Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore part-1

part-1

Published by paoreeyapra, 2020-05-04 19:37:48

Description: part-1

Search

Read the Text Version

ปท ่ี 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม-มถิ ุนายน 2553 ISSN 0125-3697 ปที ่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม – มิถุนายน 2553 ISSN 0125-3697 ¾ª× Á§¤Å¨Ã´¾Ãй§Ñ ¤ÅÑ áá¹Ò¢ÇÞÑ ... 7 นำ้ พระทัยสไู่ ร่นา : พืชมงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวัญ... 7 ¾ÃÐÃÒª¾¸Ô àÕ ¾Íè× ¢ÇÞÑ áÅСÓÅ§Ñ ã¨¢Í§ªÒÇ¹Ò พระราชพธิ ีเพื่อขวัญ และกำลังใจของชาวนา 19 96 คคู่ ิดชาวนา : ขา้ วต้านเพลีย้ กระโดดสนี ำ้ ตาล 22 25 99 : ข้าว “ลืมผัว” 2553 25 77 เปดิ แฟม้ วจิ ยั : 11 ผลงานวจิ ัย...ดีเดน่ แห่งปี 38 มมุ มองพชื สวน : การผลิตมะม่วงภายใต้ระบบการจดั การคุณภาพ 44 อาหารปลอดภัย : เกษตรกร GAP ดีเด่นปี 2553 (ตอนที่ 3) 59 เกษตรตา่ งแดน : จว๋ิ แตแ่ จ๋ว การเกษตรแนวไตห้ วนั 69 ปจั จยั การผลติ : ปุ๋ยบัลค์ เบล็นด์ ทางเลอื กของเกษตรกร 75 คนรกั ต้นไม้ : สแี ดงบานสะพร่งั ...หางนกยูง 77 แวดวงเกษตร : มงั คดุ และกลุ่มไมผ้ ลอนิ ทรีย์ท่บี า้ นนาสาร 82 : ฉายรงั สี และเพาะเล้ียงเนื้อเยือ่ พรรณไมน้ ำ้ 84 เกษตรนา่ รู้ : สบั ปะรดหว้ ยมุ่น 87 : แหนแดง 91 : การอนรุ กั ษ์ชนั โรงเพอ่ื การเกษตร 93 : เห็ดนางรม เหด็ ตับเตา่ เพาะเองได้ เกษตรท่องเทย่ี ว : สามพนั โบก ดนิ แดนมหัศจรรย์แห่งลำนำ้ โขง... 96 กบั การเกษตรแบบเรยี บง่าย 99 : ช่องเม็ก..ประตสู ู่ สปป.ลาว 105 รายงาน : “ลุงดำ นำ้ หยด” ผู้บกุ เบิกไรก่ าแฟภาคตะวันออก ท่านทต่ี ้องการส่งบทความ หรือข้อเขียนเผยแพร่ในหนังสอื พมิ พก์ สิกร กรณุ าสง่ ขอ้ เขยี นของท่านที่บันทกึ ลงในแผน่ บันทกึ ขอ้ มูล พร้อมภาพประกอบเรอื่ งทีบ่ ันทึกลงในแผน่ บันทกึ ขอ้ มูล ภาพสี หรือ ภาพสไลด ์ ใหก้ บั กองบรรณาธิการโดยตรง บทความ หรือ ข้อเขียนใดที่ลงพิมพ์ในหนังสืออ่ืนมาก่อนด้วยข้อความที่เหมือนกันทุกประการจะไม่ได้ รับการพจิ ารณา บทความ และขอ้ เขียนที่ตีพมิ พ์เผยแพรใ่ นหนังสอื พิมพ์กสกิ รเป็นขอ้ คดิ เห็น และ ทศั นคติของผเู้ ขียน มไิ ดเ้ กย่ี วข้องกับกรมวิชาการเกษตรแตอ่ ย่างใด

น้ ำ พ ร ะ ทั ย สู่ ไ ร่ น า ชมงคล จรดพระนงั คลั แรกนาขวัญ... พระราชพิธี เพือ่ ขวัญ และ กำลังใจของชาวนา พรรณนีย์ วชิ ชาชู ระยาแรกนาเสยี่ งทายหยบิ ผา้ นงุ่ แตง่ กาย หยบิ ไดผ้ า้ หกคบื เทวรปู สำคัญในพิธี พยากรณ์ว่า น้ำจะนอ้ ย นาในที่ลุ่มจะไดผ้ ลบรบิ รู ณ์ดี แตน่ าในท่ีดอนจะเสียหายบา้ ง ไดผ้ ลไมเ่ ตม็ ที่ ผลการเส่ยี งทาย พระโคกนิ เลยี้ ง พระโคกนิ หญา้ พยากรณว์ า่ นำ้ ทา่ จะบรบิ รู ณพ์ อสมควร ธัญญาหาร ผลาหาร ภกั ษาหาร มงั สาหาร จะอุดมสมบูรณด์ ”ี ข้างต้นนั้น คือคำพยากรณ์ในพระราชพิธีจรดพระนังคัล แรกนาขวญั เมอื่ วนั ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ทผี่ า่ นมา พระยาแรกนา ผู้เสยี่ งทายหยบิ ผา้ นุ่งแตง่ กาย ได้แก่ นายยคุ ล ล้ิมแหลมทอง ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระโคแรกนาทกี่ นิ ของเสยี่ งทาย ไดแ้ ก่ พระโคฟา้ และพระโคใส น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553 7

พระราชพธิ แี รกนาขวญั ประจำปี พ.ศ. 2553 นายยคุ ล ลิม้ แหลมทอง ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ประจำปี พ.ศ. 2553 มกี ารประกอบพระราชพิธี 2 วนั พระราชพิธพี ชื มงคล ซง่ึ เปน็ พระราชพิธที างสงฆ์ ประกอบพระราชพธิ ใี นวนั พธุ ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ณ พระอโุ บสถวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม โดยพระบาท สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เสดจ็ พระราชดำเนนิ แทนพระองคไ์ ปในการพระราชพิธี เมอ่ื เสด็จพระราชดำเนนิ ข้ึนสู่พระอุโบสถ ทรงจดุ ธูปเทยี น ถวายนมัสการพระพุทธมหามณีรตั ปฏมิ ากร และ พระพุทธรปู สำคญั พระราชาคณะถวายศลี จบแลว้ ทรง พระสหุ รา่ ยถวายดอกไมบ้ ชู าพระคนั ธารราษฎร์ ทรงอธษิ ฐาน เพอื่ ความสมบรู ณแ์ หง่ พชื ผลแลว้ พระมหาราชครอู ษั ฎาจารย์ ประธานคณะพราหมณ์ อา่ นประกาศพระราชพธิ ีพืชมงคล พระสงฆ์ 11 รปู เจรญิ พระพทุ ธมนตจ์ บแลว้ ทรงหลง่ั นำ้ สงั ข์ พระราชทานใบมะตมู ทรงเจมิ พระราชทานธำมรงค์ และ พระแสงปฏกั สำหรบั ตำแหนง่ พระยาแรกนาขวญั แก่ นายยคุ ล ลม้ิ แหลมทอง ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซง่ึ ทำหนา้ ท่ี พระยาแรกนาขวญั 8 น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553

จากน้ันทรงหล่ังนำ้ สงั ข์ พระราชทานใบมะตมู และ พระยาแรกนาขวัญและเทพที ง้ั 4 ทรงเจิม เทพีท้งั 4 ซง่ึ จะทำหน้าที่หาบกระบุงเมล็ดพันธ์ุ ขา้ วในพระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั ซงึ่ เทพที งั้ 4 นี้ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร และพระเจา้ หลานเธอ เปน็ ขา้ ราชการสตรี โสด ในสงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระองคเ์ จา้ พัชรกิติยาภา โดยเสด็จพระราชดำเนินด้วย ประกอบดว้ ย กอ่ นหนา้ นน้ั ในเวลาประมาณ 7.30 น. ไดม้ กี ระบวน เทพคี หู่ าบเงนิ ไดแ้ ก่ นางสาวสรชนก วงศพ์ รม แหอ่ สิ รยิ ยศเพอ่ื สง่ พระยาแรกนาทโี่ รงพธิ พี ราหมณ์ พระยา นายชา่ งโยธาชำนาญการ สำนกั พฒั นาและถา่ ยทอดเทคโนโลยี แรกนาจดุ ธูปเทยี นถวายสกั การะเทวรปู สำคัญ แล้วตงั้ กรมประมง และนางสาวเดอื นเพญ็ ใจคง เจา้ พนกั งานธรุ การ สตั ยาธิษฐาน หยบิ ผา้ นงุ่ แตง่ กาย ซึ่งในปนี พี้ ระยาแรกนา ชำนาญการ กองแผนงานและวชิ าการ กรมวิชาการเกษตร เสยี่ งทายหยบิ ไดผ้ า้ นงุ่ 6 คบื มคี ำทำนายตามทปี่ รากฎขา้ งต้น สำหรบั เทพคี หู่ าบทอง ซง่ึ เคยเปน็ เทพคี หู่ าบเงนิ เมอ่ื ปที แี่ ลว้ แลว้ พระยาแรกนาจะตอ้ งสวมผ้านุ่งทเี่ ส่ียงทายไดท้ ับผา้ ไดแ้ ก่ นางสาวณทุ นาถ โคตรพรหม นกั วทิ ยาศาสตรป์ ฏบิ ตั ิการ นุ่งเดมิ อกี ช้ันหนึง่ กองอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์ และนางสาวสนุ ลี า รสู้ ุกิจกุล เมอื่ องคป์ ระธานเสดจ็ พระราชดำเนนิ ถงึ และประทบั นักวิชาการปฏิรูปท่ีดินปฏิบัติการ สำนักบริหารกองทุน พระราชอาสน์แล้ว พระยาแรกนาจึงยาตราพรอ้ มเทพีทงั้ สำนกั งานการปฏิรูปทีด่ ินเพือ่ เกษตรกรรม 4 ออกจากโรงพิธพี ราหมณ์ ผ่านหนา้ พลับพลาพระทน่ี ง่ั หลังจากทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมเสร็จแล้ว พระยาแรกนาเขา้ เฝา้ ทลู ละอองพระบาท ถวายบงั คม แลว้ ไป พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก จากนั้นเสด็จ ยังลานแรกนา ประกอบพธิ ี ไถ และหว่านขา้ ว พระราชดำเนนิ กลบั พระราชพิธีพืชมงคลน้ี ถือเป็นพธิ ีทำขวญั พชื พรรณ ต่างๆ ดังน้นั จึงมีพันธพ์ุ ชื และพันธุ์ข้าว เขา้ พระราชพธิ เี ปน็ จำนวนมาก โดยเฉพาะพนั ธข์ุ า้ วนน้ั ในปนี ม้ี พี นั ธขุ์ า้ วทนี่ ำมา ประกอบพระราชพธิ ี 9 พนั ธุ์ จำนวนรวม 1,791 กิโลกรัม ประกอบด้วย ขา้ วนาสวน 7 พันธุ์ ได้แก่ สพุ รรณบรุ ี 1 ปทมุ ธานี 80 ขาวดอกมะลิ 105 เจา้ พทั ลงุ ชยั นาท 80 กข 6 ปทมุ ธานี 1 ขา้ วไร่ 2 พนั ธุ์ ไดแ้ ก่ ซวิ แมจ่ นั และ ดอกพะยอม พระราชพธิ จี รดพระนังคลั แรกนาขวัญ วนั รุ่งขนึ้ คือวนั พฤหัสบดีท่ี 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ประกอบ พระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั ณ มณฑลพธิ สี นามหลวง โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสดจ็ พระราชดำเนนิ แทนพระองค์ เพอ่ื เปน็ องคป์ ระธาน ในการน้ี พระเจา้ วรวงศเ์ ธอพระองคเ์ จา้ ศรรี ศั มพ์ิ ระวรชายา ในสมเดจ็ น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553 9

การไถ จะไถโดยรี 3 รอบ โดยขวาง 3 รอบ เพื่อ เจา้ ศรรี ศั มพิ์ ระวรชายาฯ และพระเจา้ หลานเธอพระองคเ์ จา้ ย่อยดนิ จากน้นั ทำการหว่านเมลด็ พนั ธ์ุขา้ ว แลว้ ไถกลบอีก พัชรกิติยาภา จากมณฑลพิธีสนามหลวง ไปยงั นาทดลอง 3 รอบ เม่ือเสรจ็ แลว้ เจ้าพนักงานปลดพระโคออกจากแอก โครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดา ซงึ่ ณ ทน่ี นั้ พระยาแรกนา พระยาแรกนา และเทพที ง้ั 4 ยาตรากลบั ไปยงั โรงพธิ พี ราหมณ์ เทพที ั้ง 4 ข้าราชการชั้นผใู้ หญ่ของกระทรวงเกษตรและ เจ้าพนักงานนำของกิน 7 สิ่ง ตั้งเล้ียงพระโค สหกรณ์ ได้รอเฝา้ รบั เสด็จพระราชดำเนนิ อย่แู ล้ว ประกอบดว้ ย ขา้ วเปลอื ก ข้าวโพด ถ่ัวเขียว งา หญา้ นำ้ พระยาแรกนา และเทพี ได้นำเมลด็ ข้าวไปหว่าน และเหลา้ ซง่ึ ปนี ี้พระโคกนิ หญา้ ในแปลงนาทดลอง โครงการสว่ นพระองคส์ วนจติ รลดา นางสพุ ตั รา ธนเสนีวัฒน์ รองปลดั กระทรวงเกษตร เพื่อปลกู ไว้ใช้ในพระราพธิ ีในปีต่อไป และสหกรณ์ ถวายรายงานคำพยากรณข์ องโหรหลวง และ ยังมีองค์ประกอบในพระราชพิธีจรดพระนังคัล เบกิ เกษตรกรดีเด่นแหง่ ชาตสิ าขาต่างๆ ผแู้ ทนสถาบนั แรกนาขวัญ ทค่ี วรจะตอ้ งกล่าวถึงอกี คอื พระโค และ คันไถ เกษตรกร และ ผ้แู ทนกลมุ่ สหกรณ์ เข้ารบั พระราชทาน โล่เกียรตคิ ณุ ขบวนอิสรยิ ยศ นำพระยาแรกนา พร้อมเทพที งั้ 4 ออกจากโรงพธิ ีพราหมณ์ พระยาแรกนาถวายบงั คม และ ขึน้ รถยนตห์ ลวง พร้อมดว้ ยเทพที ง้ั 4 ไปยังนาทดลอง โครงการส่วนพระองคส์ วนจิตรลดา สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย พระเจา้ วรวงศเ์ ธอพระองค์ 10 น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553

พระโคแรกนา ตอ้ งมลี กั ษณะดี ซ่ึงเกณฑท์ ่ีกรม คนั ไถ กลมุ่ เกษตรกรผเู้ ลี้ยงโคนมหนองโพ อำเภอ ปศสุ ตั วใ์ ชใ้ นการคดั เลอื กพระโคแรกนานนั้ จะตอ้ งเปน็ โคทมี่ ี โพธาราม จงั หวดั ราชบรุ ี ไดส้ รา้ งคนั ไถขนึ้ เมอื่ ปี พ.ศ. 2539 ลกั ษณะดี รปู รา่ งสมบรู ณ์ มคี วามสงู ไมน่ อ้ ยกวา่ 150 เซนตเิ มตร เพ่อื น้อมเกล้าฯ ถวายแดพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ความยาวลำตัวไมน่ อ้ ยกว่า 120 เซนตเิ มตร ความสมบรู ณ์ สำหรบั พระราชทานใชใ้ นพระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั รอบอกไมน่ อ้ ยกวา่ 180 เซนตเิ มตร โคทงั้ คจู่ ะตอ้ งมสี เี ดยี วกนั เปน็ คันไถทท่ี ำจากไม้สมอ ชดุ คันไถประกอบด้วย ผวิ สวย ขนเปน็ มัน กิรยิ ามารยาทเรียบรอ้ ย ฝกึ สอนง่าย คันไถ วดั จากพน้ื ถงึ เศยี รนาคสงู 2.26 เมตร ความยาว ไม่ดรุ ้าย เขามลี ักษณะโคง้ สวยงามเทา่ กัน ตาแจ่มใส หไู มม่ ี จากเศยี รนาคถึงปลายไถ 6.59 เมตร ทาสแี ดงชาด หัวคนั ไถ ตำหนิ หางยาวสวยงาม มีขวัญหนา้ ขวญั ทัดดอกไม้ซ้าย ทำเปน็ เศยี รนาคลงรกั ปดิ ทอง คนั ไถมลี วดลายกระจงั ตาออ้ ย ขวา และขวญั หลงั ถกู ต้องลักษณะทีด่ ี กบี ข้อเทา้ แขง็ แรง ลงรกั ปดิ ทองตลอดคนั ปลายไถหมุ้ ผา้ ขาวขลบิ ทองสำหรบั มอื จบั สำหรบั พระโคแรกนาในปีนี้ ไดแ้ ก่ พระโคฟา้ และ พระโคใส พระโคฟ้า สูง 171 เซนตเิ มตร ความยาวลำตวั คันไถ 230 เซนตเิ มตร ความสมบรู ณร์ อบอก 225 เซนตเิ มตร อายุ 7 ปี พระโคใส สูง 173 เซนตเิ มตร ความยาวลำตวั 240 เซนตเิ มตร ความสมบรู ณร์ อบอก 215 เซนตเิ มตร อายุ 7 ปี พระโคท้ังคเู่ ปน็ โคพนั ธ์ุขาวลำพนู มีผิวขาวอมชมพู ขนสขี าวสะอาด ทั้งลำตัวไมม่ จี ุดดา่ งดำ หรอื สอี ่ืนบนลำตัว เขาสขี าว ลำเขาเปน็ ลำเทียน โค้งสวยงาม ดวงตาแจม่ ใส สีนำ้ ตาลออ่ น ขนตาสชี มพู จมกู ขาว กบี สขี าว ขนหาง เป็นพวงสีขาวยาว เวลายนื และเดนิ สงา่ งาม พระโคฟา้ นั้น นายยุคล ลม้ิ แหลมทอง ปลดั กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ สมยั ดำรงตำแหนง่ อธบิ ดกี รมปศสุ ตั ว์ ได้ บรจิ าคทรพั ยซ์ อ้ื แลว้ มอบใหก้ รมปศสุ ตั วน์ ำขนึ้ นอ้ มเกลา้ ฯ ถวาย พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ใชเ้ ปน็ พระโคสำรองเมอ่ื ปี พ.ศ. 2551 และได้เปน็ พระโคแรกนาครง้ั แรกเมอื่ ปี พ.ศ. 2552 สำหรบั พระโคใสนน้ั นายยทุ ธ วฒั นกลุ บรจิ าคทรพั ยซ์ อ้ื แล้วมอบให้กรมปศุสัตวน์ ำข้ึนน้อมเกลา้ ฯ ถวายพระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ใชเ้ ปน็ พระโคสำรอง และพระโคแรกนา คู่กับพระโคฟ้า มาโดยตลอด น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มิถนุ ายน 2553 11

ธงสามชาย ฐานรองคนั ไถ แอกเทยี มพระโค แอกเทยี มพระโค ยาว 1.45 เมตร กลางแอกประดบั เชน่ น้ี ก็เพอื่ จะเป็นตวั อยา่ งแกร่ าษฎร ชกั นำใหม้ ใี จหมน่ั ด้วยรูปครุฑยุดนาค หล่อด้วยทองเหลือง ลงรักปิดทอง ในการทำนา เพราะเปน็ สง่ิ สำคญั ทจี่ ะไดอ้ าศยั เลยี้ งชวี ติ ทวั่ หนา้ อยู่บนฐานบัว ปลายแอกทั้ง 2 ด้านแกะสลักรูปเศียร เปน็ ความตงั้ มน่ั และความเจรญิ ไพบลู ยแ์ หง่ พระนครทงั้ ปวง” พญานาค ลงรกั ปดิ ทอง มลี วดลายกระจงั ตาอ้อย ลงรัก สำหรับพระราชพธิ ีแรกนาขวัญ ของไทยนัน้ มมี า ปดิ ทองตลอดคนั ท่ีปลายแอกแตล่ ะดา้ นมลี ูกแอกสำหรบั ต้ังแต่คร้ังสมยั สุโขทัย โดยพระมหากษตั ริย์ เสดจ็ ฯ เปน็ เทียมพระโคพร้อมเชอื กกระทาม องคป์ ระธานในพธิ ี ทรงมอบให้ ออกญาพลเทพ พระศรมี โสถ ฐานรอง เปน็ ที่ต้ังรองรับคนั ไถพร้อมแอก ทำด้วย และพระวฒั นเศรษฐี เปน็ ผไู้ ถนา โดยมขี นุ บริบรู ณ์ธญั ญา ไม้เน้ือแขง็ ทาดว้ ยสีแดงชาด มลี วดลายประดบั เป็นลาย เปน็ ผู้หวา่ นธญั พืช กระจงั ตาอ้อย ลงรกั ปดิ ทองท้งั ดา้ นหัวไถ และปลายไถ ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา พระมหากษตริย์ ไมไ่ ด้เสด็จฯ ธงสามชาย มลี ักษณะเป็นรูปสามเหล่ียม ฐานยาว เปน็ องคป์ ระธาน แตท่ รงมอบอาญาสทิ ธใ์ิ หแ้ กพ่ ระยาแรกนา 41 เซนตเิ มตร สงู 50 เซนตเิ มตร เสาธงยาว 72 เซนตเิ มตร มอี ำนาจเปรียบเหมือนกษตั ริย์ ทำหนา้ ทถี่ ือคันไถ โดยมี เปน็ ธงประดบั คนั ไถ ตดิ ตงั้ อยบู่ นเศยี รนาค ทำดว้ ยกระดาษ พระยาพลเทพถอื เชอื กจงู โค มนี างเทพหี าบกระเชา้ ขา้ วหวา่ น และผา้ สักหลาด เขยี นลวดลาย ลงรกั ปดิ ทอง ประดบั ดว้ ย พระราชพธิ ีแรกนาขวัญ ในสมัยตน้ รัตนโกสนิ ทร์ กระจกแวว มีพู่สีขาวประดบั ดา้ นบนเป็นเครอ่ื งสงู ชนดิ หนงึ่ มกี ารกลา่ วถงึ ในหนงั สอื พระราชพธิ สี บิ สองเดอื นวา่ พระราชพธิ ี ประดับพระเกียรติ แรกนาฯ มมี าตงั้ แตส่ มยั รชั กาลท่ี 1 แตผ่ ทู้ ท่ี ำหนา้ ทพี่ ระยา แรกนาคือ พระยาพลเทพ ซง่ึ เป็นผทู้ ท่ี ำหนา้ ทโ่ี ลช้ งิ ชา้ ดว้ ย ยอ้ นอดีต...พระราชพธิ ีเพ่ือชาวไรช่ าวนา แตม่ บี างปที พ่ี ระยาพลเทพปว่ ยไมส่ ามารถทำหนา้ ทโี่ ลช้ งิ ชา้ ได้ กจ็ ะโปรดเกลา้ ฯ ให้ผู้อืน่ ทำหน้าทีแ่ ทน และผูท้ ท่ี ำหน้าทโ่ี ล้ พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ชงิ ชา้ นน้ั จะตอ้ งทำหนา้ ทพ่ี ระยาแรกนาดว้ ย ดเู หมอื นจะเปน็ เปน็ พระราชพธิ ที ี่สืบทอดมาแตค่ ร้งั โบราณกาล แต่ได้ ธรรมเนยี มปฏิบัตใิ นกาลต่อ ๆ มา โดยเฉพาะในสมัย ปรบั เปลย่ี นพิธกี ารบางอยา่ งใหเ้ หมาะสมกับยคุ สมัย เป็น รัชกาลที่ 3 วา่ “ผใู้ ดยืนชงิ ช้า ผนู้ ัน้ เป็นผู้แรกนาด้วย” พระราชพธิ เี ดยี วในสมยั โบราณทพี่ ระมหากษตั รยิ ์ ทรงไถนา แตเ่ ดมิ พระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั มเี ฉพาะ เชน่ ชาวไรช่ าวนาทวั่ ไป เปน็ อบุ ายในการสรา้ งขวญั และกำลงั ใจ พธิ ีพราหมณ์ ตอ่ มาในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้า ใหก้ บั ผทู้ ป่ี ระกอบอาชพี เกษตรกรรม ซง่ึ เปน็ พสกนกิ ร อยใู่ ต้ เจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 4 ทรงเพ่มิ พิธีสงฆ์เขา้ ไปดว้ ย โดยแยก พระบรมโพธิสมภาร เปน็ พิธตี ่างหาก เรียกว่า “พชื มงคล” โดยโปรดเกลา้ ฯ ให้ ในหนังสือพระราชพิธสี ิบสองเดอื น พระราชนิพนธ์ สร้างพลับพลาขึน้ ทท่ี อ้ งสนามหลวง และสร้างหอพระเพื่อ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัวรัชกาลที่ 5 ประดษิ ฐานพระคนั ธารราษฎร์ สำหรบั การพระราชพธิ มี งคล ระบวุ า่ “การแรกนาทต่ี อ้ งเปน็ ธรุ ะของผเู้ ปน็ ใหญใ่ นแผน่ ดนิ นอกจากนี้ยังโปรดเกล้าฯ ให้มีนางเทพี 4 คน โดย เป็นธรรมเนยี มแต่โบราณ เชน่ ในเมืองจีน ส่ีพันปลี ว่ งมา จดั เจ้าจอมท่ีมีฐานะดี ติดตามไปหาบกระเช้าข้าวโปรยให้ แลว้ พระเจา้ แผน่ ดนิ กท็ รงลงไถนาเองเปน็ คราวแรก พระมเหสี กบั พระยาแรกนา เลย้ี งตวั ไหม...ดว้ ยการซง่ึ ผเู้ ปน็ ใหญใ่ นแผน่ ดนิ ลงมอื ทำเอง 12 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553

การประกอบพระราชพิธีจัดขึ้น 2 วัน วันแรก ฟ้ืนฟูพระราชพิธีแรกนาขวัญ ประกอบ พระราชพิธีพืชมงคล เปน็ พิธีสวดมนต์ และแห่ พระเทวรูปพระอิศวร พระอุมาภควดี พระนารายณ์ พระราชพธิ พี ืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ได้ พระมหาวฆิ เนศวร ออกจากพระบรมมหาราชวงั ไปยังโรง ปฏบิ ตั ติ อ่ เนอ่ื งมาตลอดทกุ รชั กาล จนกระทง่ั ถงึ สมยั รชั กาลท่ี 8 พิธที ่สี นามหลวง ได้กระทำเต็มรูปแบบตามบุรพประเพณีเป็นครั้งสุดท้าย พระราชพธิ ีจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั จะกระทำ เมอื่ ปี พ.ศ. 2479 ซงึ่ ตอ่ มาไดเ้ กดิ ความขดั แยง้ ทางความคดิ ในวันรุ่งขึ้น จะมีกระบวนแห่พระยาแรกนาไปยังโรงพิธี ฝ่ายหน่ึงบอกให้ยกเลิกพระราชพิธีน้ีเสียเพราะเห็นว่าเป็น พระยาแรกนาจะตงั้ จิตอธิษฐานจบั ผ้า 3 ผนื จบั ได้ผนื ใด เรอ่ื งของไสยศาสตร์ แตก่ ระทรวงเกษตราธกิ ารมคี วามเหน็ วา่ ก็จะน่งุ ผ้าผืนนั้นทบั ผา้ นุ่งเดิมอกี ช้นั หน่งึ ออกไปแรกนา เปน็ พระราชพิธที ีม่ ปี ระโยชน์ หากจะมีการปรบั เปลย่ี นให้ โดยมคี ำทำนายจากผ้าทจ่ี บั ไดด้ ้วย เขา้ กบั ยคุ สมยั และนำเอาเรอื่ งของเกษตรกรรมเขา้ มาแทรกดว้ ย เมอื่ พระยาแรกนาไถดะโดยรี 3 รอบ โดยขวาง 3 รอบ ต่อมาคณะรัฐมนตรีจึงมมี ติ ใหค้ งพระราชพธิ นี ้ีไว้ ไถแปรโดยรี 3 รอบ โดยขวาง 3 รอบ เสรจ็ แล้ว นางเทพี โดยให้มีพิธีเกีย่ วกับวทิ ยาศาสตร์ มีการประกวดผลผลิต ทง้ั สจี่ งึ หาบกระเชา้ ขา้ วโปรยออกไปใหพ้ ระยาโปรยหวา่ นขา้ ว ทางการเกษตร พร้อมท้งั กำหนดให้วนั ท่ี 1 เมษายน เป็น จากนน้ั พระยาแรกนาจะไถกลบอกี 3 รอบ แล้วจึงกลับ วันแรกนาขวัญ ร่วมกับวันปใี หม่ดว้ ย เข้ามายงั ท่ีพัก พนกั งานจะปลดพระโคออกจากแอก เพ่ือ จากมติคณะรฐั มนตรีดังกล่าว เสนาบดีกระทรวง นำของกนิ เล้ียง 7 สิง่ คอื ข้าวเปลือก ขา้ วโพด ถัว่ งา เหล้า ต่าง ๆ และหน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง ได้ตกลงให้มกี ารจัดงาน หญา้ และน้ำ พระโคกินสิ่งใด กจ็ ะมีคำทำนายไปตามน้นั พิธีแรกนาขวัญ ณ บริเวณท้องสนามหลวงระหวา่ งวนั ท่ี โปรดฯ ใหเ้ รียกพระราชพธิ พี ชื มงคล ซ่งึ เป็นพธิ ีสงฆ์ 31 มีนาคม – 1 เมษายน โดยในวันที่ 31 มีนาคม มพี ธิ ี กบั พระราชพิธแี รกนาขวญั ซง่ึ เปน็ พธิ ีพราหมณ์ รวมกนั วา่ เจรญิ พระพุทธมนตใ์ นพธิ ีพืชมงคล และในวนั ท่ี 1 เมษายน พระราชพิธพี ืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวญั มพี ิธีแรกนาขวญั โดยพระยาอมรฤทธธ์ ำรง ข้าหลวงประจำ จังหวัดพระนครและธนบรุ ี เป็นพระยาแรกนา นางเทพนี ัน้ ใชส้ ุภาพสตรธี รรมดา เปน็ ผูห้ าบกระบุงข้าวสำหรบั หวา่ น น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 83 ฉบบั ที่ 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 13

พร้อมกนั น้ไี ด้จดั ให้มกี ารประกวดพนั ธุข์ า้ ว และประกวด พืชมงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวัญ เตม็ ตามบุรพประเพณี ผลไม้ดว้ ย อกี ครงั้ หนงึ่ โดยไดเ้ สดจ็ พระราชดำเนนิ ทรงเปน็ องคป์ ระธาน ในปี พ.ศ. 2482 สมยั รฐั บาลจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม พร้อมทรงมีพระราชกระแสให้ปรับปรุงพระราชพิธีบาง เปน็ นายกรฐั มนตรี มดี ำรวิ า่ งานปใี หม่ และงานแรกนาขวญั อย่างเพือ่ ความเหมาะสมกับยคุ สมัยด้วย จะตอ้ งจัดใหใ้ หญโ่ ตยง่ิ ข้ึน มีการแจกพนั ธขุ์ ้าว พันธผ์ุ กั ให้ ในปี พ.ศ. 2503 นนั้ กำหนดประกอบพระราชพธิ ี มากขน้ึ และใหม้ กี ารประกวดสตั วด์ ว้ ย แตใ่ นปนี นั้ กไ็ มไ่ ดจ้ ดั ในวนั ท่ี 10 พฤษภาคม โดยมีหม่อมเจ้าจกั รพันธ์เพ็ญศิริ พระราพธิ ีแรกนาขวัญ มแี ตเ่ พยี งพระราชพิธพี ชื มงคล จักรพนั ธุ์ อธบิ ดกี รมการข้าวในขณะนั้น เป็นพระยา ในปี พ.ศ. 2484 ไดก้ ำหนดใหว้ นั ท่ี 1 มกราคม แรกนาขวญั เปน็ วันขึน้ ปีใหม่แทนวันท่ี 1 เมษายน จงึ แยกพระราชพธิ ี พชื มงคลไปดำเนนิ การตา่ งหาก ไมร่ วมกบั วนั ขน้ึ ปใี หม่ ทงั้ นี้ สองศาสนา สองพระราชพธิ ี ไดใ้ หโ้ หรหลวงเปน็ ผคู้ ำนวณกำหนดวนั ประกอบพระราชพธิ ี ดว้ ยเหตนุ ้ี วนั พืชมงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวญั จงึ มไิ ด้ ดังท่ีกล่าวมาแล้วว่า พระราชพิธีพืชมงคลจรด กำหนดวันท่ีตรงกนั ทุกปีเหมอื นวนั สำคัญอน่ื ๆ แตจ่ ะอยู่ พระนังคัลแรกนาขวัญ เป็นพิธีกรรม 2 พิธี กล่าวคือ ประมาณต้นเดอื นพฤษภาคม สำหรบั ในปี พ.ศ. 2484 นั้น พธิ พี ืชมงคล เป็นพธิ ีสงฆ์ กระทำในวนั แรก ณ พระอุโบสถ กำหนดวนั พืชมงคล เป็นวันท่ี 7 พฤษภาคม วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม เป็นพิธที ำขวัญเมลด็ พนั ธพ์ุ ืช ปี พ.ศ. 2485 ประเทศตกอยู่ในภาวะสงคราม ต่างๆ เช่น ข้าวเปลือกเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวฟ่าง ข้าวโพด นายกรฐั มนตรจี งึ ใหง้ ดกจิ กรรม และการแสดงเกษตรกรรม ถั่ว งา เผือก มันเทศ พชื ผกั ต่าง ๆ เป็นตน้ มีจดุ มุง่ หมาย ในงานพธิ ีพืชมงคล และให้งานพิธพี ืชมงคลยา้ ยไปจดั ใน ท่ีจะให้เมล็ดพันธ์ุเหลา่ นัน้ ปราศจากโรคแมลง ศตั รพู ชื วดั พระศรรี ตี นศาสดาราม เรยี กวา่ “รฐั พธิ พี ชื มงคล” ซง่ึ ได้ มคี วามสมบรู ณ์ เจรญิ งอกงามดี ดำเนนิ การสืบตอ่ มาทุกปี โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2509 เปน็ ตน้ มา คณะรัฐมนตรี ได้มี หวั จะเสดจ็ พระราชดำเนินทรงประกอบพิธีตลอดมา มติกำหนดใหว้ นั พืชมงคลของทุกปี เป็น “วันเกษตรกร” ปี พ.ศ. 2503 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั รชั กาล ดว้ ย เพอ่ื ใหป้ ระชาชนทั่วไปตระหนกั ถึงความสำคญั ของ ปจั จบุ นั มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหฟ้ น้ื ฟพู ระราชพธิ ี อาชีพเกษตรกรรมทีม่ ีตอ่ การดำรงชีวิตของผ้คู นในประเทศ และมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของชาติ 14 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ี่ 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553

สำหรับพระราชพิธจี รดพระนังคัลแรกนาขวญั เปน็ องคป์ ระกอบพระราชพิธี พธิ พี ราหมณ์ กระทำในวนั รงุ่ ขนึ้ ณ มณฑลพธิ ที อ้ งสนามหลวง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินเปน็ พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ องค์ประธาน ทอดพระเนตรการไถหวา่ น และการเส่ยี งทาย มีพธิ กี รรม ขัน้ ตอนที่ตอ้ งปฏิบัติ และมอี งค์ประกอบของ พระโคกนิ เลีย้ งของกนิ 7 สง่ิ โอกาสนี้ กระทรวงเกษตร พธิ กี รรมต่าง ๆ ทสี่ ำคญั ดงั น ี้ และสหกรณ์ ได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต การกำหนดวนั โหรหลวง จะเป็นผู้หาฤกษ์ยามตาม นำเกษตรกรดเี ดน่ แหง่ ชาตสิ าขาตา่ ง ๆ ผแู้ ทนสถาบนั เกษตรกร ตำราจนั ทรคติ เมอ่ื โหรหลวงคำนวณไดว้ นั อดุ มมงคลฤกษ์ และผู้แทนสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติเข้ารับพระราชทานโล่ แล้ว สำนกั พระราชวงั จะกำหนดไวใ้ นปฏทิ ินหลวง ดังนั้น ประกาศเกียรตคิ ุณด้วย วันพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญจึงมิได้กำหนดวัน เป็นธรรมเนยี มทีป่ ฏิบัติสบื ตอ่ มาทุกปี คอื ภายหลัง ท่แี นน่ อนประจำทุกปี แต่โดยปกติแล้ว จะอยใู่ นเดอื นหก พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญที่มณฑลพิธีท้อง หรือประมาณตน้ เดือนพฤษภาคม สนามหลวงแลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จะทรงพระกรณุ า การบวงสรวง ก่อนจะถงึ วันพระราชพิธพี ชื มงคล โปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระยาแรกนาขวญั และเทพีทง้ั 4 รฐั มนตรี พระยาแรกนาขวัญ และเทพีทงั้ 4 จะนุ่งขาว ห่มขาว ทำ วา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขา้ ราชการชนั้ ผู้ใหญ่ของ พธิ บี วงสรวงบูรพมหากษัตรยิ ไ์ ทย เพ่อื ขอพระบรมราชา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เกษตรกร และผู้แทนสถาบัน นุญาตในการทำหนา้ ทเี่ ปน็ พระยาแรกนา และประกอบ เกษตรกร เข้าเฝ้าฯ ณ บริเวณนาทดลองสวนจิตรลดา พระราชพธิ ีแทนพระมหากษัตรยิ ต์ ามประเพณีด้ังเดิม พระยาแรกนาขวัญ จะหวา่ นขา้ วในนาทดลองเบอื้ งหนา้ พระยาแรกนา ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2503 – 2512 ผู้ที่ พระพกั ตร ์ ทำหนา้ ทพี่ ระยาแรกนา ไดแ้ ก่ อธบิ ดกี รมการขา้ ว และตงั้ แตป่ ี นาทดลองสวนจิตรลดานี้ จะเป็นสถานที่ปลูกขา้ ว พ.ศ. 2513 จนถงึ ปจั จบุ นั ผทู้ ที่ ำหนา้ ทพี่ ระยาแรกนา ไดแ้ ก่ พันธตุ์ า่ ง ๆ เพอื่ ใชใ้ นพระราชพิธแี รกนาขวัญ และบรรจุใส่ ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยกเวน้ ปใี ดทปี่ ลดั กระทรวง ซองเล็ก ๆ สำหรบั แจกจา่ ยเกษตรกรท่ัวประเทศ เพือ่ นำไป เกษตรและสหกรณไ์ มส่ ามารถทำหนา้ ทไี่ ด้ จะทรงพระกรณุ า ผสมกบั ขา้ วปลกู หรอื เกบ็ ไวเ้ พอ่ื เปน็ สริ มิ งคลแกก่ ารประกอบ โปรดเกลา้ ฯ ให้ขา้ ราชการชัน้ ผูใ้ หญ่ของกระทรวงเกษตร อาชีพตอ่ ไป และสหกรณ์ ระดบั อธบิ ดขี ึ้นไป ทำหน้าทแ่ี ทน เทพี ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2503 – 2512 เทพีท้งั 4 จะ คัดเลือกจากภริยาข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในกระทรวงเกษตร น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 15

และสหกรณ์ และตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2513 เป็นต้นมา เทพี ขวัญหลงั ถกู ต้องลักษณะดี กบี และขอ้ เท้าแขง็ แรง พระโค แรกนาขวญั จะคดั เลอื กจากขา้ ราชการสตรโี สด ในหนว่ ยงาน แรกนาทง้ั คจู่ ะต้องมีสเี ดียวกนั ซง่ึ โดยมากจะเปน็ โคขาว สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ท่ีมีตำแหน่งข้าราชการ ลำพนู ซึ่งมีสขี าวอมชมพู พลเรอื นสามญั ชนั้ โทขน้ึ ไป (ปจั จบุ นั นา่ จะเปน็ ระดบั ชำนาญการ พันธ์ุพืช ในพระราชพิธีพืชมงคล ซึ่งกระทำใน หรือชำนาญงานขึน้ ไป) โดยจะคดั เลือกปลี ะ 2 ทา่ น เปน็ คู่ พระอโุ บสถวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม จะมกี ารนำพันธุพ์ ชื หาบเงนิ ในปแี รก และเลื่อนเปน็ คหู่ าบทองในปีท่ี 2 และ เช่นเดยี วกัน ถา้ ผู้ทท่ี ำหนา้ ทเ่ี ปน็ คหู่ าบเงนิ มาแลว้ ในปแี รก ต่าง ๆ เข้าพิธที ำขวัญ ประกอบดว้ ย ข้าวเปลอื กพนั ธด์ุ จี าก ไมส่ ามารถทำหนา้ ท่เี ป็นคหู่ าบทองในปที ี่ 2 ได้ กจ็ ะทำการ คัดเลือกผู้อืน่ ทำหน้าทีแ่ ทน นาทดลองสวนจิตรลดา พันธพ์ุ ชื ไร่ ประกอบดว้ ย ข้าวโพด พระโค ในทางศาสนาพราหมณ์ พระโค หมายถงึ เทวดาผทู้ ำหนา้ ท่เี ป็นพาหนะของพระอศิ วร เปรยี บได้กบั ถ่ัวเหลอื ง ละหงุ่ ถวั่ เขียว งา เมล็ดพนั ธ์ุผกั ประกอบด้วย การใชแ้ รงงานและความเขม้ แข็ง รวมท้ังความอดุ มสมบรู ณ์ พระโคในพระราชพิธีแรกนาขวัญจึงเป็นตัวแทนของความ ผกั กวางตงุ้ ผกั กาดหอม ขา้ วโพดขาว ผกั กาดขาวปลี แตงกวา เขม้ แขง็ และความอุดมสมบูรณ์ พระโคที่ทำหน้าท่ีในพระราชพิธีแรกนาขวัญ พรกิ ชฟ้ี า้ ผกั กาดหวั บวบเหลยี่ ม มะระจนี คะนา้ มะเขอื เทศ กรมปศุสัตว์จะเป็นผู้คัดเลือกโคเพศผู้ตอน เป็นโคท่ีมี ลักษณะดี รปู ร่างสมบูรณ์ สงู ประมาณ 150 เซนตเิ มตร แตงรา้ น แตงโม ฟกั ทอง พรกิ ขหี้ นู มนั แกว แตงไทย ผกั บงุ้ จนี ผวิ สวย ขนเปน็ มัน กริ ยิ ามารยาทเรียบร้อย ฝึกสอนงา่ ย ไมด่ ุร้าย เขาโคง้ สวยงามเท่ากัน ดวงตาแจ่มใส หไู มม่ ตี ำหนิ หางยาวสวยงาม มีขวญั หนา้ ขวญั ทดั ดอกไมซ้ า้ ย ขวา และ 16 น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553

ผักกาดขาวใหญ่ ถ่วั ฝกั ยาว ถวั่ แขก ตง้ั โอ๋ น้ำเตา้ ปวยเลง้ สำหรบั คเู่ คยี งพระยาแรกนา จำนวน 16 ทา่ น เจา้ หนา้ ท่ี กระเจยี๊ บ คน่ึ ฉา่ ย ชนุ ฉา่ ย ฟกั เขยี ว ผกั กาดเขยี วปลี ผกั ชี แฟง เชญิ เครอ่ื งอสิ รยิ ยศ และพระแสงปฏกั 4 ทา่ น นนั้ คดั เลอื กจาก ผักโขม เผือก และมนั เทศ ขา้ ราชการชาย สงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณท์ มี่ ตี ำแหนง่ พันธข์ุ ้าวจะบรรจใุ นกระบุงเงนิ กระบงุ ทอง พันธุ์พชื ระดบั 7 ขน้ึ ไป (ปจั จบุ นั ใชร้ ะดบั เชยี่ วชาญ หรอื อำนวยการ อ่นื ๆ บรรจใุ นถุงผา้ ขาว วางรวมกนั บนพานขนาดใหญ่เพื่อ ระดบั สูง) เข้าพิธีทรงอธิษฐานเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ เครื่องอสิ รยิ ยศพระยาแรกนา เปน็ เคร่ืองประกอบ ธัญญาหาร เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณจ์ ลุ จอมเกลา้ วเิ ศษ ประกอบดว้ ย พานหมาก พระพุทธรปู และเทวรปู สำคญั จะมกี ารอญั เชิญ ทองคำลงยา พรอ้ มจอกหมาก จอกยาฝอย ซองพลู ตลบั ภู่ พระพทุ ธปฏมิ าชยั วฒั นร์ ชั กาลปจั จบุ นั พระพทุ ธคนั ธารราษฎร์ มดี เจยี นหมาก ทำดว้ ยทองคำท้งั หมด กระโถนทองคำของ ในรชั กาลที่ 1 พระพทุ ธรูปปางสมาธทิ รงภาวนาให้ตน้ ข้าว สลกั กานำ้ ทองคำทรงมนั มพี านรอง คนโฑทองคำมพี านรอง เกดิ งอกงามรอบพุทธบลั ลังก์ในรชั กาลท่ี 1 พระชัยนวโลหะ เทวรปู เทวรปู ทอ่ี ญั เชญิ มาประดษิ ฐานในการประกอบ ในรัชกาลท่ี 4 พระชยั นวโลหะในรชั การท่ี 5 พระคนั ธาร พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ คือ พระอิศวร ราษฎรข์ อฝนแบบจีน พระบวั เขม็ เทวรูปพระพลเทพ และ พระนารายณ์ พระอุมา พระพรหม พระพิฆคเณศวร์ รปู หล่อโลหะพระโคอศุ ุภราช ซ่งึ เป็นพระโคแรกนาสมยั พระพลเทพ และพระโคอุศุภราช สโุ ขทยั โดยพระพทุ ธรปู และเทวรปู ดงั กลา่ ว จะประดษิ ฐาน อยู่บนโต๊ะหมใู่ นธรรมาสนศ์ ลิ า หนา้ ฐานชกุ ชี พทุ ธบลั ลงั ก์ คำพยากรณ ์ บษุ บกพระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร เหนอื กระบงุ ขา้ ว และ พานพนั ธพุ์ ชื ตา่ ง ๆ เพอ่ื วางสายสญิ จจ์ ากพระพทุ ธรปู สำคญั ในพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ จะมี โยงไปถวายพระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต ์ คำพยากรณ์ จากการเสยี่ งทายการหยบิ ผา้ นงุ่ ของพระยาแรกนา กระบวนอสิ รยิ ยศ จะมรี ว้ิ กระบวนอสิ รยิ ยยศ นำหนา้ และการกนิ ของเสย่ี งทายของพระโค ดังน้ ี พระยาแรกนาขวญั และเทพี สู่โรงพธิ ีพราหมณ์ และออก จากโรงพิธเี มอื่ เสร็จพธิ ี ริ้วกระบวนอสิ ริยยศประกอบดว้ ย ผทู้ ท่ี ำหนา้ ทตี่ า่ ง ๆ รวม 79 ทา่ น ประกอบดว้ ย ผนู้ ำรวิ้ กระบวน จา่ ปี่ กลองชนะ แตรฝรง่ั แตรงอน สงั ข์ พราหมณน์ ำ กรรชงิ บังสูรย์ คู่เคียงพระยาแรกนา ผเู้ ชิญเครือ่ งอิสรยิ ยศและ พระแสงปฏัก พระยาแรกนาขวัญ เทพี และประธานคณะ พราหมณ์ น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553 17

ผ้านุ่งแต่งกายของพระยาแรกนาขวัญ พระยา กนิ นำ้ หรอื หญา้ พยากรณว์ า่ นำ้ ทา่ จะบรบิ รู ณพ์ อสมควร แรกนาขวญั จะตั้งสัตยาธิษฐานหยบิ ผา้ นุง่ แต่งกาย สำหรับ ธญั ญาหาร ผลาหาร ภกั ษาหาร มังสาหาร จะอดุ มสมบูรณ์ดี น่งุ ทับผ้าทน่ี ุง่ อยเู่ ดิมก่อนออกไปแรกนา ผา้ นุ่งแตง่ กายน้ี กินเหล้า พยากรณว์ า่ การคมนาคมสะดวกข้ึน เป็นผ้าลาย มี 3 ผืน ขนาด หกคืบ ห้าคืบ และส่ีคืบ การค้าขายกบั ตา่ งประเทศดขี นึ้ ทำใหเ้ ศรษฐกจิ รุ่งเรอื ง พระยาแรกนาเสย่ี งทายหยบิ ไดผ้ า้ ผนื ใด จะมคี ำทำนายดงั นี้ สำหรับปี พ.ศ. 2553 น้ี พระราชพธิ พี ืชมงคลจรด หยิบได้ผ้าหกคบื พยากรณ์ว่า น้ำจะนอ้ ย นาในท่ีลุ่ม พระนงั คลั แรกนาขวญั จดั ขนึ้ ทา่ มกลางความไมส่ งบของ จะไดผ้ ลบรบิ รู ณด์ ี แตน่ าในทด่ี อนจะเสยี หายบา้ งไมไ่ ดผ้ ลเตม็ ท ่ี บา้ นเมอื ง แตพ่ ระราชพธิ ที งั้ สองกด็ ำเนนิ ไปทา่ มกลางความสนใจ หยบิ ไดผ้ า้ หา้ คืบ พยากรณ์ว่า น้ำในปนี ีจ้ ะมีปริมาณ ของประชาชนทไี่ มแ่ บง่ แยกสี และทนั ทที พ่ี ระราชพธิ สี น้ิ สดุ ลง พอดี ขา้ วกลา้ ในนาจะไดผ้ ลบรบิ รู ณ์ และผลาหาร มงั สาหาร ประชาชนก็กรูกันเข้าไปเก็บเมล็ดพันธ์ุข้าวบนลานแรกนา จะอุดมสมบรู ณ์ เหมอื นเช่นทุกปที ี่ผา่ นมา หยบิ ไดผ้ า้ สค่ี บื พยากรณว์ า่ นำ้ จะมากสกั หนอ่ ย นาใน ส่วนคำพยากรณ์จากการเส่ียงทายหยิบผ้านุ่งของ ทด่ี อนจะไดผ้ ลบรบิ รู ณด์ ี นาในทล่ี มุ่ อาจจะเสยี หายบา้ งไดผ้ ล พระยาแรกนา และการเสยี่ งทายของกนิ ตงั้ เลยี้ งพระโคคงเปน็ ไม่เตม็ ที ่ สงิ่ ทีพ่ ีน่ ้องชาวไร่ชาวนาเฝ้ารอคอย แมจ้ ะไม่คาดหวงั วา่ ของกนิ ตงั้ เลย้ี งพระโค เมอ่ื ทำพธิ ไี ถหวา่ นเสรจ็ แลว้ ทกุ สงิ่ ทกุ อย่างจะเป็นไปตามคำพยากรณ์ แตอ่ ยา่ งนอ้ ยก็ เจา้ หนา้ ทจ่ี ะปลดพระโคออกจากแอกเพอื่ นำของกนิ 7 สง่ิ มาให้ เพอ่ื เปน็ ขวญั และกำลังใจในการประกอบอาชีพต่อไป พระโคกนิ ประกอบดว้ ย ขา้ ว ข้าวโพด ถ่วั เขยี ว งา หญา้ น้ำ (ขอบคณุ ฝา่ ยโสตทศั นปู กรณ์ สำนักพฒั นา และเหล้า พระโคกินส่งิ ใด กจ็ ะมีคำพยากรณ์ดงั นี้ การถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร : เอื้อเฟือ้ กนิ ขา้ ว หรอื ขา้ วโพด พยากรณว์ า่ ธญั ญาหาร ผลาหาญ ภาพปก และภาพประกอบเรอ่ื ง) จะบรบิ ูรณด์ ี กนิ ถ่วั หรืองา พยากรณ์วา่ ผลาหาร ภักษาหาร จะอุดมสมบูรณ์ด ี 18 น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553

คู่ คิ ด ช า ว น า าว ต้านเพลี้ยกระโดด สีน้ำตาล กองบรรณาธิการ นฤดนู าปแี ละนาปรงั ทผ่ี า่ นมา เกษตรกรชาวนาตอ้ งประสบกบั ภยั ธรรมชาติ ทีค่ อ่ นข้างรนุ แรง ภยั นีไ้ มใ่ ช่ความแห้งแลง้ หรอื นำ้ ทว่ ม แต่เปน็ ภยั ธรรมชาตจิ ากศตั รพู ชื นน่ั คอื การระบาดของเพลย้ี กระโดดสนี ำ้ ตาล ทเ่ี กษตรกร ผู้ไดร้ บั ความเสียหายยนื ยันว่า “รนุ แรงอย่างทีไ่ ม่เคบพบมากอ่ น” นอกเหนอื จากคำแนะนำทีใ่ หเ้ กษตรกรงดการทำนา เพอ่ื ตัดวงจรชีวติ ของเพล้ียกระโดดสีน้ำตาลแล้ว กรมการขา้ ว ยังแนะนำพนั ธุ์ขา้ วตา้ นทาน เพลย้ี กระโดดสนี ำ้ ตาลดว้ ย พนั ธขุ์ า้ วทีว่ า่ น้ีมี 2 พนั ธ์ุ คอื กข 41 และ กข 43 สว่ นกรมวชิ าการเกษตรเสนอแนวทางการปอ้ งกนั กำจดั เพลย้ี กระโดดสนี ำ้ ตาล โดยวธิ ีผสมผสาน “กสิกร” ขอนำขา้ วทัง้ 2 พนั ธ์ุ และ แนวทางการปอ้ งกัน กำจดั เพลีย้ กระโดดสีนำ้ ตาลมาให้ทา่ นไดท้ ราบ เพลย้ี กระโดดสนี ำ้ ตาล ข้าวเจา้ พันธุ์ กข 41 ขา้ วเจ้าพันธ์ุ กข 41 ไดจ้ ากการผสม 3 ทาง ระหวา่ งลูกผสมชัว่ ที่ 1 ของพันธ์ุ CNT855059-27-1-3-2 และสุพรรณบุรี 60 นำไปผสมกับ RP217-635-8 ทส่ี ถานที ดลองขา้ วชัยนาท ในฤดนู าปี 2539 จากน้นั ได้ นำไปปลกู คดั เลือกช่วั ท่ี 1 – 4 ทีส่ ถานีทดลองข้าวชัยนาท ปลูกชัว่ ที่ 5-6 ที่ ศูนย์วิจัยขา้ วพิษณุโลกต้งั แตฤ่ ดนู าปรังปี 2541 – 2542 น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 19

ปลกู ศกึ ษาพนั ธแุ์ ละเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานี เปรียบเทยี บผลผลิตระหวา่ ง ข้าวเจ้าพนั ธุ์ กข 41 สถานี ระหว่างปี 2545 – 2550 ปลกู เปรียบเทียบผลผลิตในนาราษฎร์ท่ีนาของเกษตรกร ในจังหวดั พษิ ณุโลก ลพบุรี สิงหบ์ ุรี และชยั นาท ต้ังแตฤ่ ดูนาปี 2546 - 2550 ทดสอบ ผลผลิตและการยอมรบั ของเกษตรกรในฤดนู าปี 2547 - 2550 ในนาเกษตรกรท่จี ังหวัด พิษณุโลก พิจติ ร สโุ ขทัย อุตรดติ ถ์ ชยั นาท และกำแพงเพชร ปลูกทดสอบเสถียรภาพผลผลิตในฤดนู าปี 2550 ท่ีศนู ยว์ ิจัยขา้ วต่าง ๆ ในภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และภาคใต้ คณะกรรมการพิจารณาพนั ธ์ุ กรมการขา้ ว มีมติรับรองพันธ์ุเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2552 ให้ช่ือว่า พนั ธ์ุ กข 41 ขา้ วเจา้ พนั ธก์ุ ข 41 เปน็ ขา้ วไมไ่ วตอ่ ชว่ งแสง อายเุ กบ็ เกยี่ ว 105 วนั ความสงู ประมาณ 104 – 105 เซนตเิ มตร กอตง้ั ตน้ แขง็ ใบ และกาบใบสเี ขยี ว ใบธงตงั้ ตรง ยอดเกสรตวั เมยี สขี าว ความยาวรวงเฉลยี่ 29 เซนตเิ มตร รวงแนน่ ปานกลาง แตกระแงป้ านกลาง คอรวงยาว จำนวน เมลด็ ดตี อ่ รวงเฉลย่ี 73 – 85 เมลด็ ตอ่ รวง นำ้ หนกั ขา้ วเปลอื ก 1,000 เมลด็ เฉลย่ี 28.8 กรมั ข้าวเปลอื กมีสฟี าง เปลอื กเมล็ดมีขนส้ัน ขา้ วเปลือกยาว 10.40 มิลลิเมตร ระยะ พักตัว 9 - 10 สปั ดาห์ เมลด็ ข้าวกลอ้ งรปู รา่ งยาวเรียว อุณหภูมแิ ปง้ สกุ ตำ่ มคี ณุ ภาพ การสดี ไี ดข้ ้าวเต็มเมลด็ และตน้ ข้าวสงู ถึง 46.6% ลักษณะเดน่ ผลผลิตสงู มีเสถยี รภาพดี ใหผ้ ลผลติ เฉลย่ี 894 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ สงู กวา่ พนั ธส์ุ พุ รรณบรุ ี 1 พษิ ณโุ ลก 2 สพุ รรณบุรี 3 กข 29 และชยั นาท 1 ค่อนข้างตา้ นทานเพลี้ย กระโดดสีนำ้ ตาล และโรคไหม้ คุณภาพเมล็ดทางกายภาพดี เป็นข้าวเจา้ เมลด็ ยาวเรียว ทอ้ งไขน่ อ้ ย คณุ ภาพดี การสีดี สามารถสีเป็นขา้ วสาร 100% ได้ พนื้ ทแี่ นะนำ ขา้ วพนั ธกุ์ ข 41 เหมาะสำหรบั พน้ื ทนี่ าชลประทานภาคเหนือตอนล่าง เพื่อทดแทนข้าวพันธุ์พษิ ณโุ ลก 2 และชยั นาท 1 ในการป้องกนั การแพร่ระบาดของเพล้ีย กระโดดสีนำ้ ตาล ขอ้ ควรระวงั สำหรบั ขา้ วพนั ธน์ุ คี้ อื ไมต่ า้ นทานโรคขอบใบแหง้ ไมค่ วรใสป่ ยุ๋ ไนโตรเจน ในระดบั สูงเกินไป เพราะจะทำใหเ้ กิดโรครนุ แรง หากปลกู ในชว่ งกลางเดอื นกันยายน – พฤศจกิ ายน จะกระทบอากาศเยน็ ทำใหผ้ ลผลติ ตำ่ กวา่ ปกติ และ ไมต่ า้ นทานเพลย้ี กระโดด สนี ้ำตาลในจงั หวัดนครปฐม ขา้ วเจา้ พนั ธ์ุ กข 41 ข้าวเจา้ พันธ์ุ กข 43 ขา้ วเจา้ พันธก์ุ ข 43 ขา้ วเจา้ พนั ธ์ุ กข 43 ไดจ้ ากการผสมพนั ธร์ุ ะหวา่ งพนั ธข์ุ า้ วเจา้ หอมสพุ รรณบรุ ี และพันธสุ์ ุพรรณบุรี 1 ทีศ่ ูนย์วิจยั ขา้ วสุพรรณบุรี ในฤดูนาปรงั ปี 2542 ปลกู คัดเลอื กพนั ธ์ุ ปลกู ทดสอบผลผลติ ในสถานี ระหว่างสถานใี นนาราษฎร์ และในนา เกษตรกร ตง้ั แตป่ ี 2546 -2551 คณะกรรมการพจิ ารณาพันธ์ุ กรมการข้าว มมี ติ รบั รองพนั ธุ์เมอ่ื วันท่ี 17 กุมภาพนั ธ์ 2552 ใหช้ ื่อว่า พันธ์ุ กข 43 ขา้ วเจา้ พนั ธ์ุ กข 43 เป็นข้าวไม่ไวตอ่ ชว่ งแสง อายุเก็บเก่ียวส้ัน ประมาณ 95 วนั ปลกู โดยวิธีหวา่ นนำ้ ตม ความสงู ประมาณ 103 เซนติเมตร ทรงกอต้งั ตน้ คอ่ นขา้ งแขง็ ใบสเี ขยี วจาง ใบธงตงั้ ปานกลาง ขา้ วเปลอื กสฟี าง ยาว 10.90 มลิ ลเิ มตร นำ้ หนักข้าวปลอื ก 1,000 เมลด็ 30.35 กรมั ข้าวกลอ้ งสขี าว รปู ร่าง เมล็ดยาวเรียวยาว 7.59 มิลลเิ มตร ทอ้ งไข่น้อย มปี รมิ าณอมิโลสต่ำ มรี ะยะ พกั ตวั 5 สัปดาห์ 20 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553

ลกั ษณะเดน่ อายกุ ารเกบ็ เกย่ี วสนั้ เพยี ง 95 วนั ปลกู โดยวธิ หี วา่ นนำ้ ตม เพลยี้ กระโดดสนี ้ำตาล คณุ ภาพของเมลด็ ในการหงุ ตม้ ดี ขา้ วสกุ นมุ่ เหนยี ว มกี ล่ินหอมอ่อน ค่อนข้าง ต้านทานต่อโรคไหม้ และเพล้ยี กระโดดสนี ำ้ ตาล แตกตา่ งจากสารดังกล่าว เชน่ ฟิโพรนลิ พน้ื ทแ่ี นะนำ เหมาะสำหรบั ปลกู ในพน้ื ทชี่ ลประทาน พนื้ ทที่ ม่ี นี ำ้ ทว่ มขงั 5%SC อตั รา 120 ซซี .ี ตอ่ ไร่ หรอื อที โี พรส์ เป็นเวลานาน เกษตรกรมีช่วงเวลาในการทำนาน้อยกว่าพน้ื ทป่ี ลกู ขา้ วอนื่ ๆ 10%SC อตั รา 180 ซซี ี.ตอ่ ไร่ หรอื พ้นื ทที่ ม่ี ีปัญหาขา้ ววชั พืชระบาด ทั้งพันธุ์ข้าวต้านทานเพลี้ยกระโดด ขอ้ ควรระวงั สำหรบั ขา้ วพันธุ์น้ี คือ ไมค่ วรปลกู ร่วมกับข้าวที่มีอายุ สีน้ำตาล และ วธิ ีการป้องกันกำจดั แบบ ตา่ งกนั มาก อาจจะเสยี หายจากการทำลายของนก และหนไู ด้ และขา้ วพนั ธน์ุ ม้ี ี ผสมผสานดงั กลา่ ว คงชว่ ยพน่ี อ้ งเกษตรกร ลำต้นเล็ก การใสป่ ุ๋ยอัตราสงู อาจทำให้ข้าวล้มได้ และข้าวพันธ์ุนอ้ี ่อนแอ ทม่ี ีความประสงค์จะปลูกขา้ ว เพอื่ เอาชนะ ต่อโรคไหม้ที่จังหวัดพิษณโุ ลก เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลให้ได้ แม้ไม่ชนะ ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ก็ทำความลำบากให้ ป้องกันกำจัดเพลี้ยกระโดดสนี ้ำตาล ศตั รูข้าวชนิดน้พี อสมควร แตก่ อ่ นจะปลกู ขา้ ว ทา่ นตอ้ งมน่ั ใจวา่ ขา้ วเจ้าทัง้ 2 พนั ธุ์ขา้ งตน้ ออกมาในชว่ งทีเ่ กษตรกรกำลงั มปี ัญหา ทา่ นมแี หลง่ นำ้ เพยี งพอทจ่ี ะทำนา มเิ ชน่ นนั้ เรอ่ื งเพลยี้ กระโดดสนี ำ้ ตาลพอดี ซงึ่ การเปลย่ี นพนั ธขุ์ า้ วมาใชข้ า้ ว 2 พนั ธน์ุ แี้ ทน ความเสียหายจากการขาดน้ำทำนาคงไม่ อาจจะช่วยไดใ้ นระดบั หน่งึ อยา่ งไรก็ตามวิธีการป้องกันกำจัดท่ไี ดผ้ ลกวา่ คือ แตกต่างจากการทำลายของเพลี้ยกระโดด การเวน้ วรรคการปลูกขา้ วไปสักชว่ งเวลาหนึ่ง หรอื จะใช้วิธกี ารป้องกันกำจัด สีน้ำตาลสกั เทา่ ไร แบบผสมผสานตามที่กรมวิชาการเกษตรแนะนำก็น่าจะช่วยได้อีกแรงหนึ่ง วธิ กี ารทีว่ า่ นี้ประกอบด้วย 1. เลือกใช้พันธขุ์ า้ วที่ทางราชการแนะนำ เชน่ กข 29 กข 31 กข 41 กข 43 พษิ ณโุ ลก 2 สพุ รรณบรุ ี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 90 และในพ้ืนที่เดียวกันให้ปลูกข้าวหลายพันธ์ุ เพ่ือชะลอการปรับตัวของ เพล้ียกระโดดสีน้ำตาล 2. หวา่ นขา้ วตามคำแนะนำในอตั รา 15 - 20 กโิ ลกรมั ต่อไร่ เพ่ือไมใ่ ห้ ขา้ วหนาแนน่ มากเกนิ ไป และสะดวกในการจดั การแมลงศัตรู โรค และวชั พืช 3. ใสป่ ยุ๋ ในอตั ราทเี่ หมาะสม ไมค่ วรใสป่ ยุ๋ ไนโตรเจนมากเกนิ ไป เนอื่ งจาก ขา้ วมกี ารเจรญิ งอกงามและขยี วจดั เหมาะสมตอ่ การระบาดของเพลยี้ กระโดด สนี ำ้ ตาล และแมลงศตั รูชนิดอน่ื 4. ไมข่ งั นำ้ ไวใ้ นนาตลอดเวลา ควรปลอ่ ยใหร้ ะดบั นำ้ มพี อดนิ ปกั เพอื่ ใหส้ ภาพนเิ วศในนาขา้ ว ไมเ่ หมาะสมตอ่ การระบาดของเพลย้ี กระโดดสนี ้ำตาล และแมลงศัตรูชนิดอื่น 5. สำรวจแมลงอย่างสม่ำเสมอ และไม่ควรปลอ่ ยให้เพล้ียกระโดด สนี ้ำตาลระบาดรนุ แรง 6. หา้ มใชส้ ารทมี่ พี ษิ สงู ตอ่ มวนเขยี วดดู ไข่ เชน่ อะบาเมก็ ตนิ และสาร ในกลมุ่ ไพรีทรอยดส์ ังเคราะห ์ 7. เมอ่ื พบเพลย้ี กระโดดสนี ำ้ ตาลถงึ ระดบั 10 ตวั ตอ่ กอ หรอื 1 ตวั ตอ่ ตน้ ใหใ้ ชส้ ารกำจดั แมลงตามคำแนะนำของกรมวชิ าการเกษตร คือ ฉดี พน่ สาร บโู พรเฟซนี 40%SC อตั รา 120 ซซี ี.ต่อไร่ หรอื สารไดโนทฟี ูแรน 10%WP อตั รา 60 กรมั ตอ่ ไร ่ เพื่อชะลอการสร้างความตา้ นทาน หากระบาดในระดบั รุนแรง คือ มเี พลี้ยกระโดดสีนำ้ ตาล 50 ตัวต่อกอ หรือ 6 ตัวต่อต้น ใหใ้ ชส้ ารชนิดใด ชนดิ หนง่ึ ตามอตั ราทก่ี ำหนดขา้ งตน้ ผสมกบั สารกำจดั แมลงทม่ี กี ลไกออกฤทธิ์ น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 21

คู่ คิ ด ช า ว น า เมลด็ าว “ลมื ผวั ” 2553 กองบรรณาธกิ าร มอื่ ปี 2550 หลังจากทสี่ ถาบันวิจยั ข้าว กรมวชิ าการเกษตร แยกออกไปรวมกบั ศนู ยข์ ยายพันธุพ์ ืช และกลุ่มขา้ ว ของกรมสง่ เสรมิ การเกษตร จัดตง้ั เปน็ “กรมการขา้ ว” ในปจั จบุ นั ไดไ้ มน่ าน ดร. อจั ฉราพร ณ ลำปาง เนนิ พลบั นกั วจิ ัยของศูนย์วิจัยข้าวพิษณโุ ลก เคยเขยี นเร่ือง “ข้าวลืมผัว ควรค่าแก่การอนรุ ักษ์” มาให้เผยแพร ่ ในครั้งน้นั ยังไมม่ รี ายการขา่ วของ สรยุทธ์ สุทัศนะจินดา เป็นชอ่ งทางให้โฆษณาประชาสัมพนั ธ์ อยา่ งเป็น เร่อื งเป็นราว “ข้าวลมื ผวั ” ในคร้งั กระนัน้ จึงยังไมด่ ังเหมอื นอยา่ ง “ข้าวลมื ผวั ” ในพ.ศ.น ี้ เวลาผ่านไป 3 ปี นกั วจิ ยั ยังคงมุง่ มนั่ ที่จะคน้ หาคณุ ค่าทางโภชนาการของ “ข้าวลมื ผวั ” และคน้ หาวิธกี าร แปรรูปข้าวพันธนุ์ ี้ใหห้ ลากหลาย จึงเปน็ ทม่ี าของ “ข้าวลืมผัว 2553” ทมี่ ขี ้อมูลและความก้าวหนา้ ของงานวิจยั เพิม่ ขึน้ จากเดมิ 22 น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553

ยอ้ นถึงทมี่ า ขา้ วลืมผัว 2553 ดร. อัจฉราพร ณ ลำปาง เนินพลบั อธิบายถึง เชา้ วนั หน่ึงเมื่อเดอื นเมษายน 2553 ที่ผา่ นมา ไดม้ ี ท่ีมาของข้าวลืมผัวไวว้ า่ โอกาสชมรายการขา่ วโทรทศั นส์ ดุ ฮติ ของ สรยทุ ธ์ สทุ ศั นะจนิ ดา ข้าวพันธ์ุ “ลมื ผัว” เดมิ เป็นข้าวเหนยี วของชาวไทย ได้เห็นทา่ นอธบิ ดีกรมการข้าว ประเสริฐ โกศลั วิตร และ ภเู ขาเผา่ มง้ ตำบลรวมไทยพฒั นา อำเภอพบพระ จงั หวดั ตาก ดร. อจั ฉราพร ณ ลำปาง เนนิ พลบั ไดน้ ำ “ขา้ วลมื ผวั ” พรอ้ ม ท่ีปลกู ในสภาพไร่ และไดม้ ชี าวไทยมง้ นำเมลด็ พันธม์ุ าปลกู ผลิตภณั ฑแ์ ปรรูปท่ีหลากหลาย ไปโฆษณาประชาสมั พนั ธ์ บรเิ วณรอยตอ่ ระหวา่ งอำเภอนครไทย และ ชาติตระการ ในรายการ จำไดว้ า่ เคยนำขา้ วพนั ธน์ุ ม้ี าเผยแพรใ่ นจดหมายขา่ ว จงั หวัดพษิ ณุโลก “ผลใิ บฯ”ของกรมวชิ าการเกษตร เมอ่ื เดอื นตลุ าคม 2550 ต่อมานายพนัส สวุ รรณธาดา ตำแหนง่ ในขณะนน้ั จงึ ตดิ ตอ่ กลุ่มประชาสัมพนั ธ์ กรมการข้าว ขอขอ้ มลู คือ เจ้าพนักงานการเกษตร 5 ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก “ขา้ วลมื ผัว” พ.ศ. น้มี าดูว่ามอี ะไรทเี่ พิ่มเตมิ ขึน้ มาบา้ ง สถาบนั วจิ ัยขา้ ว กรมวชิ าการเกษตร ซง่ึ ไปปฏิบตั ริ าชการ ข้อมลู ท่ไี ด้รับสรุปวา่ โครงการในพระราชดำริภูขัด ภูเมี่ยง ภสู อยดาว บรเิ วณ ศูนย์วจิ ัยขา้ วพษิ ณุโลก กรมการข้าว ได้ประสบ อำเภอนครไทย และ ชาตติ ระการ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ระหวา่ ง ความสำเร็จในการดำเนินการคดั เลือกพนั ธข์ุ ้าวเหนียวดำ ปี 2533-37 ไดพ้ บและสนใจขา้ วพันธ์ุนี้ จึงนำมาทดสอบ “ลมื ผวั ” ใหเ้ ปน็ พนั ธบ์ุ รสิ ทุ ธิ์ ขณะนไ้ี ดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นพนั ธุ์ เปรียบเทียบกับข้าวทีป่ ลกู จากแหลง่ เดิม และคดั เลอื กพนั ธ์ุ กบั กรมวิชาการเกษตรเรียบร้อยแล้ว ให้บรสิ ุทธ์ิ ระหวา่ งปี 2534-38 ณ สว่ นแยกของสถานี ผลการวิเคราะห์คุณค่าโภชนาการโดยบริษัทห้อง ทดลองพืชสวนดอยมเู ซอ ทอ่ี ำเภอพบพระ จงั หวัดตาก ปฏิบตั ิการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด สาขาเชยี งใหม่ เพื่อใช้ในโครงการตามพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระ สถาบันคน้ คว้าและพฒั นาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวทิ ยาลยั นางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ เกษตรศาสตร์ และศูนยว์ ิจยั ข้าวปทุมธานี พบว่า มคี ณุ ค่า เม่ือคัดเลือกจนได้พันธุ์บริสุทธ์ิแล้วได้มอบเมล็ด ทางโภชนาการสูง เหมาะเปน็ อาหารเพื่อสขุ ภาพ พนั ธใุ์ ห้นายไชยวัฒน์ วฒั นไชย ผอู้ ำนวยการศนู ยว์ ิจยั พืช สำหรับผลการวิเคราะห์คุณค่าโภชนาการพบว่า สวนพจิ ติ ร ในขณะนนั้ (ปจั จบุ นั เกษยี ณอายรุ าชการในตำแหนง่ ขา้ วเหนยี วพนั ธล์ุ มื ผวั นมี้ สี ารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ (Antioxidant) รองอธบิ ดกี รมการขา้ ว) เพ่อื ถวายแด่สมเด็จพระนางเจา้ ฯ โดยรวมในปรมิ าณสงู ถงึ 833.77 มลิ ลกิ รมั กรดแอสคอรบ์ กิ พระบรมราชินนี าถ ทเ่ี สด็จมาทรงเย่ียมโครงการฯ ต่อ 100 กรมั มวี ิตามินอี (อัลฟา-โทโคฟีรอล) ซ่ึงเป็น จากนั้นนายพนัสจึงได้ทำแปลงผลิตเมล็ดพันธ์ุ สารต้านอนุมูลอิสระและช่วยลดโคเลสเตอรอลปริมาณ บรสิ ุทธ์ใิ นปี 2539 แลว้ นำเมล็ดพนั ธ์ุที่ได้ไปให้ชาวไทย 16.83 มิลลกิ รมั /กิโลกรมั มแี กมมา่ โอไรซานอลซึง่ ช่วย ภูเขาเผ่าม้งที่ตำบลรวมไทยพัฒนา อำเภอพบพระ ลดโคเลสเตอรอล และไตรกลเี ซอรไ์ รด์ ตลอดจนการหยอ่ น จังหวดั ตาก ซึ่งเปน็ แหลง่ ปลูกดง้ั เดิม ไว้ปลูกขยายพันธุ์ สมรรถภาพทางเพศ ปรมิ าณ 508.09 มลิ ลกิ รมั ตอ่ กโิ ลกรมั เพ่ือใช้ประโยชนต์ อ่ ไป มีกรดไขมนั ทชี่ ่วยบำรงุ สมองปอ้ งกันภาวะเสือ่ มของ ข้าวพนั ธนุ์ ้ี เปน็ ขา้ วทม่ี ีเยอ่ื หุ้มเมลด็ สีดำ หรือที่ สมองและช่วยความจำ ได้แก่ โอเมกา - ปรมิ าณ 33.94 เรียกกันว่า “ขา้ วเหนยี วดำ” เป็นขา้ วเหนียวท่มี กี ล่ินหอม มลิ ลิกรมั /100 กรมั มโี อเมกา - 6 ท่ีบรรเทาอาการขาด รสชาตอิ รอ่ ย เมอ่ื เคยี้ วจะรสู้ กึ มนั และนมุ่ แบบหนบุ ๆ เนอื่ งจาก ภาวะเอสโตรเจนของวยั ทอง และชว่ ยใหผ้ วิ พรรณเปลง่ ปลงั่ เปน็ ขา้ วกลอ้ งทยี่ งั ไมไ่ ดผ้ า่ นการขดั สี ดว้ ยรสชาตทิ อ่ี รอ่ ยลน้ิ สูงถึง 1,160.08 มิลลกิ รัม/100 กรมั และโอเมกา - 9 เชน่ นีเ้ อง แม่บา้ นทีห่ งุ ข้าวนร้ี บั ประทาน จึงรบั ประทาน ซ่ึงชว่ ยลดโคเลสเตอรอลในเสน้ เลอื ด ทำให้เส้นเลือดไม่ จนหมดไม่เหลอื ไว้ใหพ้ อ่ บา้ นได้รับประทาน อดุ ตนั ไมเ่ ปน็ โรคหวั ใจ โรคพารค์ นิ สนั และชว่ ยลดความอว้ น จึงเป็นท่ีมาของช่ือท่ีอาจจะฟังแล้วสะดุดหูเล็กน้อย สูงถงึ 1,146.41 มิลลกิ รัม/100 กรัม แต่เมือ่ ผูบ้ รโิ ภคได้รับประทานแล้วอาจจะถึงบางอ้อ เพราะ มแี อนโทไซยานนิ 46.56 มลิ ลกิ รมั /100 กรมั โปรตนี ขา้ วลืมผัวนีอ้ รอ่ ยไดห้ ลายแบบ ไมว่ า่ จะบริโภคร่วมกับ 10.63% และมีธาตเุ หลก็ สงู มากถงึ 84.18 มิลลิกรัมต่อ อาหาร หรอื ทำเปน็ ขนมกต็ าม น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 23

กโิ ลกรมั สว่ นแคลเซยี ม สงั กะสี และแมงกานสี มใี นปรมิ าณ ในการปลกู ต้องการการดแู ลอย่างใกลช้ ดิ เน่อื งจากคอ่ น 169.75 23.60 และ 35.38 มลิ ลกิ รมั ตอ่ กโิ ลกรมั ตามลำดบั ข้าวเหนียวดำพันธ์ุลมื ผวั นีม้ ีกลนิ่ หอม รสชาตอิ ร่อย ขา้ งอ่อนแอต่อโรคและแมลงศัตรูขา้ ว เมอ่ื เคยี้ วจะรสู้ กึ มนั และนมุ่ แบบหนบุ ๆ นอกจากจะรบั ประทาน แบบข้าวเหนียวนึง่ ทว่ั ไปแล้ว ยงั แปรรปู ไดห้ ลากหลายชนิด ขอนำขอ้ ความที่ ดร. อจั ฉราพร ณ ลำปาง เนินพลบั เช่น ผสมขา้ วขาวทำข้าวต้มสีมว่ งอ่อน ทำข้าวเหนยี วเปยี ก ชาขา้ วควั่ แบบ pearl barley หรอื เครอื่ งดม่ื ทง้ั แบบมแี อลกอฮอล์ กล่าวถงึ ขา้ วพันธุน์ ้ี เม่อื ครั้งกระนนั้ มาเปน็ บทสรุปของ และปราศจากแอลกอฮอล์ ซึ่งจะมสี คี ลา้ ยทบั ทมิ สวยงาม ข้าวเหนียวดำพันธุ์นี้เป็นข้าวนาปีพ้ืนเมืองท่ีแต่เดิม เร่อื งนว้ี า่ “ข้าวเหนยี วพันธล์ุ ืมผัวเปน็ ขา้ วพนื้ เมอื งเฉพาะ ปลกู ในสภาพไรบ่ นภเู ขาทอ่ี ำเภอพบพระ จงั หวดั ตาก ตน้ สงู ถนิ่ ในภาคเหนอื ตอนล่าง มีความเปน็ เอกลักษณ์ทง้ั ใน ประมาณ 137 เซนตเิ มตร ออกดอกประมาณวนั ท่ี 15 รูปลกั ษณข์ องเมลด็ สสี นั สวยงามแปลกตาของเปลอื ก กันยายน จำนวนเมลด็ ดตี อ่ รวงเฉลี่ย 130 เมลด็ เมลด็ หุ้มเมล็ดทีเ่ ปล่ยี นไปตามอายุ และเพียบพร้อมไปดว้ ย ค่อนข้างอ้วน น้ำหนักข้าวเปลือก 1,000 เมล็ด เฉลี่ย คุณค่าทางโภชนาการ ควรค่ายิ่งแกก่ ารอนุรกั ษ์เพอื่ ใช้ 37.9 กรมั สถติ ผิ ลผลติ สงู สดุ เมอ่ื ปลกู ในสภาพไรแ่ ละอากาศ ประโยชน์และสร้างมลู ค่าเพิ่ม เพ่ือชวี ติ ความเป็นอยู่ท่ี ทเ่ี หมาะสมจะไดผ้ ลผลติ 490 กิโลกรัม/ไร่ เมื่อนำมา ดีมมี าตรฐานของสองมอื ผ้ปู ลูกขา้ ว และเพอ่ื สขุ ภาพท่ี ปลูกในพนื้ ที่ราบไดผ้ ลผลิต 200 - 350 กโิ ลกรัม/ไร่ ดขี องผู้รักสขุ ภาพโดยถ้วนหน้า” รวง 24 น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553

เ ปิ ด แ ฟ้ ม วิ จั ย ผลงดาีเดน่นวแิจหัย่ง..ป.ี พนารตั น์ เสรีทวกี ุล บจากอดีตจนถึงปัจจุบันกรมวิชาการเกษตรมีผลงานวิจัยจำนวนมากท่ีเกิดจากความทุ่มเทแรงกายและแรงใจ จากนกั วิจัยถกู ถ่ายทอดไปสเู่ กษตรกร โดยทุกผลงานวจิ ยั ล้วนแล้วแต่มีจุดมุง่ หมายเดียวกัน คอื เพือ่ พฒั นาชีวิตและ ความเปน็ อยู่ของเกษตรกรให้ดขี ้นึ ดงั นั้นเพอื่ เปน็ ขวญั และกำลงั ใจในการปฏบิ ัตงิ านใหแ้ ก่นกั วิจัย กรมวชิ าการเกษตรจงึ ได้จัดให้มีการพจิ ารณาคดั เลอื กผลงานวจิ ยั ท่สี น้ิ สุดในแตล่ ะปี เพอ่ื มอบรางวลั ผลงานวจิ ยั ดเี ด่นให้แก่นกั วิจัยของกรมวชิ าการเกษตรภายในการประชุม วิชาการซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกป ี น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 25

สำหรับในปี 2552 มีผลงานวิจยั ท่ีสนิ้ สุดในปี 2552 งานวิจยั พนื้ ฐาน ส่งเข้ามาให้คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกให้ได้รับ รางวลั ผลงานวจิ ยั ดีเด่นจำนวนรวมทัง้ ส้นิ 48 เรอื่ ง โดย ผลงานวจิ ยั ทไี่ ดร้ บั รางวลั ดเี ดน่ ไดแ้ ก่ เรอ่ื ง “การ รางวลั ผลงานงวิจัยได้แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท คอื งานวิจัย วิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของพันธ์ุยางแนะนำและพันธุ์ พื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ งานพัฒนางานวิจัย งานวิจัย ยางจากแหลง่ กำเนดิ เดมิ โดยใชเ้ ทคนคิ ไมโครแซทเทลิ ไลต์ สงิ่ ประดษิ ฐค์ ดิ ค้น และงานบรกิ ารวชิ าการ และ RAPD” โดยศนู ยว์ ิจัยยางหนองคาย คณะผ้วู ิจัย ผลการพิจารณามีผลงานวิจัยท่ีได้รับรางวัลผลงาน ประกอบดว้ ย นภาวรรณ เลขะวพิ ฒั น์ กัลยา ประพาน และ วจิ ัยดีเด่นจำนวน 5 เร่อื ง และมผี ลงานวิจยั ท่ีได้รับรางวลั กรรณกิ าร์ ธีระวัฒนสุข ชมเชยอกี จำนวน 6 เรื่อง ดงั น้ี การจำแนกลักษณะประจำพันธุ์ยางปลูกท่ัวไปใน ปัจจุบันสามารถจำแนกได้โดยวิธีการจำแนกจากลักษณะ สัณฐานวิทยาภายนอก ซง่ึ วิธีการนมี้ ขี ้อจำกัดจากการท่ียาง มักได้รับผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไป และบางลักษณะสามารถจำแนกได้เฉพาะในบางระยะของ การเจรญิ เตบิ โตเทา่ นนั้ ดงั นนั้ เจา้ หนา้ ทท่ี จ่ี ะสามารถตรวจสอบ และจำแนกลักษณะความแตกต่างของพันธุ์ยางในหลาย สภาพแวดล้อมได้อย่างถูกต้องและแม่นยำจึงต้องเป็น ผทู้ ่ีมคี วามชำนาญและมีประสบการณส์ ูง 26 น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553

นอกจากน้ีในกรณีที่ต้องการ จำแนกพันธ์ุยางจากแหล่งกำเนิดและ จำแนกลูกผสมในงานทดลองที่สาย พนั ธย์ุ างมคี วามใกลเ้ คยี งกนั มาก หรอื ในการรับรองการขึ้นทะเบียนพันธ์ุพืช และพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธ์ุ พืชจำเป็นต้องใช้ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ยางพาราโดยใช้เคร่ืองหมายโมเลกุล ควบคู่กันไปด้วย สถาบันวิจัยยาง จึงได้ทำการศึกษา ทดลองโดยนำ เครอื่ งหมายโมเลกลุ ไมโครแซทเทลิ ไลต์ และ RAPD ทเ่ี หมาะสม เพอ่ื จดั ทำ ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของยางพันธุ์ปลูก พนั ธแุ์ นะนำ และพนั ธย์ุ างจากแหลง่ กำเนดิ เดมิ โดยศกึ ษาในยางพนั ธป์ุ ลกู และพนั ธแุ์ นะนำจำนวน 50 สายพันธ์ุ และพันธ์ยุ างจากแหลง่ กำเนิดเดมิ จำนวน 200 สายพนั ธุ ์ จากการศึกษาการทำลายพิมพ์ดีเอ็นเอโดยใช้เทคนิคไมโคร แซทเทิลไลต์กับพันธุ์ยางปลูกและพันธุ์ยางจากแหล่งกำเนิดเดิม สามารถนำมาใชป้ ระโยชนใ์ นการจดั ทำฐานข้อมลู ลายพมิ พ์ ดเี อ็นเอ ยางพาราเพ่ือเป็นข้อมูลพ้ืนฐานสำหรับการอ้างอิงในการจำแนกพันธุ์ และพสิ จู นพ์ ันธ์ุ รวมท้ังยังสามารถตรวจสอบเพอ่ื ยืนยันความถูกต้องของ พันธุ์ยางในกรณีท่ีต้องการข้อมูลวิทยาศาสตร์มาอ้างอิงเพ่ือตรวจสอบ ความถกู ตอ้ งของพันธุ์ยาง หรือในกรณที ี่ไมส่ ามารถจำแนกดว้ ยลักษณะ ทางสณั ฐานวิทยาได ้ น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553 27

ผลงานทไ่ี ดร้ บั รางวลั ชมเชย ประเภทงานวจิ ยั พน้ื ฐาน ผลการวิจัยพบว่า การจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง ไดแ้ ก่ เรอ่ื ง “ฐานขอ้ มลู ลายพมิ พด์ เี อน็ เอของมนั สำปะหลงั โดยใช้เทคนิค ISSR-Touchdown PCR เป็นวิธีการที่ พันธุ์ไทย พันธุ์ลูกผสม และพันธ์ุต่างประเทศ” โดย ทำใหไ้ ดแ้ ถบดเี อ็นเอชดั เจน สามารถคดั เลือกเคร่อื งหมาย ศูนย์วิจยั พืชไร่ขอนแก่น คณะผ้วู ิจัยประกอบดว้ ย ศจุ ริ ัตน์ โมเลกลุ ท่แี สดงความแตกต่างระหวา่ งพันธ์ไุ ด้ ให้ข้อมลู ท่ี สงวนรังศิริกุล วีรเดช โขนสันเทียะ รัชนี ขันธหัตถ์ ถกู ตอ้ ง แมน่ ยำ สามารถแปลผลและปฏบิ ตั ไิ ดง้ า่ ย ใชเ้ ครอ่ื งมอื เพยี งเพญ็ ศรวตั ประพศิ วองเทยี ม ศุภชยั สารกาญจน์ ที่ไม่ซบั ซอ้ น งบประมาณน้อย ที่สำคัญคือสามารถจำแนก และอัจฉรา ลิม่ ศลิ า พนั ธุ์ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ ซึง่ ฐานขอ้ มูลดงั กลา่ วนี้สามารถนำไป ในอดีตท่ีผ่านมาการจำแนกลักษณะประจำพันธ์ุ ใชเ้ ปน็ แบบมาตรฐานสำหรบั การเปรยี บเทยี บหรอื ตรวจพสิ จู น์ ของเชอื้ พนั ธกุ รรมมนั สำปะหลงั ยงั มกี ารดำเนนิ การไมม่ ากนกั ตวั อยา่ งพันธุท์ ่สี งสยั ได้ และยังไม่มีการศึกษาถึงความหลากหลายทางพันธุกรรม ปัจจุบันได้มีการนำผลงานวิจัยน้ีไปประยุกต์ใช้ ของเช้ือพันธุ์ที่มีอยู่ซ่ึงการจำแนกด้วยลักษณะภายนอก ประโยชน์ในการตรวจสอบความแตกต่างทางพันธุกรรม เพียงอย่างเดียวอาจให้ข้อมูลท่ีผิดพลาดและส่งผลเสีย ของพืชอื่นดว้ ย ไดแ้ ก่ ฟ้าทะลายโจร กวาวเครอื ขาว ถัว่ ลสิ ง หายตอ่ งานอน่ื ๆ ทต่ี อ้ งใชข้ อ้ มลู หรอื ตวั อยา่ งนนั้ ๆ โดยเฉพาะ สบดู่ ำ ทุเรยี น เงาะ และมันฝรั่ง และนำไปใชค้ ดั เลอื ก อยา่ งย่ิงงานปรับปรงุ พนั ธ์ุ พ่อแม่พันธุ์ท่ีมีฐานพันธุกรรมต่างกันในงานปรับปรุง พนั ธมุ์ นั สำปะหลงั ทศี่ นู ยว์ จิ ยั พชื ไรข่ อนแกน่ รวมทง้ั นำไปใช้ dendogram[1] ประโยชน์ในการเปรียบเทียบพนั ธ์ุ จำแนกสายพนั ธุ์ และ ตรวจสอบข้อมูลพันธุกรรมเพื่อรองรับการจดทะเบียน อนสุ ิทธิบตั แิ ละคุ้มครองพันธุ์พชื 3dimension[1] ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ได้ศึกษาวิจัยการทำ ลายพมิ พด์ เี อน็ เอของเชอ้ื พนั ธม์ุ นั สำปะหลงั โดยใชเ้ ทคนคิ ISSR-Touchdown PCR เพอ่ื นำมาจำแนกความแตกตา่ งทาง พันธุกรรมของเชื้อพนั ธม์ุ นั สำปะหลงั ทรี่ วบรวมไวท้ ศ่ี นู ยว์ จิ ยั พืชไรร่ ะยอง และพันธ์ทุ ีไ่ ดร้ บั มาจาก CIAT รวมทง้ั สร้าง ฐานข้อมูลสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อใช้เป็นมาตรฐาน สำหรับเปรียบเทียบพันธุ์และตรวจสอบความแตกต่าง ทางพันธุกรรมของพนั ธ์ตุ า่ งๆ สำหรบั งานปรบั ปรงุ พนั ธ์ุ มนั สำปะหลัง 28 น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถนุ ายน 2553

งานวจิ ยั ประยุกต ์ ทรงตน้ ผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ ประเภทงานวจิ ยั ประยกุ ต์ ไดแ้ ก่ เร่ือง “ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ลูกผสมทนทานแล้งพันธ์ุ นครสวรรค์ 3” โดย ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไรน่ ครสวรรค์ คณะผวู้ จิ ยั ประกอบด้วย พิเชษฐ์ กรุดลอยมา สุริพฒั น์ ไทยเทศ กลั ยา ภาพินทธุ ชุติมา คชวัฒน์ ศวิ ิไล ลาภบรรจบ อมรา ไตรศริ ิ สาธติ อารีรกั ษ์ และบญุ เกอ้ื ภศู รี พน้ื ทป่ี ลกู ขา้ วโพดเลยี้ งสตั วข์ องประเทศไทยสว่ นใหญ่ มักประสบปัญหาสภาพฝนแล้งหรือการกระจายตัวของฝน ไมส่ มำ่ เสมอ ดงั นนั้ ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไรน่ ครสวรรคจ์ งึ ไดด้ ำเนนิ การ วิจัยและปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ลูกผสมเพ่ือให้ได้ พนั ธใุ์ หมท่ ใี่ หผ้ ลผลติ สงู ทนทานแลง้ และสามารถเกบ็ เกย่ี ว ดว้ ยมืองา่ ย โดยนำข้าวโพดเล้ียงสัตว์สายพนั ธ์ุแทต้ ากฟา้ 1 และตากฟา้ 3 ผสมพันธ์ุกนั จนได้ ข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ ลกู ผสมทนทานแลง้ พนั ธนุ์ ครสวรรค์ 3 ทรงต้นนครสวรรค์ 3 ฝกั การขยายผลสเู่ กษตรกร การทดสอบความต้านทานโรครานำ้ คา้ ง ผ้ปู ลูกข้าวโพด ความสม่ำเสมอของฝัก ฝักในระยะเกบ็ เก่ยี ว ในแปลงปลูก ทำให้เกษตรกรท่ีปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ลูกผสมพันธุ์ ข้าวโพดเลยี้ งสัตวล์ กู ผสมพันธ์นุ ครสวรรค์ 3 มี นครวรรค์ 3 มีรายไดม้ ากกว่าไร่ละ 2,740 บาท นอกจากนี้ ลกั ษณะเด่น คือ ให้ผลผลิต 1,150 กิโลกรมั /ไร่ สงู กวา่ ขา้ วโพดเล้ียงสตั วล์ ูกผสมพันธ์นุ ครสวรรค์ 3 ยงั มคี วาม พนั ธกุ์ ารคา้ เอกชนซงึ่ ใหผ้ ลผลติ 1,100 กโิ ลกรมั /ไร่ ในกรณี ต้านทานต่อโรครานำ้ ค้างและโรคราสนิม ท่ีสำคัญสามารถ ประสบสภาวะแห้งแล้ง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมพันธุ์ เกบ็ เก่ยี วผลผลติ ดว้ ยมือไดง้ ่าย นครวรรค์ 3 ให้ผลผลติ เฉลี่ย 836 กิโลกรัม/ไร่ ในขณะท่ี ในอนาคตหากเกษตรกรปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ พนั ธกุ์ ารคา้ ทเี่ กษตรกรปลกู ใหผ้ ลผลติ เฉลยี่ 450 กโิ ลกรมั /ไร่ ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 3 รอ้ ยละ 10 ของพื้นที่ปลูกขา้ ว โพดเลยี้ งสตั วท์ งั้ ประเทศ จะสามารถสรา้ งรายใหแ้ กเ่ กษตรกร ฝกั ระยะเกบ็ เกย่ี ว ผปู้ ลกู ขา้ วโพดคดิ เปน็ เงนิ จำนวนประมาณ 4,700 ลา้ นบาท จากการสำรวจความพึงพอใจของเกษตรกรและ ผู้ประกอบการธุรกิจเมล็ดพันธุ์พบว่าเกษตรกรมากกว่า ร้อยละ 90 มีความพอใจตอ่ ศักยภาพของขา้ วโพดเลย้ี ง สตั ว์ลูกผสมพนั ธุ์ นครสวรรค์ 3 ในขณะท่ผี ปู้ ระกอบการ ธุรกิจเมล็ดพันธุ์ก็มีความต้องการและพร้อมที่จะผลิต เมล็ดพันธ์ุข้าวโพดเล้ียงสัตว์ลูกผสมพันธุ์นครสวรรค์ 3 ในเชงิ พาณิชย์ น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มิถนุ ายน 2553 29

รางวลั ชมเชย ประเภทงานวจิ ยั ประยกุ ต์ ไดแ้ ก่ เรอื่ ง “การวจิ ยั และพฒั นากาแฟอาราบกิ า้ แบบครบวงจร” โดย ศนู ย์วจิ ยั เกษตรหลวงเชยี งใหม่ คณะผูว้ ิจัยประกอบด้วย มานพ หาญเทวี อทุ ยั นพคณุ วงศ์ สากล มสี ขุ ประสงค์ มนั่ สลงุ กำพล เมืองโคมพัส เสงี่ยม แจ่มจำรูญ ปิยะนุช นาคะ และ สุภัทรา เลศิ วัฒนเกยี รต ิ ปัญหาที่สำคัญของการปลูกกาแฟอาราบิก้า คือ โรคราสนมิ ซง่ึ สร้างความเสียหายอยา่ งรุนแรงต่อตน้ กาแฟ ท้ังด้านปริมาณและคุณภาพผลผลิต และยังเป็นสาเหตุ สำคัญท่ีทำให้อายุของต้นกาแฟส้ันลง ศูนย์วิจัยเกษตร หลวงเชียงใหม่ จึงไดศ้ ึกษา วจิ ัย เพอื่ พฒั นาพันธุก์ าแฟ อาราบิกา้ ให้มีความตา้ นทานตอ่ โรคราสนิม ใหผ้ ลผลติ สูง และมีคุณภาพ รวมท้งั มีรสชาตเิ ปน็ ที่ยอมรับของผ้บู รโิ ภค ผลการศึกษาวิจัยสามารถคัดเลือกสายพันธุ์กาแฟ อาราบกิ ้าทีม่ คี ุณสมบตั ิต้านทานต่อโรคราสนิมสูง ใชช้ ่ือ พนั ธว์ุ า่ เชยี งใหม่ 80 ซง่ึ นอกจากจะตา้ นทานตอ่ โรคราสนมิ แล้วยงั ให้ผลผลิตเมลด็ กาแฟดิบเฉล่ีย 5 ปี สงู ถงึ 215 กโิ ลกรมั /ไร่ ซง่ึ สงู กวา่ พนั ธท์ุ เ่ี กษตรกรปลกู ทวั่ ไปทใ่ี หผ้ ลผลติ เฉลย่ี 90 – 120 กโิ ลกรมั /ไร่ ใหป้ ริมาณสารกาแฟเกรด A เฉล่ีย 5 ปี 81.3-87.3 เปอร์เซ็นต์ คุณภาพการชิมจาก 10 คะแนน อยใู่ นระดับ 6.5 - 7.0 ปจั จุบันได้มกี ารขยายผลกาแฟพันธุ์เชียงใหม่ 80 โดยการผลิตเมล็ดพันธุ์และต้นกล้าพันธ์ุจำหน่ายจ่ายแจก ใหแ้ กเ่ กษตรกรไดน้ ำไปปลกู โดยแบง่ เปน็ เมลด็ พนั ธจ์ุ ำนวน 1,200 กิโลกรัม และตน้ กลา้ พันธุจ์ ำนวน 2,342,000 ตน้ พร้อมกับได้สร้างเกษตรกรผู้นำและแปลงต้นแบบในพื้นท่ี 3 จงั หวดั ภาคเหนอื รวมทงั้ ขยายผลโดยการสรา้ งผลติ ภณั ฑ์ กาแฟคั่วสดตน้ แบบภายใต้แบรนด์ DOA Coffee สำหรบั รองรับกลุ่มเกษตรกรและภาคเอกชนที่ต้องการประกอบ ธรุ กจิ กาแฟไดน้ ำไปสร้างอาชพี และสร้างรายได้ตอ่ ไป นอกจากน้ี ในปี 2554 กรมวชิ าการเกษตรจะมี กาแฟอาราบกิ า้ ลกู ผสมสายพนั ธใ์ุ หมท่ จี่ ะเปน็ พนั ธแุ์ นะนำ ใหแ้ กเ่ กษตรกรอกี อยา่ งนอ้ ย 2 สายพนั ธ์ุ ซงึ่ ทง้ั 2 สายพนั ธ์ุ มคี ณุ สมบตั ติ า้ นทานตอ่ โรคราสนมิ ใหผ้ ลผลติ สงู และมี คณุ ภาพดี เพอื่ เปน็ การเพมิ่ ความหลากหลายของพนั ธุ์ และเพ่ิมศักยภาพการผลิตกาแฟอาราบิก้าของไทยให้มี คณุ ภาพมากยิง่ ข้นึ 30 น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553

รางวัลชมเชย ผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ ประเภทงานวิจยั ผลของการพน่ ปุ๋ยผสมเองและป๋ยุ เกล็ดตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของ ประยุกต์ เรอื่ งที่ 2 ได้แก่ เรื่อง “การจัดการธาตุอาหาร กลว้ ยไม้สกุลหวาย สำหรับกล้วยไม”้ โดย สถาบนั วิจัยพืชสวน คณะผ้วู จิ ัย ประกอบดว้ ย นันทรัตน์ ศุภกำเนิด ไว อนิ ต๊ะแกว้ และ ผลของการพ่นปุ๋ยผสมเองและปุ๋ยเกล็ดต่อการเจริญเติบโตของ สิรี สวุ รรณเขตนคิ ม กล้วยไมส้ กลุ แวนดา ปุ๋ยจัดเป็นปัจจัยการผลิตที่มีความสำคัญต่อการ เจริญเติบโตและการออกดอกของกล้วยไม้ โดยเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่าการผสมปุ๋ยใช้เองทำให้กล้วยไม้ เกษตรกรใช้ปยุ๋ สำหรับกลว้ ยไม้ปีละประมาณ 2,300 ตนั มกี ารเจรญิ เตบิ โตดไี มแ่ ตกตา่ งจากการใชป้ ยุ๋ เกลด็ สำเรจ็ รปู คดิ เปน็ เงนิ จำนวนประมาณปลี ะ 160 ลา้ นบาท หากเกษตรกร และทำให้ตน้ ทุนค่าปยุ๋ ถกู ลงประมาณ 30 เปอร์เซน็ ต์ ผลิตปุ๋ยใช้เองได้จะทำให้สามารถลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยได้ รวมทง้ั การใชป้ ยุ๋ ฟอสฟอรสั ในสดั สว่ นทต่ี ำ่ กวา่ ปยุ๋ ไนโตรเจน ปลี ะไมต่ ่ำกวา่ 60 ลา้ นบาท และโพแทสเซียม ไม่ได้ทำให้การเจริญเติบโต และ ดงั นน้ั เพอื่ เปน็ การสง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรผปู้ ลกู กลว้ ยไม้ การออกดอกของกล้วยไม้แตกต่างจากการใช้ปุ๋ยสูตรเสมอ รู้จักวิธีผสมปุ๋ยใช้เองเพื่อลดต้นทุนการผลิตและการนำเข้า และปยุ๋ สตู รทม่ี ฟี อสฟอรสั สงู ซงึ่ การลดปรมิ าณปยุ๋ ฟอสฟอรสั ปุย๋ เคมจี ากตา่ งประเทศ สถาบนั วิจัยพืชสวน จงึ ได้ศกึ ษา ดงั กลา่ วทำใหต้ น้ ทนุ ปยุ๋ ผสมลดลงอกี ประมาณ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ วธิ กี ารผสมปยุ๋ ใชเ้ องสำหรบั กลว้ ยไมส้ กลุ หวาย โดยการศกึ ษา นอกจากน้ีการผสมจุลธาตุใช้เองก็ทำให้ต้นกล้วยไม้มีการ ทดลองได้ดำเนินการในสวนกล้วยไม้ของเกษตรกรเป็น เจริญเตบิ โตดเี ชน่ เดยี วกบั การใชจ้ ุลธาตุสำเรจ็ รูป โดยท่ี ระยะเวลา 3 ปี จลุ ธาตทุ ผ่ี สมเองมตี น้ ทนุ ตำ่ กวา่ จลุ ธาตสุ ำเรจ็ รปู 2 – 15 เทา่ เปรยี บเทียบผลของการใส่ปุย๋ สูตรต่างๆ ต่อการเจรญิ เติบโต ของกล้วยไม้สกุลแอสโคเซน็ ดา พนั ธ์ุมคิ าซา การใช้จลุ ธาตุคเี ลทตอ่ การเจริญเติบโตของกล้วยไม ้ การเจรญิ เตบิ โตของกล้วยไม้ การเจริญเตบิ โตของกลว้ ยไม้ การเจริญเติบโตของกลว้ ยไม้ การเจรญิ เติบโตของกลว้ ยไม้ ทใี่ ช้แมป่ ุ๋ย ท่ใี ชแ้ มป่ ๋ยุ ที่ใชแ้ ม่ปุ๋ย ท่ีใช้แม่ปุ๋ย N+12-60-0+0-0-60 N+12-60-0+13-0-46 N+0-52-34+0-0-60 N+0-52-34+13-0-46 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 31

ผลงานวิจัยน้ีทำให้เกษตรกรรู้จักวิธีผสมปุ๋ยใช้เอง การเจริญเตบิ โตของกลว้ ยไม ้ และสามารถนำไปปฏิบัตไิ ด้ไมย่ าก ทำใหต้ ้นทุนการผลิต ท่ีใช้แมป่ ยุ๋ N+0-52-34+0-0-60 ของเกษตรกรลดลง เนอ่ื งจากการผสมปุ๋ยใช้เองมีทัง้ ปุ๋ย ธาตุหลกั ธาตุรอง และจุลธาตคุ รบถ้วนเช่นเดยี วกับปยุ๋ เกลด็ สำเรจ็ รปู ทีม่ ีจำหน่ายทั่วไป รวมท้ังผู้ผลติ ปยุ๋ สามารถ นำผลงานวิจัยไปผลิตปุ๋ยกล้วยไม้ท่ีเหมาะสมกว่าสูตรเดิม ทีเ่ กษตรกรใช้ โดยเฉพาะการผสมปุ๋ยสตู รท่ีมีฟอสฟอรสั ตำ่ จัดเป็นนวัตกรรมใหม่สำหรับปุ๋ยกลว้ ยไม้ งานพัฒนางานวจิ ยั ผลงานวิจัยทีไ่ ด้รบั คัดเลอื กใหไ้ ดร้ บั รางวัลผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ ประเภทพฒั นางานวิจยั ได้แก่ เร่อื ง “การพัฒนา เทคโนโลยเี พอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ลองกองใหม้ คี ณุ ภาพในพน้ื ทภ่ี าคใตต้ อนลา่ ง” โดย สำนกั วจิ ยั และพฒั นาการ เกษตรเขตที่ 8 จังหวดั สงขลา คณะผู้วจิ ัย ประกอบดว้ ย สพุ ร ฆงั คมณี ศรนิ ณา ชธู รรมธัช อภญิ ญา สรุ าวธุ ลกั ษมี สภุ ทั รา อารยิ า จดู คง สมปอง นกุ ลู รตั น์ ระวี เจยี รวภิ า นนั ทกิ าร์ เสนแกว้ ประสพโชค ตนั ไทย สาวติ รี เขมวงศ์ และ มนตส์ รวง เรอื งขนาบ การผลติ ลองกองของเกษตรกรทว่ั ไปในเขตพนื้ ทภ่ี าคใตย้ งั มปี ญั หา เกย่ี วกบั ปรมิ าณผลผลติ ซงึ่ อยใู่ นเกณฑต์ ำ่ ปญั หาโรคและแมลงโดยเฉพาะ โรคราดำ ซ่ึงทำใหร้ าคาผลผลิตต่ำลง รวมทงั้ เกษตรกรไม่มีความรู้ด้าน เทคโนโลยีการผลิตลองกองท่ดี แี ละถูกตอ้ ง จากปญั หาตา่ งๆ เหล่านี้ เพลี้ยแป้ง สำนักวิจัยและพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 8 จงั หวัดสงขลา จึงได้พัฒนา และทดสอบเพ่ือให้ได้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตลองกองจำนวน 3 ด้าน คือ การจดั การสวนเพ่อื เพมิ่ ผลผลิต การจดั การโรคกอ่ นการ เก็บเกยี่ ว และการยืดอายกุ ารเก็บรกั ษาลองกอง การทดสอบเทคโนโลยกี ารผลติ ลองกอง ดำเนนิ การในแปลงของ เกษตรกรโดยเปรียบเทียบระหว่างวิธีแนะนำกับวิธีของเกษตรกร ผลการศกึ ษาวจิ ยั พบวา่ การจดั การสวนตามวธิ แี นะนำ สามารถเพมิ่ ผลผลติ ชอ่ ผลลองกอง ช่อดอกลองกอง การไวช้ ่อ ช่อผลลองกอง ได้ 45.1 เปอรเ์ ซ็นต์ และได้ลองกองทมี่ คี ุณภาพเกรดเอมากที่สุด 51.6 เปอรเ์ ซ็นต์ ในขณะท่ีวธิ ขี องเกษตรกรสว่ นใหญ่ ได้ลองกองคณุ ภาพเกรดซี นอกจากน้วี ธิ แี นะนำยังทำให้ไดร้ บั ผลตอบแทนสูงกว่าวิธขี องเกษตรกร 7,916 บาท/ไร่ คดิ เป็นผลตอบแทนทเ่ี พ่ิมขน้ึ 72.5 เปอรเ์ ซ็นต์ การทดสอบเทคโนโลยีการจดั การโรคลองกอง พบว่า การกำจัดโรคราดำโดยใช้ใชว้ ธิ ีผสมผสานโดยใชส้ ารเคมี benomyl 10 กรัม/น้ำ 20 ลิตร หรือจุลนิ ทรีย์ Bacillus subtilis 20 กรัม/นำ้ 20 ลติ ร ฉีดพน่ ก่อนเกบ็ เกีย่ ว 1 เดอื นร่วม กบั การตัดแต่งกิ่งและการจดั การสวน สามารถลดระดับความรนุ แรงของการเกดิ โรคได้ 32 น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถนุ ายน 2553

ลองกองเกรดเอ ห่อผล หนอนขนาดใหญ ่ การทดสอบเทคโนโลยีหลงั การเกบ็ เกี่ยวเพอ่ื ยืดอายกุ ารเก็บรกั ษาลองกอง พบว่าการรมลองกองด้วยสาร 1-MCP ที่ระดบั ความเขม้ ข้น 500 ppb และหุม้ ด้วยโฟมเน็ตรว่ มกบั สารดดู ซับเอทลิ นี (ดา่ งทบั ทิม) และเกบ็ รกั ษาใน หอ้ งเยน็ อุณหภูมิ 18 องศาเซลเซยี ส สามารถยืดอายุการเก็บรักษาลองกองไดน้ านถงึ 14 วนั ปัจจบุ ันได้มกี ารถา่ ยทอดเทคโนโลยีการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิตลองกองท้งั 3 วธิ ีการใหแ้ กเ่ กษตรกรที่เขา้ รว่ มโครงการในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใตจ้ ำนวน 3,794 ราย ทำใหเ้ กษตรกรได้รับผลผลติ ทม่ี คี ณุ ภาพเพม่ิ ข้นึ รวมทัง้ ยงั มรี ายได้เพ่ิมข้ึนถงึ 9,198-11,974 บาท/ไร ่ รางวลั ชมเชย ประเภทพฒั นางานวจิ ยั ไดแ้ ก่ เรอื่ ง น้ำมนั งา ก่อนทีจ่ ะเผยแพรส่ ูตรตำรับผลติ ภัณฑ์ทั้ง 3 ชนิด “การพฒั นาผลติ ภณั ฑเ์ ครอื่ งสำอางและนำ้ มนั นวดจากงา” ดังกล่าวให้กลุ่มแม่บ้านและผู้ประกอบการเอกชนที่สนใจ โดย ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไรอ่ บุ ลราชธานี คณะผวู้ จิ ยั ประกอบดว้ ย ได้นำไปผลติ เพื่อการค้าต่อไป นฤทยั วรสถติ ย์ สายสนุ ยี ์ รงั สปิ ยิ กลุ กลั ยารตั น์ หมนื่ วณชิ กลุ ศริ ิรัตน์ กริชจนรัช และ สมพงษ์ ชมภนู กุ ลู รัตน์ น้ำมันงาเป็นน้ำมันที่มีคุณภาพดีและมีคุณสมบัติ ท่โี ดดเด่น คือ เปน็ ตวั นำและตวั ทำละลายทด่ี ใี นการนำพา ตวั ยาตา่ งๆ ใหแ้ ทรกซึมเข้าสู่ระบบตา่ งๆ ของร่างกายได้ ดีข้นึ น้ำมันงาจงึ ถูกนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นการแพทย์ เพอื่ วตั ถปุ ระสงค์ดังกลา่ ว อยา่ งไรก็ตามการนำนำ้ มนั งา มาเป็นน้ำมันหลักสำหรับการนวดในลักษณะของสปายัง ไม่แพรห่ ลายเท่าที่ควรในประเทศไทย ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไร่อบุ ลราชธานี จงึ ไดท้ ำการศึกษาวิจัย เพอ่ื นำนำ้ มนั งามาพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆ ทมี่ คี ณุ ภาพดี และมีวิธีการผลิตที่ไม่ยุ่งยาก สามารถถ่ายทอดสู่กลุ่ม แม่บ้านเพ่ือนำไปสร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือนและชุมชน รวมทง้ั ยงั เปน็ การลดการนำเขา้ เครอ่ื งสำอางจากตา่ งประเทศ ทมี่ รี าคาแพงได้ ผลการศกึ ษาทดลองระหว่างปี 2549-2550 ทำให้ ไดส้ ูตรท่เี หมาะสมสำหรับการทำผลิตภัณฑ์จำนวน 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ สบู่ โลชนั่ นำ้ มนั งา และนำ้ มนั นวด ซงึ่ ทงั้ 3 ผลติ ภณั ฑ์ ดังกล่าวได้รับการยอมรับด้านคุณภาพในระดับดีมากจาก ผ้ทู ี่ได้ทดลองใช้ผลติ ภณั ฑ์ และด้วยวธิ กี ารผลติ ทีง่ า่ ย ไม่ ซบั ซอ้ นจงึ มผี สู้ นใจทจ่ี ะนำไปผลติ เปน็ การคา้ ศนู ยว์ จิ ยั พชื ไร่ อุบลราชธานีจึงได้ดำเนินการขอจดอนุสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ สบสู่ ารธรรมชาตนิ ้ำมันงา โลชัน่ น้ำมนั งา และน้ำมนั นวด น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 33

ส่ิงประดิษฐ์คดิ ค้น ผลงานวิจัยประเภทส่ิงประดิษฐ์คิดค้นที่ได้รับ รางวลั ดเี ดน่ ประจำปี 2552 ของกรมวชิ าการเกษตร ไดแ้ ก่ เรื่อง “โอริงจดั ฟันทผี่ ลิตจากยางธรรมชาตอิ พิ อกไซด”์ โดย สำนกั วจิ ัยและพัฒนาวิทยาการหลงั การเก็บเกี่ยว และแปรรูปผลิตผลเกษตร คณะผู้วจิ ัย ประกอบด้วย นุชนาฎ ณ ระนอง โดยความรว่ มมือของ ทันตแพทยจ์ าก คณะทนั ตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดแ้ ก่ นิยม ธำรงอนันตส์ กลุ สมพร สวัสดิสรรพ์ วชั ระ เพชรคุปต์ และ ตลุ ย์ ศรีอมั พร แม้ประเทศไทยจะเป็นประเทศผู้ส่งออกยางพารา เป็นอนั ดับ 1 ของโลก แตก่ ารผลิตผลติ ภัณฑส์ ำเร็จรูป จากยางเพ่ือใช้ในประเทศและส่งออกต่างประเทศยังมี นอ้ ยมาก สำนกั วิจัยและพัฒนาวิทยาการหลงั การเกบ็ เกี่ยว และแปรรปู ผลติ ผลเกษตร จงึ ไดค้ ดิ คน้ วธิ กี ารผลติ โอรงิ จดั ฟนั จากยางธรรมชาติอิพอกไซด์เพ่ือใช้ประโยชน์ทางด้าน ทนั ตกรรม เนอ่ื งจากปจั จบุ นั โอรงิ จดั ฟนั เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ต่ี อ้ ง นำเข้าจากตา่ งประเทศ ทำใหม้ ีราคาแพง การศกึ ษาวจิ ยั ไดท้ ดลองสตู รยางผสมสารเคมจี ำนวน 24 สูตร คัดเลอื กได้ 4 สูตร และนำมาทดลองผลิตเป็น โอรงิ จดั ฟนั เพ่อื ใช้ทดสอบคุณสมบัตกิ ารใช้งาน ผลการ ทดสอบพบวา่ โอรงิ จัดฟันทที่ ดลองผลิตท้ัง 4 สูตรมีสมบตั ิ เฉพาะในการใช้งานระดับเดียวกับตัวอย่างโอริงจัดฟันที่ มจี ำหนา่ ยและทนั ตแพทยน์ ยิ มใช้ รวมทง้ั ยงั สามารถเลอื กใช้ ตามสภาพของฟนั ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปในระหวา่ งการรกั ษาดว้ ย นอกจากนี้โอริงจัดฟันที่ผลิตจากยางธรรมชาติ อิพอกไซด์ยังมีคุณสมบัติทางชีวภาพเข้ากันได้ดีกับเนื้อ เหงอื กของมนษุ ย์ จากการทดลองกบั ผปู้ ว่ ยโดยใชโ้ อรงิ จดั ฟนั นาน 2 เดือนครง่ึ พบวา่ ยงั สามารถใชก้ ารได้ดีและผปู้ ว่ ย ไม่มีอาการระคายเคือง รวมท้ังโอรงิ จดั ฟันยังอยู่ในสภาพ ดกี วา่ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ผลติ ภณั ฑท์ มี่ จี ำหนา่ ยอยใู่ นปจั จบุ นั เมื่อคำนวนต้นทุนการผลิตพบว่าโอริงจัดฟันท่ี ผลิตจากยางธรรมชาติอิพอกไซด์สามารถลดต้นทุนการ ผลติ ไดไ้ ม่ตำ่ กวา่ 10 เทา่ ของราคาโอริงจัดฟันทีน่ ำเขา้ จากต่างประเทศ 34 น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553

รางวลั ชมเชย ประเภทงานวิจัยสิ่งประดษิ ฐค์ ิดคน้ จนถงึ ขณะนเี้ กษตรกรไดน้ ำตน้ กลา้ กาแฟพนั ธดุ์ ขี อง ไดแ้ ก่ เรอื่ ง “การพฒั นาเทคโนโลยกี ารผลติ กาแฟโรบสั ตา้ กรมวิชาการเกษตรไปปลูกขยายผลแล้วจำนวนทั้งสิ้น สู่เกษตรกร” โดย ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพร คณะผู้วิจัย 1,300,410 ต้น คดิ เปน็ พน้ื ทีป่ ระมาณ 7,650 ไร่ ซ่ึงจาก ประกอบดว้ ย ผานติ งานกรณาธิการ ปยิ นุช นาคะ สุรรี ัตน์ จำนวนพื้นที่ดังกล่าวเกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิตได้ ปญั ญาโตนะ ยพุ ิน กสินเกษมพงษ์ ประภาพร ฉันทานุมตั ิ จากเดิมอย่างนอ้ ยจำนวนท้งั สิน้ 879 ตนั ขณะเดียวกนั สภุ าพร ชุมพงษ์ ววิ ฒั น์ ภาณุอำไพ เสรี อยสู่ ถติ ย์ ทิพยา หากเกษตรกรใช้ยอดพันธุ์ดีจากแปลงในพื้นท่ีดังกล่าว ไกรทอง ปานหทยั นพชินวงศ์ วไิ ลสวรรณ ทวิชศรี ไพรัตน์ สามารถใช้เปลี่ยนยอดพันธุ์ดีให้แก่กาแฟท่ีปลูกอยู่เดิม ชว่ ยเต็ม ปรญิ ดา หรูนหมี ไดม้ ากกวา่ 300,000 ไร่ ปี 2548 ศนู ยว์ ิจยั พชื สวนชมุ พร ไดพ้ ฒั นาปรับปรุง พันธุ์กาแฟโรบัสต้าเพื่อให้ได้พันธุ์กาแฟโรบัสต้าท่ีให้ ผลผลิตสูงและคุณภาพดเี ป็นที่ยอมรับของเกษตรกรและ ภาคอตุ สาหกรรม พรอ้ มกบั พฒั นาเทคโนโลยกี ารผลติ ตน้ กลา้ กาแฟโดยใช้วิธีการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือเพื่อเพ่ิมเปอร์เซ็นต์ การรอดของต้นกล้าทผ่ี ลติ ใหส้ ูงขนึ้ ผลการดำเนินงานสามารถวิจัยและปรับปรุงพันธุ์ กาแฟโรบสั ตา้ พันธ์ดุ ไี ดจ้ ำนวน 4 สายพนั ธุ์ ซง่ึ ผา่ นการ รับรองพันธ์ุเป็นพันธุ์แนะนำของกรมวิชาการเกษตรแล้ว จำนวน 2 พนั ธ์ุ คอื พนั ธช์ุ มุ พร 3 และพนั ธช์ุ มุ พร 4 สว่ นอกี 2 สายพันธุ์อยรู่ ะหวา่ งการขอรับรองพันธเุ์ ป็นพันธแ์ุ นะนำ ส่วนการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตกล้าโดยการ เพาะเล้ยี งเนื้อเยือ่ และการพฒั นาเทคโนโลยีการจดั การ ตน้ กลา้ ทงั้ กอ่ นการยา้ ยกลา้ โดยการจดั การปรบั สภาพตน้ กลา้ และการเลือกใช้วัสดุปลูกท่ีเหมาะสมต่อการย้ายกล้า ลงในถุงดำ สามารถเพม่ิ อตั ราการรอดของตน้ กล้าไดถ้ งึ 13 เปอรเ์ ซน็ ต์จากวิธีเดิมทเี่ กษตรกรปฏบิ ตั ิ ปัจจุบันศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพรได้ผลิตต้นกล้า กาแฟพันธดุ์ สี เู่ กษตรกรแล้วจำนวน 620,000 ต้น ขณะท่ี ผปู้ ระกอบการซง่ึ มแี ผนสง่ เสรมิ การปลกู กาแฟพนั ธแ์ุ นะนำของ กรมวชิ าการเกษตรกไ็ ดด้ ำเนนิ การผลิตต้นกล้ากาแฟพันธุ์ดี ของกรมวชิ าการเกษตรจำหนา่ ยใหแ้ กเ่ กษตรกรแลว้ จำนวน 680,410 ต้น น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถนุ ายน 2553 35

งานบรกิ ารวชิ าการ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 จังหวัด สงขลาได้ให้บริการงานบริการวิชาการเกษตรต่อเนื่องแก่ รางวลั ผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ ประเภทงานบรกิ ารวชิ าการ เกษตรกรในเขตพนื้ ทภ่ี าคใตต้ อนล่าง 7 จังหวดั ไดแ้ ก่ ประจำปี 2552 ไดแ้ ก่ เรอ่ื ง“การบริการวชิ าการเกษตร จงั หวดั สงขลา ตรงั พทั ลงุ สตลู ยะลา ปตั ตานี และนราธวิ าส ตอ่ เน่อื ง” โดยสำนักวจิ ัยและพฒั นาการเกษตรเขตที่ 8 มาตั้งแตป่ ี 2539 และไดข้ ยายผลการปฏบิ ตั ิงานสกู่ ิจกรรม จงั หวดั สงขลา คณะผวู้ จิ ยั ประกอบดว้ ย เขมมกิ าร์ โขมพตั ร การให้บริการวิชาการเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานเุ คราะห์ วรรณา กาฬสวุ รรณ์ สมั พนั ธ์ เกตชุ ู ณฐั ฏา ดรี กั ษา ทรงธรรม สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ในปี 2550 บุญยะวนั ตงั กมลภัทร ศิรพิ งษ์ นาตยา ดำอำไพ และ จนถึงปจั จบุ ัน นกั วชิ าการเกษตร รวมทงั้ เจา้ หนา้ ทข่ี องสำนกั วจิ ยั และพฒั นา การใหบ้ รกิ ารวชิ าการเกษตรแกเ่ กษตรกรมวี ตั ถปุ ระสงค์ การเกษตรเขตที่ 8 และหน่วยงานในเครือข่ายอีกเป็น เพื่อแก้ปัญหาด้านการผลิตให้แก่เกษตรกรที่ประสบปัญหา จำนวนมาก ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยรปู แบบการให้ บรกิ ารมที งั้ การใหค้ ำปรกึ ษาวเิ คราะห์ วนิ จิ ฉยั อาการผดิ ปกติ ของพชื ผกั ในแปลงเกษตรกร พรอ้ มกบั ใหค้ ำแนะนำแนวทาง ท่ถี ูกตอ้ งตอ่ การจดั การปญั หา บรกิ ารเก็บตัวอยา่ งดิน พชื และน้ำเพื่อนำไปวิเคราะห์ธาตุอาหารให้เกษตรกรได้นำ ผลวิเคราะห์ไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงแปลงปลูกพืช รวมทงั้ แจกต้นพนั ธุ์ เมล็ดพันธพ์ุ ืช และปัจจัยการผลติ ท่ีมี คณุ ภาพใหแ้ ก่เกษตรกร การดำเนนิ งานในปี 2550 สามารถให้บรกิ ารแก่ เกษตรกรไดจ้ ำนวน 439 ราย ปี 2551 ใหบ้ ริการเกษตรกร จำนวน 469 ราย และปี 2552 ให้บริการเกษตรกรจำนวน 460 ราย ซงึ่ ผลการใหบ้ รกิ ารดงั กลา่ วทำใหเ้ กษตรกรทราบถงึ สาเหตขุ องปญั หาและนำความรทู้ างวชิ าการไปปรบั ใชเ้ พอ่ื แก้ ปัญหาได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม และยังชว่ ยลดต้นทุน การผลิตใหแ้ กเ่ กษตรกร นอกจากนนี้ กั วจิ ยั สามารถนำขอ้ มลู ปญั หาทไ่ี ดร้ บั จาก การให้บริการแก่เกษตรกรในแต่ละจังหวัดไปใช้ในการ พจิ ารณาวางแผนงานวจิ ยั กำหนดเปา้ หมายการแกป้ ญั หาพชื ในพืน้ ท่นี ั้นๆ ให้สอดคล้องกบั ปญั หาทเ่ี กิดข้ึนจริงในแตล่ ะ พน้ื ท่ี ซงึ่ จะชว่ ยใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ การแกป้ ญั หาใหแ้ ก่ เกษตรกรในพ้ืนที่ได้อยา่ งแท้จริง 36 น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553

ผลผลิตส้มสายนำ้ ผงึ้ ในแปลง (GAP) พรอ้ มเกบ็ เกยี่ ว เพล้ียไฟทำลายผลส้ม ไรสนิมทำลายผลสม้ ไรแดงแอฟรกิ นั ทำลายผลสม้ ส้มสายน้ำผง้ึ ท่ีวางขายในตลาด ผเู้ กยี่ วขอ้ งทงั้ ภาครฐั เอกชน และเกษตรกรผปู้ ลกู สม้ เพอ่ื หา อ.ฝาง จ.เชยี งใหม ่ แนวทางแก้ไขปญั หาท่ีเกดิ ขึน้ รว่ มกนั ผลการดำเนนิ งานพบว่า ในปี 2552 มเี กษตรกร การติดตามการผลติ สม้ ที่สหกรณ์สม้ ฝาง ขอจดทะเบียนขอรับรองแหล่งผลิตพืชส้มเปลือกล่อนใน พน้ื ที่จังหวัดเชียงใหมจ่ ำนวน 2,428 แปลง ซึง่ ในจำนวนน้ี รางวลั ชมเชย ประเภทงานบรกิ ารวชิ าการ ไดแ้ ก่ มแี ปลงทผ่ี า่ นการรบั รองเปน็ แปลง GAP จำนวน 2,129 แปลง เรอื่ ง “การแกป้ ญั หาการใชส้ ารเคมปี อ้ งกนั กำจดั ศตั รพู ชื การวิเคราะห์สารเคมีที่พบตกค้างในในผลส้มพบสารเคมี ในส้มเปลือกล่อนท่ีจังหวัดเชียงใหม่ด้วยการบูรณาการ 2 กลุ่ม คอื Organophosphorus และ Cypermethrin สว่ น องคค์ วามรคู้ รบวงจร” โดย สำนกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตร การวเิ คราะหส์ ารพษิ ตกคา้ งในดนิ และนำ้ พบสารกำจดั แมลง เขตท่ี 1 จงั หวดั เชยี งใหม่ คณะนกั วจิ ยั ประกอบดว้ ย ลาภสิ รา 4 กลุ่มและสารกำจดั โรคพชื 1 ชนดิ วงศแ์ กว้ สมศกั ดิ์ ศรีสมบุญ สิรี สุวรรณเขตนคิ ม ธเนศวร์ นอกจากน้ีจากการจัดเสวนาได้มีการเสนอแนวทาง สรี ะแก้ว ณัฐนัย ตง้ั มั่นคงวรกลู ปกาสติ เมอื งมลู แกไ้ ขปญั หาโดยการใหค้ วามรแู้ กเ่ กษตรกรเรอ่ื งการปลกู สม้ จากปัญหาการร้องเรียนของกลุ่มอนุรักษ์ลุ่มน้ำฝาง และการปอ้ งกนั กำจดั ศตั รสู ม้ อยา่ งถกู วธิ ี การทำแปลงทดสอบ และชมุ ชนท่ีอยใู่ กลเ้ คียงสวนสม้ ที่ อ.ฝาง และ อ.แมอ่ าย สารกำจดั ศตั รพู ชื ทดแทนการใชส้ ารเคมี การสำรวจศตั รพู ชื จ.เชยี งใหม่ ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการใชส้ ารเคมกี ำจดั ศตั รพู ชื กอ่ นตัดสนิ ใจใช้สารเคมี ชว่ งทีแ่ มลงระบาดนอ้ ยให้ใชส้ าร ในสม้ เปลอื กลอ่ นตอ่ คณะรฐั มมนตรี สำนกั วจิ ยั และพฒั นาการ ชีวภาพทดแทนสารเคมี กำจัดต้นส้มที่เป็นโรคกรีนน่ิง เกษตรเขตที่ 1 จงั หวดั เชยี งใหมจ่ งึ ไดน้ ำโครงการความปลอดภยั วิเคราะหด์ ินเพอื่ การจัดการธาตุอาหารท่ีถูกต้อง รวมท้งั ทางดา้ นอาหารมาปรบั ใชเ้ พอ่ื แกป้ ญั หาการใชส้ ารเคมีกำจัด ควรมีการประชาสัมพันธ์เรื่องส้มไทยปลอดภัยจากสารพิษ ศัตรูพืชในส้มเปลือกล่อนที่มีผลกระทบต่อชุมชนจังหวัด และรณรงคใ์ ห้เกษตรกรสมคั รเข้ารว่ มโครงการ GAP ให้ เชยี งใหม่ โดยการดำเนนิ งานประกอบดว้ ยการตรวจรับรอง มากข้นึ ซง่ึ ความสำเร็จของการแกไ้ ขปญั หาดงั กล่าวตอ้ ง แหลง่ ผลติ GAP สม้ เปลอื กลอ่ นในจงั หวดั เชยี งใหม่ วเิ คราะห์ นำโครงการความปลอดภยั ทางดา้ นอาหารมาปรบั ใช้และ สารพิษตกคา้ งในผลผลิตสม้ เปลือกล่อน ตรวจสอบรา้ น ดำเนินการอย่างเป็นระบบโดยอาศัยความร่วมมือจาก จำหน่ายวัตถุอันตรายในพื้นที่ปลูกส้มเปลือกล่อนในเขต ทุกภาคส่วนทเี่ กยี่ วขอ้ ง อ.ฝาง อ.แม่อาย และอ.ไชยปราการ และการจัดเสวนา หวงั วา่ ผลงานวจิ ยั ดเี ดน่ ประจำปี 2552 นี้ จะเปน็ ผลงานทที่ รงคณุ คา่ และสามารถชว่ ยเหลอื พนี่ อ้ งเกษตรกร หรอื ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งในภาคการเกษตรใหส้ ามารถนำไปใชเ้ พอื่ พฒั นา อาชพี สรา้ งรายไดใ้ หเ้ พม่ิ มากขนึ้ สง่ ผลตอ่ ความมน่ั คงทาง เศรษฐกิจของประเทศเช่นเดียวกับทุกผลงานวิจัยดีเด่น ในปที ี่ผา่ นๆ มา อาการรุนแรงของโรคกรีนนิ่งทีผ่ ลส้ม น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553 37

มุ ม ม อ ง พื ช ส ว น ารผลติ มะมว่ งภายใต ้ ระบบการจดั การคณุ ภาพ อรณุ ี วัฒนวรรณ ก รมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณไ์ ด้นำ ระบบการจัดการคณุ ภาพ “เกษตรดีทเ่ี หมาะสม” หรือ GAP (Good Agricultural Practice) มาใช้เปน็ แนวปฏบิ ัติ ในการผลติ พชื เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ทมี่ คี ณุ ภาพดี ตรงตามมาตรฐาน ทกี่ ำหนดและคมุ้ คา่ กบั การลงทนุ กระบวนการผลติ ตอ้ งปลอดภยั ต่อเกษตรกรผผู้ ลติ และผบู้ ริโภค มีการใชท้ รพั ยากรให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ มคี วามยง่ั ยนื ทางการเกษตรและไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม โดยดำเนนิ การตรวจรบั รองแหลง่ ผลติ พชื และให้ คำแนะนำเทคโนโลยีการผลิตพืชเป็นรายพืชท้ังในรูปเอกสาร และเวบ็ ไซด์ของกรมวชิ าการเกษตร http://www.doa.go.th 38 น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553

เกษตรกรทเ่ี ขา้ สรู่ ะบบจดั การคุณภาพ : GAP พืช หากเกษตรกรปฏิบัติครบตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ จะไดร้ บั การสนบั สนนุ ทางวชิ าการ หรอื ฝกึ อบรมกระบวนการ จะได้รับหนังสือรับรองแหล่งผลิตมะม่วงตามระบบการ ผลติ ทถ่ี ูกตอ้ งและเหมาะสม ตรวจสารพษิ ตกค้างโดยไม่คิด จัดการคุณภาพ GAP ภายใตส้ ัญลักษณ์ Q แสดงถึงการ คา่ ใชจ้ า่ ย และการปฏบิ ตั ติ ามระบบการผลติ ทแ่ี นะนำเปน็ การ เป็นผู้ที่ผลิตมะม่วงที่ได้คุณภาพและปลอดภัยจากสาร เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ พชื ปลอดภยั ตอ่ เกษตรกรผผู้ ลติ พิษตกคา้ ง โดยเร่มิ ดำเนินการตง้ั แต่ปี 2547 และผบู้ รโิ ภค อกี ทง้ั ทำใหไ้ ดผ้ ลผลติ สงู และมคี ณุ ภาพดี เปน็ ปัจจุบันมีเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงให้ความสนใจเข้า ทยี่ อมรบั ของตลาดและผบู้ รโิ ภค สง่ ผลใหเ้ กษตรกรมรี ายได้ ร่วมโครงการทง้ั สน้ิ 4,232 ราย 4,849 แปลง พ้นื ท่ปี ลูก และความเปน็ อย่ทู ีด่ ขี ้ึน 52,975 ไร่ ไดร้ บั การรบั รองแหลง่ ผลติ (Q) จำนวน 4,089 ราย 4,696 แปลง พ้นื ที่ปลูก 51,067 ไร ่ ระบบการจัดการคณุ ภาพ : GAP มะม่วง สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 6 กรม วชิ าการเกษตร ไดด้ ำเนนิ การตรวจรบั รองแหลง่ ผลติ มะมว่ ง กรมวิชาการเกษตรได้ดำเนินการตรวจรับรองแหล่ง ตามระบบการจดั การคณุ ภาพ GAP ภายใต้สัญลกั ษณ์ Q ผลิตมะมว่ งตามระบบการจัดการคณุ ภาพ GAP ภายใต้ และถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลิตมะมว่ งสเู่ กษตรกรในพืน้ ที่ สัญลกั ษณ์ Q และให้คำแนะนำหลักการปฏบิ ัตติ ามระบบ การผลิตมะม่วงและการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับ มะมว่ ง (Good Agricultural Practice for Mango) เกษตรกรท่ีอยู่ในระบบการจัดการคุณภาพของ กรมวิชาการเกษตรจะได้รับการตรวจรับรองกระบวนการ ผลติ ของฟารม์ ตามขอ้ กำหนดตลอดกระบวนการผลติ ทงั้ ใน ด้านแหล่งน้ำ พ้นื ที่ปลกู การใช้วตั ถอุ นั ตรายทางการเกษตร การเกบ็ รกั ษา และการขนยา้ ยผลติ ผลภายในแปลง การบนั ทกึ ขอ้ มลู การผลติ ใหป้ ลอดจากศตั รพู ชื การจดั การกระบวนการ ผลติ เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลติ ผลคณุ ภาพ การเกบ็ เกย่ี ว และการปฏบิ ตั ิ หลังการเกบ็ เกย่ี ว น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553 39

ภาคตะวันออก ปัจจุบันมีเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงภาค ทด่ี สี ำหรบั มะมว่ ง (Good Agricultural Practice for Mango) ตะวันออกให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการทัง้ ส้นิ 556 ราย ประกอบด้วยเทคโนโลยดี า้ นพนั ธ์ุ การปลูก การให้นำ้ 708 แปลง พ้นื ท่ีปลูก 23,068 ไร่ ไดร้ บั การรับรองแหล่ง การผลติ มะมว่ งคุณภาพ การควบคุมวัชพืช การป้องกัน ผลติ (Q) จำนวน 417 ราย 552 แปลง พน้ื ทป่ี ลกู 19,245 ไร่ กำจดั แมลง การปอ้ งกันกำจดั โรค การชักนำให้ออกดอก จังหวัดฉะเชงิ เทรา และสระแก้ว มีเกษตรกรผ่าน การผลิตมะมว่ งผวิ สวยและปลอดศตั รพู ืช การเกบ็ เกยี่ ว การรับรองแหล่งผลิตมะม่วงตามระบบการจัดการคุณภาพ การปฏบิ ตั หิ ลังการเก็บเก่ียว และการคดั ขนาดของผลผลติ GAP ภายใตส้ ญั ลกั ษณ์ Q ในสดั สว่ นทส่ี งู คอื มากกวา่ รอ้ ยละ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 6 กรม 80 ของเกษตรกรท่ีจดทะเบียน โดยจงั หวดั ฉะเชงิ เทรามี วิชาการเกษตร ได้ดำเนนิ การถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารผลิต เกษตรกรได้รบั ใบรบั รองแหลง่ ผลติ มะม่วง (Q) จำนวน มะมว่ งตามระบบการจัดการคุณภาพ : GAP มะม่วงให้ 202 ราย จากจำนวนท่ีจดทะเบยี นไว้ 242 ราย คดิ เปน็ เกษตรกรทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ และทำการประเมินผลการใช้ รอ้ ยละ 83 และจงั หวัดสระแกว้ มเี กษตรกรได้รบั ใบรับรอง เทคโนโลยกี ารผลิตมะมว่ งตามระบบ GAP ของเกษตรกร แหลง่ ผลติ มะมว่ ง จำนวน 101 ราย จากจำนวนทจี่ ดทะเบยี น ในพื้นท่ีภาคตะวนั ออก โดยใชแ้ บบสมั ภาษณ์เป็นเครื่องมอื ไว้ 106 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 95 เกบ็ รวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสมั ภาษณเ์ กษตรกร ผูป้ ลูกมะม่วงในภาคตะวันออก จำนวน 200 ราย ประกอบ เทคโนโลยีการผลิต ดว้ ยเกษตรกรทผ่ี า่ นการรบั รองแหลง่ ผลติ มะมว่ งตามระบบ การจัดการคณุ ภาพ GAP ภายใตส้ ญั ลกั ษณ์ Q จังหวัด กรมวิชาการเกษตรได้จัดทำข้อมูลเทคโนโลยีการ ฉะเชงิ เทรา จำนวน 151 ราย และจงั หวดั สระแกว้ จำนวน ผลติ มะมว่ งทถี่ กู ตอ้ งและเหมาะสมถา่ ยทอดใหก้ บั เกษตรกร 49 ราย ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ในรูปแบบคำแนะนำหลักการปฏบิ ัติ ตามระบบการผลิตมะม่วงและการปฏิบัติทางการเกษตร 40 น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 83 ฉบบั ที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553

ทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม ตามระบบ GAP โดยใหค้ ะแนนและระดบั การนำไปใชต้ าม ของเกษตรกร ลักษณะการผลิต และเทคโนโลยีการผลติ เกณฑ์กำหนด ทเ่ี กษตรกรปฏบิ ตั ิ ทำการเปรยี บเทยี บเทคโนโลยที เี่ กษตรกร แบ่งระดบั การนำไปใชเ้ ป็น 3 ระดบั ไดแ้ ก่ การนำ ปฏบิ ตั กิ บั เทคโนโลยกี ารผลติ ตามระบบ GAP ทงั้ ในดา้ นระดบั ไปใชร้ ะดบั ดี ปานกลาง และตำ่ พบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งเกษตรกร การนำไปใช้ และความถกู ต้องของเทคโนโลยีท่ีเกษตรกรใช้ ผ้ปู ลูกมะมว่ งในพืน้ ทภ่ี าคตะวนั ออกสว่ นใหญ่ รอ้ ยละ 70 ผลการประเมินพบว่ากลมุ่ ตวั อยา่ งรอ้ ยละ 94 ปลูก นำชุดเทคโนโลยีการผลิตมะม่วงไปใช้ในระดับปานกลาง มะม่วงด้วยกง่ิ ทาบ ร้อยละ 17 ใชก้ ิ่งติดตาและเสียบยอด ร้อยละ 26 นำชุดเทคโนโลยกี ารผลติ ไปใช้ในระดับดี และ ส่วนใหญเ่ กษตรกรปลกู มะม่วงมากกวา่ หนงึ่ พันธุ์ โดยพันธ์ุ กลมุ่ ตวั อยา่ งเพยี งรอ้ ยละ 4 นำชดุ เทคโนโลยีการผลิตไป ทนี่ ยิ มปลกู ไดแ้ ก่ นำ้ ดอกไมส้ ที อง เขยี วเสวย ทะวายเดอื นเกา้ ใชใ้ นระดบั ตำ่ นำ้ ดอกไมเ้ บอร์ 4 ฟา้ ลัน่ และโชคอนนั ต์ เทคโนโลยีท่ีเกษตรกรส่วนใหญ่นำไปใช้ในระดับ ส่วนใหญม่ ีพน้ื ท่ีปลกู มะม่วงแปลงละไม่เกนิ 10 ไร่ ดีได้แก่ เทคโนโลยีด้านการป้องกันกำจัดวัชพืช พันธ์ุ มีแรงงานชว่ ยทำสวนมะม่วง 2 คน มปี ระสบการณ์เฉลี่ย การคัดขนาด การชกั นำการออกดอก และการเก็บเกย่ี ว 16 ปี และมรี ายได้ต่อครวั เรอื นมากกวา่ 100,000 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 99, 99, 92, 90 และ 80 ตามลำดบั แต่ไม่เกิน 500,000 บาทต่อปี ด้านการนำเทคโนโลยี เทคโนโลยีท่ีเกษตรกรส่วนใหญ่นำไปใช้ในระดับ การผลิตมะมว่ งไปใช้ ซ่งึ พจิ ารณาจากความสอดคล้องของ ปานกลาง ไดแ้ กเ่ ทคโนโลยดี า้ นการป้องกันกำจัดแมลง การปฏบิ ตั งิ านของเกษตรกรกับเทคโนโลยกี ารผลติ มะม่วง การให้น้ำ การผลติ มะมว่ งคุณภาพ การผลติ มะม่วงผวิ สวย และปลอดศัตรูพชื การปอ้ งกันกำจัดโรค และการปลกู น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบบั ที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553 41

คิดเป็นร้อยละ 84, 76, 75, 59, 59, และ 43 ตามลำดบั และพบว่าเทคโนโลยีที่เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ถูกต้องได้แก่ เทคโนโลยดี ้านการปอ้ งกนั กำจัดวัชพืช พันธ์ุ การคัดขนาด และการชกั นำการออกดอก โดยใชถ้ ูกตอ้ งคิดเปน็ รอ้ ยละ 99, 98, 92 และ73 ตามลำดบั ระดับการนำชุดเทคโนโลยีการผลิตมะมว่ ง ตามระบบ GAP ไปใช้ เทคโนโลยกี ารผลิตมะมว่ งตามระบบ GAP ทีเ่ กษตรกรส่วนใหญน่ ำไปใช้ในระดบั ดี ร้อยละความถกู ตอ้ งของเทคโนโลยีทเ่ี กษตรกรปฏบิ ตั ิ เทคโนโลยีการผลิตมะมว่ งตามระบบ GAP เมื่อเทยี บกบั เทคโนโลยีการผลติ มะม่วงตามระบบ GAP ทเี่ กษตรกรสว่ นใหญ่นำไปใช้ในระดับปานกลาง การพัฒนาระบบการจดั การคณุ ภาพ : GAP มะมว่ ง การดำเนินการดังกล่าวจะสำเร็จได้ต้องอาศัยความ ร่วมมอื และการยอมรับของเกษตรกรในการดำเนินการ จากการดำเนนิ การจดั การคณุ ภาพ : GAP มะม่วง ตามระบบอยา่ งเครง่ ครดั ในดา้ นเทคโนโลยกี ารผลติ เกษตรกร ในพื้นท่ีภาคตะวันออกของสำนักวิจัยและพัฒนาการ จำเป็นตอ้ งไดร้ บั การถา่ ยทอด เรียนรู้ เข้าใจ และนำไปใช้ เกษตรเขตท่ี 6 ทัง้ ในดา้ นการตรวจรับรองแหล่งผลติ และ อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตท่ีถูกต้องและเหมาะสม จากการประเมนิ ผลการใชเ้ ทคโนโลยกี ารผลติ มะมว่ ง สำหรบั มะม่วง เปน็ ไปตามนโยบายของกรมวชิ าการเกษตร ตามระบบ GAP ของเกษตรกรในพ้ืนท่ภี าคตะวันออก ในการพัฒนาคุณภาพของผลผลิตมะม่วงให้มีคุณภาพ พบวา่ เกษตรกรส่วนใหญร่ ้อยละ 70 นำชดุ เทคโนโลยไี ป และปลอดภัยตลอดกระบวนการผลติ ใชใ้ นระดบั ปานกลาง โดยมไิ ดน้ ำเทคโนโลยไี ปใชท้ งั้ ชดุ ทงั้ น้ี เนือ่ งมาจากเกษตรกรเป็นผู้ปรับใชเ้ ทคโนโลยมี ากกวา่ จะ เป็นเพยี งผรู้ บั เทคโนโลยี ดังน้นั เมือ่ เกษตรกรรับรู้เทคโนโลยี จงึ มไิ ด้นำไป ใชท้ ง้ั หมด แตม่ กี ารปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั สภาพและเงอ่ื นไข ของตน ดงั น้นั จงึ ควรม่งุ เน้นการผลิตเทคโนโลยี “ตน้ แบบ (prototype)” และผลติ ทางเลอื กหลาย ๆ อยา่ ง ใหเ้ กษตรกร เปน็ ผเู้ ลือกมากกวา่ จะผลิตชดุ เทคโนโลยีที่ตายตวั 42 น.ส.พ. กสิกร ปที ี่ 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553

ในส่วนของเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องกับคุณภาพของ บรรณานุกรม ผลผลติ มะมว่ ง ไดแ้ ก่ การผลติ มะมว่ งผวิ สวยและปลอดศตั รพู ชื การผลติ มะมว่ งคุณภาพ และการให้น้ำ ซึ่งพบวา่ เกษตรกร สำนกั วจิ ยั และพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6. 2553. สรุปผลการ มกี ารนำไปใชใ้ นเกณฑค์ อ่ นขา้ งตำ่ จำเปน็ ทกี่ รมวชิ าการเกษตร ดำเนนิ งานตรวจรบั รองแหลง่ ผลติ พชื (GAP) สวพ.6. ต้องเข้าไปบริหารจัดการให้เกษตรกรนำเทคโนโลยีเหล่าน้ี สำนกั วจิ ยั และพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 6. จนั ทบรุ .ี 18 หนา้ . ไปใชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั คำแนะนำ ในลกั ษณะของการถา่ ยทอด เทคโนโลยกี ารผลิตทน่ี อกเหนอื จากการอบรม โดยอาศยั อรุณี วฒั นวรรณ, ชูชาติ วฒั นวรรณ, สาลี่ ชินสถติ , จรรี ัตน์ การปฏิสัมพนั ธใ์ นลักษณะการพบปะ พูดคยุ และแลก มพี ชื น์ และพฒุ นา รุ่งรวี. 2553. การประเมนิ ผลการใช้ เปลยี่ นเรยี นรู้ ซง่ึ เป็นการถ่ายทอดทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ อีกท้ัง เทคโนโลยกี ารผลติ มะมว่ งตามระบบ GAP ของเกษตรกร จำเปน็ ตอ้ งศกึ ษาสภาพพนื้ ที่ เงอ่ื นไข และวนิ ิจฉัยปัญหา ในพืน้ ทภี่ าคตะวันออก. เอกสารผลงานวิจัยและพฒั นา การนำเทคโนโลยไี ปใช้ของเกษตรกร เพ่ือแกไ้ ขปญั หาได้ การประชมุ วิชาการสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม นำไปสกู่ ารยกระดับการผลิต มะมว่ งคณุ ภาพ และพฒั นาระบบการจดั การคณุ ภาพ : GAP 1, 2, 6. จงั หวัดเชยี งราย, 29-31 มีนาคม 2553. หนา้ มะม่วงต่อไป 229-239. อารนั ต์ พฒั โนทยั , 2543. งานวิจยั เกษตรเชงิ ระบบ : ทศิ ทาง และสถานภาพในปจั จบุ ัน. ใน รายงานการสมั มนาระบบ เกษตรแหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ, 15-17 พฤศจกิ ายน 2543. 28 หน้า. http://www.dryongyuth.com/journal http://www.doa.go.th/onestop/fs/issue2/fs_2.1.htm http://k.domaindlx.com/rbrrice/data/lgap.htm http://www.senate.go.th/committee2551/committee/ files/committee2/2552/ss8-6-52.pdf http://210.246.186.124/gap/ น.ส.พ. กสิกร ปที ่ี 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 43

อ า ห า ร ป ล อ ด ภั ย กษตรกร GAP ดเี ด่นปี 2553 (ตอนท่ี 3) ¡ พรรณนีย วิชชาชู สกิ ร ฉบับนี้ ขอแสดงความยินดีกบั คุณธนิดา ขนุ นา เกษตรกรดีเดนแหง ชาตปิ ระจำป 2553 สาขาการใช วชิ าการเกษตรดที เี่ หมาะสม (GAP) ซ่ึงไดเ ขา รับพระราชทานโลป ระกาศเกียรติคุณ จากสมเดจ็ พระบรมโอรสา ธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ในพระราชพิธีจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ เมือ่ วนั ที่ 13 พฤษภาคม ทผ่ี า นมา คณุ ธนิดา ขุนนา เปน เจา ของ “คลีนฟารม” ทก่ี สกิ รเคยนำเร่ืองราวมาเสนอไปแลว คร้งั หนึ่งเมื่อฉบับประจำ เดือน กรกฎาคม - สงิ หาคม 2552 และจะขอนำมาเสนออีกครงั้ ในฉบับนด้ี วยเรื่องราวทเี่ ปน ความฝน ของคลีนฟารม แตเ ปน ฝน ทไ่ี มเ กินกวา ที่จะกาวไปถงึ พรอมกนั น้ี ยังมีเกษตรกรหญงิ อกี รายหนึ่ง ทต่ี องเรียกวา “หญงิ เหล็ก” เพราะวนั ทีเ่ ขา ไปเย่ียมเยียนเธอนั้น เธอขบั รถแทรกเตอรเ ขา มาพบเรา รวมทั้งบอกเลา เรือ่ งราวของการตอสฟู นฝา อุปสรรคตาง ๆ กวา จะเปนเจา ของสวน เมลอ นคุณภาพขึ้นหางอยางทกุ วันน้ี แมจ ะเปน ผหู ญงิ ตัวเล็กๆ แตเ ขมแข็งไมแ พผ ูชาย จากน้นั ลงใตไปดวู าลำไย ทำไมปลกู ไดทีส่ งขลา แถมคนปลกู เปน ดาบตำรวจ อารมณดี ซ่งึ มีวิธไี ลคางคาวท่ีไม เหมือนใคร 44 น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553

ทีม่ ีประโยชน และปลอดภยั จากสารพษิ ประกอบกบั คุณธนิดา มที น่ี าอยูทีต่ ำบลหนองหวั โพ อำเภอหนองแซง จงั หวดั สระบรุ จี ำนวนหนง่ึ มากพอทจ่ี ะนำมาลงทนุ ทำการ เกษตรได ท่นี าแหง น้ีจงึ ไดพ ฒั นามาเปน “คลนี ฟารม์ ” ในปจ จบุ นั และเพอ่ื ทจ่ี ะเปน เกษตรกรอยา งเตม็ ตวั คณุ ธนดิ า กไ็ ดเ ลกิ ธรุ กจิ รบั เหมากอ สรา งทท่ี ำอยกู อ นหนา นน้ั เสยี สน้ิ คณุ ธนิดา ขนุ นา เกษตรกรดีเดน่ แหง่ ชาติประจำปี 2553 เทคโนโลยปี ลูกผกั จากธรุ กิจรับเหมากอสราง มาปลกู ผกั “กอ นทำธรุ กจิ ตอ งมเี ทคโนโลยที ตี่ า งจากคนอนื่ ” คุณวรี ะศกั ด์ิ เรมิ่ ตน “และตอ งสามารถกำหนดราคาเอง ใครจะคิดบา งวา ทา มกลางพ้ืนทน่ี าขา ว ในเขตหมู ได” นน่ั คือเปาหมาย “คนท่ีตอ งการกินผกั คุณภาพดี ที่ 4 ตำบลหนองหัวโพ อำเภอหนองแซง จังหวดั สระบุรี ปราศจากสารพิษตกคา งนาจะมีมากกวา 1 แสนคน ถา จะมีพื้นที่ปลูกผักท่ใี ชวธิ ี หรือเทคโนโลยีการปลกู ผักทไ่ี ม หาสมาชกิ หรือลูกคาประจำไดสกั 500 – 1,000 คน ก็ เหมอื นใครอยู ประมาณ 50 ไร ชอื่ บรษิ ทั คลนี ฟารม์ จำกดั ไมนา เหลือบา กวา แรงทจี่ ะทำได ผคู ดิ รเิ รมิ่ มาปลกู ผกั ในพน้ื ทด่ี งั กลา วคอื คณุ วรี ะศกั ด์ิ ทง้ั คณุ ธนิดา และคณุ วีระศกั ดิ์ ไปศกึ ษาดงู านการ ปลกู ผกั ทั้งในและตางประเทศ เชน ฟารม ผักของบริษทั วงษ์สมบตั ิ อดตี เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เจยี ไต ท่จี งั หวดั กาญจนบรุ ี ฟารมผักทีอ่ ำเภอปากชอ ง กระทรวงศกึ ษาธิการ ซ่ึงเกษียณอายรุ าชการแลว แมจะ จังหวัดนครราชสีมา การปลูกผักของประเทศอิสราเอล รับราชการทก่ี ระทรวงศกึ ษาธิการ แตคุณวีระศักดิ์ จบ เกาหลี กลุม ประเทศสแกนดิเนเวยี และประเทศ การศกึ ษาจากมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ดงั นัน้ เลือด สาธารณรัฐประชาชนจนี เกษตรจึงยังคงคุกรนุ อยูใ นกาย คุณวรี ะศกั ด์ิ และคณุ ธนดิ า เรมิ่ ปลกู ผกั ในผืนนา คุณวีระศักด์ิ สนใจการเกษตร และตั้งเปา หมายไว แหง นเ้ี มอ่ื ป 2548 และเทคโนโลยที ใี่ ชค อื ตอ งทำโรงเรอื น วา เมอื่ เกษียณอายุราชการแลว จะเปน เกษตรกร พืชที่จะ ปลูกคอื “ผกั ” เพราะผักใหผ ลผลิตเรว็ แตปลกู ยาก โดยเฉพาะในฤดฝู น นอกจากจะมโี รคแมลงรบกวนมาก กวา ในฤดกู าลอ่ืนๆ แลว น้ำฝนยงั ชะลา งปยุ ธาตอุ าหาร ตา งๆ ละลายไปกบั นนำ้ ดวย และนั่นคือสิ่งทาทายท่ตี อง เอาชนะฝนใหไ ด การจะลงทนุ ทำงานใหญ ตองมคี ูค ดิ และ คคู ดิ ที่อยขู า งกายคณุ วีระศกั ดิ์ คอื คณุ ธนดิ า ขนุ นา ซงึ่ มี คณุ วีระศักดิ์ วงษ์สมบัติ ปญ หาดา นสขุ ภาพ ทต่ี อ งพยายามรกั ษาสขุ ภาพดว ยอาหาร คณุ ธนดิ า ขนุ นา น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 83 ฉบบั ที่ 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 45

เตรียมดินปลูกผักบนแคร ่ มหี ลงั คากนั ฝน มตี าขา ยกนั แมลง ภายในโรงเรอื นควบคมุ ปลกู ผักในทอ่ พีวีซ.ี อณุ หภูมไิ ด ดินทป่ี ลูกผัก ตองเปนดนิ ทีม่ กี ารปรับปรงุ เพมิ่ ธาตอุ าหารเขา ไปใหเ หมาะสม มกี ารพกั แปลงทกุ ครงั้ แครท วี่ า นี้ ใชต าขา ยตาถล่ี ะเอยี ดขงึ กบั กรอบสเี่ หลยี่ ม หลังเก็บเกี่ยวผักในรุนนัน้ จะไมปลูกตอเนอื่ ง ทง้ั นี้เพื่อ ทำเปน กระบะสงู ระดบั เอว แครน ก้ี วา งประมาณ 1 เมตรครงีึ่ ฆา เช้อื โรคในดนิ และทำการปรับปรุงดิน การฆา เช้อื โรค ยาวตลอดความยาวของโรงเรอื น “ปลกู บนพน้ื ดนิ มปี ญ หา ในดนิ ใชเ ครื่องทำความรอ น อุณหภมู ิ 120 – 150 อณุ หภมู ิสูง มีผลกระทบตอ การเจรญิ เตบิ โตของราก แต องศาเซลเซยี ส นาน 1 - 2 วนั ปลกู บนแครไ มม ปี ญ หาเรอ่ื งอณุ หภมู สิ งู ” คณุ ธนดิ าชว ยเสรมิ ก ารปลกู ผารกั ปอลกี กู วผิธกัหี อนกี ึง่ วใธิ ชหี ท นอง่ึ พใวีชซี ท้ ีขอ่ นพาวีดซี ใขีหนญาดผ ใา หคญร่งึ ผ่ า่ แคลระงึ่ “ตดั สนิ ใจเลือกปลกู ผักตรงน้ี เพราะทีไ่ มตอ งซ้ือ แวาลงะเวปาน งแเปนน็ วแยนาววคยลาวายครลาา้ งยนร้ำางนเป้ำ นชเป้นั น็ ๆช้ันเๆหลื่อเหมลกอ่ื นั มเปกนั หาเนอ่ื งจากเปน ทดี่ นิ มรดก อกี ประการหนงึ่ คอื ใกลก รงุ เทพฯ เทปรน็งปทร างมปดิรานมำิดดนิ นใสำใดนนิ ทใอสพ่ในวี ทซี นีอ่ ี้พเพีวีซอื่ นี ใชี้ ป เลพกู ื่อผใกัชป้ รละูกเภผทัก สะดวกสำหรับการขนสง ดินตองปรับปรุงบางเพราะท่ี ปผกัระกเนิภใทบผักเกชนิ ใบผักเชสน่ ลดัผกั ผสักลคดั อผสกั คอส ตรงนี้ เปนที่นา เปน ดนิ เหนียวไมร ะบายนำ้ ประกอบกับ ศกึ ษามาวา โรคของผกั จะอยใู นดนิ มากกวา ในอากาศ จงึ สำหรับผักจำพวกกะหล่ำจะปลูกในถุงดำขนาด ทำแครขึน้ มา เอาดินที่อบฆา เชอ้ื โรคตางๆ แลว ผสมคลกุ เสนผา ศูนยกลางสกั 12 นว้ิ และวางเรียงเปนแถวใน เคลา ปยุ อนิ ทรยี  ธาตุอาหารตางๆ แลวเอาดินขนึ้ บนแคร โรงเรอื น ถุงดำนตี้ องสงั่ มาจากตา งประเทศ จงึ จะใชป ลกู เพื่อปลกู ผัก” คุณวีระศักดิ์ อธบิ าย ไดห ลายครัง้ ถา เปนถงุ ดำในประเทศทัว่ ไปใชป ลูกคร้งั เดียวถุงจะขาด มผี กั บางชนดิ ทป่ี ลกู กบั แปลงบนผนื ดนิ แตด นิ นน้ั ตอ งมกี ารปรบั ปรงุ คลกุ เคลา กบั วสั ดปุ ลกู อน่ื ๆ ใหร ว นซยุ รวมทงั้ คลุกเคลา ปยุ อนิ ทรียด วย 46 น.ส.พ. กสิกร ปีที่ 83 ฉบบั ที่ 3 พฤษภาคม - มิถนุ ายน 2553

โรงเรยี นเพาะกล้า คุณธนดิ า เสรมิ วา คลีนฟารม ใหค วามสำคญั กบั ชวงระยะเวลาการเกบ็ เกย่ี ว จะเก็บเกี่ยวในชวงอุณหภูมิ ผักบางชนดิ ตองทำคาง เชน ถว่ั ฝก ยาว บวบ ตำ่ ตอนเชา และเนน ความสด สะอาด อปุ กรณในการเก็บ แตงกวา ถว่ั พู ก็จะทำแปลง และทำคางในโรงเรอื นเชน เกยี่ ว ตะกรา ใสผกั ผาคลุม รวมท้งั รถเขน็ ผกั ตองสะอาด กนั และ บางชนดิ กจ็ ะปลกู กลางแจง นำผักเขา สูห องควบคุมอุณหภมู ิเพ่อื คัดแยก ตดั แตง ลา งดวยน้ำสะอาด และแชนำ้ เย็นประมาณ 3 นาที เพื่อ “การปลูกผักทีร่ ับประทานผล เชน ฟก แฟง รักษาเซลลข องพชื ใหส ด กอ นบรรจุใสถุงพลาสตกิ เก็บ แตงกวา บวบ มะเขือ ในโรงเรอื นมปี ญหาอยบู า งตรง รักษาไวในหองเยน็ เพือ่ รอการขนสง ไปจำหนาย ไมม แี มลงชว ยผสมเกสร แกป ญ หาโดยการนำผง้ึ มาปลอ ย ในโรงเรือน เพอื่ ใหผ้งึ ชวยในการผสมเกสร ครงั้ แรกไมมี รถขนสง ของคลีนฟารม เปน รถหองเย็นขนาดเล็ก ความรูเรอ่ื งผง้ึ เอานำ้ ผึ้งชนดิ ดมี าวางเปนอาหารใหกบั มีรูปผักหลากสีหลากชนิดซ่ึงเปนผลผลิตของคลีนฟารม ผง้ึ ปรากฏวาผง้ึ ลงไปกนิ แลวบินขึน้ ไมไ ด เพราะนำ้ ผง้ึ ขน พรอมขอ ความดานขา งรถวา “สด สะอาด รสชาตดิ ี ทำ เหนียว หรือถา บนิ ขึ้นไดก ็จะเขา รงั ไปนอนเลย เพราะดูด ดวยใจ” ดา นหลงั รถเขียนวา “ผกั คลนี ฟารม สด สะอาด ทเี ดยี วพอ มารทู ห่ี ลงั วา อาหารของผง้ึ ใหแ คน ำ้ หวาน หรอื รสชาตดิ ี มมี าตรฐาน GAP” นำ้ เชอื่ มแบบเจอื จางเทา นนั้ กพ็ อ” คณุ วรี ะศกั ดิ์ เลา อยา ง อารมณด ี สวนการปองกนั กำจดั ศัตรูพืช นอกจากการปลกู ในโรงเรอื นมงุ ตาขา ยแลว ยงั ใชส ารสมนุ ไพรไลแ มลง เชน สารสกัดจากสะเดา ใชกับดกั กาวเหนยี ว และถาจำเปน จรงิ ๆ เมอ่ื เห็นวา เริ่มมแี มลงกจ็ ะเก็บเกี่ยวกอ นกำหนด เพือ่ หลีกเลี่ยงแมลงศตั รพู ืช แลว ขายในลกั ษณะยอดผัก แทน ซ่ึงดกี วาปลอยใหแ มลงทำลาย น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553 47

ปลกู กะหล่ำในถงุ ดำ รกั ษาอณุ หภมู ิภายในโรงเรือน โรงเรือนปลกู ผกั บางชนดิ ตองมีเทอรโ มมิเตอร คอยวดั อุณหภูมิแขวนตดิ ไวใ นโรง โรงเรอื นปลกู ผกั เรือนดว ย เรม่ิ แรกทปี่ ลกู ผกั คณุ วรี ะศกั ดจ์ิ า งบรษิ ทั ทเี่ ชยี่ วชาญ เรือ่ งผักมาสรา งโรงเรือนใหเ พยี ง 8 หลงั ในราคาหลังละ ปจ จุบนั มโี รงเรือน 48 หลงั เปนโรงเรอื นสำหรับ 80,000 บาท แตไมแ ข็งแรงเทา ทคี่ วร ใชไ มเ ทา ไรก็ชำรุด ปลกู ผกั บนแคร 12 หลงั ปลกู ผกั ในถงุ ดำ 1 หลงั ปลกู ผกั เพราะวัสดุทใี่ ชท ำโครงสรางคุณภาพไมดีพอ ตอ มาจึงซ้อื ในทอ พวี ซี ี 1 หลัง และปลูกเปน แปลงยกรอ งในโรงเรอื น วัสดมุ าสรา งเอง โดยจา งแรงงานเดก็ นักเรยี นอาชวี ะมา 34 หลงั ในจำนวน 48 หลงั น้ี เปนเนสิ เซอรี่ 4 หลัง และ ชว ยออ ก ชว ยเชอ่ื ม โครงสรา งตา งๆ ตน ทนุ โรงเรอื นลดลง โรงเรอื นปลกู ผกั 44 หลงั ใชป ลกู ผกั ชนดิ ตา งๆ หมนุ เวยี น มกี ารออกแบบหลงั คาแตล ะโรงจะตา งกนั บางหลงั ตลอดป เปน หลงั คาสองซกี ทว่ี างเหลอื่ มกนั เพอื่ ใหล ม หรอื อากาศ เขา ไดทางหลงั คา บางหลังทำหลังคาสองชนั้ บางหลงั คณุ ธนิดา บอกวา การปลูกผักของ คลนี ฟารม เปน หลงั คาโคงธรรมดาตามโครงสรางของโรงเรือน บาง เนน ท่ีการปอ งกันแมลงศตั รมู ากกวาการกำจัด และเนนที่ โรงเรือนมีการใชสแลนพรางแสงปูทับหลังคาอีกชั้นหนึ่ง ความสะอาดเปน สำคญั การปองกนั จะเรมิ่ ตง้ั แตต นกลา แตเ วน เปน ชองๆ ดูไกลๆ เหมอื นทางมา ลาย ท้งั นี้ก็เพือ่ ตน กลา ตอ งแขง็ แรง การเพาะกลา ของคลนี ฟารม จงึ เพาะ ในถาดหลมุ ดินท่ีเพาะกลา เปนดินผสมแกลบดำ ปุยหมัก อนิ ทรยี  ในอัตราสว นท่ีเหมาะสม ลางวสั ดุเพาะกลา ให สะอกาด เพื่อปอ งกนั เชื้อรา และผงึ่ ลมใหแ หงกอนนำมา เพาะกลา เมลด็ พนั ธกุ อ นนำไปเพาะกลา ตอ งนำมาแชน ำ้ อนุ ความรอ นประมาณ 50 องศาเซลเซยี ส นาน 30 นาที เพ่ือเรง การเจริญเตบิ โต และฆาเช้ือโรคบางชนดิ เมื่อตน กลา เติบโตไดข นาดจึงนำออกไปปลูก เคร่อื งอบดิน กระชงั เล้ยี งปลา 48 น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553

รถขนส่ง สภาพโรงเรอื นเพาะกลาตองสะอาด ไมมนี ำ้ ขัง กลอ่ งโฟมบรรจุผักรักษาอณุ หภมู ิ แสงแดดพอเพียง เพือ่ ใหตน กลาเจรญิ เตบิ โตดี ปอ งกนั มิใหแ มลง หรอื มดเขา ไปกัดกนิ ตน กลาโดยนำกระบะ มะระ “สารเทปไทด ชว ยลดระดับนำ้ ตาลในเลือด เพาะกลาวางบนโตะซง่ึ เปน โครงเหลก็ สงู ระดบั เอว ท่ขี า กระตุน ตบั ออ น ผลติ ฮอรโมนอินซูลนิ ชว ยในการรักษา โตะ หลอ ดวยนำ้ โรคเบาหวาน” ไมห ว งตลาด คะนา “แคลเซียมเสริมสรา งกระดูก เสรมิ สราง เน้อื เยื่อใหช ุมช้ืนจากวิตามินซี ปอ งกันมะเรง็ ลำไสแ ละ คลนี ฟารม ปลกู ผกั หลายชนดิ เชน คะนา คะนา มะเรง็ กระเพาะปสสาวะ” ฮองกง ผักกาดขาว กวางตงุ ฮอ งเต กวางตงุ ดอก ผักโขผมักโข“มม“ีสมารสี ตาร่อตตอ ้าตนาอนนอุมนูลุมอูลิสอรสิ ะระ ชช่ว ยต้า น กวางตงุ ใบ ผกั กาดเบกานา ผกั กาดขาวปลี ผักโขมแดง จอประสาทตาาแแลละะคคววาามมจจำำเสเสอื่ ือ่ มมลดคลวดาคมวเสามยี่ งเสในี่ยกงใานรเกปาน็ร ผักโขมเขียว บวบ มะระจนี ผักบงุ ผักหวาน ถ่ัวฝก ยาว โเปรคนหโรัวคใจหแัวลใจะแมละเะรมง็ ะ”เ ร็ง” ถวั่ พู แตงกวา กะหล่ำปลี กะหลำ่ ดอก บลอกโคลี่ จิงจู นอกจากนยี้ งั บบออกกววธิ ธิ ปี ีปลลกู กู คอื ““ททาางเลอื กใหม ่ ผกั ฉา ย เรดโอค กรนี โอค บตั เตอรเฮด และ คอส เปน ตน ปลอดภยั สารพิษ ปลกู ในดิน บบนนแแคครร””่ พรอ้ มสโลแกน “ราคาสสูงงู นนดิ ิด ชวีวิติตปปลลออดดภภัยัย”” คลีนฟารม จะมงุ กลมุ ลกู คาระดบั บนเพราะราคา ผลผลติ ทค่ี ลนี ฟารม์ จะเกบ็ เกยี่ วไดว้ นั ละประมาณ ขายจะสูงกวาราคาผักในตลาดทว่ั ไปเทา ตัว แตร ับรองวา 140 --115500 กิโลกรมั ราคาขายเฉล่ยี กิโลกรมั ละ 9900 – ผลผลติ ของท่นี ี่มคี ณุ ภาพ และปลอดภัยเหมอื นอยา ง 100 บาท ร ราายยไไดดเ เ้ดดืออื นนลละะปปรระะมมาาณณ 3 30000,,000000บบาาทท เมื่อ หกั คา่ ใชจ้ ่า ยตา่ งๆ แลว้ มีรายได้เ พยี งเดอื นละประมาณ สโลแ กนของบรษิ ัทที่บอกลูกคาตลอดเวลาวา“ราคาสูงนดิ 40,000 บาทเท่า น้นั “ท่ที “ำมทา่ีทำ3ม าปนี3ย้ี ปงั ไนมี้ย่คงั ืนไมทคุนืนเลทยนุ เยลังยไมย่ไงั ดไ้หมกัไดสหว่ นัก ชวี ติ ปลอดภัย” ทสวี่เปน็นทต่เี ป้นน ทตุนน คทงุนทค่ีซงึ่ ทอีซ่ย่ึงูทอี่ปยรูทะีป่มราะณมาณ1212ลล้าานนบบาาทท และ ผลผลติ ของคลนี ฟารม ไมม จี ำหนา ยในซเู ปอรม ารเ กต็ ขณะนเ้ี รายงั ปลกู ผักไม่เ ตม็ พ้นื ที่ ยยงั งั ไไมมเ เ่ตตม็ ็มศศักักยยภภาาพพ ใน ป ี 2553 เป็น ต้น ไป จะทำใหเ้ ตม็ พ้ืนที ่ ผลผลติ จะเพิ่ม ของหา งสรรพสนิ คา ใดๆ เพราะปจ จุบนั น้มี ีลกู คา ประจำ ได้อ ีกเท่า ตวั คิดบวกลบคณู หารแล้ว เราน่า จะคืนทุน เปน โรงเรียนอนบุ าล โรงพยาบาล กลุมรกั สขุ ภาพและ ทง้ั หมดไดภ้ ายใน 7 ป”ี คณุ วรี ะศกั ดแิ์ ละคณุ ธนดิ าา มมนั่ นั่ ใใจจ นำไปจำหนา ยเองตามสถานทร่ี าชการตา งๆ ก็หมดแลว ท่กี ลอ งบรรจุผกั จะใหความรูกบั ลูกคา เกี่ยวกับวธิ ี การปลกู และคณุ คา ทางอาหารของผักชนิดน้นั ๆ เชน คุณคา ทางอาหารของบวบ จะระบวุ า “มีฤทธเิ์ ปน ยาถาย และทำใหอาเจียน สารพวกซาโปนินมีฤทธ์ิชวยกระตุน หวั ใจ สารอีแลตเตอริน ทำใหถ าย” น.ส.พ. กสกิ ร ปีท่ี 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 49

ภายในโรงคัดบรรจ ุ เพียงพอในการตอ่ สกู้ ับสถานการณ์ต่างๆ ท้ังภายในและ ต่างประเทศทม่ี ีผลกระทบกับวงการเกษตรของเรา ผมมี รอบคลนี ฟาร์ม คณุ ธนดิ าจะปลกู ข้าว เพื่อนำ โครงการท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียนนักศึกษาจากวิทยาลัย ผลผลติ ข้าวมาเลี้ยงคนงานในฟาร์ม รอบๆ คลนี ฟาร์ม เกษตรกรรม หรอื าชวี ศึกษา มาฝกึ งานที่คลีนฟาร์ม เปน็ มีคลองเลก็ ๆ สง่ นำ้ นำปลาตะเพยี นซงึ่ เป็นปลากนิ พืช ระยะเวลาที่นานเป็นเทอม หรือเป็นปี แล้วเทียบโอน มาเลยี้ ง อาหารปลาคอื เศษผกั ในฟารม์ คาดวา่ จะมรี ายได้ ประสบการณไ์ ป” จากปลาตะเพียนประมาณ 500,000 บาท คุณวีระศักด์ ยกตัวอย่าง เหมือนนักศึกษาลง ทะเบียนเรียนวชิ าต่างๆ ใน 1 เทอม ทีค่ ลีนฟาร์มอาจจะ กา้ วไปข้างหนา้ มีวิชา การเตรียมดิน การเพาะปลูก การซอ่ มเคร่ืองมือ อปุ กรณต์ า่ งๆ การเกบ็ เกยี่ ว รวมทง้ั ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ผลผลติ ของคลนี ฟารม์ ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐาน กส็ ามารถฝกึ ได้ เชน่ ภาษาไทยอาจจะประเมนิ หรอื ทดสอบ แหล่งผลติ หรอื GAP จากกรมวิชาการเกษตร ซงึ่ คุณ จากการให้เขียนรายงาน ภาษาอังกฤษอาจจะประเมิน วีระศกั ด์ิบอกว่า “กอ่ นทำฟาร์มท่ีน ี่ ไดศ้ กึ ษาการทำการ จากการเขียนช่ือผัก ช่ือสารเคมี หรือสารอาหารต่าง เกษตรในระบบเกษตรดที เ่ี หมาะสม หรือ GAP มากอ่ น ในผัก เปน็ ต้น และใชร้ ะบบ GAP เปน็ แนวทางในการเพาะปลกู พยายาม ยังมีโครงการหารายได้ระหว่างเรียน โดยการรับ จะทำใหเ้ หนือ GAP กอ่ นท่จี ะไปขอรบั รอง GAP” สมคั รนักเรียน นักศกึ ษา เข้ามาทำงานในฟาร์มในชว่ ง ผลจากการทำการเพาะปลูกตามระบบ GAP เพอ่ื เวลาวนั หยดุ หรอื นอกเวลาเรยี น ซงึ่ คลีนฟารม์ มุ่งมั่น ใหผ้ ลผลติ มคี ณุ ภาพ และปลอดภยั รวมทงั้ การใชเ้ ทคโนโลยี ใช้แรงงานไทย มากกว่าแรงงานต่างด้าว ในการเพาะปลูกท่ีเป็นผลจากความพยายามและความ นอกจากนค้ี ลนี ฟารม์ ยงั จะทำการวจิ ยั รว่ มกบั ศนู ย์ ตั้งใจ รวมท้ังการขยายผลโดยการเป็นแหลง่ แลกเปลยี่ น เทคโนโลยโี ลหะและวสั ดแุ หง่ ชาต ิ เรอื่ งเกย่ี วกบั โรงเรอื น เรียนรูข้ องผสู้ นใจ ทำให้สำนักวิจยั และพฒั นาการเกษตร เน่อื งจากทางศูนย์ฯ มีผลิตภณั ฑ์พลาสตกิ ลดความรอ้ น เขตท่ี 5 กรมวิชาการเกษตร คดั เลอื กใหค้ ณุ ธนิดา ซ่ึง ผลงานวจิ ยั จะเป็นประโยชนก์ ับคลีนฟารม์ และสว่ นรวม เป็นกรรมการผู้จดั การ บริษัทคลนี ฟาร์ม จำกดั เปน็ ด้วย “เกษตรกร GAP ดเี ด่น” ระดับเขตประจำปี 2553 “ในอนาคต คลนี ฟารม์ จะพฒั นาระบบสารสนเทศ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้คัดเลอื กใหเ้ ป็น มาควบคุมระบบการขาย และการจัดการในฟาร์ม อาจ “เกษตรดเี ด่นแห่งชาติ ประจำปี 2553 สาขาการใช้ จะถงึ ขน้ั มกี ลอ้ งจบั ทแี่ ปลงปลกู ผกั ใหล้ กู คา้ ไดเ้ หน็ วธิ กี าร วชิ าการเกษตรดีที่เหมาะสม” และการทำงานในฟาร์มเลยทเี ดยี ว” คณุ วีระศกั ด์ ิ มน่ั ใจ เจา้ ของคลีนฟาร์มทั้งสอง พดู ถึงอนาคตของคลนี ว่าจะตอ้ งทำได ้ ฟารม์ วา่ “อยากเตรยี มเกษตรกรรนุ่ ใหมข่ องประเทศไทย ปัจจุบันคลีนฟาร์มเป็นแหล่งศึกษาดูงานของ เพราะเชื่อมั่นว่าเกษตรกรปัจจุบันยังมีองค์ความรู้ไม่ หนว่ ยราชการ กลมุ่ สมาคม ชมรมตา่ งๆ เปน็ จำนวนมาก ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของนักการศึกษาซ่ึงเป็นเจ้าของ บรษิ ทั ทต่ี อ้ งการใหค้ ลนี ฟารม์ เปน็ แหลง่ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ของผสู้ นใจท่ัวไป ด้วยจิตใจท่ีมุ่งม่ันในการทำการเกษตรท่ีมีใจรัก ไม่ได้แสวงหาผลกำไรเพียงอย่างเดียว แต่ยังคำนึงถึง คณุ ภาพของผ้คู นในชมุ ชน ในสังคม และประเทศชาต ิ คงเป็นอานสิ งส์ทจ่ี ะส่งผลให้ คลีนฟารม์ กา้ วไปขา้ งหน้า อยา่ งมัน่ คง และย่ังยนื 50 น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553

ปลกู เมลอนแทนสวนสม ทีล่ มสลาย ภาวดี สงิ หศ ร ภาวดี สิงหศ ร หญิงสาววัยเพียง 26 ป แตม ี มเี พ่อื นมาแนะนำใหป ลูกแตงญ่ปี ุน หรือเมลอ น ประสบการณในการทำการเกษตรมากมายเกินคนในวัย ซ่งึ มอี ายุจากปลกู ถงึ เกบ็ เกย่ี วเพยี ง 90 วัน จึงสนใจ และ เดยี วกนั เจา ของสวนแตงญ่ปี ุน หรอื เมลอน อยทู ่ี ตำบล ตดั สนิ ใจหนั มาปลกู เมลอ นเม่อื ป 2550 ประดาง อำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก โดยมีพื้นที่ปลูก เร่มิ ตนไมสวย แตตั้งใจ เมลอ นประมาณ 100 ไร ปแ รกทป่ี ลกู เมลอ น ไมป ระสบความสำเรจ็ เทา ทค่ี วร เพราะปลกู เปน แปลงใหญ ไมส ามารถควบคมุ ปรมิ าณและ คุณภาวดี มีคูคดิ คอื คุณสรุ ชัย แซข วาง ซึ่งจบการ คณุ ภาพของผลผลติ ได ผลผลติ เสยี หายเกอื บทง้ั หมด ลงทนุ ศึกษาดานคอมพวิ เตอรจากมหาวทิ ยาลยั ฮองกง แตกลับ ไปกวา 2 ลา นบาท ไมไดทนุ คืนเลย มาชว ยภรรยาทำการเกษตรอยางจรงิ จงั โดยเฉพาะการ บทเรียนคร้ังน้ัน จึงทำใหหันมาศึกษาหาความรู คน ควาหาขอมลู จากอินเตอรเ นต็ การจดั เกบ็ ขอมูลดว ย จากผูปลกู เมลอนรายอ่ืนๆ ศกึ ษาจากนักวชิ าการ ของ ระบบคอมพวิ เตอร รวมทงั้ การคำนวณตน ทนุ กำไรตา งๆ สถาบนั วจิ ยั พชื สวน กรมวชิ าการเกษตร จากเจา ของเมลด็ พนั ธุ จากการคน ควา ในอนิ เตอรเ นต็ รวมทง้ั ประสบการณ เอฟ ที เอ ทำใหตอ งหันมาปลูกเมลอ น ตรงของตนเองในปทีผ่ านมา คุณภาวดี เล่าวา่ ตนเองจบการศกึ ษาเพียงระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จากโรงเรียนบางกะปิ กรุงเทพฯ เกรา่ิมรอเกาษชตีพรกดาวรยเกษารตทรำดส้ววยนกสาม รทำซสึง่ วไมนปส้มระสบซคึ่งไวมาม่ปสรำะเสรบ็จ คเทวาาทมี่คสวำรเรจ็ โเดทยา่ เทฉีค่ พวาระ ใ นโชดว ยงเกฉอพนาหะในนา ชนว่ ีเ้ มงกอื่ อ่ ปน ห2น5้า4น9ี้เมทอ่ื ่ี ปีร2ะ5เท4ศ9 ไ ทยป่ี เรปะดเทเสศรไที ายงเกปาดิ รเคสราที าหงรกอื ารคเอา้ ฟหรอื ทเี อเฟอ ทกี เบัอ กปบัระปเรทะศเทจีนศจนี มกี มากีรานรำนเขำาเขสา้ม ส้มรวมรวทมง้ั ทผ้ังลผไมลไอมนื่ อ้ ๆน่ื ๆจากจจาีนก จมนีาจมำาหจนำหา ยนใา่ นยปในระปเรทะศเทเปศนเปจน็ำนจวำนมวนากมาสกง ผสล่งใผหลรใาหคร้ าาสคม า สตม้กตก่ำตำ่ จึงจคงึ ิดควดิ าวหา่ หากาปกปลลูกกูสสมม้ ตตออ่ ไไปปจจะะตตออ้ งงปปรระะสบปญั หา ด้า นการตลาดอย่า งแน่น อน ประกอบกบั การดแู ลสวนสม้ ตอ้ งใชต้ น้ ทนุ สงู โดย เฉพาาะะสสาารรเคเคมมปี ีอป ง้อกงนั กกันำกจดัำจศัดตั ศรพูัตชืรูพจงึืชคดิ จหึงาคพิดชื อหนื่ าทพอ่ีืชาอย่ืนสุ นทั้ ี่ อแลายะสุเป้ันน พแชื ลทะม่ีเปกี น็ารพผืชลทติ ่มี ไีกมาม ราผกลนติ กั ไมเพม่ อื่ากทนจ่ี ะักไดเไ พมอื่ม ทปี ่ีจญ ะหไดา้ ไดมา ม่นปีกาญั รหตาลดาดา้ นการตลาด น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบับท่ี 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 51

คณุ สรุ ชยั แซข่ วาง และคณุ ภาวดี สิงหศ์ ร เพอื่ ใหม ผี ลผลติ ออกสตู ลาดตลอดทง้ั ป ดงั ทก่ี ลา วมาแลว สวนทีส่ ำคัญของการบรหกิ า รจัดการ คอื การผลติ เพ่อื ให ในปท่ี 2 คุณภาวดี จงึ แกป ญหาโดยการแบงพ้นื ท่ี ผลผลิตมีคณุ ภาพดี และปลอดภยั ปลูกหมุนเวียนกันไป วางแผนการปลูกใหไดผลผลิต เรรมิ่ ม่ิ จจาากกพพนื้ นื้ ททปี่ ี่ปลลกู ูกพพนื้ ้นื ททป่ี ป่ี ลลกู ูกเมเมลลอ ่อนนขขอองงคุณภาวดี ตลอดป และมผี ลผลติ ออกสตู ลาดทกุ สปั ดาห ตดิ ตอ หา อยูหางจากแหลง ชมุ ชน เปน พืน้ ทร่ี าบ ดนิ เปนดนิ รว น ตลาดดว ยตนเอง ซ่งึ ประสบความสำเร็จทั้งดา นการผลิต ปนทราย ในการเตรียมดินกอ นปลูกทกุ คร้งั จะมกี ารวดั และการตลาด โดยผลผลิตมีคุณภาพดี และสามารถสง คา ความเปนกรด – ดา ง (pH) และคา การนำไฟฟา จำหนา ยในหางสรรพสนิ คาชั้นนำในกรุงเทพฯ ไดอ ยา ง (EC) ของดิน โดยทำการสมุ เกบ็ ดนิ แปลงละ 3 – 4 จดุ ตอเนื่อง แลวหาคาเฉล่ยี คา pH ท่ีเหมาะสมสำหรับการปลกู เมลอนคอื 6.5 – 7 ถาคา pH นอ ยจะทำการปรบั คา คุณภาวดี ไดรับคำแนะนำทางวชิ าการเกษตรดที ่ี โดยใสป ูนโดโลไมท และมลู ไก เพือ่ ปรบั สภาพดิน เหมาะสม หรือ GAP ในการผลติ จากศนู ยว จิ ัยและ พฒั นาการเกษตรตาก พรอ มทง้ั สมคั รเขา สรู ะบบการจดั การ แหลง นำ้ ทใ่ี ชใ นการเพาะปลกู นำนำ้ มาจากแมน ำ้ ปง คุณภาพพืชตามระบบเกษตรดที ่เี หมาะสม กับสำนักวจิ ยั แลว มาพกั ทบ่ี อ นำ้ ภายในพนื้ ที่เพาะปลกู มกี ารวางระบบ และพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 2 กรมวิชาการเกษตร และ น้ำหยดในแปลง โดยมอี ัตราการใหน้ำ 2 ลิตร/ชั่วโมง ไดร บั การรบั รองแหลง ผลติ เมอ่ื เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2551 ใชร ะบบ GAP ในการผลติ คุณภภาาวดี แแลละะคคุณณุ สสรุ ุรชชยั ยั สองสามภี รรยา ชวยกนั บริหารจดั การแปลงเมลอ น พื้นท่ี 100 ไร โดยแบงพืน้ ที่ ออกเปนแปลงยอ ยๆ หมุนเวียนปลูกใหเ หล่ือมเวลากนั 52 น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2553

การใชส ารเคมปี อ งกันกำจดั ศตั รูพชื จะใชเ ฉพาะ สารเคมีที่ทางราชการแนะนำและกอนตัดสินใจใชสาร เคมจี ะทำการสุม ตรวจแปลงทุกเชา โดยการสมุ ตรวจ 4 จดุ ตอ รอ ง จดุ ละ 5 ตน เพ่ือดูวามโี รคและแมลงศตั รูใน แปลงเมลอนหรอื ไม เปนโรค หรอื แมลงศตั รชู นดิ ใด เพื่อจะไดใชสารเคมีใหถูกตองตรงตามชนิดของโรคและ แมลงศัตรูพืชชนิดน้ันๆ การใชส ารเคมีปองกันกำจดั ศตั รพู ืช จะใชตามคำ แนะนำในฉลาก และจะใชป โตรเลียมออยลผ สมสารเคมี เพ่อื ลดปรมิ าณการใชสารเคมี และเพิ่มประสิทธภิ าพของ สารเคมีไปพรอ มกนั ความสะอาดในแปลงเมลอ น เปน ส่ิงทค่ี ณุ ภาวดี ใหค วามสำคญั เพราะวชั พชื ในแปลงเปน แหลง อาศยั ของ แมลงศตั รูพืชท้งั หลาย โดยจะใชวธิ ีการตัดหญา แทนการ ใชส ารกำจดั วัชพชื การใหป ุย จะใหป ุยไปพรอมกบั ระบบนำ้ 2 วันตอ ครงั้ หรอื เฉลย่ี 1 กรัมตอตน รวมทั้งการใหป ุยชวี ภาพที่ ผลิตขึ้นเองภายในฟารม โดยทำมาจากผลผลิตที่ไมได คุณภาพภายในฟารมน่ันเอง ท้ังน้ีคุณภาวดีจะวางแผน การใชป ุยเคมี ปุย อินทรยี  และมลู ไก ตามระยะเวลาทพ่ี ืช ตอ งการ ทำใหเ มลอ นเจรญิ เตบิ โตไดด ี ผลผลติ มคี ณุ ภาพ ท้ังรูปลักษณ และรสชาติ (ความหวานไมต่ำกวา 13 องศาบริกซ) จากการวางแผนการผลิต คณุ ภาวดี จึงทราบ กำหนดระยะเวลาเก็บเก่ียวผลผลิต และทราบปริมาณ ผลผลติ ทแี่ นน อนในแตล ะรนุ การเกบ็ เกยี่ วตอ งใชอ ปุ กรณ และภาชนะทส่ี ะอาด ไมทำใหผวิ เมลอ นเสยี หาย จากนน้ั นำผลผลติ มายงั โรงคัดบรรจุ เพือ่ ทำการคดั แยกผลผลติ ทำความสะอาดผลผลติ สวมตาขา ยโฟมเพอ่ื ปอ งกนั รอยชำ้ และตำหนจิ ากการขนสง ท้งั น้มี แี รงงานที่มีความชำนาญ ในการคัดแยกผลผลติ โดยเฉพาะ ตลาดยังไปไดส วย จากการแบง พืน้ ทเ่ี พาะปลูก 100 ไร ออกเปน แปลงยอยๆ และปลกู เหลอื่ มเวลากัน ทำใหในแตละป คณุ ภาวดี สามารถปลกู เมลอนได 48 รุน ดวยเหตุนจ้ี ึงมี เมลอ นจากสวน ของคณุ ภาวดอี อกสตู ลาดอยา งสมำ่ เสมอ ตลอดทงั้ ป น.ส.พ. กสิกร ปีท่ี 83 ฉบบั ที่ 3 พฤษภาคม - มถิ ุนายน 2553 53

ผลผลติ เกรด A จะสงจำหนายทห่ี า งสรรพสนิ คา เปลีย่ นสวนยางเปนสวนลำไย ชั้นนำในกรุงเทพ เชน เซ็นทรัล และสยามพารากอน ใน ราคากโิ ลกรมั ละ 90 บาท สว นผลผลิตเกรด B จะ พดู ไปใครจะเชอื่ วา ภาคใตป ลกู ลำไยได แถมคณุ ภาพ จำหนายทีต่ ลาดมูเซอจงั หวัดตาก โดยมพี อ คา มารบั ซอื้ ของผลผลิตมิไดแตกตางไปจากแหลงผลิตลำไยที่สำคัญ ถึงสวนในราคากโิ ลกรัมละ 45 บาท ในภาคเหนือแมแตนอย ในป 2551 ซ่งึ เปนปที่ 2 ของการปลกู เมลอ น แตไ มเ ชอื่ กต็ อ งเชอื่ เพราะไดไ ปเหน็ และลมิ้ รสชาติ คุณภาวดี ลงทนุ ไปประมาณ 3 แสนบาท จำหนา ย ของลำไยใตมาแลว ผลผลิต มกี ำไร 1.6 แสนบาท ในป 2552 ลงทนุ กวา 3 แสนบาท จำหนายผลผลิตไดก ำไร 4.9 ลา นบาท ทีบ่ า นเลขที่ 196 หมูท ่ี 1 ตำบลควนลงั อำเภอ สามารถคืนทนุ และทำกำไรไดภายใน 2 ป หาดใหญ จังหวัดสงขลา เปนพื้นทสี่ วนของ ดาบตำรวจ ศริ พิ งษ ศรสี วุ รรณชนะ ผูบ ังคับหมูฝ ายปราบปราม จากความสำเร็จนี้จึงเป็นกำลังใจให้ท้ังสองสามี สถานีตำรวจภธู รรัตภูมิ จงั หวดั สงขลา ภรรยา มงุ่ มน่ั และศกึ ษาหาความรตู้ ดิ ตามสถานการณ์ ด้านการตลาดอยู่ตลอดเวลา เพ่ือนำมาใช้ประโยชน์ เร่มิ เปนเกษตรกรสวนยาง ในการวางแผนพฒั นา การผลติ เมลอ่ นของตนเอง อนั ดาบตำรวจ ศริ พิ งษ ศรสี ุวรรณชนะ อาชีพหลัก จะนำไปสรู่ ายได้ และฐานะทม่ี นั่ คงของครอบครวั ตอ่ ไป เปน ตำรวจ หนั มามอี าชพี รองโดยไมคาดคดิ อันเนื่องมา จากพอ่ แมย่ กมรดกเปน็ ทด่ี นิ กวา่ 10 ไรใ่ หเ้ มอื่ ป ี 2529 หากจะท้งิ ไวว้ า่ งเปลา่ กเ็ สียประโยชน์ จะขายกเ็ สยี ดายจงึ ไปขอทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง ปลูกยางใหม่แทน สวนยางเกา่ ไดผ้ ลผลติ ยางพาราตงั้ แตป่ ี 2535 เปน็ ตน้ มา มาถงึ ปี 2545 ราคายางพาราเรม่ิ ตกตำ่ มาก เหลอื เพมยี างถกึงโิ ลกปรมั ล2ะ51475– 1รา9ค าบยาาทงมพรี าารยาไเดรจิ่ม้ าตกกสตวำ่นมยาากง เพหลยี ืองปเพลี ียะงก1โิ0ล,ก0ร0มั 0ละ– 1173,–00109บบาาททเทม่ารี นายั้นไดเหจาน็ กวสา่ วไนม ่ คยามุ้ งกเพบั กียางรปลลงะท1นุ 0ป,0ร0ะก0อ–บก1บั3ก,0า0รป0ฏบบิ าตัทงิเาทนา ทนี่้ันสภเห.็นรวตั า ภไมู ิ ไคดมุ ม้ กโี บั อการสลรงจู้ ทกั นุ ปพระดู กคอยุ บกกบั บั เกจา้ ขรปองฏสบิ วตันงิ ผาลนไทม่ี ท้สผ่ีภล. ติ รลตั ำภไมูยิ นไดอม กีโฤอดกทู าอี่สำรเูจภกั อรตัพภดู มู ค ิ ยุ ก ับเซจง่ึ าลขำอไยงสนวอนกผฤลดไทู มสี่ ท วี่ผนลนิตข้ี ลายำไดย้ รนาอคกาฤสดงู ถูทงึ ี่อกำโิ เลภกอรรมั ัตลภะ ูม 1ิ 00ซ่ึง–ลำ1ไ2ย0น อ กบฤาทด ูท จ่ีสงึ วมนแี นนี้ขวาคยดิ ไทดี่ จราะคเปาลสย่ีงู ถนึงสกวิโนลยการงมัเปลน็ ะสว1น0ล0ำไ–ย 120 บาท จงึ มีแนวคิดที่ จะเปลย่ี นสวนยางเปน สวนลำไย 54 น.ส.พ. กสกิ ร ปที ่ี 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2553

“ในป 2545 ไดทำหนงั สือถงึ สกย. ขอทุนเพ่ือ จะใชสารเคมีปองกันกำจัดศัตรูพืชเม่ือมีแมลง เปลย่ี นจากสวนยางเปนสวนลำไย แต สกย. บอกวาไม ทำลาย โดยเฉพาะหนอนชอนใบ แตถาในชวงใกลเกบ็ ใหป ลูกลำไย เพราะลำไยไมใ ชพชื เศรษฐกิจของภาคใต เก่ยี วจะใชว ธิ ีไลแมลงดวยนำ้ สมควนั ไมซ่ึงผลิตเอง ใชปุย ผมจึงตองปลูกสมโอผสมผสานบริเวณหัวและทายสวน ปลาปน ไลผเี สอ้ื มวนหวาน ใชก รดซิลิคอนนำ้ ปองกัน เม่อื สกย. อนุมัติใหป ลูกไมผลทดแทนยางพาราได ใน แมลงและโรคโคนเนา ใชสมนุ ไพรกำจัดแมลง ป 2546 จงึ ไดโ คน ยางพารา พรอ มกบั ปรบั สภาพพื้นท่ี เตรยี มปลกู ลำไย แตกอนหนา ทจี่ ะปลกู ลำไย ไดซ อ้ื ที่ดิน ศัตรูท่ีสำคัญของลำไยอีกชนิดหนึ่งคือคางคาว ขา งเคยี งเพ่ิมเตมิ อีก 2 ไร เพ่อื ขดุ สระน้ำ สำหรบั เก็บกัก การไลคางคาวของสวนน้ีใชวิธีใชหัวปลาหมัก ท่ีทางใต น้ำไวใ ชใ นสวนผลไม รวมท้งั เลี้ยงปลาดวย” ดาบตำรวจ เรียกวา ปลารา ใสในขวดพลาสติกทไี่ มใชแลว ไปแขวน ศิรพิ งศ เทาความใหฟง ไวใ นสวน คา งคาวไดกลิ่นปลาหมัก จะไมเขา มาทำลาย ลำไยเลย นบั เปน ภมู ปิ ญ ญาทใี่ ชไ ดผ ลดี และไมส งวนลขิ สทิ ธ์ิ 25 กันยายน 2547 เรม่ิ ปลกู ลำไยพันธุดอใน พื้นท่ี 10 ไร ใชระยะปลกู 4 x 7 เมตร ไดลำไย 559 ปยุ ..หวั ใจสำคัญของลำไยคุณภาพ ตน พรอ มติดตงั้ ระบบนำ้ แบบสปริงเกลอร ดาบตำรวจ ศิรพิ งศ เชื่อวา ปยุ เปนปจ จัยท่ี สำคัญมากอันดับหนึ่งที่เก่ียวของโดยตรงตอการเจริญ การจดั การสวน เติบโตของ ตนไม ปยุ ไดจ ดั ไวเปน อาหารพชื ซงึ่ อาหาร เมือ่ ลำไยอายุ 1 ป 10 เดือน เรมิ่ ราดสาร พืชเกอื บทง้ั หมดนน้ั ตน ไมไ ดมาจากดนิ ในแตล ะปต น ไม โพแทสเซยี มคลอเรต โดยจะแบง พนื้ ทร่ี าดสารทลี ะคร่ึง ดูดธาตุอาหารจากดินเปนจำนวนมาก เพื่อนำไปสราง สวน เพอื่ ใหต นลำไยไดพัก ใบ ก่ิง ดอกและผล ธาตอุ าหารตา งๆ จงึ สูญหายไปจาก ระยะเวลาจากราดสารโพแทสเซียมคลอเรต ดินอยทู กุ ป โอกาสทีจ่ ะไดมาจากธรรมชาตเิ พอื่ ชดเชย จนถงึ ลำไยออกดอกใชเ วลาประมาณ 1 เดือน ระยะเวลา สวนท่ีนำไปใชน ม้ี อี ยูค อนขา งนอ ยมาก ดงั นัน้ จงึ จำเปน จากตดิ ผลถึงเก็บเกยี่ วไดป ระมาณ 6 -8 เดือน ตอ งใสค นื ลงไปในดนิ ระยะเวลาราดสารจะอยูประมาณเดือนมิถุนายน – กรกฎาคม เพอ่ื ไปเกบ็ เกยี่ วในชวงเดือน มกราคม - กุมภาพันธ ซ่ึงเปน ชว งปใ หม และตรุษจนี จะทำใหข าย ไดราคาดี ลำไยจะใหผ ลผลติ ไปจนถึงเดอื นเมษายน หลงั จากหเลกงับ็ จเากกย่ี เวกผบ็ ลเกผย่ีลวติ ผแลลผว ลติ จแะลทว้ ำ ก าจระตทดัำกแาตรง ตกดั ง่ิ แใตสง่ ป กยุงิ่ ใคสอ่ปกุย๋ ใคนอระกหในวารงะพหกัวตา่ งน พักต้น น.ส.พ. กสกิ ร ปีที่ 83 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถนุ ายน 2553 55


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook