Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นางสาวอินทิรา ละออ 621400203

นางสาวอินทิรา ละออ 621400203

Published by kruaorsa, 2020-08-22 01:59:08

Description: นางสาวอินทิรา ละออ

Search

Read the Text Version

หนา้ ทีพ่ ลเมืองท่ีดี และ ค่านิยมพ้ นื ฐานของสงั คมไทย นางสาวอนิ ทิรา ละออ รหัสนักศึกษา 621400203

ความหมายของคาว่าพลเมืองและคาท่ีใกลเ้ คียง ▪ Citizen A legally recognized subject or national of a state or commonwealth, either native or naturalized ▪ Citizenship is the status of a person recognized under the custom or law of a state that bestows on that person (called a citizen) the rights and the duties of citizenship. ▪ Nationality In a number of countries, nationality is legally a distinct concept from citizenship, or nationality is a necessary but not sufficient condition to exercise full political rights within a state or other polity. ▪ Civic Education

Civic Education Civic Education (พลเมืองศกึ ษา) คือ การศึกษาเพ่ือการ เป็ นพลเมืองดี เป็ นการจดั การการศึกษาเพื่อใหพ้ ลเมืองน้ันเป็ น พลเมืองที่ดีของประเทศและเป็ นพลโลกท่ีดีดว้ ย พลเมืองศึกษาจึง ช่วยในการหล่อหลอมคุณภาพของคน สรา้ งเสริมความรบั ผิดชอบ ต่อสงั คมและประเทศชาติ มีน้าใจช่วยเหลือผูอ้ ่ืน เห็นแก่ส่วนรวม เพอ่ื การอยูร่ ว่ มกนั อยูร่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ุขเป็ นเป้าหมายสาคญั

Civic Education พฒั นาการของพลเมืองศกึ ษาของไทยแบง่ เป็ น 4 ระยะคอื ระยะก่อนทนั สมยั ก่อน ก่อน 2413 - รชั กาลท่ี 5 มีวดั เป็ นศนู ยก์ ลางของการเรียนรู้ ปี 2413 รชั กาลที่ 5 การเรม่ิ ตน้ ของการจดั การศึกษา ระยะเริม่ ตน้ ของความทนั สมยั - 2475 เป็ นระบบแยกโรงเรยี นออกจากวดั -รัชกาลท่ี 7 มีการสอนวิชา “จรรยา” ระยะความทนั สมยั ปี 2475 ระยะความทนั สมยั และ - 2520 รชั กาลที่ 7 การจดั การศึกษาตามองค์ 4 ของการศึกษา การพฒั นาการศึกษาของชาติ หลกั สูตรไดเ้ ปลี่ยนวิชา “จรรยา” ปี 2421 - เกรียงศกั ด์ิ เป็ นวิชา “หนา้ ทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม” -ปัจจบุ นั ชมะนนั ทน์ เกรียงศกั ด์ิ มีหลกั สูตรใหม่ท้งั ชมะนนั ทน์ -ปัจจุบนั ระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา

ปัจจยั ทก่ี าหนดความเป็ นพลเมือง Determining factors A person can be a citizen for several reasons. Usually citizenship of the place of birth is automatic; in other cases an application may be required. Parents Born within Marriage Naturalization are citizens a country to a citizen

ประวตั คิ วามเป็ นมาของความเป็ นพลเมือง History of citizenship Polis Many thinkers point to the concept of citizenship Roman ideas Middle Ages beginning in the early city-states of ancient Greece Renaissance In the Roman Empire, citizenship expanded from Modern times small scale communities to the entire empire European Middle Ages, citizenship was usually associated with cities and towns, Nobility used to have privileges above commoners, but the French Revolution and other revolutions revoked these privileges People transitioned from being subjects of a king or queen to being citizens of a city and later to a nation. Citizenship became an idealized, almost abstract, concept The modern idea of citizenship still respects the idea of political participation, but it is usually done through \"elaborate systems of political representation at a distance\" such as representative democracy

สองมุมมองท่ีแตกตา่ งของความเป็ นพลเมือง Two contrasting views of citizenship

คณุ สมบตั ขิ อง \"พลเมือง\" ในระบอบประชาธปิ ไตย 6 ประการ 1. มีอิสรภาพ (liberty) และสามารถพ่ึงตนเองได้ (independent) 2. เคารพสิทธิผอู้ ่ืน ไม่ใชส้ ทิ ธเิ สรีภาพของตนไปละเมิดสิทธิเสรภี าพของบุคคลอ่ืน 3. เคารพความแตกตา่ ง มีทกั ษะในการฟังและยอมรบั ความคิดเห็นที่แตกต่าง จากตนเอง 4. เคารพหลกั ความเสมอภาค เคารพศกั ดศ์ิ รีความเป็ นมนุษยข์ องผูอ้ ่ืนและเห็น คนเทา่ เทียมกนั 5. เคารพกตกิ า เคารพกฎหมาย ใชก้ ติกาในการแกป้ ัญหา ไม่ใชก้ าลงั และไม่ ยอมรบั ผลของการละเมิดกฎหมาย 6. รบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ตระหนกั ว่าตนเองเป็ นสวนหน่ึงของสงั คมกระตอื รอื รน้ ท่ี จะรบั ผิดชอบและรว่ มแกไ้ ขปัญหาสงั คมโดยเร่ิมตน้ ที่ตนเอง

แนวทางคา่ นิยมพ้ ืนฐานในสงั คมไทย Social Value Orientations Social psychology, social value orientation (SVO) is a person's preference about how to allocate resources between the self and another person. SVO corresponds to how much weight a person attaches to the welfare of others in relation to the own. Since people are assumed to vary in the weight they attach to other peoples' outcomes in relation to the own, SVO is an individual difference variable. The general concept underlying SVO has become widely studied in a variety of different scientific disciplines, such as economics, sociology, and biology under a multitude of different names.

Historical background ประวตั คิ วามเป็ นมา The SVO construct has its history in the study of interdependent decision making, i.e. strategic interactions between two or more people. The advent of Game theory in the 1940s provided a formal language for describing and analyzing situations of interdependence based on utility theory. As a simplifying assumption for analyzing strategic interactions, it was generally presumed that people only consider their own outcomes when making decisions in interdependent situations, rather than taking into account the interaction partners' outcomes as well. However, the study of human behavior in social dilemma situations.

ค่านิยมของสงั คม Social Value คลกั ฮอหน์ (Clyde Kluckhohn) นัก สเมลเ์ ซอร์ (Neil Joseph Smelser) นัก มานุษยวิทยาวัฒนธรรมชาวอเมริกัน ค่านิยม คือ แนวความคิดท้งั ที่เห็นได้ สงั คมวิทยาชาวอเมริกนั ใหค้ วามหมาย เด่นชัดและไม่เด่นชัด ซ่ึงความคิด คานิยมว่า“เป็ นส่ิงท่ีบอกคุณค่าของคน ดังกล่าวมีอิทธิพลใหบ้ ุคคลกระทา การอันใดอันหนึ่งจากวิธีการที่มีอยู่ อย่างกวา้ งๆ ว่าจุดหมายอะไรบา้ งใน หลายๆ วิธี ชีวิตเป็ นสิ่งที่ปรารถนา”ค่านิยมใน ความหมายของ Smelser จึงเป็ น เครื่องช้ ีแนวทางปฏิบตั ิอย่างกวา้ งๆ ไม่ เฉพาะเจาะจงแก่บุคคลใด

ค่านิยมพ้ ืนฐาน Self Values Values of Others Edward T.Hall มีความสามารถทีจ่ ะยอมรบั ตนเอง คนอื่นมีค่าเทา่ กบั ตนเอง ตนเองเห็นคา่ ของคนเองและเห็นคา่ ของผอู้ ื่น

ทฤษฎีคา่ นิยม ทฤษฎีคา่ นิยมของสแปรงเกอร์ (Spranger) The Theoretical, whose dominant interest is the discovery of truth The Economic, who is interested in what is useful The Aesthetic, whose highest value is form and harmony The Social, whose highest value is love of people The Political, whose interest is primarily in power The Religious, whose highest value is unity

ทฤษฎีค่านิยม ค่านิยม หมายถึง ความเชื่ออย่างหนึ่งซ่ึง มี Milton Rokeach ลกั ษณะถาวรเช่ือว่าวิถีปฏิบัติบางอย่างหรือเป้าหมาย ของชีวิตบางอย่างน้ันเป็ นสิ่งท่ีตวั เองหรือสังคมเห็นดี เห็นชอบ และสมควรที่จะยึดถือปฏิบัติมากกว่าวิธี ปฏิบตั หิ รือเป้าหมายอยางอ่ืน จากความหมายน้ ีจะเห็น ไดว้ ่าคานิยมน้ันแบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ค่านิยมวิถีปฏิบัติ (instrumental values) กับคานิยม จุดหมายปลายทาง(terminal values) ซ่ึงบุคคลย่อมมี ค่านิ ยมท้ังสองประเภทน้ ี รวมอยู่ด้วยกัน”การท่ี Rokeach ใหค้ วามหมายคานิยมเป็ นสองประเภทน้ ีได้ ทาใหแ้ นวคิดเกี่ยวกับค่านิยมมีความชดั เจนเขา้ ใจง่าย ข้ ึนมากและเป็ นประโยชนใ์ นการสรา้ งเคร่ืองมือวัดคา นิยมและจดั กลมุ่ คานิยมเพ่ือการวิเคราะหเ์ ป็ นอยา่ งย่ิง

ทฤษฎีคา่ นิยม ค่านิยมที่เป็ นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติเรียกว่า “ค่านิยมวิถีปฏิบัติ ” (instrumental values) ไดแ้ ก่ ทะเยอทะยาน (ambitious) ใจกวา้ ง (broad-minded) คว า ม สา ม า รถ ( capable) ส นุ กส นา นร่า เริง ( cheerful) ส ะ อา ด (clean) กล้า (courageous) สร้างสรรค์ (imaginative) อิสระเสรี (independent) มี สติปั ญญา (intellectual “ค่านิยมจุดหมาย ค่านิยมท่ีเป็ นเป้ าหมายในการดาเนินชีวิตเรียกว่า ปลายทาง”(terminal values)ไดแ้ ก่ ชีวิตทสี่ ะดวกสบาย (a comfortable life) ความรูส้ ึกว่า ประสบความสาเร็จ (a sense of accomplishment) โลกทมี่ ีสนั ติสุข(a world of peace) ความมนั ่ คงของชาติ (national security) ความสงบสุขทางใจ(pleasure) ความภาคภูมิใจ ในตนเอง(self–respect) การไดร้ บั การยกยอ่ งในสงั คม(social recognition)

ความขดั แยง้ เชิงค่านิยม (Value Conflict) ความขัดแยง้ เชิงค่านิยม คือ แนวทางการดาเนิน Karl Heinrich Marx ชีวิต อุดมการณ์ ศาสนาท่ีแตกตา่ งกนั หรอื สภาพสังคมที่ไม่ สอดคลอ้ งกบั ระบบค่านิยมของกลมุ่ หรือสงั คม ปั ญ ห า สั ง ค ม เ กิ ด จ า ก ค ว า ม ขั ด แ ย้ง เ ชิ ง คา่ นิยม สภาพการณข์ องความขดั แยง้ ข้ ึนอยู่กบั ประเภท แ ล ะ ช นิ ด ข อ ง ก า ร แ ข่ ง ขั น แ ล ะ ก า ร ติ ด ต่ อ กั น ข อ ง ก ลุ่ ม ตา่ งๆ ความขดั แยง้ เชิงค่านิยมมกั จะทาใหม้ ีการแบ่งกล่มุ ออกเป็ นฝักเป็ นฝ่ ายและทาใหแ้ ต่ละกลุ่มประกาศค่านิยม ของตนชดั เจนข้ ึนดว้ ย แนวทางการแกไ้ ขน้ันอาจทาไดท้ ้งั การใชอ้ านาจลว้ นๆการต่อรองแลกเปล่ียนและการหาทาง ตกลงแบ่งปันสิ่งมีค่าระหว่างกนั

ทฤษฎีโครงสรา้ งค่านิยม Structure of Values Shalom H. Schwartz สวอร์ตซ เป็ นนักจิตวิทยาชาวอิสราเอลและนักวิจัยขา้ ม วฒั นธรรม เป็ นเจา้ ของหนงั สือท่ีชื่อว่า Theory of basic human values

โครงสรา้ งของค่านิยม ประกอบดว้ ย ค่านิยมที่สาคญั 10 ประการ ซ่ึงคาดว่า แก่นของค่านิยมท่ีอาจเป็ นสากล ไดแ้ ก่ ประการแรก ความเป็ นตวั ของตวั เอง (Self-direction) เป็ นคา่ นิยมของบุคคลที่ แสดงถึงความเป็ นอิสระทางความคิด และการกระทา ประการที่สอง ความกลา้ ทา้ ทาย (Stimulation) เป็ นค่านิยมเก่ียวกบั ความเส่ียง ความตนื่ เตน้ ทา้ ทาย ประการที่สาม ความสุข (Hedonism) เป็ นค่านิยมของบุคคลที่จะแสวงหา ความสุข สนุกสนานใหแ้ ก่ตนเอง ประการท่ีส่ี ความใฝ่ สมั ฤทธ์ิ (Achievement) เป็ นค่านิยมเก่ียวกบั ความสาเร็จ ในการกระทา ประการท่ีหา้ ความใฝ่ อานาจ (Power) เป็ นค่านิยมเก่ียวกบั สถานภาพทาง สงั คม ความมีอภิสิทธิ์ และความสามารถในการควบคมุ บุคคลหรือ ทรพั ยากร

ประการที่หก ความปลอดภัย (Security) เป็ นค่านิยมท่ีแสดงถึง ความเป็ นอยู่ร่วมกันอย่างสงบ มีความมัน่ คงและมีสมั พันธภาพ อนั ดี ประการที่เจ็ด ความคลอ้ ยตาม (Conformity) เป็ นสิ่งที่บุคคลเห็น ความสาคญั ว่าจะตอ้ งทาตามท่ผี อู้ ืน่ หรอื สงั คมเห็นชอบ ประการท่ีแปด การทาตามแบบแผนขนบธรรมเนียมประเพณีและ ศาสนา (Tradition) ซ่ึงไดร้ บั การถ่ายทอดมาจากครอบครวั หรือ ชุมชน ประการที่เกา้ ความเป็ นกัลยาณมิตร (Benevolence) ซ่ึงบุคคลเห็น ความสาคญั ในการช่วยเหลอื เก้ ือกูลบุคคลใกลช้ ิดตน ประการที่สิบ ความเป็ นสากล (Universalism) การที่บุคคลให้ ความสาคญั กับส่ิงท่ีแสดงถึงความอยู่ดีมีสุขของมวลมนุษย์ เช่น ความเสมอภาค ความยตุ ธิ รรม



ทฤษฎีกระจา่ งคา่ นิยม (Value Clarification Theory) Values clarification is a technique to help someone relate their feelings and increase their awareness of their own values. ทฤษฎีน้ ีมีสาระสาคญั คือ การทาค่านิยมใหก้ ระจา่ งน้นั คือกระบวนการท่ี Sidney Simon บุคคลสามารถเลือกค่านิยมโดยอาศัยความรูส้ ึกและการวิเคราะห์ พฤติกรรม ว่าจะเลอื กแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งใด เม่ืออยูใ่ นภาวะที่ตอ้ งเลือกและช่วยในการ บกาุคหคนลมดีว7่าขก้นั าตรอเนลือดกงั พน้ ีฤติกรรมเช่นน้ันมีเหตุผลหรือไม่ ความกระจ่างของ 1 บุคคลเลือกกระทาอยา่ งอิสรเสรีไม่มีการบงั คบั Merrill Harmin 2 บุคคลเลือกทางเลือกหลายๆทาง 3 บุคคลเลอื กจากการพจิ ารณาผลของทางเลือกแตล่ ะทางแลว้ 4 บุคคลมีความยนิ ดี และภมู ิใจในการเลือกกระทาสิ่งน้ัน 5 บุคคลยนื ยนั การตดั สินใจเลอื กของตนอยา่ งเปิ ดเผย 6 บุคคลกระทาตามทีต่ นตดั สินใจเลือก และชกั ชวนผอู้ ื่น เม่ือมีโอกาส 7 บุคคลกระทาพฤตกิ รรมน้นั เป็ นประจา แมน้ ว่าผอู้ ่ืนจะไม่กระทาตาม

คา่ นิยมในสงั คมไทย บูชาความดี ความมีน้าใจ ชอบความสนุกสนาน วตั ถุนิยม ความเป็ นเจา้ นาย รกั เกียรติ รกั ศกั ด์ิศรี แสวงหาอานาจ ความกตญั ญูกตเวที เชื่อโชคลาง ชอบความสนุกสนาน เชิดชูปรญิ ญา แสวงหาอานาจ ใจใหญ่ ใจนกั เลง เทิดทูนสถาบนั กษตั ริย์ บรโิ ภคนิยม กลา้ ไดก้ ลา้ เสีย ทาตามกระแสนิยม ชอบพนนั ขนั ตอ่ รกั อสิ ระ เนน้ ระบบอาวุโส เอ้ ือเฟ้ ื อเผอื่ แผ่ ยอมรบั ชะตาชีวิต บรโิ ภคนิยม ตดิ ศลั ยกรรม นิยมความหรูหรา

ค่านิยมไทย 12 ประการ 1. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ 7. เขา้ ใจเรียนรูก้ ารเป็ นประชาธิปไตย 2. ซื่อสตั ย์ เสียสละ อดทน 8. มีระเบียบ วินยั เคารพกฎหมาย ผูน้ อ้ ยรูจ้ กั การเคารพ 3. กตญั ญูตอ่ พ่อแม่ ผูป้ กครอง ครูบาอาจารย์ ผูใ้ หญ่ 9. มีสติรูต้ วั รูค้ ิด รูท้ า 4. ใฝ่ หาความรู้ หมนั ่ ศึกษาเล่าเรียนทง้ั ทางตรง และ 10. รูจ้ กั ดารงตนอยโู่ ดยใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ ทางออ้ ม พอเพียง 5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทย 11. มีความเขม้ แข็งท้งั รา่ งกาย และจติ ใจ ไม่ยอมแพต้ อ่ อานาจฝ่ ายตา่ 6. มีศีลธรรม รกั ษาความสตั ย์ 12. คานึงถึงผลประโยชนข์ องสว่ นรวมมากกวา่ ผลประโยชนข์ องตนเอง

กิจกรรมวิชาสงั คมศึกษา 1 วนั องั คารที่ 22 กนั ยายน 2557 คาช้ ีแจง: ใหน้ กั ศึกษาเลือกอธิบายหวั ขอ้ ที่กาหนดใหจ้ านวน 1 ขอ้ 1. ค่านิยมในสงั คมไทยในปัจจุบันน้ันถือว่ามีความหลากหลายและมีความ ซับซอ้ นมากย่ิงข้ ึน ซึ่งค่านิยมบางค่านิยมก็เกิดประโยชนต์ ่อตัวผูย้ ึดถือ ปฏิบตั ิและสงั คม แต่ก็มีบางค่านิยมที่ก่อผลเสียตอ่ สงั คม ในทศั นคติของ นักศึกษามีความคิดเห็นอย่างไรต่อค่านิยมในสังคมไทย จงยกตวั อย่าง คา่ นิยม 1 ตวั อยา่ งประกอบการอธิบาย (5 คะแนน) 2. พฤตกิ รรมความเป็ นพลเมืองของคนไทยในปัจจบุ นั เป็ นอยา่ งไร (4.5 คะแนน) 3. การสรา้ งพลเมืองที่ดีตามระบอบประชาธิปไตยทาไดอ้ ยา่ งไร (4 คะแนน)

ขอ้ มูลอา้ งอิง http://www.research.chula.ac.th/web/cu_online/2548/march13_2.htm (ออนไลน)์ งานวจิ ยั เรอ่ื ง “พลเมืองศกึ ษาของไทย : นโยบายและการปฏิบตั ิในโรงเรยี น” ศ.ดร.สมหวงั พธิ ิยานวุ ฒั น์ คณะครุ ศาสตร์ จฬุ าฯ http://social.obec.go.th/library/document/civic/civic01.pdf http://en.wikipedia.org/wiki/Citizenship http://www.oxforddictionaries.com/definition/english/citizen http://en.wikipedia.org/wiki/Social_value_orientations http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/snamcn/Narumon_Intachom/fulltext.pdf http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis/showthesis_th.asp?id=0000006370


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook