง
๓) แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center ๔) ดาเนินการระงบั เหตุการณค์ วามไม่ปลอดภยั หรอื แก้ไขปญั หา ๕) ติดตาม/ดแู ลชว่ ยเหลือ/คมุ้ ครอง/ ให้คาปรึกษาแกเ่ ด็กนกั เรียน โดยคานงึ ถงึ ความ ปลอดภยั ๖) กรณเี ด็กนกั เรยี นที่มคี วามเสี่ยงตอ้ งให้ไดร้ บั การคุ้มครอง/การสงเคราะหใ์ นเบอ้ื งตน้ โดยทันที ๗) กรณีเดก็ นกั เรยี นตอ้ งไดร้ บั การสงเคราะห์ให้เจา้ หนา้ ทส่ี ่งตอ่ ไปรบั บริการสงเคราะหต์ าม ระเบยี บกระทรวงว่าด้วยการสงเคราะหเ์ ด็กนกั เรยี น ๙) จัดเก็บข้อมูลการดาเนนิ งาน สรุปผลการทางานและรายงานหน่วยงานตน้ สังกัดและ ผู้เกีย่ วข้องทราบตามกรณี ๑.๒ กำรทะเลำะวิวำท ๑) เมอ่ื โรงเรยี นไดร้ บั แจง้ เหตุได้รับแจง้ เหตตุ รวจสอบขอ้ มูลเบื้องตน้ ประเมินปญั หา สถานการณ์ ๒) รายงานผอู้ านวยการโรงเรยี นแจง้ ครูทีป่ รึกษาผูเ้ ก่ียวข้อง เพื่อหยดุ เหตุการณน์ ั้น ๆ หากเกนิ กาลังใหห้ าคนช่วยเหลอื ในการระงบั เหตแุ ลว้ แจ้งใหผ้ ู้อานวยการโรงเรยี นทราบทนั ที ๓) แจง้ เหตุในระบบ MOE Safety Center ๔) ครทู ป่ี รึกษา/ครูผู้ประสบเหตุพดู คยุ ให้กาลังใจ สร้างความไวว้ างใจแก่เดก็ นกั เรียน รอ จนเดก็ นักเรียนผ่อนคลายลงประสานเชิญผปู้ กครองมาพบเด็กนักเรยี นทโี่ รงเรียนเพือ่ รับทราบข้อเทจ็ จริงจากคา บอกเล่าของเด็กนักเรียนดว้ ยตนเองแลว้ รว่ มกนั แสวงหาแนวทางชว่ ยเหลือเดก็ นักเรยี นไม่ใหก้ ลับไป กระทาพฤติกรรมความรนุ แรงขน้ึ อีก ๕) หากคู่กรณอี ยูใ่ นโรงเรยี นเดยี วกนั ให้หลกี เลี่ยงการเผชญิ หน้ากนั และเม่อื ความขดั แยง้ ลดลง ครฝู า่ ยกิจการนกั เรียนจงึ จดั ให้ทง้ั สองฝา่ ยไดพ้ บเพ่อื ปรับความเข้าใจและสรา้ งความรักความ สามัคคกี นั ๖) หากคกู่ รณเี ปน็ บุคคลภายนอกโรงเรยี น ผอู้ านวยการโรงเรยี นมอบหมายบคุ ลากรท่ีเหมาะสม เปน็ ผู้ดาเนนิ การในการแก้ไขปัญหา ๗) จัดให้มีเด็กนักเรียนเพ่ือนที่ปรึกษาสาหรับเด็กนักเรียนท่ีอยู่ระหว่างปรับพฤติกรรมคอย ช่วยเหลือ แนะนาและให้คาปรึกษา ๘) กรณีเหตกุ ารณร์ ุนแรงให้รายงานขอ้ มลู รายละเอยี ดเบือ้ งตน้ อยา่ งเป็นทางการตอ่ หน่วยงาน ตน้ สงั กดั ภายใน ๒๔ ชวั่ โมง ๙) เมื่อเดก็ นกั เรียนถูกเจ้าหน้าทีต่ ารวจควบคุมตวั หรอื มอบตัวทางโรงเรยี นออกหนังสือรบั รอง การเปน็ เด็กนักเรียนให้ ๑๐) กรณตี ้องการประกนั ตัวนักเรยี นสามารถใชต้ าแหน่งหน้าท่ีของข้าราชการในการประกัน ตัวได้ ๑๑) จัดเก็บข้อมลู การดาเนนิ งานของสถานศึกษา สรุปผลการทางานและรายงานไปยัง หนว่ ยงานต้นสังกัด และผ้เู กีย่ วข้องทราบตามกรณี ๑.๓ กำรกล่นั แกล้งรังแก ๑) เมือ่ โรงเรียนได้รับแจง้ เหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบอื้ งต้นประเมินปัญหาสถานการณ์ คัดกรอง ระดบั ความรนุ แรงของการถูกกลน่ั แกล้งรงั แก ๒)รายงานผู้อานวยการโรงเรียนมอบหมายครทู ีป่ รึกษาหรือผู้เก่ยี วข้องให้คาแนะนาปรกึ ษาใน การแกป้ ัญหา ๓) แจ้งเหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ตดิ ตามดูแลการให้ความช่วยเหลอื ส่วนท่ีเกีย่ วข้องกับโรงเรียน
๕) จัดเก็บขอ้ มูล การดาเนนิ งาน สรปุ ผลการทางาน และรายงานหนว่ ยงานต้นสงั กดั และ ผ้เู กี่ยวขอ้ งทราบตามกรณี ๑.๔ กำรชมุ นุมประท้วงและกำรจลำจล ๑) เม่ือโรงเรียนได้รบั แจ้งตรวจสอบขอ้ มลู เบือ้ งตน้ ประเมนิ ปัญหาสถานการณ์เพ่ือระงับเหตุ ทัง้ ในโรงเรยี น และนอกโรงเรียน ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรยี น ๓) แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานเครอื ขา่ ยการมีส่วนร่วมเพื่อร่วมแกป้ ญั หา โดยเน้นการไกลเ่ กลยี่ ประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนักตดิ ตาม/ดแู ลชว่ ยเหลอื /คมุ้ ครอง/ใหค้ าปรกึ ษาแก่เด็กนกั เรยี น โดย คานึงถงึ ความปลอดภยั ๕) จดั เกบ็ ขอ้ มลู การดาเนนิ งาน สรปุ ผลการทางานและรายงานหน่วยงานต้นสังกดั และ ผเู้ กี่ยวข้องทราบตามกรณี ๑.๕ กำรก่อวินำศกรรม ๑) เมือ่ โรงเรยี นไดร้ บั แจ้ง ตรวจสอบขอ้ มูลเบอื้ งต้น ประเมินปญั หาสถานการณ์ เพอื่ ระงับ เหตุ ท้ังในโรงเรยี น และนอกโรงเรยี น ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรียน ประสานศนู ย์ฉกุ เฉนิ โทร. ๑๖๖๙ ๓) แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานสถานีตารวจในทอ้ งท่ี หรอื หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งในการแกไ้ ขปัญหาสนบั สนุน ขอ้ มูล และอานวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าที่ ๕) ตรวจสอบจานวนนกั เรียน ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทป่ี ระสบภัย ๖) ประสานหนว่ ยงานตน้ สังกดั หน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ดแู ลบรรเทา ความ เดอื ดร้อน ของนักเรียน ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท่ปี ระสบภัย ๗) ดาเนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนน้ การไกล่เกลี่ยประนปี ระนอมตามมาตรการ จาก เบาไปหาหนัก ๘) ตดิ ตาม/ดแู ลชว่ ยเหลือ/คมุ้ ครอง/ ใหค้ าปรกึ ษาแก่เด็กนักเรยี น โดยคานงึ ถึงความปลอดภยั ๙) จัดเก็บข้อมูล การดาเนนิ งาน สรปุ ผลการทางานและรายงานหนว่ ยงานตน้ สงั กัดและ ผู้เกยี่ วข้องทราบตามกรณี ๑.๖ กำรระเบิด ๑) เมอ่ื โรงเรียนไดร้ บั แจ้ง ตรวจสอบข้อมลู เบอ้ื งต้น ประเมินปญั หาสถานการณ์ เพอื่ ระงบั เหตุ ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรยี น ประสานศูนย์ฉกุ เฉิน โทร. ๑๖๖๙ ๓) แจง้ เหตุในระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานสถานีตารวจในท้องท่ี หรอื หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา สนับสนุน ข้อมูล และอานวยความสะดวกในการปฏบิ ัตงิ านของเจ้าหนา้ ท่ี ๕) ตรวจสอบจานวนนกั เรียน ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทปี่ ระสบภยั ๖) ประสานหน่วยงานตน้ สังกัด หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง เพือ่ ใหก้ ารช่วยเหลือ ดแู ล บรรเทา ความเดือดร้อน ของนักเรยี น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ปี ระสบภยั
๗) ดาเนินการตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเน้นการไกลเ่ กลย่ี ประนปี ระนอมตามมาตรการ จาก เบาไปหาหนัก ๘) ติดตาม/ดูแลช่วยเหลือ/คุม้ ครอง/ ใหค้ าปรกึ ษาแก่เดก็ นักเรยี น โดยคานึงถงึ ความ ปลอดภยั ๙) จัดเกบ็ ข้อมูล การดาเนนิ งาน สรปุ ผลการทางานและรายงานหนว่ ยงานตน้ สงั กดั และ ผูเ้ กี่ยวข้องทราบตามกรณี ๑.๗ สำรเคมแี ละวัตถอุ นั ตรำย ๑) เมื่อโรงเรียนไดร้ ับแจ้งเหตุ ตรวจสอบขอ้ มูลเบ้ืองต้น ประเมนิ ปญั หาสถานการณ์ เพอ่ื ระงับ เหตทุ ง้ั ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรยี น ประสานศนู ยฉ์ ุกเฉิน โทร. ๑๖๖๙ ๓) แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานสถานตี ารวจในท้องที่ หรอื หนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องในการแก้ไขปญั หาสนับสนุน ข้อมลู และอานวยความสะดวกในการปฏบิ ตั งิ านของเจ้าหน้าท่ี ๕) ตรวจสอบจานวนนกั เรยี น ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทปี่ ระสบภัย ๖) ประสานหนว่ ยงานตน้ สังกดั หน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง เพ่อื ให้การช่วยเหลือ ดูแลบรรเทา ความ เดอื ดร้อนของนกั เรียน ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทปี่ ระสบภัย ๗) ดาเนินการตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเน้นการไกลเ่ กล่ียประนปี ระนอมตามมาตรการ จาก เบาไปหาหนัก ๘) ตดิ ตาม/ดแู ลช่วยเหลือ/คุ้มครอง/ ให้คาปรึกษาแก่เด็กนักเรียน โดยคานึงถึงความ ปลอดภยั ๙) จัดเก็บขอ้ มลู การดาเนินงาน สรุปผลการทางานและรายงานหนว่ ยงานต้นสังกัด และ ผู้เกยี่ วข้องทราบตามกรณี ๑.๘ กำรล่อลวง ลกั พำตวั ๑) เมอื่ โรงเรียนได้รับแจง้ เหตหุ รือประสบเหตุ ตรวจสอบขอ้ มลู เบื้องตน้ ประเมินปญั หา สถานการณ์ ๒) ผู้อานวยการโรงเรยี น ครทู ีป่ รึกษา หรือผู้ท่ีเกยี่ วขอ้ งในการดาเนินการช่วยเหลอื และ แจง้ ผู้ปกครอง ๓) แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center ๔) ดาเนนิ การชว่ ยเหลือนักเรียนด้านร่างกาย จติ ใจ ใหค้ าปรกึ ษาแก่เด็กนกั เรยี น ๕) ติดตาม ดแู ลชว่ ยเหลอื เดก็ นักเรียน/คุ้มครอง/ตดิ ตาม โดยคานึงถึงความปลอดภัยของ เดก็ นักเรยี น ๖) กรณเี ด็กนกั เรยี นทมี่ ีความเสย่ี งต้อง ให้ไดร้ บั การคุ้มครอง/การสงเคราะห์ในเบอื้ งตน้ โดย ทนั ที ๗)กรณเี ดก็ นกั เรยี นต้องไดร้ บั การสงเคราะห์ใหเ้ จา้ หน้าทส่ี ง่ ต่อไปรับบรกิ ารสงเคราะหต์ าม ระเบียบกระทรวงวา่ ดว้ ยการสงเคราะหเ์ ดก็ นักเรยี น ๘) จดั เก็บข้อมลู การดาเนนิ งาน สรปุ ผลการทางานและรายงานหน่วยงานตน้ สังกดั และ ผเู้ ก่ยี วขอ้ งทราบตามกรณี
๒. ภัยท่ีเกดิ จำกอุบัติเหตุ ๒.๑ ภัยธรรมชำติ ๑) เม่อื โรงเรียนได้รับแจง้ เหตุ ตรวจสอบข้อมลู เบอ้ื งต้น ประเมนิ ปญั หาสถานการณ์เพื่อแจง้ สัญญาณเตอื นภัย ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรยี น ตัง้ ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉนิ และประเมินสถานการณ์ ๓) แจง้ เหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานหน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง และเครือข่ายการมสี ่วนรว่ มเพอ่ื รว่ มแกป้ ัญหา ๕) อพยพเด็กนักเรียนเข้าสูพ่ นื้ ท่ปี ลอดภยั ๖) คดั แยกปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ ๗) สง่ ตอ่ ตดิ ตาม ช่วยเหลือ เยียวยา รายกรณี ๘) สารวจความเสยี หาย ๙) จดั เก็บขอ้ มูล การดาเนนิ งาน สรุปผลการทางานและรายงานหนว่ ยงานต้นสงั กัด และ ผเู้ ก่ียวข้องทราบตามกรณี ๒.๒ ภัยจำกอำคำรเรยี นสิง่ กอ่ สร้ำง ๑) เมื่อโรงเรียนได้รับแจ้งเหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบ้ืองต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อแจ้ง สญั ญาณเตอื นภัย ๒) รายงานผอู้ านวยการโรงเรยี น ดาเนนิ การชว่ ยเหลือนกั เรยี นที่ประสบอุบตั เิ หตุ ๓) แจง้ เหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานเครอื ข่ายการมีส่วนร่วมเพ่ือรว่ มแก้ปัญหา ๕) ให้การดูแลชว่ ยเหลอื เดก็ นกั เรียน/คุม้ ครอง/ติดตาม ๖) จัดทาจัดเก็บข้อมูลการดาเนนิ งานสรุปผลการทางานและรายงานหน่วยงานต้นสังกัด และ ผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี ๒.๓ ภัยจำกยำนพำหนะ ๑)เม่ือโรงเรียนได้รับแจ้งเหตุหรือประสบเหตุตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นประเมินปัญหา สถานการณ์ ๒) รายงานผูอ้ านวยการโรงเรยี น ครทู ี่ปรกึ ษาตดิ ต่อศูนย์ฉุกเฉิน โทร. ๑๖๖๙ แจ้งเจา้ หน้าท่ี ตารวจ และแจง้ ผู้ปกครอง ๓) แจ้งเหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานงานติดตามอาการของเด็กนักเรียน และติดตามเรื่องการประกันภัยแจ้งทะเบียน รถ ประเภทรถท่ีประสบอุบัติเหตุ เพื่อสถานพยาบาลจะได้ดาเนินการค่าใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาล จาก พ.ร.บ. คมุ้ ครองผปู้ ระสบภยั จากรถ โดยผูป้ กครองนักเรยี นไม่ตอ้ งสารองจา่ ย ๕)แจง้ ความลงบนั ทกึ ประจาวนั ต่อเจา้ พนกั งานไว้เปน็ หลกั ฐานในการเรียกร้องสินไหมทดแทน ๖) กรณีท่ีเด็กนักเรียนทาประกันอุบัติเหตุกับบริษัทประกันภัย ให้ดาเนินการเรียกค่าเสียหาย และค่าสินไหมทดแทนหากมีปัญหา ให้ติดต่อประสานกับสานักงานคณะกรรมการกากับและ ส่งเสริม การประกอบธรุ กจิ ประกนั ภัย (คปภ.) ๗)กรณีเดก็ นกั เรยี นเสียชีวิตใหต้ ิดตอ่ ขอรบั ใบรบั รองของการเสยี ชวี ติ จากสถานพยาบาลในพื้นท่ี ๘) จัดเก็บข้อมลู การดาเนนิ งาน สรปุ ผลการทางานและรายงานหน่วยงานต้นสงั กดั และ ผเู้ กี่ยวข้องทราบตามกรณี
๒.๔ ภยั จำกกำรจดั กิจกรรม ๑) เมอื่ โรงเรียนได้รับแจง้ เหตุ ตรวจสอบข้อมลู เบ้ืองต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์ เพื่อระงับ เหตุ ท้งั ในโรงเรยี นและนอกโรงเรียน ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรียน ๓) แจง้ เหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานศูนย์ฉุกเฉนิ โทร. ๑๖๖๙ และประสานหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งในการแกไ้ ขปัญหา สนับสนุนข้อมูล และอานวยความสะดวกในการปฏิบัตงิ านของเจา้ หนา้ ท่ี ๕) ตรวจสอบจานวนนกั เรียน ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท่ปี ระสบอบุ ตั ิเหตุ ๖) ดาเนนิ การชว่ ยเหลือดา้ นรา่ งกาย ดา้ นจติ ใจ ใหค้ าปรึกษาแก่นักเรียน ๗) จัดเก็บข้อมูล การดาเนนิ งาน สรปุ ผลการทางานและรายงานหน่วยงานตน้ สงั กัด และ ผ้เู กี่ยวขอ้ งทราบตามกรณี ๒.๕ ภัยจำกเคร่อื งมอื อปุ กรณ์ ๑) เม่ือโรงเรยี นไดร้ บั แจง้ เหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมนิ ปัญหาสถานการณ์เพอื่ ระงับ เหตุ ท้ังในโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น ๒) รายงานผอู้ านวยการโรงเรยี น ๓) แจง้ เหตุในระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานศนู ยฉ์ กุ เฉนิ โทร. ๑๖๖๙ และประสานหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องในการแกไ้ ขปญั หา สนบั สนุนข้อมูล และอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจา้ หนา้ ท่ี ๕) ตรวจสอบจานวนนักเรียน ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาท่ปี ระสบเหตุ ๖) ดาเนินการช่วยเหลือด้านรา่ งกาย ดา้ นจติ ใจ ให้คาปรึกษาแกน่ ักเรยี น ๗) จดั เก็บข้อมลู การดาเนนิ งาน สรปุ ผลการทางานและรายงานหนว่ ยงานต้นสงั กัด และ ผู้เกย่ี วขอ้ งทราบตามกรณี ๓. ภยั ที่เกิดจำกกำรถูกละเมดิ สทิ ธิ์ (Right) ๓.๑ กำรถกู ปล่อยปละ ละเลย ทอดทิ้ง ๑) เมอ่ื โรงเรียนได้รบั แจง้ เหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบ้ืองตน้ ประเมินปัญหาสถานการณ์ ๒) รายงานผอู้ านวยการโรงเรยี น ๓) แจง้ เหตุในระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งในการแกไ้ ขปญั หา สนับสนนุ ข้อมลู และอานวยความ สะดวกในการปฏบิ ัติงานของเจ้าหนา้ ท่ี ๕) ตรวจสอบจานวนนกั เรยี น ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทปี่ ระสบเหตุ ๖) ดาเนนิ การชว่ ยเหลือด้านรา่ งกาย ดา้ นจิตใจ ให้คาปรกึ ษาแกน่ ักเรยี น ๗) จัดเกบ็ ข้อมูลการดาเนินงาน สรุปผลการทางานและรายงานหน่วยงานตน้ สังกดั และ ผเู้ กี่ยวขอ้ งทราบตามกรณี
๓.๒ กำรคุกคำมทำงเพศ ๑) เม่ือโรงเรียนได้รับแจ้งเหตุ หรือประสบเหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบ้ืองต้น ประเมินปัญหา สถานการณ์ ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรียน แจ้งครูท่ีปรึกษา หรือผู้ที่เก่ียวข้องในการดาเนินการ ช่วยเหลือ และแจ้งผปู้ กครอง ๓) แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center ๔) บนั ทึกข้อมลู ในระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนของโรงเรยี นและแจง้ หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ๕) ตดิ ตาม/ดูแลช่วยเหลอื /คมุ้ ครอง/ ให้คาปรึกษาแก่เด็กนักเรียน โดยคานึงถงึ ความปลอดภยั ๖) กรณีเด็กนักเรยี นทีม่ คี วามเสย่ี งต้อง ให้ได้รับการคุม้ ครอง/การสงเคราะห์ ในเบ้อื งตน้ โดย ทนั ที ๗) กรณีเด็กนกั เรียนต้องได้รบั การสงเคราะห์ให้เจ้าหนา้ ทสี่ ่งตอ่ ไปรับบริการสงเคราะห์ตาม ระเบยี บกระทรวงวา่ ด้วยการสงเคราะห์เดก็ นกั เรียน ๘) จัดเก็บข้อมูล การดาเนินงานสรุปผลการทางานและรายงานหน่วยงานต้นสังกัด และ ผเู้ กี่ยวขอ้ งทราบตามกรณี ๓.๓ กำรไม่ได้รับควำมเป็นธรรมจำกสงั คม ๑) เม่อื โรงเรียนได้รับแจง้ เหตุ ตรวจสอบข้อมลู เบื้องต้นประเมินปญั หาสถานการณ์ ๒) รายงานผอู้ านวยการโรงเรียน ๓) แจง้ เหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ตรวจสอบข้อเทจ็ จริง ๕) ประสานความรว่ มมือผ้ทู ่ีมีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง เพือ่ แก้ปัญหารายกรณี ๖) ดาเนนิ การช่วยเหลือดา้ นรา่ งกาย ดา้ นจติ ใจ ให้คาปรึกษาแก่นักเรียน ๗) จัดเกบ็ ขอ้ มูลการดาเนนิ งาน สรุปผลการทางานและรายงานหน่วยงานต้นสงั กดั และ ผเู้ ก่ยี วขอ้ งทราบตามกรณี ๔. ภัยที่เกิดจำกผลกระทบต่อสุขภำวะทำงกำยและจิตใจ (Unhealthiness) ๔.๑ ภำวะจติ เวช ๑) เม่อื โรงเรยี นได้รับแจง้ เหตุ ตรวจสอบขอ้ มลู เบ้ืองต้น ประเมินปญั หาสถานการณ์ ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรยี น แจง้ ผูป้ กครองเพอื่ นานกั เรียนเขา้ สกู่ ระบวนการคดั กรองโดย ผูเ้ ชย่ี วชาญเฉพาะทาง ๓) แจง้ เหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานความร่วมมอื หน่วยงาน/ผูท้ ่มี ีสว่ นเก่ียวข้อง เพ่อื แกป้ ญั หา ๕) แจ้งหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง เพอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ดูแล บรรเทาความเดอื ดรอ้ นของนกั เรยี น ๖) จัดเกบ็ ขอ้ มูล การดาเนินงาน สรปุ ผลการทางานและรายงานหน่วยงานต้นสังกัด และ ผ้เู กี่ยวข้องทราบตามกรณี ๔.๒ ติดเกม ๑) เมื่อโรงเรยี นได้รับแจง้ เหตุ ตรวจสอบขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ประเมนิ ปญั หาสถานการณ์ ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรียน แจ้งผปู้ กครอง ๓) แจง้ เหตใุ นระบบ MOE Safety Center
๔) ประสานความรว่ มมอื หนว่ ยงาน/ผู้ที่มสี ่วนเกี่ยวขอ้ ง เพ่อื แกป้ ญั หา ๕) แจง้ หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง เพือ่ ให้การชว่ ยเหลือ ดแู ล บรรเทาความเดอื ดร้อนของนักเรียน ๖) จัดเก็บขอ้ มูล การดาเนินงาน สรปุ ผลการทางานและรายงานหน่วยงานตน้ สังกัด และ ผู้เกี่ยวข้องทราบตามกรณี ๔.๒ ยำเสพติด ๑) เมื่อโรงเรียนได้รับแจ้งเหตุ หรือประสบเหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบ้ืองต้นประเมินปัญหา สถานการณ์ ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรียน ครูท่ีปรึกษา หรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการดาเนินการช่วยเหลือ และ แจง้ ผูป้ กครอง ๓) แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center ๔)ดาเนินการแก้ไขปัญหารายกรณีให้เป็นไปตามระเบียบกฎหมายโดยเน้นการไกล่เกลี่ย ประนีประนอมตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก และชว่ ยเหลอื นกั เรยี นดา้ นร่างกาย จติ ใจ ให้ คาปรกึ ษา แก่เดก็ นักเรยี น ๕) ตดิ ตาม/ดูแลชว่ ยเหลือ/คุ้มครอง/ ให้คาปรกึ ษาแกเ่ ด็กนกั เรียน โดยคานงึ ถึงความปลอดภัย ๖)กรณีเดก็ นักเรยี นที่มีความเส่ยี งต้องให้ไดร้ ับการคมุ้ ครอง/การสงเคราะห์ในเบอ้ื งต้นโดยทนั ที ๗) กรณเี ดก็ นกั เรียนต้องได้รบั การสงเคราะห์ใหเ้ จา้ หน้าท่สี ง่ ตอ่ ไปรบั บริการสงเคราะหต์ าม ระเบียบกระทรวงว่าด้วยการสงเคราะหเ์ ด็กนักเรยี น ๘) จดั เก็บขอ้ มลู การดาเนนิ งาน สรปุ ผลการทางานและรายงานหนว่ ยงานตน้ สังกดั และ ผูเ้ กี่ยวข้องทราบตามกรณี ๔.๔ โรคระบำดในมนุษย์ ๑) เม่ือโรงเรียนได้รับแจ้งเหตุ ตรวจสอบข้อมลู เบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์เพื่อระงับ เหตุท้งั ในสถานศกึ ษา และนอกสถานศึกษา ๒) รายงานผอู้ านวยการโรงเรียน ประสานศนู ยฉ์ ุกเฉนิ โทร. ๑๖๖๙ ๓) แจง้ เหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานความรว่ มมอื หน่วยงาน/ผู้ทม่ี ีส่วนเกีย่ วข้อง เพ่ือแกป้ ญั หา ๕) ตรวจสอบจานวนนักเรียน ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท่ีประสบภยั คัดกรอง และแยกผ้เู กิดโรคระบาดเพอ่ื รักษา และกลุ่มเส่ยี งเพือ่ ปอ้ งกันการแพรร่ ะบาด ๖) แจ้งหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้การช่วยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดือดร้อนของนักเรียน ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทีป่ ระสบภัย ๗) ดาเนินการช่วยเหลอื ด้านรา่ งกาย ด้านจติ ใจ ให้คาปรึกษาแก่นกั เรียน ๘) จดั ทาจดั เก็บขอ้ มลู การดาเนนิ งานของโรงเรียน สรปุ ผลการทางานและรายงาน หนว่ ยงาน ตน้ สังกดั และผู้เกีย่ วขอ้ งทราบตามกรณี ๔.๕ ภัยไซเบอร์ ๑) เมอ่ื โรงเรยี นได้รบั แจง้ เหตุ ตรวจสอบขอ้ มลู เบ้ืองต้น ประเมินปญั หาสถานการณ์ ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรยี น แจง้ ผ้ปู กครอง ๓) แจง้ เหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานความรว่ มมือหน่วยงาน/ผทู้ ี่มสี ว่ นเกี่ยวข้อง เพอ่ื แก้ปัญหา ๕) แจ้งหน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง เพอ่ื ให้การชว่ ยเหลอื ดูแล บรรเทาความเดอื ดร้อนของนักเรยี น
๖) จดั เกบ็ ขอ้ มูล การดาเนนิ งานของโรงเรยี น สรปุ ผลการทางานและรายงานหนว่ ยงานตน้ สังกดั และผ้เู กย่ี วขอ้ งทราบตามกรณี ๔.๖ ติดกำรพนัน ๑) เมื่อโรงเรียนได้รับแจง้ เหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมนิ ปัญหาสถานการณ์ ๒) รายงานผอู้ านวยการโรงเรียน แจ้งผู้ปกครอง ๓) แจ้งเหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานความรว่ มมอื หน่วยงาน/ผู้ที่มีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง เพ่อื แก้ปัญหา ๕) แจ้งหน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง เพอื่ ใหก้ ารชว่ ยเหลือ ดแู ล บรรเทาความเดอื ดรอ้ นของนักเรยี น ๖) จดั เกบ็ ข้อมลู การดาเนนิ งานของโรงเรียน สรปุ ผลการทางานและรายงานหน่วยงานต้น สังกดั และผเู้ กย่ี วข้องทราบตามกรณี ๔.๗ มลภำวะเปน็ พิษ ๑) เม่อื โรงเรียนไดร้ ับแจง้ เหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปัญหาสถานการณ์เพ่ือแจง้ เตือนนกั เรียน ๒) รายงานผ้อู านวยการโรงเรียน ประสานศูนยฉ์ ุกเฉิน โทร. ๑๖๖๙ ๓) แจง้ เหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานความรว่ มมือหน่วยงาน/ผู้ที่มสี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง เพอื่ แก้ปญั หา ๕) ตรวจสอบจานวนนักเรยี น ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทปี่ ระสบภัยคัดกรอง และแยกผ้เู กดิ โรคระบาดเพอ่ื รกั ษา และกลมุ่ เสย่ี งเพือ่ ป้องกนั การแพรร่ ะบาด ๖) หน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ ง เพ่อื ใหก้ ารช่วยเหลอื ดูแล บรรเทาเดือดรอ้ นของนักเรียน ขา้ ราชการ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทีป่ ระสบภยั ๗) ติดตาม/ดูแลชว่ ยเหลือ/คุ้มครอง/ ให้คาปรกึ ษาแก่เดก็ นกั เรยี น โดยคานึงถึงความปลอดภัย ๘) จดั เกบ็ ข้อมลู การดาเนนิ งานของโรงเรยี น สรปุ ผลการทางานและรายงานหน่วยงานตน้ สังกัด และผ้เู กย่ี วขอ้ งทราบตามกรณี ๔.๘ โรคระบำดในสตั ว์ ๑) เมือ่ โรงเรยี นไดร้ บั แจง้ เหตุ ตรวจสอบขอ้ มูลเบือ้ งต้นประเมนิ ปญั หาสถานการณ์เพื่อแจง้ เตือนนักเรียน ๒) รายงานผูอ้ านวยการโรงเรียน ประสานศูนยฉ์ กุ เฉิน โทร. ๑๖๖๙ ๓) แจ้งเหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน/ผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง เพอ่ื แก้ปญั หา ๕) ตรวจสอบจานวนนกั เรยี น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทปี่ ระสบภัยคดั กรอง และแยกผู้เกดิ โรคระบาดเพอ่ื รกั ษา และกล่มุ เส่ยี งเพื่อปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด ๖) แจ้งหน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เพอ่ื ให้การชว่ ยเหลือ ดแู ล บรรเทาความเดอื ดร้อนของนกั เรียน ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทป่ี ระสบภยั ๗) ดาเนินการช่วยเหลอื ด้านรา่ งกาย ดา้ นจิตใจ ให้คาปรึกษาแกน่ กั เรยี น ๘) จดั เก็บข้อมลู การดาเนนิ งานของโรงเรียน สรุปผลการทางานและรายงานหน่วยงานตน้ สงั กดั และผเู้ กี่ยวข้องทราบตามกรณี
๔.๙ ภำวะทพุ โภชนำกำร ๑) เมอ่ื โรงเรยี นไดร้ ับแจง้ เหตุ ตรวจสอบขอ้ มลู เบื้องตน้ ประเมินปญั หาสถานการณ์ ๒) รายงานผู้อานวยการโรงเรียน ๓) แจ้งเหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๔) ประสานความร่วมมือหนว่ ยงาน/ผู้ท่มี สี ว่ นเกีย่ วข้อง เพอื่ แก้ปญั หา ๕) แจ้งหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือ ดแู ล บรรเทาความเดือดร้อนของนักเรียน ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทป่ี ระสบภยั ๖) ดาเนินการช่วยเหลือด้านรา่ งกาย ด้านจิตใจ ให้คาปรกึ ษาแก่นกั เรยี น ๗) จัดเก็บข้อมูล การดาเนินงานโรงเรียน สรุปผลการทางานและรายงานหน่วยงานต้นสังกัด และผเู้ กย่ี วข้องทราบตามกรณี ๔.๑๐ กำรเขำ้ ค่ำยลกู เสือ/กำรทศั นศกึ ษำ ๑) ผปู้ ฏิบตั งิ านโครงการ/กิจกรรมตอ้ งศึกษาและปฏบิ ัตติ ามระเบียบกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร เรื่องการพานกั เรียนไปศกึ ษานอกสถานทโ่ี ดยเครง่ ครดั ๒) ผู้ปฏบิ ตั ิงานโครงการ/กจิ กรรมแต่งต้งั บคุ ลากรกาหนดความรับผิดชอบในดา้ นต่างๆดังน้ี - ฝา่ ยเส้นทางและยานพาหนะ - ฝา่ ยดแู ลนกั เรียน - ฝา่ ยพยาบาล - ศึกษารายละเอียดสถานที่ท่ีจะไป - ศกึ ษาและกาหนดเส้นทางการเดินทาง - ตรวจสอบยานพาหนะและผู้ขับข่ี - ทาหนงั สอื ขออนญุ าต ผบู้ ังคับบัญชาและผู้ปกครอง - จดั ทาประวัตนิ กั เรยี นและผรู้ ่วมเดนิ ทาง - ทาประกนั อุบตั ิเหตุใหก้ บั นกั เรียนและครูทกุ คนท่เี ดินทาง - จดั ทาปา้ ยช่อื ประจาตวั นักเรยี น ๓) เมื่อโรงเรียนไดร้ ับแจง้ เหตุ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ประเมินปญั หาสถานการณ์ ๔) รายงานผูอ้ านวยการโรงเรียน ๕) แจ้งเหตใุ นระบบ MOE Safety Center ๖) ประสานความร่วมมอื หน่วยงาน/ผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง เพอื่ แกป้ ญั หา ๗) แจง้ หนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้อง เพ่อื ใหก้ ารชว่ ยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดอื ดรอ้ นของนักเรียน ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาท่ปี ระสบภยั ๘) ดาเนนิ การช่วยเหลอื ด้านรา่ งกาย ดา้ นจิตใจ ให้คาปรกึ ษาแกน่ ักเรยี น ๙) จดั เก็บขอ้ มลู การดาเนินงานของโรงเรียน สรปุ ผลการทางานและรายงานหนว่ ยงานต้น สังกัด และผเู้ ก่ยี วขอ้ งทราบตามกรณี ๔.๑๑ กำรลงโทษนกั เรยี นหรือนกั ศึกษำ ๑) ผปู้ ฏบิ ตั ิหน้าท่ีศึกษาและปฏบิ ตั ิตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยการลงโทษ นักเรียนหรอื นกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยเครง่ ครดั ๒) เมื่อโรงเรยี นไดร้ บั แจง้ เหตุ ตรวจสอบข้อมลู เบ้ืองต้น ประเมนิ ปัญหาสถานการณ์ ๓) รายงานผ้อู านวยการโรงเรยี น
๔) แจ้งเหตุในระบบ MOE Safety Center ๕) ประสานความร่วมมอื หนว่ ยงาน/ผู้ท่มี ีสว่ นเกีย่ วข้อง เพื่อแกป้ ัญหา ๖) แจ้งหน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง เพ่ือให้การชว่ ยเหลือ ดูแล บรรเทาความเดอื ดร้อนของนกั เรยี น ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทป่ี ระสบภยั ๗) ดาเนนิ การชว่ ยเหลือดา้ นรา่ งกาย ดา้ นจิตใจ ใหค้ าปรึกษาแกน่ กั เรยี น ๘) จดั เก็บข้อมูลการดาเนนิ งานของโรงเรยี น สรปุ ผลการทางานและรายงานหนว่ ยงานต้น สงั กดั และผู้เก่ียวข้องทราบตามกรณี ๔.๑๒ กำรตรวจสอบ ปอ้ งกนั อำวธุ กำรป้องกันจำกกำรพกพำอำวธุ มำตรำกำรควำมปลอดภยั ๑) สถานศกึ ษา ผู้ปกครอง และชุมชน ตารวจจราจร ร่วมมอื กันกาหนดมาตรการเขา้ ออก สถานศึกษา ๒) แต่งตั้งคณะกรรมการเฝา้ ระวังป้องกนั นกั เรียนทมี พี ฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ และ สถานที่ จุดเส่ยี ง โดยเฉพาะห้องเรียนหอ้ งน้า ๓) การส่มุ ตรวจนักเรยี นที่เป็นกลมุ่ เสย่ี ง ๔) กาหนดมาตรการคดั กรองบคุ คลภายนอกตง้ั แตป่ ระตเู ขา้ โรงเรยี น ๕) ประสานเจ้าหน้าตารวจหรอื ผเู้ ชีย่ วชาญให้ความรูใ้ นการเอาตวั รวดในสถานการณ์ ฉกุ เฉนิ และโทษของการใชค้ วามรุนแรง ๖) จดั บรกิ ารให้คาปรึกษาแกน่ กั เรยี น ๗) ใช้ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนอย่างจรงิ จงั และตอ่ เน่อื ง ๘) ให้มผี ู้รบั ผิดชอบรายงานตามลาดับชนั้ ๙) นานกั เรียนเข้าสกู่ ารชว่ ยเหลอื โดยมีครดู แู ลตดิ ตามอยา่ งใกลช้ ิดและตอ่ เนอ่ื ง ๑๐) ประสานงานผู้ปกครองเพือ่ ใหค้ วามดแู ลช่วยเหลือ แผนเผชิญเหตุ ๑. เม่ือได้รับแจ้งเหตุหรือพบเจอนักเรียนหรือบุคคลภายนอกพกพาอาวุธ รายงานผู้บริหาร บริหารสถานศึกษา แจ้งครูผู้ดูแลงานความปลอดภัย แจ้งครูท่ีปรึกษาหรือผู้เก่ียวข้องในการ ด าเนิน การทนั ที เบอร์โทรในการแจ้งเหตุกรณสี ถานการณฉ์ กุ เฉินเกดิ ความความรนุ แรงโทร 191 ๒. แจ้งในระบบ MOE Safety Center ๓. กรณีเป็นนักเรียน ประสานเชิญผู้ปกครอง เพื่อรับทราบข้อเท็จจริงจากคาบอกเล่าของ นกั เรียน และร่วมกนั หาแนวทางปรับเปลยี่ นพฤติกรรม ๔. หากคกู่ รณีอยู่ในสถานศึกษาเดยี วกนั ให้หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากันเม่ือความขัดแย้ง ลดลง ครูฝ่ายกิจกรรมนกั เรียนจงึ จัดให้ทง้ั สองฝา่ ยไดพ้ บเพ่อื ปรับความเขา้ ใจและสรา้ งความสามัคคี ๕. หากเป็นบุคคลภายนอกผู้อ านวยการมอบหมายบุคคลที่เหมาะสมเป็นผู้ด าเนินการ แกป้ ัญหา ๖.จัดใหม้ ีนักเรียนเพอ่ื นทป่ี รึกษาส าหรับนักเรยี นที่อยรู่ ะหวา่ งการปรบั พฤติกรรม ๗.กรณีนักเรียนถูกเจ้าหน้าที่ควบคุมตัว ทางโรงเรียนจะออกหนังสือรับรองการเป็น นักเรียน ให้ หากตอ้ งประกนั ตวั สามารถใช้ต าแหน่งทางราชการได้
๔.๑๓ กำรจดั ระเบยี บยำนพำหนะ มำตรกำร ตรวจสอบ รถโรงเรียนและรถรบั สง่ นกั เรยี น ๑.ประสานหน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง ก าหนดมาตรการ ควบคุม กากับดูแล และบังคับใช้ กฎหมาย ๒. ลงพน้ื ท่ีเพอ่ื ตรวจสอบความปลอดภัยของรถโรงเรียนและรบั สง่ นกั เรยี นทุกคนั ๓. เข้มงวดรถรบั ส่งนกั เรยี นทีไ่ ม่ไดร้ ับอนญุ าตอยา่ งจรงิ จงั ดำ้ นตวั รถ - ต้องได้รบั อนุญาตอยา่ งถูกตอ้ ง และผา่ นมาตรฐานการรบั รองรองทกี่ รมการขนสง่ กาหนด - ผ่านการตรวจสอบสภาพตัวรถต้องมสี ภาพมั่นคงแข็งแรง - ห้ามมีการแกไ้ ขดดั แปลงสภาพตวั รถหรืออุปกรณ์สว่ นควบทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ความ ปลอดภยั โดยเด็ดขาด - สายด่วน 1584 ดำ้ นคนขับและผปู้ ระจำรถ - ผูข้ ับต้องไดร้ บั ใบอนญุ าตการขบั รถยนต์ส่วนบุคคลมาแล้วไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปี หรือได้รับ ใบอนญุ าตขบั รถยนตส์ าธารณะ หรือเป็นผู้ขับรถตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการขนส่งทางบก - ผูค้ วบคุมดูแลนกั เรยี น มีอายไุ มต่ ่ากวา่ 19 ปี กาหนดแนวทางปฏบิ ตั ินารอนญุ าตใหใ้ ช้รถจ้าง รบั ส่งนกั เรียน - รถยนต์สว่ นบคุ คล เกนิ 7 คน แต่ไมเ่ กิน 12 คน - รถสองแถวหรอื รถตู้ พร้อมตดิ สญั ญานไปสเี หลือง และปา้ ยรถโรงเรยี น - ที่น่ังผโู้ ดยสารต้องยดื แนน่ และต้องไม่มพี ื้นท่ีสาหรับนกั เรยี นยนื พร้อมเครอื่ งมืออุปกรณ์ กรณี ฉกุ เฉิน - รถสองแถวตอ้ งมปี ระตู และกัน้ ปอ้ งกันนักเรียนตก - รถตตู้ อ้ งจดั วางทน่ี ง่ั เป็นแถว ตอนตามความกวา้ งของรถเท่านนั้ ตน้ แบบรถรบั สง่ นกั เรยี น 9 ด้าน ๑. คณะทางานระดับจังหวดั หรอื อาเภอที่เมีองทมี่ อี งคก์ รท่เี ก่ียวข้องเข้ามามสี ว่ นรว่ ม ร่วมกบั โรงเรียน ๒.กลไกลการจดั การรถรบั ส่งนกั เรยี นของโรงเรยี นครผู ู้รบั ผดิ ชองนกั เรียน/ผปู้ กครอง/ กรรมการสถานศกึ ษา - การประสานงาน - การใหค้ วามรู้ - การส่อื สาร ๓.ระบบขอ้ มลู - ข้อมลู นักเรยี น - ข้อมูลรถและผู้ประกอบการ - เส้นทางเดนิ รถ-เส้นทางเสี่ยง - พฤตกิ รรมคนขบั ๔. ระบบกลไกเฝา้ ระวังและการส่ือสารนักเรียน/คร/ู ผปู้ กครอง/ผู้ประกอบการ ๕. ระบบการดแู ลในรถ มีครู/นกั เรียนควบคุมดูแลนักเรยี นในรถ/การสอ่ื สาร ๖. การรวมกลุม่ ของผู้ประกอบการ/คนขบั รถรบั ส่งนักเรยี น(ผปู้ ระกอบการควรมีข้อมลู /ความรู้)
๗.มาตรฐานและรับรอง - ระบบรับรองของโรงเรยี น - มาตรฐานรถ - การขนึ้ ทะเบยี นกับขนสง่ - การประกนั ภยั รถ ๘.การจัดการจดุ จอดรถ/ถนนการกาหนดจดุ จอดรถท่ปี ลอดภยั ระบบความปลอดภยั ของ ถนนหนา้ โรงเรยี น ๙.ระบบตดิ ตาม/ประเมนิ ระบบการจัดการทง้ั ระบบ 4.14 ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติในพน้ื ท่ี 2 P 2 R แนวทางการจดั ทาแผนเผชญิ เหตุ กอ่ นเกดิ เหตุ P1 การป้องกันและลดผลกระทบ การดาเนนิ การเพอื่ ขจดั หรอื ลดโอกาสท่ภี ยั ตา่ ง ๆ จะสรา้ งผลกระทบตอ่ นักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา และสถานศึกษา P2 การเตรียมความพรอ้ ม การดาเนินงานเพอื่ ให้นักเรยี น นักศึกษา ครบู ุคลากรทางการศกึ ษาใหม้ คี วามรู้ มีทกั ษะ พรอ้ ม ท่ีจะเผชิญกบั ภยั ระหวา่ งเกดิ เหตุ R1 การเผชิญเหตุ ให้ความสาคัญกับการรักษาชีวิตของผู้ประสบภัยจัดพ้ืนท่ีปลอดภัย การกู้ภัย กู้ชีพ และส่งต่อ สถานพยาบาลเพอ่ื การักษา มกี ารสือ่ สารในภาวะฉกุ เฉนิ และมีระบบบัญชาการเหตุการณ์ หลังเกดิ เหตุ R2 การฟ้นื ฟู ชว่ ยเหลือ เย่ียวยา การจัดการภายหลังเกิดภัยให้นักเรียนนักศึกษา ครูและบุคลากรการศึกษา นักศึกษากลับสู่ ภาวะปกติหรือดีกว่ามกี ารดาเนินการทางกฎหมาย การขอรับการสงเคราะห์ หรือการขอรับการ จัดสรร งบประมาณ 4.1๕ ภัยพายฤุ ดูรอ้ น แนวทางการปอ้ งกันในชว่ งปดิ ภาคเรยี นของหนว่ ยงานทางการศึกษาและสถานศึกษา 1.ติดตามการแจ้งเตอื นภยั การสื่อสารความเสีย่ งจากหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้อง 2.จัดเวรยามทัง้ กลางวันและกลางคนื จดั ให้มรี ะบบการสื่อสารทีร่ วดเรว็ ฉบั ไว จดั ให้มีแผน เผชิญเหตุ มีการซอ้ มแผนเผชิญเหตุ 3. แจ้งเตอื นการดแู ลสขุ ภาพ แจง้ เตือนไปยังนักเรียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาได้ ดูแล สขุ ภาพและเตรียมความพรอ้ มรับมือกบั สถานการณ์ฉุกเฉนิ ท่ีอาจจะเกดิ ข้ึน 4.ตดั แตง่ ต้นไม้ภายในโรงเรยี กรณีมตี ้นไมข้ นาดใหญ่ใกล้อาคารเรยี นหรอื บรเิ วณโรงเรียน หรือ อยใู่ กลพ้ ื้นท่ีปา่ ใหต้ ดั แตง่ ต้นไม้ จัดแนวทางการปอ้ งกันไฟฟ้าภายในโรงเรยี น 5.ตรวจสอบอุปกรณไ์ ฟฟ้า ตรวจสอบอปุ กรณไ์ ฟฟ้าให้อยใู่ นสภาพเพอื่ ความปลอดภัย สาหรับ การใช้ไฟฟา้ ๖.อานวยความสะดวกดา้ นสถานท่ี อานวยความสะดวกใชเ้ ปน็ สถานที่อพยพและศนู ย์พกั พงิ ชั่วคราวกรณีเกดิ สถานการณฉ์ กุ เฉิน ขอให้ความช่วยเหลอื อยา่ งเตม็ กาลงั ความสามารถ
๗. รายงานผลกระทบและการดาเนินการมายังกระทรวงศึกษาการกรณีฉุกเฉิน เม่ือเกิด สถานการณ์ฉุกเฉินให้รับรายงานผลกระทบและการดาเนินการท่ีเกี่ยวข้องมายังกระทรวงศึกษาธิการ โดยผ่านชอ่ งทางในระบบ MOE Safety Center 4.1๖ โรคลมแดด ภยั ที่เกยี่ วกับหน้ารอ้ น การปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น - หลบแดด เปดิ พัดลม นอนราบ ยกเท้าสูง ประคบเยน็ ตามชอกตวั จบิ น้า - กรณอี าการหนกั มาก ใหน้ อนราบหรือตะแคง หากอาเจียน ห้ามดืม่ นา้ จะทาใหเ้ กดิ อนั ตราย - กรณีอุณหภูมิร่างกายสูงถึง 41 องศา ผิวแห้ง ร้อน ชีพจรเต้นเร็ว ห้ามด่ืมน้า จะทาให้เกิด อนั ตรายรนุ แรงได้ - หากมีอาการรุนแรง รบี ขอตความชว่ ยเหลอื จากทีมแพทย์ วิธกี ารป้องกนั - หลกี เลีย่ งการอยู่กลางแดด - ด่มื น้าให้เพียงพอ - ใส่เส้ือผา้ ทร่ี ะบายความรอ้ นไดด้ ี - หลีกเลยี่ งเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ชา กาแฟ และอาหารรสหวานจดั 4.1๗ ภยั หนาว แนวทางการบรหิ ารจดั การภยั หนาวของหน่วยงานทางการศกึ ษา และสถานศึกษา 1.จดั ตง้ั หน่วยเฉพาะกิจ 2.มคี ณะกรรมการรว่ มปฏบิ ัตงิ าน 3.จัดทาแผนเผชญิ เหตุ 4.ประสานความรว่ มมอื เครือข่ายในพ้นื ที่ 5.ตดิ ตามสถานการณ์ ให้การช่วยเหลือ ใหก้ ารสงเคราะห์ 6.วางระบบการติดตอ่ สอ่ื สาร การรายงานชว่ ยเหลือตน้ สงั กัด 4.1๘ เด็กนักเรียนจมน้า การปอ้ งกนั 1.ไมใ่ ห้เด็กไปเล่นน้าตามลาพัง 2.สอนวิธีวา่ ยนา้ เอาชวี ิตรอด ขอความชว่ ยเหลือ 3.สวมอปุ กรณ์ป้องกันกอ่ นลงนา้ 4.สร้างรัว้ กนั้ ปา้ ยเตือน 5.เตรยี มอปุ กรณช์ ว่ ยคนตกน้าบริเวณแหลง่ น้าเสีย การชว่ ยเหลือ 1.ตะโกนเรียกขอความชว่ ยเหลอื 2.โยนอุปกรณ์ทอ่ี ยใู่ กลต้ วั ชว่ ยเหลือคนตกน้าเกาะจบั พยุงตวั 3.ยื่น อปุ กรณท์ ่อี ย่ใู กลต้ วั ให้คนตกนา้ จบั และดงึ ขนึ้ จากน้า
แนวทางการช่วยเหลือดูแล เยียวยา และการแก้ไขปัญหาให้กับ นักเรียน ครู และบุคลากรทางการ ศึกษา เมื่อเกิดเหตกุ ารณ์ 1. จัดกำรและแกไ้ ขให้ควำมชว่ ยเหลอื หำกเกิดเหตกุ ำรณ์ 1. สถานศกึ ษามีแนวปฏบิ ัตกิ ารจดั การหรอื การระงับเหตุการณ์ชว่ ยเหลือเมอื่ เกิดเหตใุ น สถานศึกษา 2. สรา้ งความตระหนักประชาสมั พนั ธ์และสรา้ งการรับรู้แนวปฏิบัตกิ ารจดั การและการ ช่วยเหลอื ท้งั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา 3. เตรยี มบุคลากรและเครือ่ งมือใหพ้ ร้อมรับสถานการณ์ เช่น การซ้อมดับเพลงิ การซอ้ มหนี ไฟ การปฐมพยาบาลเบ้อื งตัน เปน็ ต้น 2. คดั กรองและช่วยเหลือเบอื้ งต้นในสถำนศกึ ษำ 1. ตรวจสอบข้อมลู เบอื้ งตัน ประเมินสถานการณแ์ ละคดั กรองใหก้ ารช่วยเหลอื ผ้เู รยี นและผู้ ไดร้ ับ ผลกระทบในสถานศกึ ษา 2. ใหก้ ารช่วยเหลอื เบ้ืองต้นกบั ผเู้ รียนและผูไ้ ด้รับผลกระทบในสถานศกึ ษา เพ่ือให้ผ้ปู ระสบ เหตมุ ีความ ปลอดภัยหรือลดระตบั ความรนุ แรงของเหตุการณ์ 3. กาหนดขั้นตอนและวธิ กี ารแจ้งเหตหุ รอื ระงับเหตุ สามารถชว่ ยเหลอื ดา้ นรา่ งกายและ จิตใจ พร้อม ประเมนิ สถานการณ์เบ้ืองต้นได้ทันที 4. ผู้ท่ีไดร้ บั แจ้งเหตุดาเนนิ การช่วยเหลอื ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจพร้อมประเมนิ สถานการณ์ เบอื้ งต้นโดยทันที 3. จัดกำรและประสำนควำมร่วมมอื กับหน่วยงำนทเี่ กี่ยวข้อง 1. กาหนดชอ่ งทางประสานพเิ ศษเพอื่ ขอการสนบั สนุนช่วยเหลือจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ เมือ่ มี ภาวะวกิ ฤตเกดิ ขึ้น เชน่ ฝา่ ยปกครอง โรงพยาบาล สถานีตารวจ สาธารณสขุ เป็นตน้ 2. สถานศกึ ษาระบเุ หตุชว่ ยเหลอื เมือ่ เกดิ เหตุในสถานศึกษา เช่น การเก็บข้อมูล การรบั ฟงั การเจรจา ต่อรอง การประสานความรว่ มมอื เปน็ ต้น 3. สง่ ต่อผ้เู รยี นและผไู้ ดร้ บั ผลกระทบท่ีซัดเจน (กรณที ี่ส่งต่อ)มขี น้ั ตอนส่งต่อท่ชี ดั เจนเปน็ การเฉพาะ กับสถานการณ์เพอ่ื ให้ผูป้ ระสบเหตุได้รับการบาบัดรกั ษาท้งั ต้าน ร่างกายและจิตใจจากผู้เชีย่ วชาญ เฉพาะทาง 4. ติดตามและประสานงานในการประเมินสภาพจติ ใจของนกั เรียนมีการประสานงาน ตดิ ตามและประเมินสถานการณห์ ลังไดร้ ับการดูแลชว่ ยเหลือ
บทบาทของหนว่ ยงาน ท่เี ก่ยี วข้อง สถานศึกษา สถานศึกษาเปน็ หนว่ ยงานทเี่ ผชญิ เหตคุ วามปลอดภัย จึงมีความสาคญั ในการดาเนนิ งานด้านความ ปลอดภยั ตลอดจนการลดระดบั ความรุนแรงของภัยทจี่ ะเกดิ ขึน้ โดยตรงระงบั เหตุการณ์ ความไมป่ ลอดภัย หรือ แก้ไขปัญหา เม่อื เกิดเหตุการณ์ ไม่ปลอดภยั มบี ทบาทหนา้ ท่ี ดังนี้ ๑. เมื่อเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยหรอื รับแจ้งเหตุ จากระบบ MOE Safety Center - สามารถแจ้งเหตไุ ด้ ๔ ชอ่ งทาง - Application MOE Safety Center - www.MOESafetyCenter.com, - LINE@MOESafetyCenter - call center o-๒๑๒๖-๖๕๖๕ ๒. ตรวจสอบข้อมูลเบ้ืองตน้ ประเมนิ ปัญหาสถานการณ์ เพ่อื ระงบั เหตกุ ารณค์ วามไม่ปลอดภยั หรอื แกไ้ ข ปัญหา ๓. รายงานผูบ้ ังคบั บัญชาตามลาดบั ชัน้ และรายงานในระบu MOE Safety Center ๔. ระงับเหตุการณค์ วามไม่ปลอดภัย หรอื แก้ไขปญั หาประสานหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องเพอื่ รว่ มกนั แกไ้ ข ปัญหา ๕. คุม้ ครอง ดูแลชว่ ยเหลือแก้ไข และเยียวยา ๖. ดาเนินการช่วยเหลอื ด้านรา่ งกาย ดา้ นจติ ใจ ใหค้ าปรกึ ษา ๗. สรุป รายงานผล เบอร์ติดตอ่ หนว่ ยงำนที่เกีย่ วข้อง ๑. สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาแมฮ่ ่องสอน เขต ๒ โทร.0-5362-1303 โทรสาร.0-5368-1329 E-mail: [email protected] สถานที่ทางาน 178 ถนนเวยี งใหม่ ตาบลแมส่ ะเรียง อาเภอแมส่ ะเรยี ง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน 58110 ๒. บ้านพักเดก็ และครอบครวั จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน โทรศพั ท์ : 053 695 001 สถานทีท่ างาน 919 หมู่ 8 ตาบลปางหมู อาเภอเมอื ง จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน 58000 ๓.สานักงานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน โทรศพั ท์ : 053-612205 โทรสาร : 053-611261 Line OA: @702knqai สถานทีท่ างาน ศาลากลางหลังใหม่ ชั้น 1 ถนนขนุ ลมุ ประพาส ตาบลจองคา อาเภอเมือง แมฮ่ อ่ งสอน จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน
๔.ศูนย์พฒั นาราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงจังหวดั แม่ฮอ่ งสอน โทร 053-687983-4 E-mail : [email protected] Tiktok : https://www.tiktok.com/@highlandmhs ๕. สานกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน โทรศพั ท์ : 053-614313 หรือ สายดว่ น ๑๗๘๔ ๖. โรงพยาบาลสบเมย โทรศพั ท์ : 053 618 080 ๗. ศาลจงั หวดั แมส่ ะเรยี ง โทรศพั ท์ : 053 681 297 ทอ่ี ยู่: 16 ถ. เวียงใหม่ ตาบล แมส่ ะเรียง อาเภอแม่สะเรยี ง แม่ฮอ่ งสอน 58110 เบอร์ติดตอ่ หนว่ ยงำนทเ่ี ก่ยี วขอ้ งในทอ้ งถนิ่ 053 618 110 ๑. สถานีตารวจภธู รอาเภอสบเมย 053 618 080 ๒. โรงพยาบาลสบเมย 053 613 007 ๓. ศนู ยด์ ารงธรรมจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน 199 ๔. แจ้งเหตุเพลงิ ไหม้ 1669 ๕. เจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉิน 191 ๖. แจ้งเหตุรา้ ย เหตดุ ว่ น
แหล่งอำ้ งองิ คมู่ ือการดาเนินงานความปลอดภัยสถานศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน คมู่ ือการคุ้มครองและชว่ ยเหลอื เด็กนกั เรียนของสถานศกึ ษา สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (ฉบบั พัฒนา พ.ศ. ๒๕๖๓) ค่มู ือแนวทางปฏบิ ัตแิ ละมาตรการรักษาความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ คู่มือโครงการเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานใน สถานศกึ ษา มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ สานักมาตรฐานการศึกษาและ พัฒนาการเรียนรู้ สานักงาน เลขาธกิ าร สภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรฐานโรงเรียนคุ้มครองเด็ก แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานโรงเรียนคุ้มครองเด็ก คู่มือการรับมือ แผน่ ดนิ ไหว คู่มอื การเผชญิ เหตคุ วามปลอดภัยสถานศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน คู่มือการปฏิบัติสาหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ พระราชบญั ญตั ิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความ ปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกย่ี วกับการป้องกันและระงบั อัคคีภยั พ.ศ. ๒๕๕๕ กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความ ปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกย่ี วกับสารเคมอี ันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖
ภำคผนวก
ประกาศโรงเรียนบา้ นแมเ่ กาะวทิ ยา เรอื่ ง แต่งต้งั คณะกรรมการความปลอดภัยโรงเรยี นบ้านแมเ่ กาะวทิ ยา --------------------------------------------------- เพื่อให้การบริหารความปลอดภัยของโรงเรียนบ้านแม่เกาะวิทยา เป็นไปด้วยความเรียบร้อยมี ประสทิ ธิภาพในการให้บริการและแก้ไขปญั หา บรรลุวตั ถุประสงคต์ ามนโยบายความปลอดภัยในการเสรมิ สร้าง ความปลอดภยั ให้แก่นักเรยี น ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ ๒๕๔๖ และโดยความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานโรงเรยี นบา้ นแมเ่ กาะวทิ ยา ใน คราวประชุมคร้ังที่ 2 เมอ่ื วันที่ 12 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 โรงเรียนบา้ นแม่เกาะวทิ ยา จงึ แต่งตั้ง คณะกรรมการความปลอดภัยโรงเรยี น ประกอบดว้ ย ๑. ทปี่ รึกษา ๑.๑ นายนา พทิ กั ษ์ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ๑.๒ นายอทุ ยั นามวนา ผใู้ หญบ่ า้ นแม่เกาะ ๑.๓ นาย ศ.สงวน ดาววนาชยั สมาชิก อบต. แมค่ ะตวน ๑.๔ ด.ต. นครินทร์ โพธ์ดิ ี เจ้าหน้าทีต่ ารวจ ประจา สภ.สบเมย มีหน้าท่ี ใหค้ าแนะนาทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ การดาเนินงาน ๒. คณะกรรมการ ๒.๑ นายนภศูล สมวิสตั ย์ ประธานกรรมการ ผ้อู านวยการโรงเรยี นบา้ นแมเ่ กาะวทิ ยา ๒.๒ นายธนทตั เพียรวทิ ย์ รองประธานกรรมการ พนกั งานราชการโรงเรียนบ้านแม่เกาะวิทยา ๒.๓ นางรจุ ิกาญจน์ ปดุ๊ พรม กรรมการ ครู ค.ศ.๓ โรงเรยี นบ้านแมเ่ กาะวทิ ยา ๒.๔ นางสาวนภสั วรรณ คาใส กรรมการ พนักงานราชการโรงเรยี นบ้านแม่เกาะวิทยา 2.5 นางสาวศศิประภา ตอ่ วรรณะ กรรมการ ครู ค.ศ.2 โรงเรยี นบ้านแมเ่ กาะวิทยา 2.6 นางสาวสชุ าดา สขุ ใกล้พระ กรรมการ ครู ค.ศ.2 โรงเรยี นบา้ นแม่เกาะวทิ ยา
2.7 นางสาววนั เพ็ญ ไผทพทิ กั ษว์ งค์ กรรมการ ครู ค.ศ.1 โรงเรียนบา้ นแมเ่ กาะวิทยา ๒.8 นางพรทพิ ย์ ธรรมยศ กรรมการเลขานุการ ครู ค.ศ.๑ โรงเรยี นบา้ นแมเ่ กาะวิทยา ปฏิบตั ิหน้าที่ เจา้ หน้าท่ี SC Operator ๒.9 นางปรานี เต๋จ๊ะ กรรมการเลขานุการ ครู ค.ศ.๓ โรงเรียนบ้านแมเ่ กาะวทิ ยา ปฏบิ ัติหน้าท่ีเจ้าหน้าท่ี SC Action โรงเรยี นบ้านแม่เกาะวิทยา มีหนา้ ท่ี เสริมสร้างความปลอดภัย จัดให้มีรูปแบบ หรือกระบวนการในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้ เกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุขและได้รับการปกป้อง คุ้มครองความปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและ จิตใจ จัดให้มีกิจกรรมเสริมสร้างทักษะให้นักเรียนมีความสามารถในการดูแลตนเองจากภัยอันตรายต่าง ทา่ มกลางสภาพแวดลอ้ มทางสังคมทเ่ี ปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ทัง้ นต้ี ง้ั แตบ่ ดั นเี้ ป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ 14 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ (ลงชื่อ) (นายนภศูล สมวิสัตย์ ) ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านแม่เกาะวิทยา
คา้ สัง่ โรงเรยี นบ้านแมเ่ กาะวิทยา ท่ี ๓1 / ๒๕๖๖ เรื่อง แต่งตัง้ เจา้ หนา้ ท่ีดแู ลระบบ MOE Safety Center ของโรงเรยี นบ้านแม่เกาะวทิ ยา --------------------------------------------------- เพื่อให้การบริหารจัดการระบบ MOE Safety Center ของโรงเรียนบ้านแม่เกาะวิทยา เป็นไปด้วย ความเรยี บร้อย มปี ระสิทธภิ าพในการใหบ้ ริการและแก้ไขปัญหาดา้ นความปลอดภยั อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๓๙ แหง่ พระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ ๒๕๔๖ โรงเรยี นบ้านแม่เกาะวิทยาแตง่ ตัง้ เจ้าหน้าทดี่ ูแลระบบ MOE Safety Center ของโรงเรยี นบา้ นแม่ เกาะวิทยา ประกอบดว้ ย ๑. เจา้ หนา้ ที่ Super SC Operator ๑.๑ นายนภศูล สมวิสตั ย์ หัวหน้า ผ้อู านวยการโรงเรยี นบ้านแม่เกาะวทิ ยา ๑.๒ นางปรานี เต๋จะ๊ เจ้าหนา้ ที่ ครู ค.ศ.๓ โรงเรยี นบา้ นแม่เกาะวิทยา ๑.๓ นางพรทิพย์ ธรรมยศ เจา้ หน้าท่ี ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนบา้ นแมเ่ กาะวทิ ยา ปฏบิ ัตหิ น้าที่ เจ้าหนา้ ที่ SC Operator ๑.๔ นางสาวนภัสวรรณ คาใส เจา้ หน้าท่ี พนกั งานราชการ โรงเรียนบ้านแม่เกาะวทิ ยา ผทู้ ่ีได้รับมอบหมายให้ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี SC Action มหี น้าท่ี รบั ผดิ ชอบในการแกไ้ ขปญั หา เป็นผดู้ าเนินงานต่อหลงั จากท่ี SC Operator ไดท้ าการรับเรื่อง และอนุมัติส่งต่อเจา้ หน้าที่ SC Action ดาเนินการแก้ไขปญั หา วเิ คราะห์ หาขอ้ สรปุ การแก้ไขปญั หารายงานผล การดาเนินการ จนถึงอนุมัติปิด CASE หรือการอนุมัติส่งต่อไปยังสถานศึกษาหากเป็น CASE ท่ีอยู่ในอานาจ หน้าที่ของสถานศึกษา หรืออนุมัติส่งต่อไปยังสานักงานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีอยู่ในอานาจ หน้าทข่ี องสานกั งานคณะกรรมการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ๒. เจา้ หนา้ ที่ SC Operator ๒.๑ นางปรานี เตจ๋ ะ๊ หัวหน้า ตาแหน่ง ครู ค.ศ. ๓ ปฏิบตั หิ น้าทีห่ วั หนา้ SC Operator ๒.๒ นางพรทิพย์ ธรรมยศ เจ้าหนา้ ที่ ตาแหน่ง ครู ค.ศ. ๑ ผ้ทู ไ่ี ดร้ บั มอบหมายปฏิบัติหนา้ ท่ี SC Action
มีหนา้ ท่ี Moderator ระบบ MOE Safety Center รบั Case ทแ่ี จง้ เข้ามายังสานกั งานเขตพื้นที่ การศกึ ษา สรุปเหตกุ ารณ์ เลือกปัญหาความไมป่ ลอดภัยท่เี กดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ประสานส่งตอ่ และรายงาน ขอ้ มลู ไปยังเจา้ หน้าที่ SC Action หรอื สถานศึกษาในสังกดั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 3. เจา้ หน้าท่ี SC Action 3.๑ นางรุจกิ าญจน์ ปดุ๊ พรม หวั หน้า ครู ค.ศ๓ โรงเรยี นบา้ นแมเ่ กาะวิทยา ปฏบิ ตั ิหน้าทหี่ ัวหน้า SC Action 3.๒ นางสาวนภัสวรรณ คาใส เจา้ หน้าที่ พนกั งานราชการ โรงเรียนบ้านแมเ่ กาะวิทยา ผทู้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมายปฏิบตั ิหนา้ ที่ SC Action มหี น้าท่ี รบั ผดิ ชอบในการดาเนนิ การแก้ไขปัญหา ประสานงานเพื่อใหเ้ กดิ ความเปน็ ธรรมแก้ทกุ ฝา่ ยหา ข้อสปุ การแกไ้ ขปัญหา รายงานผลการดาเนินงาน ๔. เจา้ หน้าท่ี Admin ๔.๑ นางสาวศศปิ ระภา ต่อวรรณะ หัวหน้า ครู ค.ศ.2 โรงเรียนบ้านแม่เกาะวิทยา ๔.๒ นางสาวสุชาดา สขุ ใกล้พระ เจ้าหนา้ ที่ ครู ค.ศ.2 โรงเรยี นบ้านแม่เกาะวทิ ยา ๔.๓ นางสาววนั เพ็ญ ไผทพทิ ักษว์ งค์ เจ้าหนา้ ที่ ครู ค.ศ.1 โรงเรียนบ้านแมเ่ กาะวทิ ยา มหี นา้ ท่ี รับผดิ ชอบในการเพ่ิมหนว่ ยงานของสถานศึกษาในสงั กดั การเชญิ สมาชิกเข้าสู่หนว่ ยงานและ การกาหนดบทบาทหนา้ ทีภ่ ายในหน่วยงาน รวมถงึ การปรบั ปรงุ แกไ้ ข และลบ หนว่ ยงานสถานศึกษา สมาชกิ และบทบาทหนา้ ท่ีภายในหนว่ ยงาน ใหข้ ้าราชการครูและบคุ ลากรทไ่ี ดร้ บั แต่งตั้งปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีด้วยความรบั ผิดชอบซอ่ื สตั ย์ โปรง่ ใส มีความ เปน็ ธรรม รวดเร็ว และรอบคอบ ท้งั น้ตี ้ังแตบ่ ัดนเ้ี ป็นต้นไป สั่ง ณ วนั ที่ 14 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ (ลงชอื่ ) (นายนภศลู สมวสิ ัตย์ ) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแมเ่ กาะวทิ ยา
แบบมอบหมายงานเจา้ หน้าทีด่ ูแลระบบ MOE Safety Center โรงเรียนบา้ นแมเ่ กาะวทิ ยา เขยี นท่ี โรงเรยี นบ้านแม่เกาะวทิ ยา วนั ท่ี ๑4 กรกฎาคม ๒๕๖๖ ข้าพเจ้า นายนภศูล สมวิสัตย์ ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน/โรงเรียนบ้านแม่เกาะวิทยา รหัส หน่วยงาน /สถานศึกษา ๑๐๕๘๔๒๐๒๖๘ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มอบหมายงานในหน้าท่ี เจ้าหน้าที่ดูแล ระบบ MOE Safety Center ตามคาสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ MOE Safety Center ลงวันท่ี ๑4 กรกฎาคม ๒๕๖๖ รายชอื่ ดังนี้ 1. เจา้ หนา้ ท่ี Super SC Operator ๑.๑ นายนภศลู สมวสิ ัตย์ ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรยี น E-mail : [email protected] Tel : ๐๙๘๗๖๑๙๕๗๒ ๑.๒ นางปรานี เตจ๋ ๊ะ ตาแหน่ง ครู คศ ๓ E-mail : [email protected] Tel : ๐๙๗๙๖๒๐๑๓๓ ๑.๓ นางพรทิพย์ ธรรมยศ ตาแหน่ง ครู ค.ศ๑ E-mail : [email protected] Tel : ๐๖๕๔๓๑๙๖๔๒ ๑.๔ นางสาวนภัสวรรณ คาใส ตาแหน่งพนกั งานราชการ E-mail : [email protected] Tel : ๐๙๘๘๑๓๙๐๐๘ มีหนา้ ที่ รับผดิ ชอบในการแกไ้ ขปัญหา เป็นผดู้ าเนินงานตอ่ หลังจากท่ี SC Operator ไดท้ าการรบั เรอ่ื ง และอนมุ ัติส่งต่อเจ้าหน้าที่ SC Action ดาเนินการแก้ไขปญั หา วเิ คราะห์ หาขอ้ สรุปการแกไ้ ขปัญหารายงานผล การดาเนนิ การ จนถึงอนมุ ตั ิปดิ CASE หรอื การอนุมัตสิ ง่ ตอ่ ไปยังสถานศึกษาหากเป็น CASE ทีอ่ ยูใ่ นอานาจ หน้าท่ีของสถานศึกษา หรืออนุมัติสง่ ต่อไปยังสานกั งานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานทอี่ ย่ใู นอานาจ หนา้ ท่ขี องสานกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 2. เจ้าหน้าท่ี Operator 2.๑ นางปรานี เต๋จ๊ะ ตาแหน่ง ครู คศ ๓ E-mail : [email protected] Tel : ๐๙๗๙๖๒๐๑๓๓ 2.๒ นางพรทพิ ย์ ธรรมยศ ตาแหน่ง ครู ค.ศ๑ E-mail : [email protected] Tel : ๐๖๕๔๓๑๙๖๔๒ มหี น้าที่ Moderator ระบบ MOE Safety Center รบั Case ท่ีแจง้ เขา้ มายงั สานักงานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษา สรปุ เหตกุ ารณ์ เลือกปัญหาความไมป่ ลอดภยั ทเ่ี กิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ประสานสง่ ต่อและรายงาน ขอ้ มลู ไปยังเจ้าหนา้ ที่ SC Action หรือสถานศกึ ษาในสังกัดทีเ่ ก่ยี วข้อง ๓. เจ้าหนา้ ที่ SC Action ๓.๑ นางรจุ ิกาญจน์ ปุด๊ พรม ตาแหนง่ ครู ค.ศ๓ E-mail : - Tel : ๐๘๙๒๖๔๙๗๑๓ ๓.๒ นางสาวนภัสวรรณ คาใส ตาแหน่งพนักงานราชการ E-mail : [email protected] Tel : ๐๙๘๘๑๓๙๐๐๘
มีหน้าท่ี รบั ผดิ ชอบในการดาเนนิ การแกไ้ ขปญั หา ประสานงานเพอ่ื ให้เกดิ ความเป็นธรรมแกท้ กุ ฝา่ ยหา ขอ้ สปุ การแก้ไขปญั หา รายงานผลการดาเนนิ งาน ๔. เจา้ หน้าท่ี Admin ๔.๑ นางสาวศศปิ ระภา ตอ่ วรรณะ ตาแหนง่ ครู ค.ศ.2 E-mail : [email protected] Tel : 0884133477 ๔.๒ นางสาวสชุ าดา สขุ ใกลพ้ ระ ตาแหนง่ ครู คศ.2 E-mail : [email protected] Tel : 0932856229 ๔.๓ นางสาววันเพ็ญ ไผทพทิ กั ษว์ งค์ ตาแหนง่ ครู คศ.1 E-mail : [email protected] Tel : 0632694935 มีหนา้ ท่ี รบั ผิดชอบในการเพ่ิมหน่วยงานของสถานศึกษาในสงั กดั การเชญิ สมาชิกเขา้ สู่หนว่ ยงานและ การกาหนดบทบาทหนา้ ท่ภี ายในหนว่ ยงาน รวมถงึ การปรับปรงุ แกไ้ ข และลบ หน่วยงานสถานศึกษา สมาชกิ และบทบาทหน้าทภ่ี ายในหนว่ ยงาน E-mail: [email protected] (ลงชอื่ ) (นายนภศูล สมวิสัตย์ ) ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแมเ่ กาะวทิ ยา
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: