คูม อื การดำเนนิ งาน ความปลอดภยั สถานศกึ ษา MSC กระทรวงศึกษาธกิ าร
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร คำนำ คมู อื การดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษาเลม น้ี สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั ทำขน้ึ เพอ่ื ใหส ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษและสถานศกึ ษาใชเ ปน แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน ดานความปลอดภัยสถานศึกษา โดยมีเปาหมายใหนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการปกปอง คุมครอง ดูแล ชวยเหลือ เยียวยา มีความมั่นคงและปลอดภัย ซึ่งเปนไปตามนโยบายความปลอดภัยของกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โดยในคมู อื การดำเนนิ งานเลม นป้ี ระกอบดว ย ความสำคญั และวตั ถปุ ระสงคข องความปลอดภยั สถานศกึ ษา องคค วามรดู า นความปลอดภยั การเสรมิ สรา งความปลอดภยั การตดิ ตอ สอ่ื สาร และการกำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลสถานศกึ ษาปลอดภยั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือเลมนี้จะอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน ใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของและผูปฏิบัติไดเปนอยางดี ขอบคุณคณะทำงานทุกทานที่ไดรวมกันจัดทำคูมือการดำเนินงาน ความปลอดภัยสถานศกึ ษาเลม นีจ้ นสำเรจ็ ลลุ ว ง สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กนั ยายน 2564
คูมอื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร สารบัญ หนา 1 เร่ือง 2 3 คำนำ 4 สารบัญ 5 สว นท่ี 1 บทนำ 5 5 1. ความสำคัญจำเปนการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา 6 2. วตั ถปุ ระสงค 7 3. เปา หมาย 10 4. ตัวชว้ี ดั ความสำเรจ็ 16 สว นท่ี 2 องคค วามรดู านความปลอดภัย 17 1. นโยบายดานความปลอดภัย 18 2. กฎหมายท่ีเกี่ยวของ 20 สวนท่ี 3 การเสริมสรางความปลอดภัยสถานศกึ ษา 21 1. ขอบขา ยความปลอดภัยสถานศึกษา 40 2. มาตรการความปลอดภยั สถานศึกษา 41 3. โครงสรา งการบรหิ ารจดั การความปลอดภยั สถานศกึ ษา 42 4. ข้ันตอนการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา 47 สว นที่ 4 การติดตอส่อื สาร 49 1. ชองทางการติดตอส่ือสาร 50 2. หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง สว นท่ี 5 การกำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผล เอกสารอางอิง รายชื่อคณะทำงาน
คูมอื การดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร สว นท่ี ๑ บทนำ
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 1. ความสำคัญจำเปนการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา ยุทธศาสตรชาติ ดานที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ มีวัตถุประสงคหลักในการ เสริมสรางความมั่นคงในชีวิตของคนทุกชวงวัย จากภัยคุกคามในรูปแบบใหม อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบ ตา ง ๆ ยาเสพตดิ ภยั พบิ ตั จิ ากธรรมชาติ ภยั จากโรคอบุ ตั ใิ หม และภยั จากไซเบอรเ ปน ตน แผนการศกึ ษาแหง ชาติ (พ.ศ.2560– 2579) จึงไดตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาที่เกิดจากความกาวหนาทางวิทยาการและเทคโนโลยีของโลกยุค ศตวรรษที่ 21 เปนพลวัตทีกอใหเกิดความทาทายในดานการเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก อันเนื่องจาก การปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ประเทศเขาสูสังคมสูงวัยอยางสมบูรณในอนาคตอันใกล การติดกับดักประเทศ ที่มีรายไดปานกลาง ทัศนคติ ความเชื่อ คานิยม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของประชากรที่ปรับเปลี่ยนไปตามกระแส โลกาภิวัตนเปนผลใหเกิดการเรงแกไขปญหา ทั้งยังเกิดภัยคุกคามตอความมั่นคงรูปแบบใหมที่สงผลกระทบตอประชาชน และประเทศชาติมีความซับซอนและรุนแรงมากขึ้น ซึ่งภัยในแตละดานลวนมีความสำคัญตอการพัฒนาประเทศกอปรกับ นโยบาย Quick Win 7 วาระเรงดวน ขอที่ 1 ความปลอดภัยของผูเรียน กระทรวงศึกษาธิการมองเห็นภัยที่เกิดแกนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ที่เกิดขึ้นซ้ำและสงผลกระทบตอสภาพรางกายและจิตใจในหลายปที่ผานมา เชน ภัยจาก การคุกคามทางเพศ ภัยจากการกลั่นแกลงรังแก (Bully) รวมถึงภัยที่เกิดจากโรคอุบัติใหม ไดแก การแพรระบาดของโรคติด เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เปน ผลใหเ ปน อปุ สรรคตอ การเรยี นรแู ละสวสั ดภิ าพชวี ติ ของนกั เรยี น ครู และบคุ ลากร ทางการศึกษา นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานใหเปน “การศึกษา ขั้นพื้นฐานวิถีใหม วิถีคุณภาพ” มุงเนนความปลอดภัยในสถานศึกษา สงเสริมโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอยางเทาเทียม และบริหารจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ โดยมุงเนนพัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยใหแกผูเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอ การมีสุขภาวะที่ดี สามารถปรับตัวตอโรคอุบัติใหมและอุบัติซ้ำสงเสริมความปลอดภัยสรางความมั่นใจใหสังคม เพื่อคุมครอง ความปลอดภัยแกนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใหการปองกัน ดูแล ชวยเหลือหรือ เยียวยา และแกไขปญหามีความเปนเอกภาพ มีขอมูลสารสนเทศที่เปนระบบ สามารถแกไขปญหาและบริหารจัดการ ความเสย่ี งไดอ ยา งยง่ั ยนื ดว ยการบรหิ ารจดั การตามมาตรการ 3 ป ไดแ ก ปอ งกนั ปลกู ฝง และปราบปราม ใหเ กดิ ความปลอดภยั ใหม ากทส่ี ดุ และไมใ หเ กดิ เหตกุ ารณน น้ั ซำ้ อกี เพอ่ื สรา งความมน่ั ใจ และความเชอ่ื มน่ั ใหแ กน กั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผปู กครอง และประชาชนทว่ั ไป ในการทจ่ี ะไดเ รยี นรอู ยา งมคี ณุ ภาพ และเกดิ ความปลอดภยั อยา งมน่ั คงและยง่ั ยนื เพอ่ื ใหแ นวทาง การปฏิบัติสอดคลองและเปนระบบกระทรวงศึกษาธิการจึงไดจัดทำคูมือการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษาเพื่อ เปนแนวทางในการสรางความปลอดภัยในเกิดแกนักเรียนเปนสำคัญ เพราะความปลอดภัยเปนปจจัยที่สงผลกระทบโดยตรง ตอคุณภาพและการเรยี นรูของผูเ รียน 4
คมู ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 2. วตั ถปุ ระสงค 2.1 เพอื่ สรา งความรูความเขา ใจในการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา 2.2 เพอ่ื สรางความเขมแขง็ การดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา 2.3 เพ่อื ดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษาอยา งเปนระบบ 2.4 เพ่ือรายงานการดำเนินการดา นความปลอดภัยตอ หนวยงานตนสังกัด ๓. เปาหมาย ๓.1 สถานศึกษามีแผนความปลอดภยั ตามบริบทของสถานศึกษา ๓.2 สถานศึกษามกี ารปฏบิ ตั ิที่เปนเลศิ ในการเสรมิ สรา งความปลอดภยั สถานศึกษาเพอ่ื การพัฒนาอยา งย่ังยืน ๓.3 นักเรียน ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดรบั ความคุมครองดแู ลใหม คี วามปลอดภัย ๓.4 สถานศึกษากับ หนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ และภาคีเครือขายมีสวนรวมในการดำเนินงานดาน ความปลอดภัยสถานศกึ ษา ๔. ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ ๔.๑ สถานศึกษาทุกแหง มีแผนความปลอดภัยตามบริบทของสถานศกึ ษา ๔.๒ รอยละ 80 ของสถานศึกษามีการปฏิบัติที่เปนเลิศ ในการเสริมสรางความปลอดภัยสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา อยา งยง่ั ยนื ๔.๓ นกั เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ คนไดร ับความคมุ ครองดูแลใหมคี วามปลอดภัย 4.4 รอยละความรวมมือระหวางสถานศึกษากับหนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ และภาคีเครือขาย มีสวน รวมในการดำเนินงานดานความปลอดภัยสถานศึกษา 5
คูมอื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ สวนท่ี ๒ องคค วามรดู า นความปลอดภัย SAFETY SCHOOL
คมู อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร การศกึ ษามคี วามสำคญั ตอ การพฒั นาประเทศ ในฐานะทเ่ี ปน กระบวนการหนง่ึ ทม่ี บี ทบาทโดยตรงตอ การพฒั นาทรพั ยากร มนุษยใหมีคุณภาพสอดคลองกับความตองการและทิศทางของประเทศ การศึกษาจึงหมายถึงการพัฒนาบุคคลใหมีความเจริญ งอกงามทุกดาน ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม การสรางความปลอดภัยใหแกนักเรียนเปนสิ่งสำคัญ เพราะความ ปลอดภัยเปนปจจัยที่สงผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพการเรียนรูของนักเรียน การพัฒนาทรัพยากรบุคคลใหประสบผลสำเร็จ ตามเปา ประสงคข น้ึ อยกู บั ความสขุ และการมชี วี ติ ทป่ี ลอดภยั ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา สามารถปอ งกนั หรอื ไดร บั การ ปองกันตนเองจากปจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได มีความรู ความเขาใจ จิตสำนึก และเจตคติที่ดี และมีทักษะในการปองกันภัย สามารถหรอื ไดร บั การแกไ ขปญ หา ชว ยเหลอื เยยี วยา ฟน ฟู และดำเนนิ การตามขน้ั ตอนของกฎหมาย ดงั นน้ั จงึ เปน ภารกจิ สำคญั ทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ทจ่ี ะตอ งมแี นวนโยบายสถานศกึ ษาปลอดภยั ใหเ กดิ ขน้ึ 1. นโยบายดา นความปลอดภัย แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ไดก ำหนดแนวทางการบรหิ ารจดั การเพอ่ื ลดความเสย่ี งดา นภยั พบิ ตั เิ พอ่ื ใหเ กดิ ความเสยี หายนอ ยทส่ี ดุ และนำไปสกู ารพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1. บูรณาการการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเขาสูกระบวนการวางแผน ทั้งระดับชาติ ระดับชุมชนทองถิ่นและสาขา การผลิตตาง ๆ พัฒนาองคความรู สนับสนุนการประเมินและจัดทำแผนที่ความเสี่ยงจากภัยพิบัติในพื้นที่และภาคการผลิตที่มี ลำดบั ความสำคญั สงู 2. เสรมิ สรา งขดี ความสามารถในการเตรยี มความพรอ มและการรบั มอื ภยั พบิ ตั ิ สนบั สนนุ การจดั ทำแผนรบั มอื ภยั พบิ ตั ิ ในระดับพื้นที่ สงเสริมแนวทางการจัดการภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนศูนยกลาง สงเสริมภาคเอกชนในการจัดทำแผนบริหาร ความตอ เนอ่ื งของธรุ กจิ สรา งจติ สำนกึ ความปลอดภยั สาธารณะ สง เสรมิ บทบาทของภาคเอกชนและชมุ ชนทอ งถน่ิ ในการรว มกนั ดำเนนิ การปอ งกนั และลดความเสย่ี งจากภยั พบิ ตั ิ 3. พัฒนาระบบการจัดการภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบการเตือนภัยใหมีความแมนยำ นาเชื่อถือ และมี ประสิทธิภาพ สงเสริมกลไกการเขาถึงขอมูลขาวสารผานเทคโนโลยีสมัยใหม พัฒนาระบบฐานขอมูลใหเปนมาตรฐานเดียวกัน และสามารถเชอ่ื มโยง แลกเปลย่ี นขอ มลู ระหวา งหนว ยงานทง้ั ในและตา งประเทศได พฒั นากลไกบรู ณาการความรว มมอื ทกุ ภาคสว น เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพการจดั การภยั พบิ ตั ใิ นภาวะฉกุ เฉนิ 4. พัฒนาระบบการฟนฟูบูรณะหลังการเกิดภัย ใหสามารถตอบสนองตอความตองการของผูประสบภัยไดอยางทั่วถึง และเปน ธรรม ยกระดบั มาตรฐานการตรวจสอบความปลอดภยั ภายหลงั การเกดิ ภยั พบิ ตั ิ และปรบั ปรงุ มาตรฐานความปลอดภยั ของสง่ิ กอ สรา งและโครงสรา งพน้ื ฐาน รวมถงึ พฒั นามาตรฐานความปลอดภยั ของโครงสรา ง แผนการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ไดก ำหนดยทุ ธศาสตรใ นการพฒั นาการศกึ ษาภายใต 6 ยทุ ธศาสตรห ลกั ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) เพื่อใหแผนการศึกษาแหงชาติบรรลุเปาหมายตามจุดมุงหมาย วิสัยทัศน และแนวคิดการจัดการการศึกษา โดยไดกำหนดใน ยุทธศาสตรที่ 1 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมน่ั คงของสงั คมและ ประเทศชาติ ปจจุบันภัยคุกคามตอความมั่นคงรูปแบบใหมที่สงผลกระทบตอประชาชนและประเทศชาติมีความซับซอนและ รนุ แรงมากขน้ึ อาทิ ความรนุ แรงในรปู แบบตา ง ๆ ยาเสพตดิ ภยั พบิ ตั จิ ากธรรมชาติ ภยั จากโรคอบุ ตั ใิ หม ภยั จากไซเบอร เปน ตน ความมน่ั คงของชาตจิ งึ มไิ ดค รอบคลมุ เฉพาะมติ ดิ า นการทหารหรอื อำนาจอธปิ ไตยเทา นน้ั แตย งั ครอบคลมุ มติ ติ า ง ๆ ทง้ั เศรษฐกจิ สังคม วิถีชีวิต วัฒนธรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งในแตละมิติลวนมีความสำคัญตอการพัฒนาประเทศ 7
คมู อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การปองกันภัยคุกคามเหลานี้จะตองพิจารณาในมิติที่มีความเชื่อมโยงกัน และการดำเนินการเพื่อวางรากฐานและกลไก การสรางความมั่นคงเพื่อปองกันและปองปรามภัยเหลานี้นั้นจะตองเริ่มที่กระบวนการจัดการศึกษาของประเทศ การดูแลและ ปองกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม ไมวาจะเปนอาชญากรรม ความรุนแรงในสังคมในรูปแบบตาง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจาก ธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบตั ใิ หม ภัยจากไซเบอร เพื่อสง เสรมิ ใหเ กดิ ความปลอดภยั และความมัน่ คงในชวี ติ ลดความเส่ียงจากภัย คกุ คามตาง ๆ ดงั นน้ั การจดั การศกึ ษาทค่ี รอบคลมุ ประเดน็ หลกั สำคญั ทม่ี ผี ลดา นความมน่ั คงแกค นในชาตจิ ะสง ผลใหท กุ คนมจี ติ สำนกึ ความรู ความสามารถ ทกั ษะ ความคดิ ทศั นคติ ความเชอ่ื คา นยิ ม และพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสม รเู ทา ทนั การเปลย่ี นแปลงของสงั คม และโลกศตวรรษท่ี ๒๑ สามารถดำรงชวี ติ อยใู นสงั คมไดอ ยา งสนั ตแิ ละสงบสขุ อนั จะสง ผลใหส งั คมและประเทศเกดิ ความมน่ั คง ธำรงรักษาอธิปไตย และผานพน จากภยั คกุ คามตาง ๆ ได ความเขา ใจเกย่ี วกบั กรอบความปลอดภยั รอบดา นในโรงเรยี น (Comprehensive School Safety Framework : CSSF) ไดป รากฏอยูใ นกรอบการดำเนินงานระดบั โลก ท้ังท่เี ปน กรอบความคิดรเิ ริม่ และขอตกลงหลายฉบบั CSSF ต้ังอยูใ จกลางของ กรอบการดำเนนิ งานทท่ี บั ซอ นกนั หลายดา น ไดแ ก เปา หมาย การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) อนุสัญญาวา ดว ยสทิ ธิคนพกิ าร (Convention on the Rights of Persons with Disabilities: CRPD) การลดความเสย่ี งจาก ภยั พบิ ตั ิ (Disaster Risk Reduction : DRR) และSendai Framework for DRR โดยมหี ลกั การสำคญั คอื การศกึ ษาเปน สทิ ธิ ขั้นพื้นฐานของเด็ก ซึ่งชวยใหประชาคมโลกเกิดความชัดเจนถึงภัยคุกคามจากภัยธรรมชาติ ความขัดแยง ความรุนแรง และการพลัดถนิ่ ความปลอดภยั รอบดา นในโรงเรียน เปา หมายของความปลอดภยั รอบดานในโรงเรยี น เพื่อคุมครองนักเรียนและบุคลากรดานการศึกษา เพื่อใหโรงเรียนวางแผนจัดการศึกษา จากการเสียชีวิต การบาดเจ็บ และอันตรายในโรงเรียน ตอเนื่องแมในระหวางที่เกิดภัยพิบัติ เพื่อปกปองการลงทุนในภาคการศึกษา เพื่อสรางความเขมแข็งในการลดความเสี่ยง และการฟนตัวของภาคการศึกษา 8
คมู ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ สามเสาหลกั ของความปลอดภัยรอบดานในโรงเรยี น ความปลอดภัยรอบดานในโรงเรียน ซึ่งอยูภายใตนโยบายและการปฏิบัติดานการศึกษา มีความสอดคลองกับ การบรหิ ารจัดการภยั พบิ ัติ ในระดับสากล ระดบั ประเทศ ภูมภิ าค จังหวัด และระดบั พืน้ ท่ี รวมทงั้ ในโรงเรยี น กรอบแนวคดิ ดวามปลอดภยั รอบดานในโรงเรียน ประกอบดวยสามเสาหลกั (Three Pillars) ไดแ ก 1 ดานอาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในโรงเรียน ที่ปลอดภัย (Safer Learning Facilities) 2 ดานการบริหารจัดการภัยพิบัติในสถานศึกษา (School Disaster Management) 3 ดานการศึกษาดานการลดความเสี่ยงและการรูรับปรับตัวจากภัยพิบัติ (Risk Reduction and Resilience Education) รากฐานของการวางแผนสำหรับความปลอดภัยรอบดานในโรงเรียนคือการจัดทำการประเมินความเสี่ยงแบบภัย หลายชนิด การวางแผนนี้ควรเปนสวนหนึ่งของระบบขอมูลการจัดการการศึกษาในระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและในระดับ พื้นที่ ขอมูลเรื่องความเสี่ยงจากภัยพิบัติเปนสวนหนึ่งของการวิเคราะหนโยบายของภาคการศึกษาและการจัดการในภาพรวม ซง่ึ จะใหข อ มูลเชิงประจกั ษและหลักฐานทีส่ ำคญั สำหรบั การวางแผนและการดำเนนิ งาน ความปลอดภยั รอบดา นในโรงเรยี นและความสอดคลอ งกบั เปา หมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals) พ.ศ. 2558 - 2573 และกรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558 – 2573 ผลสมั ฤทธข์ิ องการบรู ณาการความปลอดภยั รอบดา นในโรงเรยี นเขา ไปในกรอบการพฒั นาท่ียง่ั ยนื และนโยบายและการลดความ เสย่ี งภยั พบิ ัตเิ รอื่ งการลดความเส่ียง ไดแ ก 1) ปรบั ปรงุ การเขาถงึ การศึกษาของเดก็ อยา งเทาเทียม ไมเ ลอื กปฏิบัติ และปลอดภยั 2) พัฒนาและสรางความเขมแข็งใหแกสถาบัน กสไกและเครือขายประสานงาน รวมทั้งศักยภาพระดับประเทศ ในการสรา งความสามารถในการรรู บั ปรบั ตวั และฟน คนื กลบั (Resilience) จากภยั และอนั ตรายทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ แกภ าคการศกึ ษา ท้ังในระดับนานาชาติ ระดบั ชาติ ระดบั ภูมิภาค และระดบั ทองถ่ิน 3) บรู ณาการแนวทางการลดความเสย่ี งเขา ไปในการดำเนนิ งานเกย่ี วกบั การเตรยี มพรอ มรบั ภยั ฉกุ เฉนิ การตอบสนอง และการฟน ฟูจากภยั พิบตั ิในภาคการศกึ ษา 4) ตดิ ตามและประเมนิ ผลความกา วหนา ของการดำเนนิ งานดา นการลดความเสย่ี งภยั พบิ ตั แิ ละความขดั แยง 5) เพม่ิ จำนวนและความสามารถในการเขา ถงึ ขอ มลู หลกั ฐานทเ่ี กย่ี วกบั ภยั เชน ขอ มลู เกย่ี วกบั ระบบเตอื นภยั ลว งหนา สำหรบั ภัยหลายชนิด (multi-hazard early warning system) และขอ มลู เกีย่ วกบั ความเสี่ยงภยั พิบัติ 9
คูมือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2. กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 สาระสำคญั พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม 120 ตอนท่ี 95 ก วนั ท่ี 2 ตลุ าคม 2546 มผี ลบงั คบั ใชเ มอ่ื วนั ท่ี 30 มนี าคม 2547 สาระสำคญั ของ พ.ร.บ. ฉบบั น้ี เกย่ี วกบั เรอ่ื งสทิ ธเิ สรภี าพของเดก็ และเยาวชนทต่ี อ ง ไดร บั ความคมุ ครองจากรฐั โดยไมเ ลอื กปฏบิ ตั ิ และคำนงึ ถงึ ประโยชนส งู สดุ ของเดก็ เปน สำคญั พ.ร.บ. ฉบบั น้ี มที ง้ั หมด 9 หมวด 88 มาตราดว ยกนั แยกเปน มาตรา 1-6 อธบิ ายความหมายเกย่ี วขอ งกบั พ.ร.บ. ฉบบั น้ี หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง คณะกรรมการ การปฏบิ ตั ติ อ เดก็ การสงเคราะหเ ดก็ การคมุ ครอง ผคู มุ ครอง คมุ ครองเดก็ (มาตรา 22-31) (มาตรา 32-39) สวสั ดภิ าพเดก็ สวสั ดภิ าพเดก็ (มาตรา 7-21) (มาตรา 40-47) (มาตรา 48-50) หมวด 6 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9 บทเฉพาะกาล ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง (มาตรา 87-88) สถานรบั เลย้ี งเดก็ การสง เสรมิ กองทนุ คมุ ครองเดก็ ออกกำหนดโทษ สถานพฒั นาและฟน ฟู ความประพฤติ (มาตรา 68-77) (มาตรา 78-86) (มาตรา 51-62) นกั เรยี นและนกั ศกึ ษา (มาตรา 63-67) 10
คมู อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ระเบยี บ กฎหมายความผดิ เกย่ี วกบั เพศ และความผดิ ตอ เสรภี าพ พรากผเู ยาว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 317 บัญญัตวิ า ผูใ ดโดยปราศจากเหตอุ ันสมควรพรากเดก็ อายุยงั ไมเ กินสิบหา ป ไปเสียจากบิดา มารดา ผูปกครอง หรือผูดูแล ตองระวางโทษจำคุกตั้งแต 3 ป ถึง 15 ป และปรับ ตั้งแต 6,000 บาท ถึง 30,000 บาท ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 318 บญั ญตั วิ า ผใู ดพรากผเู ยาวอ ายกุ วา สบิ หา ปแ ตย งั ไมเ กนิ สบิ แปดปไ ปเสยี จากบดิ า มารดา ผปู กครอง หรอื ผดู แู ล โดยผเู ยาวน น้ั ไมเ ตม็ ใจไปดว ย ตอ งระวางโทษจำคกุ ตง้ั แต 2 ปถ งึ 10 ป และปรบั ตง้ั แต 4,000 บาท ถงึ 20,000 บาท ความผดิ ฐานพรากเดก็ หรอื พรากผเู ยาว เปน การพาเดก็ หรอื ผเู ยาวไ ป หรอื แยกเดก็ หรอื ผเู ยาว ออกไปจากความปกครองดูแลของบิดา มารดา หรือผูปกครองของเด็กหรือผูเยาว หากการพรากเด็กหรือผูเยาวไปเพื่อการ อนาจาร เชน พาไปกอดจูบ ลูบคลำ ผูนั้นจะตองไดรับโทษหนักยิ่งขึ้น โดยเฉพาะหากมีการรวมประเวณีหรือมีเพศสัมพันธ ผนู น้ั จะตอ งถกู ดำเนนิ คดขี อ หาขม ขนื กระทำชำเราอกี ขอ หาหนง่ึ มโี ทษหนกั มาก แมผ เู ยาวน น้ั จะยนิ ยอมไปดว ย ผทู พ่ี รากกต็ อ ง มคี วามผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 ซง่ึ บญั ญตั วิ า ผใู ดพรากผเู ยาวอ ายเุ กนิ กวา สบิ หา ปแ ตย งั ไมเ กนิ สบิ แปดปไ ป เสยี จากบดิ า มารดา ผปู กครอง หรอื ผดู แู ล เพอ่ื หากำไร หรอื เพอ่ื การอนาจาร โดยผเู ยาวน น้ั เตม็ ใจไปดว ย ตอ งระวางโทษจำคกุ ตั้งแต 2 ป ถงึ 10 ป และปรับตั้งแต 4,000 บาท ถงึ 20,000 บาท เชน “แดงพบเดก็ หญงิ เขยี ว จงึ ชวนไปเทย่ี วคา งคนื ทพ่ี ทั ยา โดยไมไ ดข ออนญุ าตจากบดิ ามารดาของเดก็ หญงิ เขยี ว แมแ ดงจะไมไ ดล ว งเกนิ เดก็ หญงิ เขยี วกต็ าม ถอื วา มคี วามผดิ ฐานพรากเดก็ ไปเสยี จากบดิ ามารดาโดยปราศจากเหตุ อนั สมควร หากแดงลว งเกนิ ทางเพศเดก็ หญงิ เขยี ว แดงจะตอ งไดร บั โทษทห่ี นกั ขน้ึ ” กระทำอนาจาร ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 278 บัญญัติวา ผูใดกระทำอนาจารแกบุคคลอายุกวาสิบหาป โดยขูเข็ญดวย ประการใด ๆ โดยใชก ำลงั ประทษุ รา ย โดยบคุ คลนน้ั อยใู นภาวะทไ่ี มส ามารถขดั ขนื ได หรอื โดยทำใหบ คุ คลนน้ั เขา ใจผดิ วา ตนเปน บุคคลอื่น ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 10 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 บญั ญตั วิ า ผใู ดกระทำอนาจารแกเ ดก็ อายไุ มเ กนิ สบิ หา ป โดยเดก็ นน้ั จะยนิ ยอมหรอื ไมก ต็ าม ตอ งระวางโทษจำคกุ ไมเกิน 10 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ความผิดฐานกระทำอนาจารเปนการกระทำที่นาอับอาย นา บดั สี ลามก เชน กอด จบู ลบู คลำ หรอื จบั อวยั วะเพศหญงิ หนา อก รวมถงึ การจบั เนอ้ื ตอ งตวั หญงิ กต็ าม กถ็ อื วา เปน ความผดิ ขอ หากระทำอนาจาร แมว า เดก็ ทถ่ี กู กระทำจะยนิ ยอมใหก ระทำการดงั กลา วกย็ งั มคี วามผดิ หากเดก็ นน้ั อายไุ มเ กนิ สบิ หา ป เชน 11
คูมือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร “แดงพาเดก็ หญงิ เขยี ว (อายุ 14 ป) ไปดภู าพยนตร โดยไดร บั อนญุ าตจาก บดิ ามารดาของเดก็ หญงิ เขยี ว แตแ ดงไดก อดจบู เดก็ หญงิ เขยี วขณะดภู าพยนตร แมเ ดก็ หญงิ เขยี วจะยนิ ยอมใหแ ดงกอดจบู กต็ าม ถอื วา แดงมคี วามผดิ ขอ หา กระทำอนาจาร และหากเปน กรณที แ่ี ดงพาเดก็ หญงิ เขยี วไปดภู าพยนตรโ ดย ไมไ ดร บั อนญุ าตจากบดิ ามารดาของเดก็ หญงิ เขยี ว แดงมคี วามผดิ ฐานพราก เดก็ ไปเสยี จากบดิ ามารดาโดยปราศจากเหตอุ นั สมควรอกี ขอ หา” ขม ขนื กระทำชำเรา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 บัญญัติวา ผูใดขมขืนกระทำชำเราหญิงอื่น ซึ่งมิใชภริยาของตน โดยขูเข็ญ ดวยประการใด ๆ โดยใชกำลังประทุษราย โดยหญิงอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได หรือโดยทำใหหญิงเขาใจผิดวาตน เปน บุคคลอ่ืน ตองระวางโทษจำคุกตัง้ แต 4 ป ถึง 20 ป และปรับตั้งแต 8,000 บาท ถงึ 40,000 บาท ความผิดฐานขม ขนื กระทำชำเราเปน การบงั คบั ใจ ฝน ใจหญงิ อน่ื ทม่ี ใิ ชภ รยิ าของตน โดยหญงิ นน้ั ไมย นิ ยอม หรอื ใชก ำลงั บงั คบั จนหญงิ นน้ั อยใู นภาวะ ที่ไมสามารถขัดขืนได จนผูกระทำผิดลวงเกินทางเพศ หรือมีเพศสัมพันธกับหญิงนั้น หากเปนการขมขืนกระทำชำเราเด็กหญิง อายไุ มเ กนิ สบิ หา ป ซง่ึ มใิ ชภ รยิ าของตน โดยเดก็ หญงิ นน้ั จะยนิ ยอมหรอื ไมก ต็ าม ผนู น้ั จะตอ งไดร บั โทษจำคกุ ตง้ั แต 4 ป ถงึ 20 ป และปรบั ตง้ั แต 8,000 บาท ถงึ 40,000 บาท เชน นายหมกึ ไดใ ชก ำลงั ฉดุ นางสาวนนุ อายุ 22 ป ในขณะทน่ี างสาวนนุ กำลงั กลับจากที่ทำงาน และนำนางสาวนุนไปกักขังไวพรอมทั้งขมขืนกระทำชำเราเชนนี้ นายหมึกมีความผิดขมขืนกระทำชำเรา และกกั ขงั หนว งเหนย่ี วรา งกายผอู น่ื ตอ งระวางโทษจำคกุ ตง้ั แต 4 ป ถงึ 20 ป และปรบั ตง้ั แต 8,000 บาท ถงึ 40,000 บาท “นายสนิ ไดห ลอกลอ เดก็ หญงิ พะยอมอายุ 12 ป ไปจากบา นและลงมอื กระทำชำเราเดก็ โดยเดก็ มคี วามเตม็ ใจเชน น้ี นายสนิ กม็ คี วามผดิ ฐานขม ขนื กระทำชำเราเดก็ หญงิ ไมเ กนิ สบิ หา ปซ ง่ึ มใิ ชภ รยิ าของตน โดยเดก็ หญงิ นน้ั จะยนิ ยอมหรอื ไมก ต็ าม นายสนิ จะตอ งไดร บั โทษจำคกุ ตง้ั แต 4 ป ถงึ 20 ป และปรบั ตง้ั แต 8,000 บาท ถงึ 40,000 บาท” 12
คูมอื การดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ระเบยี บ กฎหมายความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษ ยาเสพติดใหโทษ หมายถึง สารเคมี หรือวัตถุพิษ ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อเสพเขาสูรางกาย ไมวาจะโดยรับประทาน ดม สูบฉีด หรือดวยประการใดๆ แลวทำใหเกิดผลตอรางกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เชน ตองเพิ่มขนาดการเสพขึ้น เปน ลำดบั มอี าการถอนยาเมอ่ื ขาดยา มคี วามตอ งการเสพทง้ั รา งกายและจติ ใจอยา งรนุ แรงอยตู ลอดเวลา และสขุ ภาพโดยทว่ั ไปจะ ทรุดโทรมลง เสพ หมายถงึ การรบั ยาเสพตดิ ใหโทษเขาสรู า งกาย ไมวา ดวยวธิ ใี ดๆ ยาเสพตดิ ใหโทษ แบงออกเปน 5 ประเภท คือ ประเภท 1 ยาเสพตดิ ใหโทษชนดิ รายแรง เชน เฮโรอนี ประเภท 2 ยาเสพติดใหโ ทษท่ัวไป เชน มอรฟ น โคคาอีน ฝน ยา ประเภท 3 ยาเสพติดใหโ ทษทีม่ ลี กั ษณะเปนตำรบั ยา และมียาเสพติดใหโ ทษในประเภท 2 ผสมอยดู วย ประเภท 4 สารเคมีทใี่ ชใ นการผลิตยาเสพติดใหโทษประเภท 1 หรอื ประเภท 2 เชน อาเซติกแอนดไ อไดร ประเภท 5 ยาเสพตดิ ใหโ ทษทม่ี ไิ ดเ ขา อยใู นประเภท 1 ถงึ ประเภท 4 เชน กญั ชา พชื กระทอ ม 13
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ความผดิ เกย่ี วกบั เสพยาเสพตดิ ใหโ ทษ เสพกญั ชา ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 92 บญั ญตั วิ า ผใู ดเสพ ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 5 ตอ งระวางโทษจำคกุ ไมเ กนิ 1 ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ 20,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั ดงั นน้ั ผใู ดเสพกญั ชาไมว า ดว ยวธิ กี ารใด ๆ เชน เอากัญชาผสมบุหรี่แลวสูบ หรือเสพกัญชาโดยใชบองกัญชาถือวาผูนั้น มคี วามผดิ ฐานเสพยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 5 ซง่ึ มโี ทษจำคกุ ไมเ กนิ 1 ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ 20,000 บาท เสพยาบา หรอื เฮโรอนี ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 91 บญั ญตั วิ า ผใู ด เสพยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 1 ตอ งระวางโทษจำคกุ ตง้ั แต 6 เดอื น ถงึ 3 ป หรอื ปรบั ตง้ั แต 10,000 บาท ถงึ 60,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั ดงั นน้ั ผใู ด เสพยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 1 เชน ยาบา เฮโรอนี ไมว า โดยวธิ กี ารสดู ดมจาก การรมควนั หรอื ฉดี เฮโรอนี เขา เสน เลอื ด สดู ดมเขา ทางจมกู ถอื วา ผนู น้ั มคี วามผดิ ฐานเสพยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 1 ซง่ึ มโี ทษจำคกุ หนกั กวา กญั ชา เสพสารระเหย สารระเหย หมายความวา สารเคมี หรือผลิตภัณฑที่รัฐมนตรีประกาศวาเปน สารระเหย เชน กาวตา ง ๆ ผตู ดิ สารระเหย หมายความวา ผซู ง่ึ ตอ งใชส ารระเหย บำบดั ความตอ งการของรา งกายและจติ ใจเปน ประจำความผดิ ฐานเสพสารระเหยนน้ั ตามพระราชกำหนดปอ งกนั การใชส ารระเหย พ.ศ. 2533 มาตรา 17 บญั ญตั ิ วา “หา มมใิ หผ ใู ดใชส ารระเหยบำบดั ความตอ งการของรา งกาย หรอื จติ ใจ ไมว า โดยวธิ กี ารสดู ดม หรอื วธิ อี น่ื ใด หากผใู ดฝา ฝน มโี ทษจำคกุ ไมก นิ 2 ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ 20,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั ” 14
คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ความผดิ เกย่ี วกบั ครอบครองยาเสพตดิ ใหโ ทษ ความผดิ ฐานครอบครองยาบา้ หรอื เฮโรอนี ตาม พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 15 บญั ญตั วิ า่ หา้ มมใิ ห้ ผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ซึ่งมาตรา 67 บัญญัติว่า ผู้ใดมีไว้ ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 โดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี หรือปรับ ตง้ั แต2่ 0,000 บาท ถงึ 200,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั หากผใู้ ดครอบครองยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 1 ประเภทยาบา้ เกิน 15 เม็ด กฎหมายสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นได้ครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ไว้เพื่อจำหน่าย ซึ่งมีอัตราโทษ จำคกุ ต้งั แต่ 4 ปี ถึงตลอดชวี ิต “ ผใู ดมไี วใ นครอบครองซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท 1 โดยไมไ ดร บั อนญุ าต ตอ งระวางโทษจำคกุ ตง้ั แต 1 ปถ งึ 10 ป หรอื ปรบั ตง้ั แต 20,000 บาท ถงึ 200,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั ” ระเบยี บ กฎหมายความผดิ เกย่ี วกบั การจราจรทางบก และการใชร ถ ผูขับขี่รถยนตหรือรถจักรยานยนตจะตองไดรับอนุญาตจากเจาหนาที่นายทะเบียนเสียกอน โดยกลาวคือ ตองมี ใบอนุญาตขับรถ หรือใบอนุญาตขับขี่รถจักรยานยนต ซึ่งออกใหโดยนายทะเบียน มิฉะนั้นจะมีความผิดตามพระราชบัญญัติ รถยนต พ.ศ.2522 มาตรา 42 ซง่ึ บญั ญตั วิ า ผขู บั รถตอ งไดร บั ใบอนญุ าตขบั รถ และตอ งมใี บอนญุ าตขบั รถ และสำเนาภาพถา ย ใบคูมือจดทะเบียนรถในขณะขับรถ และมาตรา 34 บัญญัติวา ผูใดขับรถโดยไมไดรับใบอนุญาตขับรถตองระวางโทษจำคุก ไมเ กนิ 1 เดอื น หรอื ปรบั ไมเ กนิ 1,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั นอกจากน้ี ขณะขบั รถหรอื ขบั ขร่ี ถจกั รยานยนต สภาพรา งกาย ของผขู บั ขจ่ี ะตอ งปกติ สมบรู ณ ไมม อี าการหยอ นความสามารถในการขบั ข่ี หรอื อาการเมาสรุ า หรอื ของเมาอยา งอน่ื มฉิ ะนน้ั ผู ขบั ขจ่ี ะตอ งมคี วามผดิ ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 160 วรรคสาม ซง่ึ มโี ทษจำคกุ ไมเ กนิ 3 เดอื น หรอื ปรบั ตง้ั แต 2,000 บาท ถงึ 10,000 บาท หรือทัง้ จำท้ังปรับ 15
คูมือการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สว นที่ ๓ การเสริมสรางความปลอดภัย ในสถานศึกษา
คมู อื การดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 1. ขอบขา ยความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา ขอบขายความปลอดภัยของสถานศึกษา 4 กลุมภัย ดังนี้ 1) ภัยที่เกิดจากการใชความรุนแรงของมนุษย (Violence) 2) ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ (Accident) 3) ภัยที่เกิดจากการถูกละเมิดสิทธิ์ (Right) 4) ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะ ทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) มอี งคป ระกอบดังนี้ 1.๑ ภยั ที่เกิดจากการใชค วามรุนแรงของมนุษย (Violence) 1) การลวงละเมิดทางเพศ 2) การทะเลาะวิวาท 3) การกลั่นแกลงรงั แก 4) การชุมนุมประทวงและการจลาจล 5) การกอ วินาศกรรม 6) การระเบิด 7) สารเคมแี ละวัตถอุ ันตราย 8) การลอ ลวง ลกั พาตวั 1.2 ภยั ที่เกิดจากอบุ ตั เิ หตุ (Accident) 1) ภยั ธรรมชาติ 2) ภัยจากอาคารเรยี น สง่ิ กอสราง 3) ภัยจากยานพาหนะ 4) ภยั จากการจัดกจิ กรรม 5) ภัยจากเครื่องมอื อุปกรณ 1.3 ภยั ทเ่ี กดิ จากการถูกละเมดิ สิทธ์ิ (Right) 1) การถกู ปลอ ยปละ ละเลย ทอดทิ้ง 2) การคกุ คามทางเพศ 3) การไมไดร ับความเปน ธรรมจากสงั คม 1.4 ภยั ทเ่ี กดิ จากผลกระทบทางสขุ ภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) 1) ภาวะจติ เวช 2) ติดเกม 3) ยาเสพตดิ 4) โรคระบาดในมนษุ ย 5) ภยั ไซเบอร 6) การพนนั 7) มลภาวะเปน พษิ 8) โรคระบาดในสัตว 9) ภาวะทพุ โภชนาการ 17
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 2. มาตรการความปลอดภยั สถานศกึ ษา มาตรการความปลอดภัยของสถานศึกษามุงเนนใหเกิดความปลอดภัยตอนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา อยา งย่ังยนื โดยเนน มาตรการที่เขมงวดในมาตรการ 3 ป ดังน้ี 2.1 การปองกัน หมายถึง การดำเนินการเพื่อไมใหเกิดปญหา อุปสรรค หรือความไมปลอดภัย ตอนักเรียน ครู และ บคุ ลากรทางการศกึ ษา โดยการสรางมาตรการปองกันจากปจจยั เส่ยี งท่อี าจเกิดข้ึนทง้ั ในและนอกสถานศึกษา ดังน้ี 1) การประเมนิ ปจ จัยเส่ยี งของสถานศึกษา 2) การกำหนดพนื้ ที่ความปลอดภยั 3) การจดั ทำแผนความปลอดภัยสถานศกึ ษา 4) การจัดสภาพแวดลอ มและบรรยากาศของสถานศึกษา 5) การจดั โครงสรา งบรหิ ารจดั การความปลอดภยั สถานศกึ ษา 6) การจัดโครงสรา งขอ มลู สารสนเทศความปลอดภัยสถานศึกษา 7) การสรางการมีสวนรวมของสถานศกึ ษาและภาคเี ครอื ขา ย 8) การจดั ระบบชองทางการสื่อสารดานความปลอดภัยสถานศกึ ษา 9) การจดั ระบบคัดกรองและดูแลชวยเหลือนักเรยี น 10) การประเมนิ นกั เรียนรายบุคคล ดานรา งกาย จติ ใจ สงั คม สติปญญา และความตองการชวยเหลือ 2.2 การปลูกฝง หมายถึง การดำเนินการเกี่ยวกับการเสริมสรางความรู ความเขาใจ จิตสำนึก และเจตคติที่ดี และการสรา งเสริมประสบการณเ พ่ือใหเ กิดทกั ษะในการปองกันภยั ใหแกน กั เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ดังน้ี 1) การสรางจติ สำนกึ ความตระหนัก การรบั รู และความเขาใจดา นความปลอดภัยใหก บั ตนเองและผอู น่ื 2) การจัดกิจกรรมสรางความรูความเขา ใจ และพัฒนาองคความรเู กีย่ วกับความปลอดภยั ใหแ กนักเรียน ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และผปู กครอง 3) การจดั กิจกรรมเสรมิ สรา งทักษะ ประสบการณ และสมรรถนะดา นความปลอดภยั ใหแ กนักเรยี น 2.3 การปราบปราม หมายถึง การดำเนินการจัดการแกไขปญหา การชวยเหลือ เยียวยา ฟนฟู และดำเนินการ ตามขั้นตอนของกฎหมาย ไดแ ก 1) การจัดการแกไขปญ หาความไมป ลอดภยั ในสถานศกึ ษา 2) การชว ยเหลือ เยยี วยา ฟน ฟู จติ ใจบคุ คลผูประสบเหตคุ วามไมป ลอดภัย 3) การดำเนนิ การตามข้ันตอนของกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ ง 18
คูมอื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มาตรการ 3 ป การปอ งกนั หมายถงึ การดำเนินการเพื่อไมใหเกิด ปญหา อุปสรรค หรือความไมปลอดภัย ตอนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา โดยการสราง มาตรการปองกนั จากปจ จัยเสย่ี งทอี่ าจเกิดขนึ้ ทง้ั ใน และนอกสถานศกึ ษา การปลกู ฝง หมายถงึ การดำเนินการเกี่ยวกับการ เสริมสรางความรู ความเขาใจ จิตสำนึก และ เจตคติที่ดี และการสรางเสรมิ ประสบการณเ พอ่ื ให เกิดทักษะในการปองกันภยั ใหแกนักเรียน ครู และ บคุ ลากรทางการศึกษา การปราบปราม หมายถึง การดำเนินการ จัดการแกไขปญหา การชวยเหลือ เยียวยา ฟนฟู และดำเนินการตามขน้ั ตอนของกฎหมาย 19
คูม อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 3. โครงสรา งการบรหิ ารจดั การความปลอดภยั สถานศกึ ษา ผูอำนวยการสถานศึกษา เครือขา ยภาครัฐ คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคเอกชน ข้นั พ้ืนฐาน ภาคประชาชน และผูปกครอง รองผูอำนวยการสถานศกึ ษา/ผูที่ไดร บั มอบหมาย คณะทำงานระดับสถานศึกษา ครูประจำช้ัน/ ครูแนะแนว ครฝู า ยปกครอง สภานกั เรยี น ครทู ป่ี รึกษา 20
คูมือการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 4. ขน้ั ตอนการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา การดำเนินงานความปลอดภยั ของสถานศึกษา มขี ้นั ตอนดังนี้ 4.๑ การประเมินสภาพความเสี่ยงดา นความปลอดภยั และจัดลำดบั ความเส่ยี ง 4.2 การจดั ทำแผนดำเนนิ การความปลอดภัย 4.3 การดำเนนิ การตามมาตรการ ๔.๔ การดำเนนิ การตามขอบขายความปลอดภยั ๔.๕ การกำกบั ติดตาม และประเมินผล มาตรการความปลอดภัย สถานศึกษา ใชหลัก 3 ป ไดแก การปองกัน ปลูกฝง และปราบปราม โดยมีรายละเอียด แนวทางการปฏิบตั แิ ละตัวชี้วดั ดงั นี้ 1. การปอ งกนั ตาราง 1 การดำเนนิ การตามมาตรการการปอ งกนั เพอ่ื ใหเ กดิ ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา การปอ งกนั แนวทางการปฏิบัติ ตัวชีว้ ดั 1) กำหนดพน้ื ทค่ี วามปลอดภยั 1.1 ประชุม ชี้แจง วางแผน การดำเนิน - สถานศึกษาทุกแหงมีการกำหนดพื้นที่ งานดา นความปลอดภยั สถานศกึ ษารว มกบั การควบคมุ ความปลอดภยั ปา ยสญั ลกั ษณ บุคลากร ภาคีเครือขาย และหนวยงาน และอุปกรณควบคุมความปลอดภัยสวน องคก ร ผูมีสว นเก่ียวขอ ง บคุ คล 1.๒ กำหนดพื้นที่ควบคมุ ความปลอดภยั รวมถงึ ปา ยสญั ลกั ษณ และอปุ กรณค วบคมุ ความปลอดภยั สวนบคุ คล 1.๓ จดั ทำปา ยสญั ลกั ษณแ สดงความเสย่ี ง ในพืน้ ท่ที ่มี ีความเสย่ี ง 1.๔ จัดทำระบบขอมูลสารสนเทศดาน ความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา 2) จัดทำแผนความปลอดภัย 2.1 แตง ต้งั คณะกรรมการความปลอดภยั - สถานศกึ ษาทกุ แหง มแี ผนความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา สถานศึกษา โดยการมีสวนรวมจากภาคี สถานศึกษาทีค่ รอบคลมุ ทุกมติ ิ เครอื ขายและผมู ีสวนเกีย่ วของ 2.2 เสนอแผนความปลอดภัยของสถาน ศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน 21
คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ การปอ งกนั แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตวั ช้ีวดั 2.3 กำหนดระยะเวลาการดำเนินงานและ ผูร บั ผิดชอบงาน 2.4 กำหนดนโยบายความปลอดภยั ของ สถานศกึ ษา 2.5 เผยแพร ประชาสัมพันธนโยบาย และแผนความปลอดภัยสถานศกึ ษา 3) การจัดสภาพแวดลอมและ 3.1 จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพภมู ทิ ศั น - สถานศึกษาทุกแหงจัดสภาพแวดลอม บรรยากาศของสถานศึกษา หอ งเรยี น หอ งปฏบิ ตั กิ าร หอ งนำ้ หอ งพเิ ศษ และบรรยากาศที่มีความปลอดภัยตอ และหอ งอนื่ ๆ ใหมีความปลอดภยั นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา 3.๒ จัดทำแหลงเรียนรูเพื่อเสริมสราง ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษาทห่ี ลากหลาย 4) การจัดโครงสรางบริหาร ๔.1 สำรวจและประเมนิ สภาพความเสย่ี ง - สถานศึกษาทุกแหงจัดระบบโครงสราง จัดการความปลอดภัยสถาน ดานความปลอดภัยสถานศกึ ษา ในการบรหิ ารจดั การความปลอดภยั สถาน 4.๒ สถานศึกษาจดั ทำโครงสรางบริหาร ศกึ ษา ศึกษา จัดการความปลอดภัยสถานศึกษา 4.๓ กำหนดบทบาทหนา ท่ี ภาระงานของ คณะกรรมการ 4.๔ จดั ทำปฏทิ นิ การปฏบิ ตั งิ านของคณะ กรรมการความปลอดภัยสถานศึกษา 4.5 ประสานความรวมมือของคณะ กรรมการ ภาคีเครือขาย และหนวย งานตนสังกัด 5) การจดั ทำขอ มลู สารสนเทศ 5.1 แตงตั้งคณะทำงานเพื่อจัดทำระบบ - สถานศกึ ษาทุกแหงมรี ะบบขอ มูล ความปลอดภัยสถานศึกษา ขอ มลู สารสนเทศความปลอดภยั ของสถาน สารสนเทศความปลอดภยั สถานศึกษา ศกึ ษา 5.2 จัดหาเครือ่ งมอื วัสดุ อปุ กรณในการ เกบ็ รวบรวมขอมูลสารสนเทศ 5.3 เกบ็ รวบรวมขอ มลู อยา งครบถว นรอบ ดา น 5.4 วิเคราะหขอมูล จัดระบบหมวดหมู สารสนเทศ 5.5 จดั ทำรายงานระบบขอ มลู สารสนเทศ และจัดเกบ็ อยางเปนระบบ 22
คูมอื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การปอ งกนั แนวทางการปฏิบตั ิ ตวั ชี้วดั 6) การสรา งการมสี ว นรว มของ 6.1 ประสานความรวมมือในการสราง - สถานศึกษาทกุ แหงมีเครอื ขาย สถานศึกษาและภาคีเครอื ขา ย เครือขายการมีสวนรวมในพื้นที่และ ความรว มมอื ความปลอดภยั อยา งนอ ย ๑ ภาคสว นตา งๆ เครอื ขา ย 6.2 มีการประชุมวางแผนเพื่อเสริมสราง ความปลอดภยั สถานศกึ ษารวมกนั 6.3 มกี จิ กรรมการดำเนนิ งานในการเสรมิ สรา งความปลอดภัยสถานศึกษา 6.4 มกี ารประเมนิ ผลรวมกนั 6.5 มกี ารเผยแพร ประชาสัมพนั ธค วาม รว มมอื ๖.๖ มีการยกยองชมเชยเครือขายภาคี ความรว มมอื 7) การจัดระบบชองทางการ 7.1 แตงตั้งคณะทำงานดานการสื่อสาร - สถานศกึ ษาทกุ แหง มชี อ งทางการสอ่ื สาร สอ่ื สารดา นความปลอดภยั ของ ประชาสัมพันธอ งคกร อยา งนอ ย ๓ ชองทาง 7.2 กำหนดรปู แบบการสอ่ื สาร สถานศึกษา ประชาสมั พนั ธท ค่ี รอบคลมุ ทง้ั 3 ชอ งทาง ประกอบดว ย 1) On Ground ไดแก การจัดปาย นิทรรศการ จดั ทำเอกสารประชาสัมพันธ การจดั กจิ กรรมรณรงคใ นวันสำคัญตางๆ 2) On Line ไดแก การเผยแพร ประชาสัมพันธทางสื่อสังคมออนไลนใน รปู แบบตา งๆ เชน Facebook, Line เปน ตน 3) On Air ไดแก การประชาสัมพนั ธ ผา นระบบเสยี งตามสาย ทง้ั ในสถานศกึ ษา และชุมชน 7.3 ปรบั รปู แบบระบบชอ งทางการสอ่ื สาร ดานความปลอดภัยของสถานศึกษาให สอดคลองกับบริบทและสภาพการณของ สถานศึกษา 23
คูมือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การปอ งกัน แนวทางการปฏบิ ัติ ตวั ช้ีวัด 8) การจดั ระบบดแู ลชว ยเหลอื 8.1 แตงตงั้ คณะกรรมการระบบดแู ลชว ย - สถานศึกษาทุกแหงมีระบบดูแลชวย นักเรียน เหลอื นกั เรยี นระดบั สถานศกึ ษา เหลือนักเรียน 8.๒ คัดกรองนกั เรยี นแยกเปน 3 กลุมได อยา งชดั เจน ประกอบดวย กลุมปกติ กลมุ เสี่ยง และกลุมมปี ญ หา 8.๓ เกบ็ ขอ มูลนกั เรียนรายบุคคลดว ย เครอ่ื งมอื และวธิ กี ารท่ีเหมาะสม เชน การเยย่ี มบานนักเรียน การสอบถาม การสมั ภาษณ เปนตน 8.4 จัดกจิ กรรมสำหรับเด็กกลุมตา งๆ ไดอยา งเหมาะสม ดงั น้ี - กลมุ ปกติ จัดกิจกรรมสงเสริม ความสามารถตามปกติ - กลมุ เส่ยี ง จัดกิจกรรมปอ งกนั ปญหา - กลมุ มปี ญหา จัดกิจกรรมแกป ญหา และระบบสงตอ 8.5 สรุป รายงานผลการดำเนินงาน ระบบดูแลชวยเหลอื นักเรยี น 9) ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น น ั ก เร ี ย น 9.1 มอบหมายใหครูประจำชั้น - นักเรียนทุกคนไดรับการประเมินอยาง รายบคุ คล ดานรา งกาย จติ ใจ /ครูที่ปรึกษา มีหนาที่ในการประเมิน รอบดาน นักเรียนรายบุคคล สังคม สตปิ ญ ญา และความ 9.2 จัดทำเครื่องมือวัดและประเมิน ตองการ นักเรียนรายบุคคลที่ครอบคลุมทุกดาน 9.๓ ครปู ระจำชน้ั /ครทู ป่ี รกึ ษา ดำเนนิ การ ประเมินนักเรียนรายบุคคล ๙.๔ จดั ทำระบบขอ มลู สารสนเทศ รายงานผลการประเมนิ นกั เรยี นรายบคุ คล 24
คูมอื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 2. การปลูกฝง ตาราง 2 การดำเนินการตามมาตรการการปลูกฝง เพ่อื ใหเกิดความปลอดภยั ในสถานศึกษา การปลกู ฝง แนวทางการปฏบิ ัติ ตวั ช้ีวดั 1) การสรา งจิตสำนกึ 1.1 สำรวจขอมลู ดานความปลอดภยั - สถานศึกษาทุกแหงมีหลักสูตร สถานศกึ ษา ความปลอดภัยสถานศึกษา ความตระหนักการรบั รู 1.2 จดั ลำดับความรุนแรง เรงดว นของ และความเขาใจดา นความ ความปลอดภยั สถานศกึ ษา ปลอดภยั ใหแกตนเองผอู ่ืน 1.3 ปรับปรุงพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา และสังคม โดยเพม่ิ เนื้อหาดา นความปลอดภยั สถานศึกษาท่ีสอดคลอ งกบั ความรนุ แรง เรง ดว น 1.4 จัดทำคมู อื /แนวทางวา ดว ย ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา 1.5 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการดานความ ปลอดภยั ของสถานศกึ ษา ใหแก ครู บคุ ลากร ทางการศีกษา และนักเรยี น 1.6 จัดทำศูนยบริการสื่อดานความ ปลอดภัยในสถานศึกษา เพื่อการศึกษา คนควา เพิ่มเติม 2) การจดั กจิ กรรมสรา งความรู 2.1 ประชมุ ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา - สถานศึกษาทุกแหงมีการจัดกิจกรรม ความเขาใจพฒั นาองคความรู เพอ่ื ชแ้ี จงแนวทางเกย่ี วกบั ความปลอดภยั เสริมสรางความรู ความเขาใจดานความ เกี่ยวกับความปลอดภัยใหแก ในสถานศกึ ษา ปลอดภัยสถานศึกษาใหนักเรียน ครู นักเรียน ครู บคุ ลากรทางการ 2.2 จดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รโดยบรู ณาการ บุคลากรทางการศึกษา และผูปกครอง ศึกษา และผปู กครอง เนื้อหาความปลอดภัยสถานศึกษาใน รายวชิ าตา ง ๆ ๒.๓ การจดั ทำสอ่ื ประชาสมั พนั ธร ปู แบบ ตา งๆ เพอ่ื ใหค วามรแู กผ ปู กครองและชมุ ชน ๒.๔ จดั กจิ กรรมเสรมิ สรา งความรคู วามเขา ใจ เรอ่ื งความปลอดภยั สถานศกึ ษาผา นกจิ กรรม Classroom meeting ระหวา งสถานศกึ ษา กบั ผปู กครอง 25
คมู อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การปลกู ฝง แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตัวช้ีวัด 3) การจัดกิจกรรมเสริมสราง ๓.๑ จัดกิจกรรมเสรมิ ทกั ษะประสบการณ - สถานศกึ ษาทกุ แหง มกี จิ กรรมเสรมิ ทกั ษะ ทกั ษะ ประสบการณ ที่เนนการลงมอื ปฏบิ ัติทเ่ี ชอ่ื มโยงกับ ประสบการณ และสมรรถนะดา นความ และสมรรถนะดานความ การดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ใหแ ก เชน ปลอดภยั ใหแ กน กั เรยี น ปลอดภัยใหแกนกั เรยี น การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน แก นักเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ๓.๒ กิจกรรมจัดกิจกรรมสอดแทรกดา น ความปลอดภยั สถานศกึ ษาในกจิ กรรมวัน สำคัญตา ง ๆ ๓.๓ สรรหาตน แบบผจู ดั กจิ กรรม และการ จัดกจิ กรรมเสริมทักษะท่เี ปน เลิศ 3. การปราบปราม ตาราง 3 การดำเนนิ การตามมาตรการการปราบปรามเพ่อื ใหเ กดิ ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา การปราบปราม แนวทางการปฏิบตั ิ ตวั ชี้วัด 1) การจัดการแกไขปญหา 11.1 กำหนดแนวทางปฏบิ ตั กิ ารจัดการ - สถานศึกษาทุกแหงมีระบบ กรณีเกิดเหตุความปลอดภัย หรอื การระงับเหตุ การชว ยเหลือเมื่อเกิด การแกปญหาดานความปลอดภัย ในสถานศึกษา เหตุในสถานศึกษา และสรา งการรับรู สถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ รวมกนั ทุกภาคสวน 1.2 จดั ตั้งคณะทำงานเคลือ่ นที่เรว็ (Roving Team) ทส่ี ามารถเขา ระงับเหตุ ไดอ ยางทนั เหตุการณ 1.3 เตรียมบุคลากร และเครอ่ื งมือ วสั ดุ อุปกรณ ทพ่ี รอมรบั สถานการณ 1.4 ตดิ ตงั้ ระบบเตอื นภยั เชน กลอ ง วงจรปด สามารถตรวจสอบขอ เท็จจรงิ ได 1.5. ซอ มระงับเหตอุ ยางตอ เนอ่ื ง เชน การดับเพลิง การซอมหนีไฟ การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน เปน ตน 26
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร การปราบปราม แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตวั ช้ีวัด 1.6. ประสานงานเครอื ขา ยการมสี ว นรว ม เพื่อใหค วามชวยเหลอื ไดท ันเหตกุ ารณ 1.7 สงตอ ผูประสบเหตุเพอ่ื ใหไ ดรับ การชว ยเหลือทมี่ ีประสทิ ธิภาพ 1.8 กำกบั ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงาน 2) การชวยเหลอื เยยี วยา 2.1 จดั ทำขอ มูลบคุ คลและหนว ยงาน - สถานศึกษาทุกแหงมีระบบ ฟน ฟู จติ ใจบคุ คลผปู ระสบเหตุ ในพนื้ ท่ีตัง้ ของสถานศึกษาทส่ี ามารถ การชวยเหลือ เยียวยา ฟนฟู จิตใจ ความไมป ลอดภัย ติดตอ ประสานงานและใหการชวยเหลือ ผูประสบเหตุความไมปลอดภัย เยียวยา ฟนฟู จติ ใจไดอ ยางรวดเรว็ ทนั ทวงที 2.2 จดั ตัง้ ศนู ยช วยเหลือเยยี วยา ฟนฟู และใหคำปรึกษา โดยการมสี ว นรวม ของเครือขา ยตา งๆ 2.3 กำหนดหลักเกณฑแ ละวธิ ีการ ชวยเหลือทเ่ี หมาะสม 2.4 ประสานเครอื ขายการมีสวนรวม หนว ยงาน องคก ร เพื่อใหการชว ยเหลือ เยยี วยา ฟน ฟู 2.5 จดั ระบบประกนั ภยั รายบุคคลหรอื รายกลุม ทีส่ ามารถใหการคุมครองสำหรบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาและนกั เรยี น 2.6 สรา งขวญั กำลงั ใจ โดยการติดตาม เย่ยี มเยอื นอยางสม่ำเสมอ 3) ดำเนนิ การตามขน้ั ตอนของ 3.1 แตง ตัง้ คณะกรรมการดำเนินการดา น - ผูประสบเหตุทุกคนไดรับการคุมครอง กฎหมาย กฎหมาย ใหผปู ระสบเหตุไดรบั ความ ตามที่กฎหมายกำหนด คมุ ครองตามท่กี ฎหมายกำหนด 3.2 รายงานเหตกุ ารณต อผูบังคับบัญชา หนว ยงานตนสงั กัด 27
คมู ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การปราบปราม แนวทางการปฏบิ ัติ ตัวช้วี ดั 3.3 ดำเนินคดี จำแนกประเภทของเหตุ ทีเ่ กิด ตดิ ตอประสานงานผปู กครอง เพอ่ื ดำเนนิ การหรอื ดำเนินการแทนผู ปกครอง 3.4 ใหก ารคุม ครองนักเรยี นใหอยู ในความปลอดภยั แนวทางการปฏิบตั ิขอบขายความปลอดภยั สถานศึกษา ขอบขายความปลอดภัยสถานศึกษาจำแนกเปน ๔ กลุมภัย โดยมีการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษาตาม มาตรการ ๓ ป ไดแก การปอ งกัน การปลูกฝง และการปราบปราม ซง่ึ ในแตละมาตรการมีแนวปฏิบัตติ ามรายละเอยี ด ดงั น้ี 1. ภยั ทเี่ กดิ จากการใชความรนุ แรงของมนุษย (Violence) 1.1 การลว งละเมดิ ทางเพศ แนวทางการปฏบิ ตั ิ การปอ งกนั 1) สำรวจนักเรยี นกลมุ เสีย่ งและพนื้ ที่ที่เปนจุดเส่ยี ง 2) เฝาระวัง สงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียน และพฒั นาพนื้ ท่ีเสี่ยงใหป ลอดภัย 3) สรางเครอื ขา ยเฝา ระวงั ท้งั ในสถานศึกษาและชุมชน 4) จัดระบบการสอื่ สารเพ่ือรบั สงขอมูลดา นพฤตกิ รรมนกั เรียนท้ังในสถานศึกษาและชุมชน การปลกู ฝง 1) จดั กจิ กรรมสง เสรมิ ความตระหนักรแู ละเห็นคุณคาในตนเอง 2) จดั กิจกรรมพฒั นาทักษะชวี ติ 3) ฝก ทักษะการปฏิเสธ และการเอาตัวรอดในสถานการณต าง ๆ การปราบปราม ๑) เผยแพรป ระชาสมั พนั ธชองทางในการขอความชวยเหลือ 2) แตงต้งั คณะทำงานใหค วามชว ยเหลือเรงดว น ท่ีสามารถใหความชว ยเหลอื ไดทนั เหตุการณ 3) แตงตั้งคณะทำงานดานกฎหมายเพ่อื ใหค วามชวยเหลือ 4) ประสานภาคีเครอื ขายเพื่อการสงตอทเี่ หมาะสม 28
คูม ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 1.2 การทะเลาะววิ าท แนวทางการปฏิบัติ การปองกนั 1) จัดทำระเบียบในการประพฤตปิ ฏิบตั ติ นในสถานศึกษา 2) ประชมุ ชแี้ จงทำความเขาในการปฏบิ ตั ติ นตามระเบียบ 3) เฝา ระ๑วัง. สภังัยเกทตพีเ่ กฤติดิกจรารมกทกงั้ าในรรใะชดคับชว้ันาเรมยี รนนุ สแถรานงศขกึ อษงามแนละุษชมุยช น(Violence) 4) สรางเครือขา ยเฝาระวังในสถานศึกษาและชมุ ชน 5) จัดระบบตดิ ตอสือ่ สารเพอ่ื ตดิ ตามพฤติกรรมนักเรียนอยา งตอ เนอ่ื ง การปลูกฝง 1) ใหค วามรเู ร่อื งการอยรู วมกันในสงั คม และผลกระทบทีเ่ กิดจากการทะเลาะววิ าท 2) จดั กิจกรรมสงเสริมการอยรู ว มกันในสังคม 3) จดั เวทกี ิจกรรมใหน กั เรยี นไดแสดงออกตามความสามารถอยางเหมาะสม การปราบปราม 1) แตง ตั้งคณะทำงานเพื่อระงับเหตทุ งั้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 2) ประสานเครอื ขายการมีสว นรวมเพื่อรว มแกป ญหา 3) ดำเนินการตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเนนการไกลเ กล่ียประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั 1.3 การกลนั่ แกลงรังแก แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกนั 1) สำรวจนักเรียนกลุมเส่ยี งทง้ั กลมุ ผกู ระทำและผถู กู กระทำ 2) จดั ทำระเบียบขอตกลงรวมกัน ทง้ั ในระดบั ชน้ั เรยี นและระดบั สถานศกึ ษา 3) สรางเครือขายเฝาระวงั ท้ังในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 4) จดั ระบบการส่ือสารเพื่อติดตามพฤตกิ รรมนกั เรียน การปลูกฝง 1) ใหค วามรูความเขา ใจหลกั ในการอยรู ว มกนั ในสังคม 2) จดั กิจกรรมใหน ักเรยี นไดท ำรวมกันอยางตอ เนอื่ ง 3) จัดเวทีใหน กั เรยี นไดแสดงออกตามความสามารถอยา งเหมาะสม การปราบปราม 1) แตงตง้ั คณะทำงานเพอื่ ระงบั เหตุ ทัง้ ในระดบั ชัน้ เรียน สถานศึกษา และชุมชน 2) ดำเนนิ การเอาโทษตามระเบยี บขอ ตกลง โดยเนน การไกลเ กลย่ี ประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั 3) ตดิ ตาม เยี่ยมเยอี น ใหก ำลังใจผูถกู กระทำ และสรางความเขาใจกบั ผกู ระทำ 1.4 การชุมนุมประทว งและการจลาจล แนวทางการปฏบิ ตั ิ การปองกนั 1) สำรวจนักเรยี นกลุม เสี่ยง 29
คูมอื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2) เฝาระวัง สงั เกตพฤติกรรมนกั เรียน และพฒั นาพ้นื ทีเ่ สี่ยงใหปลอดภัย 3) สรา งเครอื ขา ยเฝาระวังทั้งในสถานศกึ ษาและในชมุ ชน 4) จดั ระบบการสอ่ื สารเพอื่ รบั สงขอมลู ดานพฤติกรรมนกั เรยี นท้ังในสถานศึกษาและชมุ ชน การปลกู ฝง 1) สรา งความรูความเขาใจเก่ยี วกบั ระเบียบ กฎหมาย สิทธิและหนา ที่พลเมอื ง 2) สรางองคความรูความเขาใจถงึ ผลกระทบทเี่ กิดจากการชุมนุมประทวงและการจลาจล 3) จัดกิจกรรมบำเพ็ญสาธารณประโยชนอ ยา งสมำ่ เสมอ 4) จดั กจิ กรรมสรา งทศั นคติทถี่ กู ตองรวมกบั ผปู กครอง ชุมชน ในโอกาสท่เี หมาะสม การปราบปราม 1) แตงตั้งคณะทำงานเพ่อื ระงบั เหตุทัง้ ในสถานศึกษาและชมุ ชน 2) ประสานเครือขา ยการมสี ว นรวมเพื่อรวมแกปญ หา 3) ดำเนินการตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเนน การไกลเกลยี่ ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั 1.5 การกอ วินาศกรรม แนวทางการปฏิบตั ิ การปอ งกัน 1) สำรวจนักเรียนกลมุ เส่ยี ง 2) เฝา ระวัง สงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น 3) สรา งเครือขายเฝา ระวงั ทั้งในสถานศกึ ษาและในชมุ ชน 4) จัดระบบการสือ่ สารเพ่ือรับสงขอมูลดา นพฤตกิ รรมนกั เรยี นทั้งในสถานศึกษาและชุมชน การปลกู ฝง 1) สรางความรคู วามเขาใจถงึ ผลกระทบที่เกิดจากการกอวนิ าศกรรม 2) จัดกิจกรรมสรางทศั นคติทถี่ กู ตองรวมกบั ผูปกครอง ชมุ ชน ในโอกาสที่เหมาะสม 3) จัดเวทีใหนักเรียนไดแสดงออกตามความสามารถอยา งเหมาะสม การปราบปราม 1) แตง ตั้งคณะทำงานเพอ่ื ระงับเหตทุ ้ังในสถานศกึ ษาและชุมชน 2) ประสานเครอื ขา ยการมีสวนรวม เพือ่ รว มแกปญหา 3) ดำเนินการตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเนน การไกลเ กลย่ี ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั 1.6 การระเบิด แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกนั 1) สำรวจนักเรยี นกลุมเส่ียง 2) สำรวจขอ มลู แหลง ทีม่ าของวัตถุประกอบระเบดิ 3) สรา งเครือขายเฝาระวงั ท้งั ในสถานศกึ ษาและชุมชน 4) จดั ระบบตดิ ตอสอ่ื สารเพื่อติดตามพฤติกรรมนกั เรยี น 30
คูมือการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ การปลกู ฝง 1) สรา งความรคู วามเขา ใจถึงผลกระทบทเ่ี กดิ จากการใชระเบิด 2) จัดกิจกรรมสรางทศั นคตทิ ี่ถูกตองรวมกบั ผปู กครอง ชมุ ชน ในโอกาสที่เหมาะสม 3) จดั เวทีใหนกั เรียนไดแสดงออกออกตามความสามารถอยางเหมาะสม การปราบปราม 1) แตงตง้ั คณะทำงานเพ่ือระงบั เหตทุ ้ังในสถานศึกษาและชุมชน 2) ประสานเครือขา ยการมีสวนรวม เพือ่ รวมแกป ญ หา 3) ดำเนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนนการไกลเ กลย่ี ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 1.7 สารเคมีและวัตถอุ ันตราย แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกนั 1) จดั ทำมาตรการและแนวปฏิบตั ใิ นการดำเนนิ การ ลด ละ เลิก การใชส ารเคมแี ละวัตถอุ นั ตราย ๒) จัดสถานท่ีในการจดั เก็บสารเคมีและวตั ถุอนั ตรายใหม ดิ ชิด ๓) สรา งเครอื ขา ยเฝา ระวังการใชสารเคมีและวัตถอุ นั ตรายทงั้ ในสถานศึกษาและชุมชน การปลูกฝง 1) สรา งความรคู วามเขาใจถึงผลกระทบท่เี กดิ จาการใชส ารเคมแี ละวัตถอุ นั ตราย 2) จัดกิจกรรมสงเสรมิ การนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชในการดำเนินชีวติ 3) จดั กิจกรรมใหนักเรยี นไดเรียนรหู ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานทีจ่ รงิ ในพนื้ ที่ การปราบปราม 1) ตดิ ตอประสานงานเครอื ขา ยการมีสวนรวมเพ่ือรวมแกป ญ หา 2) ดำเนนิ การตามมาตรการและขอตกลงท่ีกำหนดรวมกัน 1.8 การลอ ลวง ลักพาตัว แนวทางการปฏิบัติ การปอ งกนั 1) สรา งเครอื ขายเฝา ระวังท้งั ในสถานศกึ ษาและชุมชน 2) จัดระบบการติดตอ สอ่ื สารเพือ่ รับสง ขอมูลพฤตกิ รรมนกั เรียน ผูใกลช ดิ และบคุ คลภายนอก 3) จัดทำขอ มลู ชองทางขอความชว ยเหลอื เผยแพร ประชาสัมพันธใหนักเรียนและชุมชน การปลูกฝง 1) การจดั กจิ กรรมสง เสรมิ ความตระหนักรูแ ละเห็นคุณคาในตนเอง 2) จัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ อยางรอบดาน 3) ฝก ทักษะการปฏิเสธ และการเอาตวั รอดในสถานการณตาง ๆ การปราบปราม 1) แตงต้ังคณะทำงานใหความชวยเหลือเรง ดวน ที่สามารถใหความชวยเหลือไดท ันเหตกุ ารณ 2) แตง ตั้งคณะทำงานดานกฎหมายเพื่อใหความชว ยเหลือ 3) ประสานภาคีเครือขา ยเพอ่ื รว มแกป ญ หา 31
คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2. ภยั ที่เกิดจากอบุ ัติเหตุ (Accident) 2.1 ภยั ธรรมชาติ แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกัน 1) สำรวจขอมลู ความเสี่ยงทเ่ี กดิ จากภยั ธรรมชาติ 2) จดั ทำแผนปอ งกนั ภัยทางธรรมชาติ 3) จัดตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ เครือ่ งมอื ในการปอ งกันภยั ธรรมชาติ 4) ซกั ซอ มการเผชญิ เหตุภัยธรรมชาติ การปลูกฝง 1) สรา งความรคู วามเขา ใจถึงปญ หาและผลกระทบท่ีเกดิ จากธรรมชาตริ ูปแบบตา ง ๆ 2) จดั กิจกรรมฝกทกั ษะการเผชญิ ปญหาภยั ธรรมชาติ 3) จัดกิจกรรมสง เสริมการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม การปราบปราม 1) แตง ตั้งคณะทำงานใหความชวยเหลอื เรงดวน ทสี่ ามารถใหความชวยเหลือไดท ันเหตกุ ารณ 2) ติดตอส่ือสารเครอื ขายการมีสวนรวม เพอื่ รว มใหค วามชว ยเหลอื และแกปญ หา 3) ประสานงานหนว ยงาน องคกร เพือ่ ใหค วามชวยเหลอื เยียวยา และฟนฟจู ิตใจ 2.2 ภยั จากอาคารเรียน สงิ่ กอ สรา ง แนวทางการปฏบิ ตั ิ การปองกัน 1) สำรวจสภาพของอาคารเรียน อาคารประกอบ และสิ่งกอ สรา ง 2) ติดปายสัญลกั ษณใ นอาคาร หรือพืน้ ทท่ี ไี่ มแ ข็งแรงและมคี วามเสยี่ ง 3) ประชาสมั พนั ธใหนักเรยี นหลีกเลยี่ งการเขา พื้นที่เสี่ยงอยางตอ เนือ่ ง การปลูกฝง 1) สรา งความรูค วามเขา ใจถงึ หลกั การสรา งความปลอดภัยในการดำเนนิ ชีวิต 2) ฝก ทักษะการสังเกตและหลีกเล่ียงพน้ื ทีเ่ สย่ี ง 3) จดั กจิ กรรมฝกทกั ษะการเอาตัวรอดเมือ่ ประสบภัยจากอาคารเรียน และสงิ่ กอสรา ง การปราบปราม 1) สรางเครือขา ยการมสี วนรวมและดำเนินการชว ยเหลอื และแกปญ หาท่ีมปี ระสิทธภิ าพ 2) ประสานงานหนว ยงานภาครฐั และเอกชน เพ่ือใหความชว ยเหลอื 2.3 ภยั จากยานพาหนะ แนวทางการปฏบิ ตั ิ การปองกนั 1) สำรวจขอมลู ยานพาหนะในสถานศกึ ษา 2) จัดระบบสญั จรในสถานศึกษาสำหรับยานพาหนะประเภทตา ง ๆ และสำหรับการเดนิ เทา 32
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 3) จัดทำแผนใหความชวยเหลือผปู ระสบภัยจากยานพาหนะ 4) จัดเตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ เครอื่ งมอื เพื่อการชว ยเหลือ 5) สง เสริมสนบั สนุนการทำประกันภัย ประกนั อบุ ตั เิ หตุ การปลกู ฝง 1) จดั กิจกรรมใหความรเู ร่ืองการใชร ถใชถนนและเครอ่ื งหมายจราจร 2) จดั กจิ กรรมฝกทกั ษะการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน เมือ่ ประสบภยั จากยานพาหนะ 3) จดั กจิ กรรมสงเสริมการสรางจิตสำนึกในการปฏบิ ัตติ ามกฎจราจร การปราบปราม 1) แตง ต้งั คณะทำงานใหค วามชว ยเหลือเรง ดว น ทส่ี ามารถใหค วามชว ยเหลอื ไดท นั เหตกุ ารณ 2) ติดตอสอ่ื สารเครือขา ยการมสี ว นรว ม เพื่อรว มใหความชว ยเหลือและแกปญหา 3) ประสานงานหนว ยงาน องคกร เพ่ือใหความชว ยเหลอื เยยี วยา และฟน ฟูจติ ใจ 2.4 ภยั จากการจดั กจิ กรรม แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกัน 1) แตง ตัง้ คณะทำงานประเมินความเสี่ยงในการจดั กจิ กรรมตาง ๆ 2) จดั แยกกจิ กรรมตามระดับความเสี่ยง 3) เสนอแนะแนวทางในการปองกันความเสี่ยงในกิจกรรมตา ง ๆ การปลกู ฝง 1) สรางความรูความเขาใจในการปฏิบัติกจิ กรรมตา ง ๆ ใหป ลอดภัย 2) ฝก ทักษะการเลอื กปฏบิ ัติกจิ กรรมตา ง ๆ ทเ่ี หมาะสมกับตนเอง 3) จัดกิจกรรมฝกทกั ษะการใหความชวยเหลือเมื่อประสบภยั จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม การปราบปราม 1) แตง ตง้ั คณะทำงานใหค วามชว ยเหลือเรง ดว น ที่สามารถใหค วามชวยเหลือไดท นั เหตุการณ 2) ติดตอส่ือสารเครอื ขายการมีสว นรวม เพอื่ รว มใหค วามชว ยเหลือและแกป ญ หา 3) ดำเนินการสง ตอเพอื่ การชว ยเหลือทมี่ ปี ระสิทธิภาพ 2.5 ภัยจากเครอ่ื งมือ อุปกรณ แนวทางการปฏบิ ัติ การปอ งกัน 1) สำรวจขอ มูลเคร่อื งมอื อปุ กรณ จดั แยกสวนทีช่ ำรดุ และสวนที่ใชงานได 2) จดั ทำคูม ือการใชเคร่ืองมอื อุปกรณใ หป ลอดภยั 3) ดำเนนิ การซอ มแซม บำรุงรกั ษาและการจัดเก็บเครือ่ งมอื อุปกรณ ใหเปนระบบ การปลูกฝง 1) จดั กิจกรรมสรา งความรูค วามเขาใจ หลักการใชเครื่องมอื อปุ กรณ ใหปลอดภยั 2) ฝกทักษะการใช การบำรงุ รกั ษา การจัดเกบ็ เครือ่ งมือ อปุ กรณ 3) จดั กจิ กรรมสรางจติ สำนึกในคุณคา ของเครือ่ งมือ อปุ กรณ 33
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การปราบปราม 1) แตง ต้ังคณะทำงานใหค วามชว ยเหลอื เรงดวน ทส่ี ามารถใหค วามชว ยเหลอื ไดทนั เหตกุ ารณ 2) ประสานเครอื ขายความรว มมอื เพอ่ื ใหค วามชวยเหลือ 3) ดำเนินการสง ตอ เพ่ือการชวยเหลอื ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ 3. ภัยทเ่ี กดิ จากการถกู ละเมิดสทิ ธ์ิ (Right) 3.1 การถูกปลอ ยปละ ละเลย ทอดท้งิ แนวทางการปฏิบตั ิ การปอ งกนั 1) สรา งเครอื ขายเฝา ระวงั ท้ังในสถานศึกษาและชมุ ชน 2) จดั ระบบการตดิ ตอ สื่อสารเพือ่ รับสงขอมูลพฤติกรรมนักเรยี น และผูใกลชิด 3) จัดทำขอ มูลชองทางขอความชว ยเหลอื เผยแพร ประชาสัมพันธใหน กั เรียนและชุมชน การปลกู ฝง 1) จัดกิจกรรมสงเสริมความตระหนกั รูแ ละเหน็ คุณคาในตนเอง 2) จัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ อยา งรอบดา น 3) ฝกทกั ษะการปฏเิ สธการเอาตวั รอด และการขอความชวยเหลอื การปราบปราม 1) แตง ต้งั คณะทำงานใหความชว ยเหลือเรงดว น ที่สามารถใหค วามชวยเหลอื ไดท ันเหตกุ ารณ 2) แตงตั้งคณะทำงานใหค วามชว ยเหลือดานกฎหมาย 3) ประสานภาคีเครอื ขายเพ่ือรวมแกปญหา 4) ตดิ ตามเยีย่ มเยีอนใหกำลงั ใจอยางสมำ่ เสมอ 3.2 การคุกคามทางเพศ แนวทางการปฏบิ ัติ การปอ งกัน 1) สำรวจนกั เรียนกลุมเสย่ี งและพ้ืนทเ่ี ปนจดุ เส่ยี ง 2) เฝา ระวงั สงั เกตพฤตกิ รรมนักเรยี น และพัฒนาพ้ืนที่เส่ียงใหปลอดภยั 3) สรางเครือขายเฝาระวงั ท้ังในสถานศกึ ษาและในชมุ ชน 4) จดั ระบบการสื่อสารเพื่อรับสง ขอ มูลดา นพฤตกิ รรมนักเรียนทั้งในสถานศกึ ษาและชุมชน การปลูกฝง 1) จัดกิจกรรมสงเสรมิ ความตระหนักรแู ละเห็นคุณคาในตนเอง 2) จดั กิจกรรมพัฒนาทกั ษะชวี ติ รอบดาน 3) ฝก ทกั ษะการปฏเิ สธ การเอาตวั รอดในสถานการณตา ง ๆ 34
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร การปราบปราม 1) เผยแพรป ระชาสัมพันธช อ งทางในการขอความชวยเหลือ 2) แตงตั้งคณะทำงานใหความชว ยเหลือเรง ดว น ที่สามารถใหความชว ยเหลือไดท นั เหตุการณ 3) แตง ตง้ั คณะทำงานใหความชวยเหลอื ดานกฎหมาย 4) ประสานภาคเี ครอื ขา ยเพ่อื การสงตอ ท่เี หมาะสม 5) สรา งขวญั กำลงั ใจโดยการติดตามเยี่ยมเยีอนอยางสมำ่ เสมอ 3.3 การไมไ ดร บั ความเปนธรรมจากสงั คม แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกัน 1) สำรวจขอ มูลนักเรยี นรายคน 2) วเิ คราะหสภาพปญ หาความตอ งการ ความขาดแคลน ของนักเรยี นรายคน 3) จดั ทำแผนใหความชว ยเหลือนกั เรียนท่ีตามความขาดแคลน 4) สรางเครอื ขายการมสี ว นรว ม เพ่อื ประสานความชวยเหลือ การปลูกฝง 1) สรางความรคู วามเขาใจถึงสทิ ธิ หนา ที่ และความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม 2) บรกิ ารใหคำปรึกษาสำหรบั นกั เรยี นกลมุ เสีย่ ง 3) จดั กิจกรรมสงเสรมิ การสรางจิตสำนกึ ในความเสมอภาค เอือ้ เฟอ เผ่อื แผตอกัน การปราบปราม 1) แตง ตง้ั คณะทำงานใหค วามชวยเหลือเรงดวน ทสี่ ามารถใหค วามชวยเหลือไดท ันเหตุการณ 2) ประสานภาคีเครือขายเพ่ือรวมแกปญหา 3) ตดิ ตามเย่ียมเยอี นใหก ำลังใจอยา งสม่ำเสมอ 4. ภัยทเ่ี กดิ จากผลกระทบทางสขุ ภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) 4.1 ภาวะจติ เวช แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกนั 1) สำรวจขอมลู นักเรียนกลุม เส่ียง 2) ติดตอ ประสานเครือขา ยการมสี วนรว มเพ่ือประเมินภาวะจติ 3) จัดหลกั สูตรการเรยี นการสอนพิเศษรายคน 4) สรา งเครือขายเฝาระวงั ท้ังในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 5) จดั ระบบตดิ ตอ สอ่ื สารเพ่อื รับสงขอมลู พฤติกรรมอยา งตอ เนือ่ ง 35
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การปลกู ฝง 1) จดั กิจกรรมสงเสริมการแลกเปลยี่ นเรยี นรรู วมกนั ของนักเรียน 2) จัดเวทีใหน ักเรยี นไดแสดงออกตามความสามารถ 3) จัดกจิ กรรมสง เสรมิ การตระหนกั รูแ ละเหน็ คุณคา ในตนเองและผูอ ื่น การปราบปราม 1) แตง ตัง้ คณะทำงานเพ่อื ระงบั เหตุท้งั ในสถานศึกษาและชุมชน 2) ประสานเครอื ขา ยการมสี ว นรว ม เพื่อรว มแกป ญหา 3) ดำเนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนน การไกลเ กลย่ี ประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั 4) ประสานการสงตอ เพ่อื ใหความชว ยเหลือทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ 4.2 ตดิ เกม แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกัน 1) สำรวจขอ มูลนกั เรยี นกลมุ เสย่ี ง 2) สำรวจขอมลู พน้ื ท่ีแหลงใหบ รกิ ารรา นเกม 3) กำหนดขอ ตกลงเพ่ือปฏบิ ัตริ วมกัน 4) สรา งเครอื ขายเฝา ระวงั ทงั้ ในสถานศึกษาและชมุ ชน 5) จดั ระบบตดิ ตอส่อื สารเพือ่ รับสงขอ มูลพฤติกรรมอยา งตอ เนอื่ ง การปลกู ฝง 1) สรางความรคู วามเขา ใจถึงผลกระทบท่เี กิดจากการติดเกม 2) จดั กจิ กรรมสงเสรมิ การการคิด วิเคราะห และใชเวลาวางใหเปน ประโยชน 3) จดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รทส่ี นองตอความสนใจของนักเรยี นอยา งหลากหลาย การปราบปราม 1) แตง ต้ังคณะทำงานเพอื่ ระงบั เหตุทงั้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน 2) ประสานเครือขา ยการมีสวนรว ม เพ่อื รวมแกปญ หา 3) ดำเนินการเอาผิดตามขอ ตกลงทีก่ ำหนดไวร ว มกนั 4) ตดิ ตามเยี่ยมเยีอนเพ่ือสรางขวัญกำลงั ใจ 4.3 ยาเสพตดิ แนวทางการปฏิบตั ิ การปอ งกัน 1) สำรวจขอ มูลนักเรยี นกลมุ เสี่ยง 2) วเิ คราะหนกั เรียนรายบคุ คล 3) กำหนดขอ ตกลงเพอ่ื ปฏบิ ตั ริ วมกัน 4) สรา งเครือขายเฝาระวังทง้ั ในสถานศึกษาและชมุ ชน 5) จดั ระบบติดตอ ส่อื สารเพื่อรับสง ขอมูลพฤตกิ รรมอยางตอ เน่อื ง 36
คมู อื การดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ การปลกู ฝง 1) สรา งความรคู วามเขา ใจถึงโทษภยั และผลกระทบของการตดิ ยาเสพติด 2) จัดกจิ กรรมตอ ตา นยาเสพตดิ ในวันสำคญั ตา ง ๆ อยางสมำ่ เสมอ 3) จัดกจิ กรรมสง เสรมิ การการคิด วิเคราะห และใชเวลาวางใหเ ปน ประโยชน 4) จดั กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รท่ีสนองตอ ความสนใจของนักเรยี นอยา งหลากหลาย การปราบปราม 1) แตง ต้ังคณะทำงานเพื่อระงับเหตทุ ั้งในสถานศกึ ษาและชุมชน 2) ประสานเครือขายการมีสว นรว ม เพอื่ รวมแกป ญ หา 3) ดำเนนิ การตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเนน การไกลเ กลย่ี ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 4) ประสานการสง ตอ เพอ่ื ใหค วามชว ยเหลือทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ 4.4 โรคระบาดในมนุษย แนวทางการปฏบิ ัติ การปอ งกัน 1) สำรวจขอ มูลดา นสขุ ภาพของนักเรียนรายคนและบุคคลใกลชิด 2) จดั ทำแผนในการปองกันโรคระบาดในมนษุ ย 3) บรกิ ารวสั ดุ อปุ กรณในการปองกนั โรคระบาดในมนษุ ย 4) สรางเครอื ขายเฝา ระวงั ทงั้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน 5) จดั ระบบติดตอส่ือสารเพอ่ื ติดตามขอมลู ดานสขุ ภาพอยางตอ เนอ่ื ง การปลูกฝง 1) สรางความรูความเขาใจเก่ยี วกบั โรคระบาดในมนุษย 2) จัดกิจกรรมฝก ทกั ษะการปฏบิ ัติตน เพ่ือความปลอดภยั จากโรคระบาดในมนุษย 3) จัดกจิ กรรมสรา งจติ สำนกึ ในความรับผดิ ชอบตอ ตนเองและสงั คม การปราบปราม 1) แตง ต้ังคณะทำงานเพอื่ ระงับเหตทุ ัง้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 2) ประสานเครอื ขา ยการมสี วนรว ม เพื่อรวมแกปญหา 3) ดำเนินการตามมาตรการท่ีกฎหมายกำหนด 4) ประสานการสงตอ เพ่อื ใหค วามชว ยเหลือที่มปี ระสทิ ธิภาพ 4.5 ภัยไซเบอร แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกัน 1) สำรวจขอ มลู การใชงานระบบไซเบอรของนกั เรยี นรายคน 2) กำหนดขอ ตกลงเพอื่ ปฏิบัติรว มกนั 3) สรา งเครือขายเฝา ระวังท้งั ในสถานศกึ ษาและชุมชน 4) จัดระบบติดตอ สอ่ื สารเพื่อรับสงขอมลู พฤติกรรมอยางตอเน่อื ง 37
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ การปลูกฝง 1) สรางความรคู วามเขาใจถงึ ผลกระทบท่ีเกิดจากการใชงานระบบไซเบอรโ ดยขาดวิจารณญาณ 2) จดั กิจกรรมสงเสริมการการคิด วิเคราะห และใชเวลาวางใหเ ปนประโยชน 3) จดั กจิ กรรมเสริมหลักสตู รทส่ี นองตอความสนใจของนกั เรยี นอยางหลากหลาย การปราบปราม 1) แตงตงั้ คณะทำงานเพ่อื ระงับเหตทุ ัง้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน 2) ประสานเครือขายการมีสวนรว ม เพื่อรวมแกปญ หา 3) ดำเนนิ การเอาผดิ ตามขอ ตกลงทก่ี ำหนดไวรว มกัน 4) ตดิ ตามเยีย่ มเยอี นเพอ่ื สรา งขวญั กำลังใจ 4.6 การพนนั แนวทางการปฏิบตั ิ การปอ งกัน 1) สำรวจขอมลู นักเรียนกลมุ เสย่ี ง 2) สำรวจพื้นท่ีทเ่ี ปนแหลงการพนนั 3) กำหนดขอ ตกลงเพื่อปฏิบตั ริ วมกัน 4) สรางเครอื ขา ยเฝาระวังทัง้ ในสถานศึกษาและชมุ ชน 5) จัดระบบตดิ ตอส่ือสารเพ่อื รับสงขอ มลู พฤตกิ รรมอยา งตอเนือ่ ง การปลกู ฝง 1) สรางความรูความเขา ใจถึงผลกระทบทเ่ี กดิ จากการพนัน 2) จดั กจิ กรรมสงเสรมิ การการคิด วเิ คราะห และใชเวลาวางใหเปนประโยชน 3) จดั กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรท่ีสนองตอ ความสนใจของนักเรยี นอยา งหลากหลาย การปราบปราม 1) แตงตัง้ คณะทำงานเพอ่ื ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษาและชุมชน 2) ประสานเครอื ขา ยการมสี วนรวม เพอ่ื รวมแกป ญหา 3) ดำเนินการเอาผดิ ตามขอ ตกลงทกี่ ำหนดไวรว มกนั 4) ตดิ ตามเยยี่ มเยอี นเพือ่ สรางขวญั กำลงั ใจ 4.7 มลภาวะเปนพิษ แนวทางการปฏบิ ตั ิ การปอ งกนั 1) สำรวจขอมลู พืน้ ที่ทเ่ี กดิ มลภาวะเปน พิษในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 2) จัดทำปายสญั ลกั ษณแสดงพื้นทมี่ ลภาวะเปน พษิ 3) จดั ทำแผนในการแกปญ หามลภาวะเปน พษิ รวมกัน 4) กำหนขอตกลงในการปฏบิ ตั ริ ว มกนั 38
คูมือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ การปลกู ฝง 1) สรา งความรูความเขาใจถึงสาเหตแุ ละผลกระทบท่ีเกดิ จากมลภาวะเปน พษิ 2) จดั กจิ กรรมทีส่ ง เสริมการแกปญหาและการลดมลภาวะเปน พษิ 3) จัดกิจกรรมสงเสรมิ การสรา งจติ สำนึกในการลดมลพิษรวมกบั ชุมชน การปราบปราม 1) แตงตงั้ คณะทำงานเพ่ือระงับเหตุทัง้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 2) ประสานเครือขายการมสี วนรว ม เพือ่ รว มแกป ญ หา 3) ดำเนินการเอาผิดตามขอ ตกลงที่กำหนดไวร ว มกนั 4) ตดิ ตามเยีย่ มเยอี นเพือ่ สรา งขวญั กำลังใจ 4.8 โรคระบาดในสตั ว แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกัน 1) สำรวจขอมูลสตั วเ ลย้ี งของนกั เรียนรายคน 2) จดั ทำแผนในการปอ งกันโรคระบาดในสตั ว 3) บรกิ ารวัสดุ อปุ กรณใ นการปองกนั โรคระบาดในสตั ว 4) สรา งเครอื ขายเฝาระวงั ทัง้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 5) จดั ระบบตดิ ตอสอื่ สารเพอื่ ติดตามขอมลู สตั วเ ลยี้ งอยางตอ เนอ่ื ง การปลกู ฝง 1) สรางความรูค วามเขา ใจเก่ยี วกบั โรคระบาดในสตั ว 2) จัดกิจกรรมฝก ทกั ษะการปฏิบตั ติ น เพ่ือความปลอดภยั จากโรคระบาดในสตั ว 3) จัดกจิ กรรมสรางจติ สำนึกในความรบั ผิดชอบตอตนเองและสงั คม การปราบปราม 1) แตง ตัง้ คณะทำงานเพื่อระงบั เหตุทงั้ ในสถานศึกษาและชมุ ชน 2) ประสานเครือขายการมีสวนรวม เพ่ือรว มแกป ญหา 3) ดำเนินการตามมาตรการท่กี ฎหมายกำหนด 4) ประสานการสงตอเพื่อใหค วามชว ยเหลอื ทีม่ ีประสทิ ธิภาพ 4.9 ภาวะทพุ โภชนาการ แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกัน 1) การสำรวจและจัดกลุมนักเรียนกลุมเสย่ี งและกลุมที่มภี าวะทุพโภชนาการ 2) เสริมสรางความรว มมอื ระหวางโรงเรียน ครอบครัว ชุมชน และผูมีสว นเกี่ยวขอ ง 3) จัดทำสื่อประชาสัมพันธใหความรูด านโภชนาการแกผ ปู กครอง 4) จดั ทำฐานขอ มลู เพ่ือตรวจสอบพฒั นาการและความกา วหนาในการลดภาวะทพุ โภชนาการ ๕) จดั หาอุปกรณก ีฬาใหเพียงพอ ๖) การดแู ลอาหารกลางวัน อาหารเสริม และอาหารวา งทถ่ี ูกตองตามหลกั โภชนาการ 39
คูมือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ การปลกู ฝง 1) จดั กจิ กรรมใหความรูดานโภชนาการแกน ักเรียน 2) จดั กิจกรรมออกกำลงั กาย และวธิ ีการรกั ษาสขุ ภาพใหก ับนักเรียน 3) การบูรณาการความรูดานโภชนาการในการจัดการเรยี นการสอน การปราบปราม 1) การเผยแพรป ระชาสมั พนั ธช องทางในการขอความชว ยเหลือ 2) แตง ตง้ั คณะทำงานใหความชวยเหลอื เรงดวน ท่ีสามารถใหความชว ยเหลอื ไดทันเหตุการณ 3) แตงต้งั คณะทำงานกองทุนอาหารกลางวนั สำหรบั นักเรียนทม่ี ปี ญหาดา นเศรษฐกิจ 4) ประสานภาคเี ครอื ขา ยเพือ่ การสง ตอ ทีเ่ หมาะสม 40
คูมอื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ สว นที่ ๔ การตดิ ตอ สื่อสาร
คมู ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 1. ชอ งทางการตดิ ตอ สอ่ื สาร 1. ระบบ MOE Safety Platform 2. Website Online 3. E-mail 4. Facebook 5. Line 6. จดหมาย 7. โทร 1579 หรอื โทรศนู ยค วามปลอดภยั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โทร 02 – 628 – 9169 , 02 -628 – 9166 , 02- 628-9182 และ 02 – 628 - 9160 8. ตดิ ตอ ดว ยตนเอง 42
คูมือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2. หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง สำนกั งานตำรวจแหง ชาติ 1. กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการคามนุษย กองบญั ชาการตำรวจสอบสวนกลาง ถ.แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม. 10900 โทร. 0 – 2513 -3213 โทรสาร 0 – 2513 - 7117 Website : www.ccsd.go.th E-mail : [email protected] 2. งานพิทักษเด็ก เยาวชน และสตรี สำนักงานตำรวจแหง ชาติ ถ.พระราม 1 เขตปทมุ วัน กทม. 10330 โทร. 0-2205-3421-3 ตอ 26 Website : www.Office.police.go.th E-mail : [email protected] 3. ศูนยสวัสดิภาพเด็ก เยาวชน และสตรี กองบญั ชาการตำรวจนครบาล เลขที่ 1 ถ.ราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมนสั เขตปอ มปราบศตั รูพาย กทม. 10100 โทร. 0-2281-1449 Website : www.korkorsordor.com หนว ยงานภาคเอกชน 1. มูลนิธิศูนยพิทักษสิทธิเด็ก 979 ซ.จรญั สนิทวงศ 12 ถ.จรัญสนทิ วงศ แขวงทาพระ เขตบางกอกใหญ กทม. 10600 โทร. 0-2412-0739, 0-2415-1196 โทรสาร 0-2412-9833 Website : www.thaichildrights.org E-mail : cpcrheadoffl[email protected] 2. มูลนิธิพัฒนาการคุมครองเด็ก Fight Against Child Exploithion Foundation (FACE) ตู ปณ. 178 คลองจน่ั กทม. 10240 โทร. 0-2509-5782 โทรสาร 0-2519-2794 E-mail : [email protected] 43
คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 3. มูลนิธิเพื่อนหญิง 386/61-62 ซ.รัชดาภิเษก 44 (ซอยเฉลมิ สขุ ) ถ.รัชดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กทม. 10900 โทร. 0-2513-1001 โทรสาร 0-2513-1929 Website : [email protected] E-mail : [email protected] 4. องคกรพิทักษสตรีในประเทศไทย 328/1 สำนกั กลางนักเรียนคริสเตรียน ถ.พญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 โทร. 0-2214-5157-8 โทรสาร 0-2513-1929 Website : www.afesip.ord 5. มูลนิธิศุภนิมิตรแหงประเทศไทย 582/18-22 ซ.เอกมัย สุขมุ วทิ 63 แขวงคลองตนั เขตวัฒนา กทม. 10110 โทร. 0-2381-8863-5 ตอ 111 โทรสาร 0-2381-5500 Website : www.worldvision.or.th E-mail : [email protected] 6. เครือขายสงเสริมคุณภาพชีวิตแรงงาน 25/17-18 หมบู านมหาชยั เมืองทอง ถ.สหกรณ ต.บางหญา แพรก อ.เมือง จ.สมทุ รสาคร 74000 โทร. 0-3443-4726, 09-0948-4678 7. โครงการบานพิทักษและคุมครองสิทธิเด็กชนเผาลุมน้ำโขง 294/1 ม.3 ต.ทาสุด อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 โทร. 0-6185-6603 โทรสาร 0-5378-7328, 0871-9075 Website : www.depde.org E-mail : [email protected] 8. ศูนยขอมูลคนหาย มูลนิธิกระจกเงา 8/12 ซ.วิภาวดี 44 ถ.วภิ าวด−ี รังสิตแขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กทม. 10900 โทร. 0-2941-4194-5 ตอ114 โทรสาร 0-2642-7991-2, 0-2941-4194 ตอ109 Website : www.becktohome.org. www.notforsale.or.th, www.miror.or.th E-mail : [email protected] 44
คูมอื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 9. ศูนยชีวิตใหม 49/9 ซ.3 ต.ทงุ โฮเตล็ อ.เมอื ง จ.เชียงใหม 50000 โทร. 0-5335-1312, 08-5326-3010 โทรสาร 0- 5338-0871 Website : www.newlifecenterfoundation.org E-mail : newlife@pobox, 10. สภาทนายความ 7/89 อาคาร 10 ถ.ราชดำเนนิ กลางแขวงบวรนิเวศเขตพระนคร กทม. 10200 โทร. 0-2629-1430 11. หนวยประสานงานเพื่อตอตานการคามนุษย ภาคเหนือตอนบน ประเทศไทย ศาลากลางจังหวัดเชยี งใหม ชัน้ 5 ถ.โชตนา ต.ชางเผือก อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม 50300 โทร. 0-5311-2643-4 12. คลินิกนิรนาม สภากาชาดไทย สภากาชาดไทย กรงุ เทพมหานคร 104 ถ.ราชดำริ แขวงปทุมวนั เขตปทมุ วนั กทม. 10330 โทร. 02-252-2568 กด 1, 02-256-4107-9 โทรสาร 02-254-7577 13. โครงการสงเสริมศักยภาพหญิงแรงงานขามชาติ (ซีปอม) 120 ม.15 ต.รอบเวยี ง อ.เมือง จ.เชยี งราย 57000 โทร. 0-5375-6411 โทรสาร 0-5375-6411 E-mail : [email protected] 14. บานแสงใหม 258 ม.5 ต.รอบเวยี ง อ.เมือง จ.เชยี งราย 57000 โทร. 0-5371-4772 โทรสาร 0-5371-7098 E-mail : [email protected] 15. บานเอื้ออารี 343/22 ซ.ขา งธนาคารกสกิ รไทย ถ.พหลโยธิน สะพานใหม แขวงอนเุ สาวรีย เขตบางเขน กทม. 10200 โทร. 0-2972-4992 โทรสาร 0-2972-4993 E-mail : [email protected] 45
คูม อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 16. มูลนิธิเขาถึงเอดส สำนักงานกาญจนบรุ ี 64/3 ถ.แสงชูโต ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบรุ ี 57000 โทร. 0-5371-6212, 0-5371-7897 Website : www.aidaccress.com E-mail : [email protected] 17. UNIAP โครงการความรวมมือสหประชาชาติ วาดวยการตอตานการคามนุษย ประจำประเทศไทย อาคารสหประชาชาติ ชั้น 7 ถ.ราชดำเนนิ นอก กทม. 10200 โทร. 0-2288-1746 โทรสาร 0-2288-1053 Website : www.no_trafficking.org E-mail : [email protected] 46
คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สว นที่ ๕ การกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล
คูม ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร สถานศกึ ษาดำเนนิ การกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การดำเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา โดยการมสี ว นรว ม ของภาคีเครือขาย ตามแนวดำเนินการ มาตรการ แนวทางปฏิบัติ โดยยึดตัวชี้วัดในการดำเนินการในทุกประเด็น มีการจัดทำ เครอ่ื งมอื ในการกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ทม่ี คี ณุ ภาพและครอบคลมุ มกี ารจดั ทำแผนการกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล กำหนดปฏิทินดำเนินการ คัดเลือกสถานศึกษาที่มีผลการดำเนินการประสบผลสำเร็จเปนที่ประจักษ ยกยองเชิดชูเกียรติ สรุป รายงาน และเผยแพรผลการดำเนินงานอยา งเปน ระบบ โดยดำเนนิ การ ดงั น้ี 1) แตง ตง้ั คณะกรรมการกำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาโดยการมสี ว นรว ม จากทกุ ภาคสว น 2) ศกึ ษาแนวดำเนินการ มาตรการ แนวทางการปฏิบตั ิ และตวั ชี้วดั การดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศึกษา 3) จัดทำแผนการกำกับ ติดตาม และประเมินผล การดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา 4) กำหนดปฏทิ นิ ในการดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา อยางนอยภาคเรยี นละ 1 ครั้ง 5) จัดทำเครื่องมือในการกำกับ ติดตาม และประเมินผล การดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศึกษาที่สอดคลอง กับตัวช้วี ดั ในการดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา 6) ดำเนนิ การกำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล การดำเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา 7) สรุปผลการดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศึกษา ใหขอเสนอแนะประเด็นที่เปนจุดเดน จุดควรพัฒนา พรอ มแนวทางในการพฒั นาในปก ารศกึ ษาตอไป 8) คดั เลอื กสถานศกึ ษาท่มี ผี ลการดำเนินการประสบผลสำเรจ็ เปน ทีป่ ระจักษ 9) ยกยองเชดิ ชเู กยี รติสถานศึกษาที่มผี ลการดำเนนิ การประสบผลสำเร็จเปน ท่ปี ระจักษ 10) เผยแพรป ระชาสมั พนั ธผ ลการดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศกึ ษาในชอ งทางที่หลากหลาย 48
คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร บรรณานกุ รม - คูมือการคุมครองและชวยเหลือเด็กนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ฉบับพัฒนา พ.ศ. 2563) - คูมือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 - คูมือโครงการเตรียมความพรอมดานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานในสถานศึกษา - มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติ สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู สำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2562 - มาตรฐานโรงเรียนคุมครองเด็ก - แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานโรงเรียนคุมครองเด็ก - คูมือการรับมือแผนดินไหว - คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ ๑๙ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ - พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ - กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕ - กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ 49
Search