Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สถานการณ์ด้านแรงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส4/2562

สถานการณ์ด้านแรงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส4/2562

Published by labour sakaeo, 2020-01-28 22:52:04

Description: สถานการณ์ด้านแรงงานจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 4 ปี 2562

Search

Read the Text Version

สถานการณ์ด้านแรงงาน ไตรมาส ๔ ปี ๒๕๖๒ (ตลุ าคม – ธันวาคม ๒๕๖๒) สำนกั งำนแรงงำนจงั หวัดสระแก้ว. ศำลำกลำงจงั หวดั สระแกว้ ช้ัน ๒. ตำบลท่ำเกษม อำเภอเมืองสระแก้ว. จังหวัดสระแก้ว ๒๗๐๐๐. โทรศัพท์ : ๐๓๗-๔๒๕-๐๒๔ โทรสำร : ๐๓๗-๔๒๕-๐๒๕ สำนกั งำนแรงงำนจงั หวดั สระแก้ว เวบ็ ไซต์ www.sakaeo.mol.go.th



พระราชดารัสในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราชพธิ ฉี ลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๖๐ ปี ณ พระท่นี ง่ั อนนั ตสมาคม วนั ศุกรท์ ่ี ๙ มิถนุ ายน ๒๕๔๙ “...ประการแรก คือการท่ที ุกคนคดิ พดู ทา ด้วยความเมตตา มุ่งดี มุ่งเจรญิ ต่อกนั ประการที่สอง คือการที่แต่ละคนช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน ประสานงาน ประสานประโยชนก์ นั ใหง้ านท่ีทาสาเร็จผล ทั้งแกต่ น แกผ่ ้อู ื่น และแกป่ ระเทศชาติ ประการทีส่ าม คือการทท่ี กุ คน ประพฤติปฏบิ ตั ิตนอยู่ในความสจุ รติ ในกฎกตกิ า และในระเบียบแบบแผนโดยเท่าเทยี ม เสมอกนั ประการทส่ี ี่ คอื การที่ต่างคนตา่ งพยายามทาความคดิ ความเห็นของตนให้ถกู ต้อง เทีย่ งตรง และมนั่ คงอยู่ในเหตุในผล หากความคดิ จิตใจ และการประพฤติปฏบิ ตั ิ ท่ลี งรอยกนั ในทางท่ีดี ทเ่ี จรญิ น้ี ยังมพี รอ้ มมูลอยูใ่ นกายในใจของคนไทย ก็มั่นใจได้วา่ ประเทศชาติไทยจะดารงม่ันคงอยตู่ ลอดไปได.้ ..”

วิสัยทศั นก์ ระทรวงแรงงาน แรงงานมผี ลติ ภาพสงู มีความม่ันคงและมีคุณภาพชวี ติ ท่ดี ี วสิ ัยทัศนส์ านกั งานปลัดกระทรวงแรงงาน “เปน็ ศูนยก์ ลางบรหิ ารจดั การให้กาลังแรงงานมงี านทา มีศกั ยภาพ มหี ลักประกนั มคี ณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี” พันธกิจสานกั งานปลดั กระทรวงแรงงาน  การเพม่ิ ศกั ยภาพแรงงาน และผปู้ ระกอบการ ให้พรอ้ มรบั กับสถานการณท์ ่ี เปลี่ยนแปลง และให้สอดคล้องกับทศิ ทางการพฒั นาของประเทศ  คุ้มครองและสง่ เสริมใหแ้ รงงานมคี วามมั่นคงในการทางาน มีหลกั ประกนั และมีคณุ ภาพชวี ติ ที่ดี  พฒั นากระทรวง ให้เปน็ องค์กรธรรมาภิบาล  พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารอยา่ งบรู ณาการ เพอื่ การ บรหิ ารจดั การ และให้บริการอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ  ส่งเสรมิ ความร่วมมือดา้ นแรงงานระหว่างประเทศ

วิสัยทัศน์จงั หวัดสระแกว้ “เมืองชายแดนแหง่ ความสุข ถ่ินเกษตรปลอดภัย แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชงิ นิเวศและอารยธรรมโบราณ เขตเศรษฐกิจพิเศษสระแก้วมนั่ คง” คาขวญั ประจาจงั หวดั สระแกว้ ชายแดนเบ้ืองบูรพา ปา่ งามนา้ ตกสวย มากดว้ ยรอยอารยธรรมโบราณ ยา่ นการค้าไทย – เขมร คา่ นยิ มของจังหวดั สระแก้ว “ยึดมัน่ ความดีมศี ีลธรรม ทางานเป็นทีม มุ่งส่คู วามสาเรจ็ ” ตน้ ไม้ประจำจังหวัดสระแก้ว ไดแ้ ก่ มะขำมปอ้ ม ดอกไม้ประจำจงั หวดั สระแกว้ ได้แก่ ดอกแก้ว

คานา จังหวัดสระแก้ว โดยสำนักงำนแรงงำนจังหวัดสระแก้วได้จัดทำรำยงำนสถำนกำรณ์ แรงงำนจังหวัดสระแก้วขึ้นเป็นรำย 3 เดือน ปีละ 5 เล่ม (รำยปี 1 เล่ม) มีวัตถุประสงค์เพ่ือนำเสนอ ข้อมูลด้ำนเศรษฐกิจของจังหวัดสระแก้วท่ีเชื่อมโยงกับข้อมูลด้ำนแรงงำนอันมีส่วนสนับสนุนเศรษฐกิจของ จงั หวัด ซ่ึงประกอบด้วย ขอ้ มลู กำลงั แรงงำน กำรมงี ำนทำ แรงงำนต่ำงด้ำว กำรพัฒนำศักยภำพแรงงำน กำรคุ้มครองแรงงำนและสวัสดิกำร กำรประกันสังคมและอัตรำค่ำจ้ำงขั้นต่ำ รวมถึงข้อมูลตัวช้ีวัดภำวะ แรงงำน โดยมงุ่ หวงั เพ่ือเผยแพร่แก่หนว่ ยงำนรำชกำร ภำคเอกชน สถำบนั กำรศกึ ษำ และผู้ทสี่ นใจท่ัวไป รำยงำนสถำนกำรณ์แรงงำนจังหวัดสระแก้วฉบับน้ี เป็นรำยงำนข้อมูลของ ไตรมำสที่ 4 (ตุลำคม– ธันวำคม) โดยได้รับควำมร่วมมือสนับสนุนข้อมูลจำกหน่วยงำนรำชกำรต่ำงๆ ประกอบด้วย สำนักงำนสถิติจังหวัด สำนักงำนคลังจังหวัด สำนักงำนพำณิชย์จังหวัด สำนักงำนพัฒนำธุรกิจกำรค้ำ จังหวัด สำนักงำนอุตสำหกรรมจังหวัด รวมท้ังส่วนรำชกำรสังกัดกระทรวงแรงงำนในจังหวัดสระแก้ว ประกอบดว้ ย สำนักงำนจัดหำงำนจังหวัด สำนักงำนพัฒนำฝมี อื แรงงำนสระแก้ว สำนักงำนสวัสดิกำรและ คุ้มครองแรงงำนจังหวัด และสำนักงำนประกันสังคมจังหวัด ซึ่งข้อมูลท่ีได้รับผ่ำนกำรวิเครำะห์และ จดั ระบบใหส้ ำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันที จังหวัดสระแก้ว จึงขอขอบคุณทุกหน่วยงำนที่เก่ียวข้องมำ ณ โอกำสนี้ และหวังเป็น อย่ำงย่ิงว่ำรำยงำนสถำนกำรณ์แรงงำนจังหวัดสระแก้วที่สำนักงำนแรงงำนจังหวัดสระแก้วได้จัดทำข้ึน จะ เป็นประโยชน์ในเชิงวิชำกำร รวมท้ังกำรกำหนดนโยบำย หรือโครงกำรของส่วนรำชกำรในจังหวัดสระแก้ว ต่อไป

สารบัญ หนา้ เรือ่ ง 1 6 คานา 6 บทสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร 11 สภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดสระแกว้ 12 14 1. สภำพท่ัวไป 17 2. ภำวะเศรษฐกจิ และกำรคลงั 19 3. ด้ำนกำรคำ้ ชำยแดน 19 4. ดชั นีรำคำผู้บริโภค 19 5. กำรจดทะเบยี นนิตบิ คุ คลต้ังใหม่ 20 สถานการณ์แรงงานจงั หวดั สระแก้ว 25 1. กำลังแรงงำน กำรมีงำนทำ กำรว่ำงงำน 26 27 1.1 โครงสรำ้ งของกำลงั แรงงำน 27 1.2 ภำวะกำรมีงำนทำของประชำกร 32 1.3 ภำวะกำรว่ำงงำนของประชำกร 33 1.4 เปรยี บเทียบสถำนภำพแรงงำนไตรมำส 3/2562 และ ไตรมำส 4/2562 35 2. กำรส่งเสรมิ กำรมีงำนทำ 37 2.1 กำรจัดหำงำนในประเทศไทย 37 2.2 แรงงำนตำ่ งดำ้ ว 39 2.3 แรงงำนไทยในต่ำงประเทศ 41 3. กำรพฒั นำศักยภำพแรงงำน 42 4. กำรคมุ้ ครองแรงงำนและสวัสดกิ ำร 42 4.1 กำรตรวจแรงงำน 42 4.2 กำรประสบอนั ตรำย/เจบ็ ปว่ ยจำกกำรทำงำน 43 4.3 กำรแรงงำนสมั พนั ธ์ 44 4.4 กำรเลกิ จำ้ งแรงงำน 44 4.5 กำรสวัสดิกำรแรงงำน 45 5. กำรประกนั สงั คม 5.1 กำรใชบ้ ริกำรกองทุนประกันสังคม 5.2 กำรใชบ้ ริกำรกองทุนเงนิ ทดแทน 6. แรงงำนนอกระบบ 7. เขตพัฒนำเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสระแกว้

สารบญั หนา้ เรอื่ ง 46 47 อตั ราคา่ จ้างขน้ั ต่าของทุกจงั หวดั 47 ตวั ชว้ี ัดภาวะแรงงาน 48 49 1. อัตรำกำรมสี ว่ นรว่ มในกำลังแรงงำน 50 2. อตั รำกำรจำ้ งงำน 50 3. อัตรำกำรบรรจงุ ำน 51 4. อัตรำกำรว่ำงงำน 52 5. อตั รำกำรจำ้ งแรงงำนต่ำงดำ้ ว 53 6. อัตรำกำรไม่ปฏบิ ัติตำมขอ้ กฎหมำยของสถำนประกอบกำร 66 7. อตั รำกำรเกิดขอ้ พิพำทแรงงำน/ข้อขดั แย้ง ในสถำนประกอบกำร 67 ภาคผนวก หน่วยงานราชการในสงั กดั กระทรวงแรงงานจงั หวดั สระแกว้ คณะผจู้ ัดทา

บทสรุปสาหรบั ผบู้ ริหาร สถานการณ์ดา้ นเศรษฐกิจและแรงงาน ไตรมาส 4 ปี 2562 มีรายละเอียดสรุปได้ดงั น้ี สภาพเศรษฐกจิ ภาวะเศรสษถาฐนกกจิ ารณด์ า้ นเศรษฐกิจและสถานการณ์ด้านแรงงานในจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 4 ปี 2562 (ตุลาคม – ธันวาคม) รายละเอยี ดสรปุ ไดด้ ังน้ี สภาพทางเศรษฐกิจ ควำมเคลื่อนไหวดัชนีรำคำผู้บริโภคของจังหวัดสระแก้ว เดือนธันวำคม 2562 โดยสรุปกำร ประมวลผลดัชนีรำคำผู้บริโภคของประเทศ มีจำนวนรำยกำรสินค้ำปีฐำน 2558 ท้ังหมด 422 รำยกำร สำหรับจังหวัดสระแก้ว รำยกำรสนิ คำ้ และบรกิ ำร ท่ีคำนวณมีจำนวน 253 รำยกำร ครอบคลุมหมวดอำหำร และเคร่ืองดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ เครื่องนุ่งห่มและรองเท้ำ เคหสถำน กำรตรวจรักษำและบริกำรส่วนบุคคล พำหนะ กำรขนส่ง และกำรสื่อสำร กำรบันเทิงกำรอ่ำน กำรศึกษำ และกำรศำสนำ ยำสูบและเคร่ืองดื่มมี แอลกอฮอล์ เพ่อื นำมำคำนวณดัชนีรำคำผ้บู รโิ ภคทวั่ ไปของจงั หวัดสระแกว้ สรุปไดด้ งั นี้ - ดชั นรี าคาผบู้ รโิ ภคทวั่ ไปของประเทศ เดือน ธนั วาคม 2562 ดชั นรี ำคำผู้บรโิ ภคทัว่ ไปของประเทศเดอื นธนั วำคม 2562 (ปี 2558 ดชั นีรำคำผูบ้ รโิ ภคท่วั ไป ของ ประเทศ เทำ่ กบั 100) มีคำ่ เท่ำกับ 102.62 (เดอื นพฤศจกิ ำยน 2562 เท่ำกับ 102.61) - ดชั นรี าคาผู้บรโิ ภคทวั่ ไปของจังหวัดสระแก้ว เดอื น ธันวาคม 2562 ดัชนีรำคำผู้บริโภคทั่วไปของจังหวัดสระแก้ว เดือนธันวำคม 2562 (ปี 2558 ดัชนีรำคำผู้บริโภค ท่ัวไปของจงั หวัด เทำ่ กบั 100) มคี ่ำเท่ำกบั 103.50 (เดือนพฤศจิกำยน 2562 เท่ำกับ 103.50) - การเปล่ียนแปลงดัชนีราคาผู้บริโภคท่ัวไปของจังหวัดสระแก้ว เดือน ธันวาคม 2562 เม่ือเทียบกับ -- เดือน พฤศจกิ ำยน 2562 (MoM) ดัชนรี ำคำไม่เปล่ยี นแปลง -- เดือน ธนั วำคม 2561 (YoY) สงู ขน้ึ ร้อยละ 2.40 -- เทียบเฉลย่ี 3 เดือน (ตุลำคม – ธนั วำคม 2562) (AOA) กบั ระยะเดียวกันของปี 2562 สงู ข้ึนรอ้ ย ละ 1.40 รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแก้ว 1

สถานการณ์ดา้ นแรงงาน ประชำกรของจังหวดั สระแกว้ ระหว่ำงเดือน ตุลำคม-ธันวำคม 2562 ซึ่งเป็นค่ำประมำณกำรของ ไตรมำส 4/2562 (สำนักงำนสถิติจังหวัดสระแก้ว) พบว่ำจังหวัดสระแก้วมีผู้ที่มีอำยุ 15 ปีข้ึนไป 498,545 คน แยกเป็นผู้ท่ีอยู่ในกำลังแรงงำนรวม 331,546 คน คิดเป็นร้อยละ 66.5 และเป็นผู้ที่ไม่อยู่ในกำลังแรงงำน 166,999 คน คิดเป็นร้อยละ 33.5 อุตสาหกรรม เมื่อพิจำรณำถึงประเภทอุตสำหกรรมหรือลักษณะของกำรประกอบกิจกรรม ของผู้มีงำนทำในเชิงเศรษฐกิจ พบว่ำ มีผู้มีงำนทำนอกภำคเกษตรกรรมมำกกว่ำในภำคเกษตรกรรม คือ ร้อยละ 60.9,39.1 ตำมลำดับ ทัง้ น้ีผู้ที่ทำงำนนอกภำคเกษตรกรรมส่วนใหญ่ทำงำนในสำขำกำรขำยส่ง กำรขำย ปลีก ร้อยละ 19.2 รองลงมำคือสำขำกำรผลิตร้อยละ 11.9 ที่พักแรมและบริกำรด้ำนอำหำร ร้อยละ 7.2 กำรบริหำรรำชกำร ร้อยละ 5.6 การก่อสร้าง รอ้ ยละ 4.5 สถานภาพการทางาน ในจำนวนผมู้ ีงำนทำทงั้ ส้นิ ประมำณ 322,585 คน เม่ือพิจำรณำถึงสถำนภำพ กำรทำงำน ผลกำรสำรวจคร้ังนี้ พบว่ำ ลูกจ้ำงมีจำนวนมำกท่ีสุดประมำณ 120,837 คน ร้อยละ 37.4 ลูกจ้ำงเอกชนร้อยละ 27.0 และลูกจ้ำงรัฐบำลร้อยละ 10.4 ทำงำนส่วนตัวประมำณ 130,023 คน ร้อยละ 40.3 ชว่ ยธรุ กิจในครัวเรอื นประมำณ 59,129 คน รอ้ ยละ 18.3 นำยจำ้ งประมำณ 12,869 คน ร้อยละ 4.0 การว่างงาน ประชำกรของจังหวัดสระแก้วทว่ี ำ่ งงำนทั้งสิ้น 5,456 คน เปน็ ชำย 5,125 คน และ หญิง 331 คน คิดเปน็ อตั รำกำรวำ่ งงำนร้อยละ 2.1 และ 0.1 ตำมลำดบั สำหรับอัตรำกำรว่ำงงำนของประชำกรหมำยถึง สัดส่วนของผู้ว่ำงงำนต่อจำนวนประชำกรที่อยู่ใน กำลังแรงงำนรวม พบว่ำ ในไตรมำสนี้ จังหวัดสระแก้วมีอัตรำกำรว่ำงงำนท่ีลดลงจำกไตรมำส 3 คิดเป็น อัตรำกำรวำ่ งงำนรอ้ ยละ 1.1 ซง่ึ ถือว่ำค่อนข้ำงมำก แรงงานต่างดา้ ว จำนวนแรงงำนต่ำงดำ้ ว ในจงั หวดั สระแกว้ รวม 4,220 คน แยกเป็นกลมุ่ - เขำ้ มำทำงำนอย่ำงถกู ตอ้ งตำมกฎหมำย ณ เดือนธันวำคม 2562 มีจำนวนท้ังส้ิน 244 คน ซึ่งส่วน ใหญ่เป็นแรงงำนท่ีอนุญำตให้เข้ำมำอยู่ช่ัวครำว (พ.ร.ก.กำรบริหำรจัดกำรกำรทำงำนของคนต่ำงด้ำว ปี 2560 หมวด 4 มำตรำ 59) จำนวน 225 คน อนุญำตให้เข้ำมำทำงำนในรำชอำณำจักรตำมกฎหมำยว่ำด้วย กำรส่งเสริมกำรลงทุน (พ.ร.ก.กำรบริหำรจัดกำรกำรทำงำนของคนต่ำงด้ำว ปี 2560 หมวด 4 มำตรำ 62) จำนวน 1 คน (พ.ร.ก.กำรบริหำรจดั กำรกำรทำงำนของคนต่ำงดำ้ ว ปี 2560 หมวด 4 มำตรำ 63/1) จำนวน 18 คน - จำนวนแรงงำนต่ำงด้ำวที่ได้รับอนุญำตให้ทำงำนในจังหวัดสระแก้ว ข้อมูล ณ วันท่ี 25 เดือน ธนั วำคม 2562 ประเภทแรงงำนตำ่ งดำ้ ว ประเภทสัญชำติอืน่ และประเภท 3 สัญชำติ คือ เมียนมำ ลำว กัมพูชำ 1.) กลุ่มนำเข้ำ (MOU) มีจำนวนทั้งส้ิน 1,192 คน เมียนมำ มีจำนวน 198 คน ลำว จำนวน 197 คน กัมพูชำ จำนวน 797 คน นำยจ้ำง 345 คน 2.) กลุ่มพิสูจน์สัญชำติ มีจำนวนทั้งสิ้น 2,917 คนเมียนมำ จำนวน 261 คน ลำว จำนวน 60 คน กมั พูชำ จำนวน 2,596 คน นำยจ้ำง 1,155 คน 3.) กลุ่มท่ีใช้บัตรผ่ำน แดน (Border Pass) มีจำนวนทั้งสิ้น 13,020 คน กัมพูชำ จำนวน 13,020 คน นำยจ้ำง 3,793 คน และ สญั ชำตอิ ื่น คอื 1.) กลุ่มคนต่ำงด้ำวท่ัวไป มีจำนวนท้ังสิ้น 212 คน นำยจ้ำง 54 คน 2.) กลุ่มคนต่ำงด้ำวเข้ำ มำตำม BOI จำนวนท้ังส้ิน 1 คน นำยจ้ำง 1 คน 3.) กลุ่มบุคคลพ้ืนที่สูง มีจำนวนทั้งสิ้น 18 คน นำยจ้ำง 16 คน รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว 2

แรงงานไทยในต่างประเทศ แรงงำนไทยที่ลงทะเบยี นไปทำงำนตำ่ งประเทศในไตรมำสน้ี มีผู้แจ้ง ควำมประสงค์ไปทำงำนต่ำงประเทศ ส่วนใหญ่เป็นผู้มีกำรศึกษำระดับประถมศึกษำมีจำนวน 21 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 43.75 ในสว่ นของแรงงำนท่ไี ด้รับขออนุมัติให้ไปทำงำนต่ำงประเทศไตรมำส 4 ปี 2562 มีจำนวนท้ังสิ้น 32 คน และหำกพจิ ำรณำตำมวิธกี ำรเดินทำงพบว่ำ สว่ นใหญ่เปน็ ประเภทไปโดยประเภท Re-Entry คอื กลบั ไปทำงำนอีก ครั้งหน่งึ โดยกำรต่ออำยสุ ญั ญำ 29 คน รอ้ ยละ 90.62 รองลงมำคอื เดินทำงดว้ ยตนเองมี 3 คน ร้อยละ 9.37 การพัฒนาศักยภาพแรงงาน ไตรมำส 4 ปี 2562 กำรฝึกยกระดับฝีมือแรงงำน รับกำรฝึก 206 คน ผ่ำน 191 คน กลุ่มอำชีพที่พบว่ำมีกำรฝึก คือธุรกิจและบริกำร รับกำรฝึก 90 คน ผ่ำน 78 คน ช่ำง ไฟฟ้ำ รับกำรฝึก 50 คน ผ่ำน 48 คน ช่ำงอุตสำหกำร รับกำรฝึก 60 คน ผ่ำน 60 คน ช่ำงกล รับกำรฝึก 73 คน ผ่ำน 66 คน ช่ำงกล 46 ผ่ำน 45 คน กำรทดสอบมำตรฐำนฝีมือแรงงำน รับกำรฝึก 30 คน ผู้ผ่ำน กำรฝกึ 26 คน กลุม่ อำชีพท่พี บว่ำมีกำรฝึก คือช่ำงไฟฟ้ำ รับกำรฝึก 30 คน ผ่ำน 26 คน กำรฝึกอำชีพเสริม รับกำรฝึก 20 คน ผ่ำน 20 คน กลุ่มอำชีพที่พบว่ำมีกำรฝึก อุตสำหกรรมศิลป์ รับกำรฝึก 20 คน ผ่ำน 20 คน การคุ้มครองแรงงาน สำหรับในไตรมำส 4 ปี 2562 สำนักงำนสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำน จงั หวัดสระแกว้ ได้ดำเนนิ กำรตรวจสถำนประกอบกำรท้ังสิ้น 20 แห่ง มีลูกจ้ำงที่ผ่ำนกำรตรวจหรือได้รับกำร คมุ้ ครองรวม 290 คน จำแนกเป็นชำย 177 คน (ร้อยละ 61.03 ของลูกจ้ำงที่ตรวจท้ังหมด) หญิง 109 คน (ร้อย ละ 37.59 ของลูกจำ้ งทีต่ รวจทั้งหมด) ซงึ่ สถำนประกอบกำรที่ตรวจเป็นสถำนประกอบกำรขนำด 1- 4 คน (8 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 40 สถำนประกอบกำรขนำด 5-9 คน (2 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 10 สถำนประกอบกำรขนำด 10- 19 คน (5 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 25 สถำนประกอบกำรขนำด 50-99 คน (4 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 20 สถำน ประกอบกำรขนำด 100-299 คน (1 แหง่ ) คิดเป็นร้อยละ 2.04 การตรวจความปลอดภัยในการทางาน ในไตรมำสที่ 4 ปี 2562 สำนักงำนสวัสดิกำรและคุ้มครอง แรงงำนจังหวัดสระแก้ว ได้ดำเนินกำรตรวจควำมปลอดภัยในสถำนประกอบกำรทั้งสิ้น 6 แห่ง ลูกจ้ำงท่ีผ่ำน กำรตรวจทงั้ สิ้น 118 คน โดยในไตรมำส 4 น้ี มีกำรตรวจสถำนประกอบกำรน้อยกว่ำไตรมำส 3 (ไตรมำส ตรวจ 15 แห่ง) การประสบอันตราย/เจ็บป่วยจากการทางาน ในรอบไตรมำส 4 ปี 2562 พบว่ำกำรประสบ อันตรำยหรือเจ็บป่วยเนื่องมำจำกกำรทำงำน มีทั้งส้ิน 33 คน โดยส่วนใหญ่เป็นกำรประสบอันตรำยหรือ เจบ็ ป่วยในสถำนประกอบกำรทมี่ ลี กู จำ้ ง 201-500 มจี ำนวน 9 คน รองลงมำคอื ขนำด 21-50, 1000ขึ้นไป มี จำนวนอย่ำงละ 6 คน 1-10 คน จำนวน 4 คน 11-20, 501-1000 คน มีจำนวนอย่ำงละ 3 คน 51-100 ,101-200 คน จำนวนอยำ่ งละ 1 คน การเลิกจ้างแรงงาน สำนักงำนประกันสังคมจังหวัดสระแก้ว รำยงำนสถำนกำรณ์เลิกจ้ำง ไตรมำส 3 ปี 2562 มีสถำนประกอบกำรทเี่ ลิกกจิ กำรจำนวน 22 แหง่ ลูกจ้ำงถูกเลกิ จำ้ ง 188 คน การสวัสดิการ ในไตรมำส 4 ปี 2562 ได้ดำเนินกำรส่งเสริมให้สถำนประกอบกำรจัดสวัสดิกำร ในรูปแบบต่ำง ๆ แก่ลกู จำ้ งหรอื ผใู้ ช้แรงงำน ดังน้ี 1) ส่งเสริมสวัสดิกำรเพื่อแรงงำน ครอบครัว และ สังคม จำนวน 16 แห่ง ลูกจ้ำงท่ีได้รับกำรส่งเสริม 192 คน 2) รณรงค์ประชำสัมพันธ์กำรป้องกันและ แก้ไขปัญหำยำเสพติด จำนวน 19 แห่ง ลูกจ้ำงที่ได้รับกำรส่งเสริม 636 คน 3) กำกับให้มีกำรจัดต้ัง คณะกรรมกำรสวัสดกิ ำรใน สปก. จำนวน 7 แหง่ รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวดั สระแก้ว 3

การประกันสังคม ภำรกิจด้ำนกำรประกันสังคมเป็นอีกภำรกิจท่ีกระทรวง โดยสำนักงำน ประกนั สงั คมจังหวัดสระแก้ว มีหน้ำที่ต้องดูแลผู้ใช้แรงงำน เพ่ือให้มีคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้นและมีหลักประกัน ชีวิตท่ีมั่นคงเม่ือยำมแก่ชรำอีกด้วย ข้อมูล ณ เดือนธันวำคม 2562 พบว่ำมีสถำนประกอบกำรที่ข้ึน ทะเบียนประกันสังคมทั้งสิ้น 1,524 แห่ง มีผู้ประกันตนท้ังส้ิน 22,072 คน โดยส่วนใหญ่เป็นสถำน ประกอบกำรขนำดลูกจ้ำง 1 - 4 คน คอื มจี ำนวน 812 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 53.74 กองทุนประกันสังคม ในช่วงไตรมำส 4 ปี 2562 จำนวนกำรใช้บริกำรของกองทุนประกันสังคม พิจำรณำตำมประเภทของประโยชน์ทดแทน ซ่ึงมี 8 กรณี ได้แก่ เจ็บป่วย ทันตกรรม คลอดบุตร ทุพลภำพ ตำย สงเครำะห์บตุ ร ชรำภำพ และว่ำงงำน พบว่ำ จำนวนผู้ใช้บริกำรมีท้ังสิ้น 23,750 รำย คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้ประกันตนท้ังหมด สำหรับประเภทประโยชน์ทดแทนท่ีผู้ประกันตนใช้บริกำรสูงสุดในไตรมำสนี้ได้แก่ สงเครำะหบ์ ุตร มีผปู้ ระกนั ตนใช้บรกิ ำร 16,834 รำย คิดเปน็ ร้อยละ 64.13 ของผู้ใช้บริกำรทั้งหมดรองลงมำได้แก่ ว่ำงงำน 1,923 รำย คิดเปน็ รอ้ ยละ 7.3 หำกพิจำรณำตำมปริมำณกำรจ่ำยเงินประโยชน์ทดแทน จะพบว่ำมีกำรจ่ำยเงินท้ังสิ้น 57,907,269.47 บำท โดยกรณีชรำภำพ มีกำรจ่ำยเงินสูงสุดถึง 21,445,137.72 บำท คิดเป็นร้อยละ 36.10 ของเงินประโยชน์ทดแทนที่จ่ำย รองลงมำคือสงเครำะห์บุตร จ่ำยเงินประโยชน์ทดแทน 10,738,800.0 บำท รอ้ ยละ 18 โดยมีรายละเอียดดังนี้ การใช้บริการของกองทุนประกันสังคมจังหวัดสระแก้วจาแนกตาม ประเภทประโยชน์ทดแทน (ไม่เนื่องจากการทางาน) เปรียบเทียบไตรมาส 3 ปี 2562 (กรกฎาคม- กันยายน 2562) และไตรมาส 4 ปี 2562 (ตลุ าคม-ธนั วาคม 2562) ประเภทประโยชน์ทดแทน ไตรมาส 3 ลา้ นบาท ไตรมาส 4 ลา้ นบาท ราย ราย 1. เจบ็ ปว่ ย 342 1,501,030.20 731 2,787,838.95 2. ทันตกรรม 1,503 925,970.50 1,417 912,542.50 3. คลอดบุตร 668 12,083,024.50 552 10,266,614.50 4. ทุพพลภำพ 499 1,525,045.90 322 1,292,377.10 5. ตำย 51 3,086,405.20 57 3,788,338.90 6. สงเครำะหบ์ ตุ ร 18,193 11,575,200.00 16,834 10,738,800.00 7. ชรำภำพ 2,281 19,048,416.89 1,914 21,445,137.72 8. ว่ำงงำน 2,711 9,658,481.15 1,923 6,675,619.80 รวม 26,248 59,403,574.34 23,750 57,907,269.47 รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแกว้ 4

โครงสรำ้ งกำลังแรงงำนจังหวดั สระแกว้ (ไตรมำส 4 ปี 2562) แรงงำนนอกระบบ ภำคเกษตรทกุ สำข จานวนประชากรจงั หวดั สระแก้ว หรืออำชีพอสิ ระ แ 635,929 คน -จำนวนผู้ประกนั ต ผู้อยู่ในวัยทางาน จำนวนสถำนประก (อายุ 15 ปขี นึ้ ไป) - สถำน - ผ้ปู ระ 498,545 คน กำรจดั หำงำนของร กาลงั แรงงานรวม ผไู้ ม่อยใู่ นกาลงั แรงงาน นำยจำ้ ง/ สปก. แจ 331,546 คน 166,999 คน มีผู้สมคั รงำน มกี ำรบรรจุงำน ผู้รอฤดกู าล ทางานบา้ น 3,232 คน 59,999 คน แรงงำนไทยที่ลงทะ จำแนกตำมระดับก กาลงั แรงงานปัจจบุ นั เรียนหนังสอื - ประถมศึกษำ 328,314 คน 25,350 คน - มธั ยมศกึ ษำ - ปวช. / ปวส. / อ ผู้วา่ งงาน ผ้มู งี านทา อ่นื ๆ - ปริญญำตรี 5,456 คน 322,858 คน 81,650 คน แรงงำนไทยไปทำง การขายส่งฯ 61,970 คน -นำยจำ้ งพำไปฝกึ ง การผลติ 38,545 คน -ประเภทต่ออำยุสญั -เดินทำงด้วยตนเอ ภาคการเกษตร นอกภาคการเกษตร การกอ่ สรา้ ง 14,513 คน 126,213 คน 196,645 คน ที่พกั แรม 23,280 คน แรงงำนต่ำงด้ำว รว - กลุ่มเข้ำเมืองถกู ต เปรยี บเทียบอตั รำกำรวำ่ งงำนในจังหวดั สระแก้ว การบรหิ ารราชการ 18,072 คน - กลมุ่ แรงงำนต่ำง กจิ กรรมบรกิ าร 5,523 คน ณ วันท่ี 25 ธนั วำ ไตรมาส ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 1 แรงงำนกมั พูชำ 1 1.43 1.6 1.9 การศกึ ษา 9,545 คน 2 แรงงำนลำว 2 3.45 2.64 1.9 การขนส่ง 5,151 คน 3 แรงงำนพมำ่ 3 2.64 1.3 1.25 จา้ งงานในครวั เรอื น 1,392 คน 4 0.73 2.37 1.1 ศิลปะ บนั เทงิ 5,649 คน กำรพัฒนำทกั ษะฝ งานดา้ นสขุ ภาพ 3,876 คน 1. กำรฝกึ เตรยี มเข *อตั รำกำรวำ่ งงำน = ผูว้ ่ำงงำน x 100 อสังหาริมทรพั ย์ 84 คน กจิ กรรมทางวชิ าชีพ 3,289 คน 2. กำรฝกึ ยกระดับ ผอู้ ย่ใู นกำลงั แรงงำน การไฟฟา้ 856 คน การบริหาร 18,072 คน 3. กำรทดสอบมำต กิจการทางการเงิน 692 คน 4. กำรฝกึ อำชพี เส ที่มำ : สำนกั งำนสถิติจังหวัดสระแก้ว เหมอื งแร่ 1,058 คน 5 การจัดหานา้ 1,619 คน ข้อมูลข่าวสาร 259 คน รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแกว้

ข้อมูลดำ้ นแรงงำนจังหวดั สระแกว้ ไตรมำส 4 ปี 2562 บ คอื แรงงำนนอกสถำนประกอบกำร ได้แก่ ลกู จ้ำง กำรคมุ้ ครองแรงงำน 20 แห่ง ลกู จ้ำง 290 คน ขำ ผู้รบั จำ้ งท่ัวไป ลกู จ้ำงตำมฤดกู ำล ผมู้ ีอำชพี สว่ นตัว 6 แห่ง ลกู จ้ำง 118 คน 1. ตรวจคุ้มครอง และผรู้ บั งำนไปทำทบ่ี ำ้ น เป็นตน้ 2. ตรวจควำมปลอดภัย ตน (แรงงำนนอกระบบ) ม.40 35,041 คน กำรประกนั สงั คม กอบกำรและลกู จำ้ ง (ผปู้ ระกนั ตน มำตรำ 33 และ 39) 1. จำนวนผรู้ ับบรกิ ำร 23,750 คน 33 คน นประกอบกำร จำนวน 1,524 แหง่ - จำกกองทนุ ประกันสงั คม - จำกกองทนุ เงนิ ทดแทน ะกนั ตน จำนวน 22,072 คน 2. สิทธิประโยชนท์ จ่ี ่ำย ประเภทประโยชน์ทดแทน รัฐ 324 ตำแหนง่ 1. เจ็บปว่ ย ราย ล้านบาท จง้ ตำแหน่ง-งำนว่ำง 2. ทนั ตกรรม 731 2,787,838.95 161 คน 3. คลอดบุตร 1,417 912,542.50 329 อัตรำ 4. ทพุ พลภำพ 552 10,266,614.50 5. ตำย 322 1,292,377.10 ะเบยี นแจง้ ควำมประสงคเ์ ดินทำงไปทำงำนต่ำงประเทศ 6. สงเครำะหบ์ ตุ ร 57 3,788,338.90 กำรศกึ ษำ 7. ชรำภำพ 16,834 10,738,800.00 8. ว่ำงงำน 1,914 21,445,137.72 จำนวน 0 คน รวม 1,923 6,675,619.80 จำนวน 2 คน 23,750 57,907,269.47 อนปุ รญิ ญำ จำนวน 0 คน จำนวน 0 คน งำนตำ่ งประเทศ 0 คน 3. กำรประสบอนั ตรำยจำแนกตำมควำมร้ำยแรงต่อลกู จำ้ ง 1,000 รำย งำน จำนวน 49 คน 4/2561 1/2562 2/2562 3/2562 4/2562 ญญำ (Re-Entry) จำนวน 14 38 19 28 33 อง จำนวน 1 คน วม 4,220 คน เครือขา่ ยแรงงาน 1. จำนวนอำสำสมคั รแรงงำน 59 คน ระดบั หมูบ่ ำ้ น 259 คน ต้องตำมกฎหมำย 244 คน 2. จำนวนหมูบ่ ้ำน/ตำบลทมี่ แี ผนงำนด้ำนแรงงำน 59 แหง่ งด้ำวทก่ี ล่มุ นำเขำ้ (MOU) 3. จำนวนศนู ยบ์ รกิ ำรรว่ มกระทรวงแรงงำน 2 จุด ำคม 2562 มอี ยู่ในงำนทะเบียน 1,192 คน ค่าจา้ งขั้นต่า (ใช้บงั คับตงั้ แต่วนั ท่ี 1 เมษำยน 2561) 797 คน จังหวัดสระแกว้ 315 บำท/วัน 197 คน 198 คน ฝมี ือ 36 คน * คำ่ จ้ำงข้ันตำ่ เปน็ อตั รำสำหรบั แรงงำนที่มวี ฒุ ิไม่เกนิ ชน้ั ม.6 ขำ้ ทำงำน 206 คน ทง้ั ทเ่ี พ่งิ จบกำรศกึ ษำหรอื จบมำหลำยปีแลว้ แตย่ ังไมเ่ คยทำงำน บฝีมอื แรงงำน หรอื ทำมำแลว้ ซึ่งเมื่อรวมระยะเวลำกำรทำงำนกบั งำนทท่ี ำ 30 คน อยูใ่ นปจั จบุ ันแลว้ ไมเ่ กนิ 1 ปี ตรฐำนฝมี อื แรงงำน 20 คน สรมิ

1. สภาพทั่วไป จังหวัดสระแก้ว มีที่มำจำกช่ือสระน้ำโบรำณในพื้นท่ีอำเภอเมืองสระแก้ว ซ่ึงมีอยู่ 2 สระ ในสมัย ธนบุรี ประมำณ ปี พ.ศ.2323 พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช เมื่อครั้งทรงเป็นสมเด็จ เจ้ำพระยำมหำกษัตริย์ศึก เป็นแม่ทัพยกไปตีที่ประเทศเขมร (รำชอำณำจักรกัมพูชำ) ได้แวะพักบริเวณ สระแก้วทั้งสองแห่งนี้ กองทัพได้อำศัยน้ำจำกสระใช้สอย จึงได้ขนำนนำมสระท้ังสองน้ีว่ำ \" สระแก้วสระ ขวญั \" และได้นำนำ้ จำกสระท้งั สองแห่งนีใ้ ชใ้ นกำรประกอบพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยำ โดยถือว่ำเป็นน้ำศักด์ิสิทธ์ิ สระแก้ว เดิมมีฐำนะเป็นตำบล ซึ่งสมัยก่อนได้ต้ังเป็นด่ำนสำหรับตรวจคนและสินค้ำเข้ำออก มีข้ำรำชกำร ตำแหนง่ นำยกอง ทำหนำ้ ที่เป็นนำยด่ำน จนถงึ ปี พ.ศ.2452 ทำงรำชกำรจงึ ได้ยกฐำนะขึ้นเป็นก่ิงอำเภอ ช่ือ วำ่ \" กงิ่ อำเภอสระแกว้ \" ขึ้นอยู่ในกำรปกครองของอำเภอกบินทร์ โดยใช้ช่ือสระน้ำเป็นช่ือกิ่งอำเภอ ข้ึนอยู่ ในกำรปกครองของจังหวัดปรำจีนบุรี และต่อมำเม่ือวันที่ 1 ธันวำคม 2536 ได้มีพระรำชบัญญัติจัดต้ัง จังหวัดสระแก้วข้ึน ประกำศในพระรำชกิจจำนุเบกษำ ฉบับพิเศษ เล่มที่ 110 ตอนที่ 125 ลงวันท่ี 2 กันยำยน 2536 เป็นผล ให้จังหวัดสระแก้วได้เปิดทำกำรในวันที่ 1 ธันวำคม 2536 โดยเป็นจังหวัดที่ 74 ของประเทศไทย มีเน้ือท่ีทั้งหมด 7,219.717 ตำรำงกิโลเมตร หรือ 4,496,962 ไร่ แบ่งเขตกำรปกครอง ออกเป็น 9 อำเภอ 58 ตำบล 731 หมู่บ้ำน 1 องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด 16 เทศบำล ( 3 เทศบำลเมือง 13 เทศบำลตำบล ) และ 49 องค์กำรบริหำรส่วนตำบล มีประชำกรทั้งส้ิน 562,460 คน เป็นชำย 281,680 คน หญิง 280,780 (ข้อมูล ณ 31 มีนำคม 2561) จังหวัดสระแก้วตั้งอยู่ภำคตะวันออกของ ประเทศไทย ระหว่ำงละตจิ ูดที่ 13 องศำ 14 ลิปดำ ถงึ 14 องศำ 11 ลปิ ดำเหนือ และลองติจูดท่ี 101 องศำ 51 ลปิ ดำ 56 ลิปดำตะวนั ออก ห่ำงจำกกรงุ เทพมหำนครโดยทำงรถยนต์ 236 กโิ ลเมตร ด้ำนทิศตะวันออกของจังหวัดสระแก้วมีอำณำเขตติดต่อกับรำชอำณำจักรกัมพูชำ เป็นระยะทำง 165 กิโลเมตร ใน 4 อำเภอ คือ อำเภออรญั ประเทศ อำเภอคลองหำด อำเภอตำพระยำ และอำเภอโคกสูง มีจดุ ผ่ำนแดนที่สำคัญ 4 จุด คือจุดผ่ำนแดนถำวร 1 แห่ง และจุดผ่อนปรนกำรค้ำ 3 แห่ง มีตลำดโรงเกลือ ซ่งึ เปน็ แหลง่ สินค้ำมอื สองทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ ในภูมภิ ำค สำมำรถสรำ้ งรำยไดใ้ ห้กบั จงั หวดั ปลี ะหลำยพนั ลำ้ นบำท นอกจำกน้ี ยังมีแหล่งท่องเที่ยวตำมธรรมชำติที่มีช่ือเสียงคือ อุทยำนแห่งชำติปำงสีดำ อุทยำน แห่งชำติตำพระยำ ซ่ึงได้รับกำรประกำศให้เป็นส่วนหน่ึงของมรดกโลก ละลุ เข่ือนพระปรง ถ้ำเพชรโพธิ์ ทอง และน้ำตกเขำตระกรุบ เปน็ ตน้ พืน้ ทท่ี ำกำรเกษตร 2,340,093 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 52 ของพื้นที่ทั้งหมด พืชเศรษฐกิจหลัก ได้แก่ ข้ำวนำปี ข้ำวโพด มันสำปะหลัง อ้อย ยูคำลิปตัส พืชผักและผลไม้ สำหรับผลไม้ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ แคน ตำลูป ชมพู่ มะม่วง มะละกอ ลำไย กระท้อน เงำะ เป็นต้น สตั ว์เศรษฐกิจ ได้แก่ โคเนื้อ ซ่ึงมีกำรเลี้ยงมำกที่สุดที่ อำเภออรัญประเทศ อำเภอตำพระยำ และอำเภอวัฒนำนคร โคนม เล้ียงมำกท่ีสุดท่ีอำเภอวังน้ำเย็น และอำเภอ วงั สมบรู ณ์ นอกจำกนยี้ งั มีกำรเล้ียงไก่ เปด็ สกุ ร กระบือ และแพะ เป็นตน้ รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแก้ว 6

อาณาเขตติดต่อ ตดิ ต่อกับ อำเภอครบุรี จังหวัดนครรำชสีมำ ทศิ เหนอื และอำเภอละหำนทรำย จงั หวัดบุรีรัมย์ ตดิ ต่อกับ อำเภอสอยดำว จงั หวัดจนั ทบุรี ทิศใต้ ติดตอ่ กับ รำชอำณำจักรกัมพูชำ ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกับ อำเภอกบนิ ทร์บุรี อำเภอนำดี จังหวัดปรำจีนบรุ ี ทิศตะวนั ตก และอำเภอสนำมชัยเขต จังหวดั ฉะเชงิ เทรำ วสิ ัยทัศน์จังหวัดสระแก้ว “เมืองชายแดนแหง่ ความสขุ ถิ่นเกษตรปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและอารยธรรมโบราณ เขต เศรษฐกจิ พิเศษสระแก้วมั่นคง” พนั ธกจิ (Mission) 1. ปฏบิ ัติภำรกจิ ตำมทกี่ ฎหมำยกำหนดใหบ้ รรลุผลตำมหลกั กำรบริหำรจัดกำรบ้ำนเมืองท่ดี ี เพื่อประโยชนส์ ขุ ของประชำชน 2. พัฒนำกำรเกษตรใหม้ ีประสทิ ธภิ ำพ เปน็ แหล่งผลติ สินค้ำกำรเกษตร โดยกำรเพ่ิมผลผลิต ทำงกำรเกษตร กำรแปรรปู กำรพฒั นำคุณภำพ และส่งเสริมเกษตรปลอดภยั 3. พัฒนำกำรท่องเท่ียวให้มีคุณภำพ ปลอดภัย อำนวยควำมสะดวก และสร้ำงรำยได้ให้แก่ประชำชน ในพ้นื ท่ี 4. พัฒนำด้ำนเศรษฐกิจ กำรค้ำ สังคมและส่ิงแวดล้อม ในกำรรองรับกำรเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ สระแกว้ 5. รักษำควำมมัน่ คงและแกไ้ ขปัญหำภยั คุกคำมในพนื้ ทชี่ ำยแดนและเขตเศรษฐกจิ พิเศษ รวมทัง้ สรำ้ งควำมสมั พันธ์อนั ดกี บั ประเทศเพือ่ นบ้ำน 6. ปรับสมดุลและเพ่ิมประสทิ ธิภำพกำรบริหำรจดั กำรภำครัฐ ประเด็นยุทธศาสตร์จงั หวดั สระแกว้ (Strategic Issue) ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 เสริมสร้ำงกระบวนกำรเรยี นร้แู ละสภำพแวดล้อมของประชำชนให้ สำมำรถปรบั ตัว ประกอบอำชีพและมีสภำพแวดล้อมและคุณภำพชีวิตทด่ี ี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรบั ปรงุ ปัจจัยและกระบวนกำรผลติ สนิ คำ้ เกษตรปลอดภัยให้ได้คุณภำพ มำตรฐำนสำกล ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว ให้มีควำมปลอดภัย และปรับปรุงสิ่งอำนวยควำม สะดวกเสริมสรำ้ งสภำพแวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ต่อกำรเป็นแหลง่ ท่องเท่ยี วเชงิ นเิ วศและเชื่อมโยงอำรยธรรมโบรำณ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 เพ่ิมประสิทธิภำพระบบโครงสร้ำงพ้ืนฐำน กำรส่งเสริมกำรค้ำ กำร ลงทุน พัฒนำเศรษฐกิจ กำรบริหำรจัดกำรด้ำนสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับกำรพัฒนำเขตเศรษฐกิจ พิเศษสระแก้ว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 เสรมิ สร้ำงควำมมน่ั คงเพอ่ื กำรพัฒนำพ้ืนทจ่ี งั หวดั ชำยแดน รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแกว้ 7

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ชว้ี ดั ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 เสริมสร้ำงกระบวนกำรเรยี นรู้และสภำพแวดล้อมของประชำชนใหส้ ำมำรถ ปรับตัว ประกอบอำชีพและมีสภำพแวดล้อมและคุณภำพชีวติ ที่ดี เปา้ ประสงค์ : 1. เปน็ เมืองแห่งควำมสุข ประชำชนเปน็ คนดี มสี ุขภำพที่ดี รำยได้ดี และสงิ่ แวดลอ้ มดี 2. ประชำชนมีคณุ ภำพชีวิตที่ดี ยดึ ดำรงชีวติ ตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. ประชำชนได้รับบริกำรที่ดี และมีควำมพึ่งพอใจในกำรบริกำร กลยุทธ์ : 9 กลยทุ ธ์ 1. ส่งเสรมิ กำรดำรงชวี ิตของประชำชนตำมหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. เสรมิ สร้ำงควำมเข้มแขง็ ใหส้ ถำบันครอบครัวและชุมชน กำรประพฤติตนตำมหลักศำสนำ 3. มอี นำมยั สิ่งแวดลอ้ มและสุขภำวะทดี่ ี รวมทงั้ กำรป้องกนั และปรำบปรำมยำเสพติด 4. ส่งเสริมอำชพี รำยได้ กำรมีงำนทำและมีสวสั ดิกำร 5. พฒั นำระบบโครงสร้ำงพน้ื ฐำนใหม้ ีควำมสมบรู ณ์ เพ่อื ใหป้ ระชำชนมรี ำยได้และคุณภำพชวี ิตดขี นึ้ 6. สง่ เสรมิ กำรอนุรกั ษ์และพัฒนำคุณภำพสงิ่ แวดลอ้ มโดยกำรมีสว่ นร่วมของชมุ ชน 7. ยกระดับมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ทั้งในและนอกระบบ 8. ส่งเสรมิ และพัฒนำโครงกำรตำมแนวพระรำชดำริ 9. เพม่ิ ประสทิ ธิภำพกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐในกำรบริหำรและใหบ้ รกิ ำรประชำชน ตวั ช้วี ดั : ร้อยละที่ลดลงต่อปีของจำนวนครัวเรอื นยำกจนท่ีมรี ำยได้ตำกว่ำเกณฑ์ จปฐ. กำหนด (รอ้ ยละ 50) ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ปรับปรุงปจั จัยและกระบวนกำรผลติ สินคำ้ เกษตรปลอดภัยให้ไดค้ ุณภำพ มำตรฐำนสำกล เป้าประสงค์ : 1. เปน็ แหลง่ ผลิตสินคำ้ เกษตรปลอดภัยท่ีได้มำตรฐำนสำกล 2. เปน็ แหล่งผลิตสนิ ค้ำกำรเกษตรปลอดภัยท่มี ีคณุ ภำพเปน็ ท่ีต้องกำรของตลำด ท้ังใน ประเทศ และตำ่ งประเทศ กลยุทธ์ : 7 กลยทุ ธ์ 1. พฒั นำแหล่งน้ำ และระบบชลประทำน ตลอดจนฟ้ืนฟู และปรับปรงุ ดนิ ใหม้ คี วำมอดุ มสมบูรณ์ เพม่ิ ขึน้ 2. สง่ เสริมอตุ สำหกรรมกำรแปรรปู และบรรจภุ ณั ฑ์เพอ่ื เพ่ิมมลู ค่ำ 3. พฒั นำคณุ ภำพผลผลิตใหป้ ลอดภัยไดม้ ำตรฐำนสำกล 4. สรำ้ งมูลคำ่ เพิ่มของสินคำ้ เกษตร โดยกำรสนับสนนุ กำรวจิ ัยและพัฒนำเทคโนโลยใี นกำรปรับปรงุ คุณภำพ ชนดิ และรำคำของสินค้ำเกษตรใหม้ ีมลู ค่ำเพิ่มขน้ึ รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแกว้ 8

5. ยกระดับมำตรฐำนกำรผลิตสินคำ้ เกษตรสมู่ ำตรฐำนสำกล ดว้ ยกำรถำ่ ยทอดควำมรแู้ ก่เกษตรกร เพื่อปรบั ปรุงปจั จยั กำรผลิตให้มปี ระสทิ ธภิ ำพ เชน่ กำรผลติ ปุย๋ อนิ ทรยี ์ กำรจดั หำพนั ธุ์พชื และสัตว์ ทดี่ ี เพ่ือลดกำรใช้สำรเคมี 6. สง่ เสรมิ ระบบกำรปลูกพชื ปศุสตั ว์ และประมงท่ีปลอดภัย เช่น เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตร ผสมผสำน 7. สง่ เสริมกำรประชำสัมพันธ์และกำรตลำดเกษตรปลอดภัย ท้ังในประเทศและตำ่ งประเทศ ตวั ช้ีวดั : ร้อยละของเกษตรกรท่ีไดร้ บั กำรรับรอง GAP (ร้อยละ 60) คา่ เป้าหมาย : พ.ศ.2561-2564 หนว่ ยนับ ร้อยละ 60 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ฟื้นฟูแหล่งท่องเทย่ี ว ใหม้ ีควำมปลอดภยั และปรบั ปรุงสิ่งอำนวยควำมสะดวก เสริมสร้ำงสภำพแวดล้อมใหเ้ อ้ือต่อกำรเป็นแหลง่ ท่องเทยี่ วเชงิ นิเวศและเชอ่ื มโยงอำรยธรรมโบรำณ เป้าประสงค์ : 1. เปน็ แหล่งทอ่ งเทีย่ วเชิงนเิ วศท่มี คี วำมอดุ มสมบรู ณ์ มีควำมหลำกหลำยทำง ชวี ภำพ 2. เป็นแหล่งเรียนรเู้ ชิงประวตั ศิ ำสตร์ท่ีเชอื่ มโยงอำรยธรรมโบรำณและกำร อนรุ ักษ์ ศลิ ปวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญำทอ้ งถนิ่ 3. เปน็ แหล่งทอ่ งเท่ยี วท่มี ีควำมสะดวก สะอำด และปลอดภัยรวมท้ังเพมิ่ ทำงเลือกในกำรทอ่ งเทยี่ วเชิงสขุ ภำพ กลยุทธ์ : 7 กลยุทธ์ 1. พัฒนำสง่ิ อำนวยควำมสะดวกและบริกำรด้ำนกำรท่องเทีย่ วใหเ้ พียงพอและได้มำตรฐำนปลอดภัย ถกู สุขลักษณะ ในรำคำทเี่ หมำะสม ยตุ ิธรรมให้กบั นักท่องเที่ยว 2. ส่งเสรมิ เครือข่ำยภำคประชำชนให้เข้ำมำมสี ่วนร่วมด้ำนกำรทอ่ งเท่ยี วและสร้ำงเครือข่ำยเชือ่ มโยง กำรทอ่ งเทีย่ ว ทงั้ ในและตำ่ งประเทศ 3. พัฒนำศักยภำพแหล่งทอ่ งเท่ยี วด้วยกำรฟน้ื ฟแู ละจัดระเบยี บให้คงสภำพกำรเปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี ว ทีส่ วยงำมและหลำกหลำยโดยเฉพำะด้ำนวฒั นธรรมและประวัติศำสตร์ 4. พัฒนำระบบฐำนขอ้ มูลสำรสนเทศด้ำนกำรท่องเท่ียว 5. ประชำสัมพนั ธเ์ ชิงรกุ เพ่ือส่งเสรมิ กำรท่องเทย่ี ว 6. สง่ เสริมพฒั นำบุคลำกรด้ำนกำรท่องเท่ยี วและผปู้ ระกอบกำรธรุ กิจดำ้ นกำรท่องเทยี่ ว 7. พัฒนำกิจกรรมและรูปแบบกำรท่องเทย่ี วใหห้ ลำกหลำย เพ่ือเพ่ิมทำงเลือกในกำรท่องเทยี่ ว โดยเฉพำะกำรแพทย์แผนไทยและกำรเชื่อมโยงกับอำรยธรรมโบรำณ ตวั ชี้วดั : ร้อยละทเี่ พิ่มขน้ึ ต่อปขี องรำยไดจ้ ำกกำรท่องเที่ยว (ร้อยละ 2) ค่าเปา้ หมาย : พ.ศ.2561-2564 หนว่ ยนบั รอ้ ยละ 2 รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแก้ว 9

ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 4 เพ่มิ ประสทิ ธภิ ำพระบบโครงสรำ้ งพื้นฐำน กำรส่งเสรมิ กำรค้ำ กำรลงทนุ พัฒนำ เศรษฐกิจ กำรบริหำรจัดกำรดำ้ นสงั คมและสงิ่ แวดล้อม เพื่อรองรบั กำรพัฒนำเขตเศรษฐกิจพิเศษสระแกว้ เปา้ ประสงค์ : 1. สร้ำงบรรยำกำศกำรค้ำ กำรลงทนุ และกำรประกอบกิจกำร ในเขตเศรษฐกิจ พิเศษสระแกว้ 2. พัฒนำโรงงำนอุตสำหกรรมในนิคมอุตสำหกรรม เขตเศรษฐกิจพเิ ศษสระแกว้ ให้เปน็ อตุ สำหกรรมเชงิ นิเวศ กลยุทธ์ : 7 กลยุทธ์ 1. พัฒนำโครงสร้ำงพน้ื ฐำนเพื่อรองรับกำรลงทนุ กำรจรำจร และกำรขนส่งสนิ ค้ำในกำรเป็นเขต เศรษฐกจิ พิเศษสระแกว้ ทั้งกำรกอ่ สร้ำงและขยำยช่องทำงถนนและระบบรำงเชอ่ื มโยงกับจงั หวดั ใกล้เคยี ง และประเทศเพอ่ื นบ้ำน 2. สง่ เสรมิ และสร้ำงบรรยำกำศในกำรคำ้ กำรลงทนุ และชักจูงให้ผู้ประกอบกำร นกั ลงทุน มำดำเนนิ กจิ กำรในเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษสระแกว้ 3. อำนวยควำมสะดวกดำ้ นกำรค้ำชำยแดน พิธกี ำรศุลกำกร กำรตรวจคนเข้ำเมือง กำรสรำ้ งคลงั สินค้ำ และกำรอนุญำตให้ใชแ้ รงงำนตำ่ งด้ำว โดยดำเนินกำรให้ได้มำตรฐำนเปน็ สำกล มปี ระสทิ ธภิ ำพ ประหยดั รวดเรว็ มคี ณุ ภำพ ลดขนั้ ตอน และทันเวลำยกระดับมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ท้ังในและนอก ระบบ 4. พฒั นำระบบกำรใหบ้ ริกำรสุขภำพและกำรศึกษำ ผลติ และพฒั นำฝีมือแรงงำนของบุคลำกรให้ตรง ตำมตลำดแรงงำนส่งเสรมิ อำชีพ รำยได้ กำรมีงำนทำ และมีสวัสดิกำร 5. เตรียมกำรรองรบั กบั กำรเปล่ียนแปลงในกำรดำรงชีวิต กำรประกอบอำชีพกำรอยู่อำศัย กำรพัฒนำ คุณภำพชีวิตท่จี ะเกิดในเขตเศรษฐกจิ พิเศษสระแกว้ 6. พัฒนำระบบฐำนขอ้ มลู ด้ำนโครงสรำ้ งพืน้ ฐำน ผังเมือง กำรค้ำ กำรลงทนุ แรงงำน สำธำรณสขุ และ สง่ิ แวดลอ้ มในเขตเศรษฐกิจพิเศษสระแกว้ รวมทัง้ กำรจัดตั้งศูนย์บริกำรเบ็ดเสร็จ (One Stop Service - OSS) 7. เตรยี มกำรรองรบั กำรตั้งนิคมอุตสำหกรรมในเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษสระแกว้ ใหเ้ ปน็ อุตสำหกรรมเชิง นเิ วศ ตัวชวี้ ดั : ร้อยละทีเ่ พิ่มขึน้ ต่อปีของมูลค้ำกำรคำ้ ชำยแดน (รอ้ ยละ 3) ค่าเป้าหมาย : พ.ศ.2561-2564 หนว่ ยนับ ร้อยละ 3 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 เสรมิ สรำ้ งควำมม่นั คงเพ่ือกำรพัฒนำพ้ืนทจ่ี ังหวัดชำยแดน เป้าประสงค์ : 1. สร้ำงควำมมั่นคงปลอดภยั จำกภัยคกุ คำมให้กับประชำชนในพน้ื ที่จงั หวัด ชำยแดน 2. มคี วำมสัมพนั ธท์ ดี่ ีกับประเทศเพื่อนบ้ำน 3. คนและชมุ ชนมจี ิตสำนึกในด้ำนควำมมัน่ คง 4. มีระบบฐำนข้อมลู ดำ้ นควำมม่ันคง รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ 10

กลยทุ ธ์ : 4 กลยุทธ์ 1. เสรมิ สร้ำงควำมม่นั คงปลอดภยั จำกภยั คกุ คำมในพน้ื ท่ีจงั หวัดชำยแดน 2. เสรมิ สร้ำงควำมสมั พนั ธ์ท่ีดีในระดบั ท้องถนิ่ กบั ประเทศเพื่อนบำ้ น 3. เสรมิ สร้ำงคนและชมุ ชนให้มจี ติ สำนกึ รตู้ ระหนักในด้ำนควำมมนั่ คง 4. พัฒนำระบบฐำนข้อมูลด้ำนควำมม่นั คง ใหม้ คี วำมครบถ้วนสมบรู ณ์สำมำรถใช้งำนไดท้ ันที และเชอ่ื มโยงกบั ฐำนข้อมูลของหน่วยงำนต่ำง ๆ ตัวชีว้ ัด : จำนวนกำรแกไ้ ขปัญหำควำมม่ันคงจำกภัยคกุ ควำมตำ่ งๆ อยำ่ งน้อย 2 เร่อื ง จำก 14 เร่ือง ค่าเปา้ หมาย : พ.ศ.2561-2564 หน่วยนับ 2 เรือ่ ง คาขวัญประจาจังหวดั สระแกว้ ชายแดนเบ้อื งบรู พา ป่างามน้าตกสวย มากด้วยรอยอารยธรรมโบราณ ย่านการค้าไทย – เขมร ตน้ ไม้ประจำจงั หวดั สระแกว้ ได้แก่ มะขำมปอ้ ม ดอกไมป้ ระจำจงั หวัดสระแก้ว ได้แก่ ดอกแกว้ จังหวดั สระแก้ว มีโครงกำรพระรำชดำริหลำยโครงกำร เชน่ โครงกำรพฒั นำที่รำบเชิงเขำ จังหวัด สระแก้ว - จังหวัดปรำจีนบุรี ตำมพระรำชดำริของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ต้ังอยู่ในเขตพ้ืนท่ีอำเภอ เมืองและอำเภอวฒั นำนคร โครงกำรพัฒนำพ้นื ท่ปี ่ำรอยต่อ 5 จังหวัด ตำมพระรำชดำริของสมเด็จพระนำง เจ้ำพระบรมรำชนิ นี ำถ โครงกำรทับทมิ สยำม 02 ทับทมิ สยำม 03 ทับทิมสยำม 05 และทับทิมสยำม 08 ใน พระรำชดำริของ สมเด็จพระเจ้ำลูกเธอเจ้ำฟ้ำจุฬำภรณ์วลัยลักษณ์อัครรำชกุมำรี ในพื้นที่อำเภอคลองหำด อำเภอตำพระยำ และอำเภอโคกสูง และสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ได้มีพระรำช ดำรัสให้มีกำรตั้งโรงเรียนฝึกกระบือขึ้น เรียกว่ำ “ โรงเรียนกาสรกสิวิทย์ ” ต้ังอยู่ตำบลศำลำลำดวน อำเภอเมืองสระแก้ว นอกจำกน้ันมหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรจน์ยังได้จัดต้ัง “โพธิวิชชาลัย” ข้ึนในท้องที่ ตำบลหนองหมำกฝ้ำย อำเภอวัฒนำนคร เปิดสอนระดับปริญญำตรีตำมแนวทำงมหำวิชชำลัยปูทะเลย์ ใน พระรำชนิพนธ์พระมหำชนก 2. ภาวะเศรษฐกจิ และการคลงั ภำวะเศรษฐกิจของจังหวัดสระแก้ว เดือนกันยำยน 2562 จำกสถิติข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวม ปี 2559 จังหวัดสระแก้วมีมูลค่ำ ผลิตภัณฑ์มวลรวมเท่ำกับ 40,325 ล้ำนบำท เพ่ิมขึ้นจำก 37,747 ล้ำน บำท ในปีท่ีผ่ำนมำ คิดเป็นล้ำดับที่ 8 ของภำคตะวันออก และเป็นลำดับที่ 62 ของประเทศ ผลิตภัณฑ์มวล รวมจังหวัดต่อหัว ( Gross ProvincialProduct per Capita) ปี 2559 เท่ำกับ 65,669 บำทต่อปี เพ่ิมข้ึน จำก 62,447 บำท ในปีที่ผ่ำนมำ รำยได้ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับภำคกำรเกษตร คิดจำกมูลค่ำเท่ำกับ 10,328 ล้ำนบำท คิดเป็นร้อยละ 25.61 รองลงมำเป็นสำขำกำรผลิตอุตสำหกรรมมีมูลค่ำเท่ำกับ 7,260 ล้ำนบำท คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.0 สำขำกำรค้ำส่ง-ปลีก มีมูลค่ำเท่ำกับ 5,757 ล้ำนบำท คิดเป็นร้อยละ 14.27 และสำขำ อ่ืนๆ (สำขำกำรบริหำรรำชกำรและกำรป้องกันประเทศ สำขำกำรศึกษำ สำขำบริกำรด้ำนอสังหำริมทรัพย์ ฯลฯ) มีมลู คำ่ เท่ำกบั 16,980 ล้ำนบำท คิดเป็นรอ้ ยละ 42.1 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ 11

ภำวะเศรษฐกิจของจังหวัดสระแก้ว เดือนกันยำยน 2562 หดตัว เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่ ผ่ำนมำ ด้านอุปสงค์ ภำยในจังหวัดคำดว่ำมี แนวโน้ม จะขยำยตัวในอัตรำร้อยละ 6.5 ต่อปี ( ช่วงคำดกำรณ์ที่ ร้อยละ 4.7 ถึง 8.0 ต่อปี ปรับลดลงจำกประมำณกำรไว้ เม่ือเดือนมิถุนำยน 2562 ที่จะขยำยตัวในอัตรำร้อยละ 6.7 ต่อปี ) เน่ืองจำก กำรค้ำชำยแดน มี แนวโน้มจะขยำยตัวในอัตรำร้อยละ 11.6 ต่อปีจำกสถำนกำรณ์ มูลค่ำ กำรคำ้ ชำยแดนของจงั หวัด ในช่วงไตรมำสที่ ผ่ำนมำมผี ลในเชิงบวกคำดว่ำเศรษฐกิจจะดีขึ้นด้วยปัจจัยทำงกำรค้ำ ทมี่ ีมลู คำ่ กำรสง่ ออก เพ่ิมขน้ึ ได้แก่สนิ ค้ำในกลุ่มยำนยนตข์ นำดใหญ่น้ำมนั หล่อลื่นและอะไหล่ กลุ่มพลังงำนไฟฟ้ำ และอุปกรณไ์ ฟฟำ้ กล่มุ กำรเกษตร เช่น ปุ๋ยเคมี เมล็ดข้ำวโพด กลุ่มอุตสำหกรรมกำรกอ่ สร้ำง และกลุ่ม เครื่องดมื่ ชนิดต่ำงๆ เป็นต้น กำรใช้จ่ำยภำครัฐ คำดว่ำจะขยำยตัวในอัตรำร้อยละ 4.0 ต่อปี จำกรำยจ่ำยประจำท่ีคำดว่ำ ขยำยตัวในอัตรำร้อยละ 2.0 ต่อปี และรำยจ่ำยลงทุน คำดว่ำจะขยำยตัวในอัตรำร้อยละ 5.6 ต่อปี กำรลงทุน ภำคเอกชน คำดวำ่ จะขยำยตวั ในอัตรำร้อยละ 2.0 ตอ่ ปี จำกมำตรกำรภำครฐั ท่มี กี ำรสง่ เสรมิ กำรลงทุนในเรื่องกำร ยกเว้นกำรใช้ข้อบังคับกฎกระทรวงให้บังคับใช้ ผังเมืองรวมฯ และกำรผ่อนคลำยข้อกำหนดของกฎหมำยต่ำงๆ เพื่อส่งเสริมกำรลงทุนจำกภำคเอกชน กำรบริโภคภำคเอกชน คำดว่ำจะขยำยตัวในอัตรำร้อยละ 2.3 ต่อปี เกิด จำกควำมต้องกำรของผู้ บริโภคเพ่ิมขึ้นจำกภำวะเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มท่ีจะขยำยตัว ด้านอุปทาน มีแนวโน้มจะ ขยำยตัวในอัตรำร้อยละ 4.8 ต่อปี (ช่วงคำดกำรณ์ที่ร้อยละ 3.3-6.0 ต่อปี ปรับลดลงจำกท่ีประมำณกำรไว้ เม่ือ เดือนมถิ นุ ำยน 2562 ท่จี ะขยำยตัวในอัตรำร้อยละ 5.5 ต่อปี) จำกภำคบริกำร คำดว่ำจะขยำยตัวในอัตรำ ร้อยละ 2.7 ต่อปี เนื่องจำกรัฐบำลมีกำรส่งเสริมกำรท่องเท่ียวและ จัดกิจกรรมต่ำงๆ เพื่อสนับสนุนกำรท่องเท่ียวภำยใน จังหวัดให้มีจำนวนนักท่องเท่ียวเพ่ิมมำกขึ้น ภำคอุตสำหกรรม คำดว่ำจะขยำยตัวในอัตรำร้อยละ 10.5 ต่อปี เนื่องจำกนักลงทุนมีกำรลงทุนเพ่ิม และได้รับ กำรสนับสนุนจำกทำงภำครัฐในกำรผ่อนคลำยข้อจำกัดทำงด้ำน กฎหมำย รวมท้งั ขอ้ จำกัดในกำรจัดต้ังโรงงำนอุตสำหกรรมลดลง และมีโครงกำรสร้ำงนิคมอุตสำหกรรมเกิดข้ึนใน เขตจังหวัด ซ่ึงประกำศเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในขณะที่ ภำคเกษตรกรรม คำดว่ำจะหดตัวในอัตรำร้อยละ -2.4 ต่อปเี น่ืองจำกปริมำณน้ำไม่ เพียงพอตอ่ กำรเพำะปลูกโดยเฉพำะออ้ ยโรงงำนมปี รมิ ำณนำ้ หนกั ลดลง 3. ดา้ นการคา้ ชายแดน กำรค้ำชำยแดนของไทยด้ำนประเทศกัมพูชำ กำรนำเข้ำและส่งออกสินค้ำจะต้องผ่ำนพิธีกำร ศุลกำกรตำมจุดผ่ำนแดนถำวรบ้ำนคลองลึก จุดผ่ำนแดนถำวรแห่งที่ 2 บ้ำนเขำดิน-พนมได จ.พระตะบอง และจดุ ผำ่ นแดนกำรคำ้ ช่วั ครำวตำมจังหวัดชำยแดนไทย -กัมพูชำ อีก 2 จุด คือ 1. จุดผอ่ นปรนกำรค้ำบ้ำนหนองปรือ - มำลยั ระหวำ่ งอำเภออรญั ประเทศ กับอำเภอมำลัย จังหวัด บันเตียเมียนเจย 2. จุดผ่อนปรนกำรค้ำบ้ำนตำพระยำ - บึงตำกวน ระหว่ำงอำเภอตำพระยำ กับอำเภอทมอพวก จงั หวัดบันเตยี เมียนเจย สนิ คา้ สง่ ออกท่ีสาคัญ ได้แก่ เคร่ืองยนต์ อะไหล่รถยนต์/รถจักรยำนยนต์ ผ้ำพิมพ์/ผ้ำทอ ผ้ำถัก/ รถไถนำ/อะไหล่/โครงเครื่องมือใช้ในกำรเกษตร/อำหำรสัตว์/ปุ๋ย/เคมี/ยูเรีย/ชีวภำพ ยำงในยำงนอกรถทุก ชนดิ /รถยนต์/รถบรรทกุ ปนู ซีเมนต์ ฯลฯ สินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ เศษเหล็ก ถังแก๊ส/แท้งค์เปล่ำ/ไอโซแท้งค์ เศษอลูมิเนียม มนั สำปะหลังสด/ช้นิ /ผลติ ภัณฑ์ เศษทองแดงและข้ำวของทำด้วยทองแดง เศษตะกั่ว เศษกระดำษ อำหำร สนุ ัข เสอื้ ผำ้ สำเรจ็ รูป เคร่อื งนุ่งห่ม ถำ่ นไม้ ฯลฯ ข้อมูลแหลง่ ท่องเทย่ี วจงั หวดั สระแก้ว รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว 12

แหลง่ ท่องเที่ยวสำคญั ของจังหวัดสระแกว้ ได้แก่ ปรำสำทเขำน้อยสีชมพู อุทยำนแห่งชำติปำงสีดำ อทุ ยำนแหง่ ชำติตำพระยำ ปรำสำทสดก๊ กอ๊ กธม ละลุ ถำ้ เพชรโพธิท์ อง เขื่อนพระปรง อำ่ งเก็บนำ้ ท่ำกระบำก ถ้ำน้ำ สถำนีเพำะเล้ียงสัตว์ป่ำช่องกล่ำบน ตลำดโรงเกลือ ฯลฯ (สอบถำมข้อมูล ที่ศูนย์กำร ท่องเท่ียว และนันทนำกำร จังหวดั สระแกว้ ชน้ั 3 ศำลำกลำงจังหวัดสระแก้ว โทร 0-3742-5032) แหลง่ น้าสาคัญ คลองพระปรง คลองพระสะทึง ฝำยยำงบ้ำนท่ำช้ำง อ่ำงเก็บน้ำท่ำกระบำก อ่ำงเก็บน้ำคลอง สำมสิบ อ่ำงเก็บน้ำช่องกล่ำบน อ่ำงเก็บน้ำช่องกล่ำกลำง อ่ำงเก็บน้ำคลองทรำย อ่ำงเก็บน้ำคลองเกลือ อ่ำงเก็บน้ำห้วยชัน อ่ำงเก็บน้ำเขำรัง อ่ำงเก็บน้ำห้วยยำง อ่ำงเก็บน้ำห้วยตะเคียน อ่ำงเก็บน้ำเขำดิน อ่ำงเก็บน้ำพระปรง มีความจุรองรับน้าได้ประมาณ 217 ล้าน ลบ.ม. รวมอ่ำงเก็บน้ำขนำดกลำงและ ขนำดเล็กในควำมรับผิดชอบของโครงกำรชลประทำน รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ 13

ประเพณสี าคัญ * งำนประเพณีแห่พระบรมสำรีริกธำตุ และนมัสกำรหลวงพ่อขำว จัดขึ้นช่วงเดือนมกรำคมของ ทกุ ปี โดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อสมโภชและนมัสกำรองค์พระบรมสำรีริกธำตุท่ีอัญเชิญมำจำกประเทศศรีลังกำ และจัดให้มกี ำรนมสั กำรหลวงพอ่ ขำว ซ่ึงจังหวดั สระแกว้ ได้ประกำศใหเ้ ป็นศักด์สิ ทิ ธป์ิ ระจำจังหวัดสระแกว้ * งำนสืบสำนวัฒนธรรมเบื้องบูรพำและงำนกำชำด ในช่วงกลำงเดือนกุมภำพันธ์ของทุกปี โดยมี วตั ถุประสงค์เพือ่ เผยแพรศ่ ิลปวัฒนธรรม ประเพณีของทอ้ งถิ่นทม่ี เี อกลกั ษณ์เฉพำะ * ประเพณบี ำยศรีขวญั ข้ำว ในชว่ งเดอื น ม.ค.-ก.พ. ของทุกปี ที่ ต.เขำสำมสิบ อ.เขำฉกรรจ์ โดย มวี ัตถุประสงคเ์ พื่อบูชำพระแมโ่ พสพ หลงั จำกฤดกู ำลเกบ็ เกีย่ วข้ำวแลว้ * งำนวันชมพู่หวำน เมืองไม้ผล คนชำยแดน จัดข้ึนท่ีหน้ำอำเภอคลองหำด ในช่วงเดือนมีนำคม ของทกุ ปี โดยจดั ให้มีกำรแสดงพื้นบำ้ นและประกวดชมพ่หู วำน * ประเพณวี ันมำฆบูชำ เวียนเทยี นรอบปรำสำทสด๊กก๊อกธม จัดข้ึนในวันมำฆบูชำ (วันขึ้น 15 ค่ำ เดอื น 3) ท่บี ริเวณปรำสำทสด๊กก๊อกธม อำเภอโคกสูง โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่อื สง่ เสริมกำรจัดกิจกรรมเวียน เทียนเนื่องในวันมำฆบูชำที่ปรำสำทสด๊กก๊อกธม ให้เป็นประเพณีท้องถิ่น ประชำสัมพันธ์โบรำณสถำน เสรมิ สร้ำงกจิ กรรมกำรนำร่องกำรทอ่ งเทีย่ ว และส่งเสริมกำรเผยแพรพ่ ระบวรพุทธศำสนำ * งำนวันแคนตำลูปและของดีเมืองอรัญ จัดขึ้นที่สนำมหน้ำสถำนีรถไฟอำเภออรัญประเทศ ในช่วง เดือนเมษำยนของทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมผลิตผลทำงกำรเกษตร ซ่ึงเป็นช่วงที่แคนตำลูปเร่ิม ออกสตู่ ลำด * ประเพณีสงกรำนต์ จัดในเดือนเมษำยนของทุกปี โดยจัดในทุกพื้นที่ของจังหวัดสระแก้ว และ ในพ้นื ที่อำเภอคลองหำด ได้จัดงำนสงกรำนตเ์ ช่ือมควำมสมั พันธไ์ ทย-กัมพชู ำ บรเิ วณจดุ ผ่อนปรนบ้ำนเขำดิน ต.คลองหำด อ.คลองหำด * ประเพณีแห่เจ้ำพ่อพระปรง ทุกวันที่ 19 เมษำยนของทุกปี โดยจัดให้มีขบวนแห่อัญเชิญ และ สรงน้ำเจำ้ พ่อพระปรง * ประเพณีบุญบ้ังไฟ จัดขึ้นในรำวเดือนพฤษภำคมของทุกปี เพื่อเป็นกำรขอพรจำกส่ิงศักด์ิสิทธิ์ ให้ฝนตกถูกต้องตำมฤดูกำล ซ่ึงในจังหวัดสระแก้ว มีกำรจัดประเพณีบุญบ้ังไฟอยู่ในหลำยพ้ืนที่ อำทิ เชน่ หมู่ 12 ต.สระขวัญ อ.เมือง, ต.พระเพลิง อ.เขำฉกรรจ์, บ้ำนเขำเล่ือม ต.คลองหำด อ.คลองหำด, บ้ำน ซบั สมบูรณ์ ต.แซรอ์ อ อ.วฒั นำนคร, ต.ทัพรำช อ.ตำพระยำ เปน็ ตน้ * ประเพณที ำบุญวันสำรทเขมร จัดขนึ้ ในวันแรม 15 ค่ำ เดอื น 10 ของทุกปี ท่ีหมู่ 1 ต.ตำพระยำ อ.ตำพระยำ โดยเป็นกำรทำบุญเพ่ืออุทิศให้กับบรรพบุรุษ มีกำรนำอำหำรคำวหวำน จัดถวำยพระภิกษุ สงฆ์ตำมแบบไทยเชื้อสำยเขมร * ประเพณตี กั บำตรเทโวโรหนะ ในช่วงออกพรรษำของทุกปี จัดเป็นงำนบุญตักบำตรออกพรรษำท่ี ยิ่งใหญ่ โดยจดั ข้ึนที่วดั ถ้ำเขำฉกรรจ์ ต.เขำฉกรรจ์ อ.เขำฉกรรจ์, ปรำสำทเขำโลน้ ต.ทัพรำช อ.ตำพระยำ รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว 14

* ประเพณีแห่ปรำสำทผ้ึง จัดข้ึนในช่วงวนั ขน้ึ 15 ค่ำ เดอื น 11 บำ้ นกดุ ผือ หมู่ 4 ต.โนนหมำกมุ่น อำเภอโคกสงู และที่อำเภออรญั ประเทศ * ประเพณลี อยกระทง จดั ในวันขึน้ 15 คำ่ เดอื น 12 โดยจดั ทุกอำเภอในพน้ื ท่จี ังหวัดสระแกว้ * งำนศำลสมเด็จพระเจ้ำทรงธรรม – แม่ย่ำซอม จัดข้ึนในช่วงวันท่ี 9 - 10 ธันวำคม ของทุกปี ท่ี อำเภอคลองหำด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อบูชำและสักกำระสมเด็จพระเจ้ำทรงธรรม และศำลแม่ย่ำซอม ซ่ึง จดั ใหม้ กี ำรแสดงศิลปะพนื้ บ้ำนตำ่ ง ๆ 4. ดัชนรี าคาผู้บริโภค สำนักงำนพำณชิ ย์จงั หวัดสระแก้วร่วมกับกองสำรสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจกำรค้ำ สำนักนโยบำย และยุทธศำสตร์กำรค้ำ ขอรำยงำนควำมเคลื่อนไหวดัชนีรำคำผู้บริโภคของจังหวัดสระแก้ว เดือนธันวำคม 2562 โดยสรุปกำรประมวลผลดัชนีรำคำผู้บริโภคของประเทศ มีจำนวนรำยกำรสินค้ำปีฐำน 2558 ท้ังหมด 422 รำยกำร สำหรบั จงั หวัดสระแกว้ รำยกำรสนิ คำ้ และบริกำร ท่คี ำนวณมจี ำนวน 253 รำยกำร ครอบคลุม หมวดอำหำร และเครอื่ งด่ืมไมม่ แี อลกอฮอล์ เคร่ืองนุ่งหม่ และรองเท้ำ เคหสถำน กำรตรวจรักษำและบริกำร ส่วนบุคคล พำหนะ กำรขนส่ง และกำรสื่อสำร กำรบันเทิงกำรอ่ำน กำรศึกษำ และกำรศำสนำ ยำสูบและ เครือ่ งดื่มมีแอลกอฮอล์ เพ่อื นำมำคำนวณดัชนีรำคำผ้บู รโิ ภคทวั่ ไปของจงั หวัดสระแก้ว สรปุ ไดด้ งั นี้ 1. ดชั นรี าคาผู้บริโภคทวั่ ไปของประเทศ เดอื น ธนั วาคม 2562 ดัชนีรำคำผู้บริโภคท่ัวไปของประเทศเดือนธันวำคม ๒๕๖๒ (ปี ๒๕๕๘ ดัชนีรำคำผู้บริโภคทั่วไป ของประเทศ เท่ำกบั 100) มคี ่ำเท่ำกบั 102.62 (เดอื นพฤศจกิ ำยน 2562 เท่ำกับ 102.61) 2. ดัชนรี าคาผู้บริโภคทัว่ ไปของจังหวดั สระแก้ว เดือน ธนั วาคม 2562 ดัชนีรำคำผู้บริโภคท่วั ไปของจังหวัดสระแก้ว เดอื นธนั วำคม ๒๕๖๒ (ปี ๒๕๕๘ ดัชนีรำคำผู้บริโภค ท่วั ไปของจังหวัด เท่ำกับ 100) มคี ่ำเท่ำกบั 103.50 (เดือนพฤศจิกำยน 2562 เทำ่ กบั 103.50) 3. การเปล่ียนแปลงดัชนีราคาผู้บรโิ ภคทวั่ ไปของจังหวดั สระแก้ว เดือน ธันวาคม 2562 เทยี บ กบั 3.1 เดอื น พฤศจกิ ำยน 2552 (MoM) ดชั นรี ำคำไม่เปลีย่ นแปลง 3.2 เดอื น ธนั วำคม 2561 (YoY) สูงข้ึนร้อยละ ๒.๔๐ 3.3 เทียบเฉลี่ย 3 เดือน (ตลุ ำคม – ธันวำคม 2562) (AOA) กบั ระยะเดยี วกันของปี ๒๕๖๑ สูงขึ้นร้อย ละ ๑.40 4.ดัชนีราคาผ้บู รโิ ภคของจงั หวดั สระแกว้ เดือน ธนั วาคม 2562 เมอ่ื เทยี บกบั เดือนธันวำคม 2562 เทียบกับเดือนพฤศจิกำยน 2562 ดัชนีรำคำไม่เปลี่ยนแปลง แต่มีดัชนีรำคำ หมวดอำหำรและเคร่อื งด่ืมไมม่ แี อลกอฮอล์ ลดลงรอ้ ยละ 0.20 สว่ นดัชนีรำคำหมวดอื่น ๆ ไม่ใช่อำหำร และ เครอ่ื งดืม่ สงู ข้นึ รอ้ ยละ 0.20 ดงั นี้ 4.1 ดัชนีราคาหมวดอาหารและเคร่ืองด่ืมไม่มีแอลกอฮอล์ ลดลงร้อยละ 0.20 โดยมีดัชนีราคาสาคัญ ทปี่ รับลดลง ไดแ้ ก่ ผกั และผลไม้ (ผักบุ้ง กวำงตุ้ง ข้ึนฉ่ำย มะระจีน กะหล่ำดอก บวบ ผักคะน้ำ) ลดลงร้อยละ 2.30 ข้ำว แป้งและผลิตภัณฑ์จำกแป้ง (ข้ำวสำรเหนียว ข้ำวสำรเจ้ำ ) ลดลงร้อยละ 0.40 เนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำ รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแก้ว 15

(เนอื้ สุกร) ลดลงรอ้ ยละ 0.20 เครอ่ื งประกอบอำหำร (เครอื่ งปรุงรส น้ำปลำ) ลดลงรอ้ ยละ 0.10 ส่วนดัชนรี ำคำสำคัญ ท่ปี รบั สงู ขน้ึ ได้แก่ ไขแ่ ละผลิตภัณฑน์ ม (ไข่ไก)่ สงู ข้นึ ร้อยละ 2.40 4.2 ดัชนีราคาหมวดอ่ืน ๆ ไม่ใช่อาหาร และเครื่องด่ืม สูงขึ้นร้อยละ 0.20 โดยมีดัชนีราคา สาคัญ ทีป่ รบั สูงขน้ึ ได้แก่ หมวดพำหนะ กำรขนส่ง และกำรส่ือสำร (น้ำมันเชอ้ื เพลงิ ) สูงขน้ึ ร้อยละ 0.20 เทียบเดือนกอ่ นหนา้ ที่มำ : สำนกั ดชั นีเศรษฐกจิ กำรคำ้ 5. เทียบกับดัชนีราคาเดือนธันวาคม 2561 สูงขึ้นร้อยละ 2.40 จากการสูงขึ้นของดัชนีราคา หมวดอาหารและเคร่ืองดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ร้อยละ 6.20 โดยมีดัชนีราคาสาคัญที่ปรับสูงข้ึน ได้แก่ อำหำรบรโิ ภค-นอกบ้ำน สูงขึ้นร้อยละ 11.20 ไข่และผลิตภัณฑ์นม สูงข้ึนร้อยละ 6.60 ผักและผลไม้ สูงขึ้น ร้อยละ 6.30 อำหำรบริโภค-ในบ้ำน สูงข้ึนร้อยละ 5.90 เนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำ สูงข้ึนร้อยละ 4.60 ข้ำว แป้งและผลิตภัณฑ์จำกแป้ง สูงขึ้นร้อยละ 4.20 เคร่ืองประกอบอำหำร สูงขึ้นร้อยละ 2.30 และ เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 2.20 สำหรับดัชนีรำคำหมวดอ่ืน ๆ ไม่ใช่อำหำร และเคร่ืองดื่ม สูงขึน้ รอ้ ยละ 0.10 โดยมีดัชนีรำคำสำคัญที่ปรับสูงข้ึน ได้แก่ หมวดเคหสถำน สูงข้ึนร้อยละ 0.50 ส่วนดัชนี รำคำสำคัญท่ีปรับลดลง ได้แก่ หมวดกำรตรวจรักษำและบริกำรส่วนบุคคล ลดลงร้อยละ 0.40 หมวด พำหนะ กำรขนสง่ และกำรสื่อสำร ลดลงรอ้ ยละ 0.10 เทียบเดอื นเดยี วกนั กันปกี ่อน ท่มี ำ : สำนกั ดัชนเี ศรษฐกจิ กำรคำ้ 16 รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแกว้

6. เทียบเฉลี่ยดัชนีราคาเดือนมกราคม – ธันวาคม 2562 กับระยะเดียวกันของปี 2561 สูงข้ึนร้อยละ 1.40 จากการสูงขึ้นของดัชนีราคาหมวดอาหารและเครื่องด่ืมไม่มีแอลกอฮอล์ ร้อยละ 4.40 โดยมีดัชนีราคา สาคัญท่ีปรับสูงขึ้น ได้แก่ อำหำรบริโภค-นอกบ้ำน สูงขึ้นร้อยละ 6.10 ผักและผลไม้ สูงขึ้นร้อยละ 6.00 ข้ำว แป้งและผลิตภัณฑ์จำกแป้ง สูงขึ้นร้อยละ 5.10 ไข่และผลิตภัณฑ์นม สูงข้ึนร้อยละ 4.80 เน้ือสัตว์ เป็ดไก่ และ สัตว์น้ำ สูงข้ึนร้อยละ 4.10 อำหำรบริโภค-ในบ้ำน สูงขึ้นร้อยละ 2.70 เครื่องด่ืมไม่มีแอลกอฮอล์ สูงขึ้นร้อยละ 1.10 และเคร่ืองประกอบอำหำร สูงขึ้นร้อยละ 0.90 สำหรับดัชนีรำคำหมวดอ่ืน ๆ ไม่ใช่อำหำร และเคร่ืองดื่ม ลดลงร้อยละ 0.50 โดยมีดัชนีรำคำสำคัญท่ีปรับลดลง ได้แก่ หมวดพำหนะ กำรขนส่ง และกำรส่ือสำร ลดลงร้อย ละ 1.30 หมวดกำรตรวจรักษำและบริกำรสว่ นบุคคล ลดลงร้อยละ 0.20 ส่วนดัชนีรำคำสำคัญที่ปรับสูงข้ึน ได้แก่ หมวดเคหสถำน สูงขนึ้ ร้อยละ 0.50 หมวดกำรบนั เทิงกำรอ่ำน กำรศึกษำและกำรศำสนำ สูงขึ้นรอ้ ยละ 0.20 เทยี บเดือนกับระยะเดยี วกนั ปีก่อน ทม่ี ำ : สำนกั ดชั นีเศรษฐกิจกำรคำ้ 5. การจดทะเบียนนิตบิ คุ คลตั้งใหม่ ในไตรมำสท่ี 4 ปี 2562 จังหวัดสระแก้วมีกำรจดทะเบียนนิติบุคคลตั้งใหม่ทั้งส้ิน 45 รำย แบง่ เป็นบรษิ ทั จำกดั จำนวน 29 รำย ห้ำงหุ้นสว่ นจำกัด 16 รำย ห้ำงหุ้นส่วนสำมัญ 0 รำย อุตสำหกรรมท่ี มีกำรจดทะเบียนนิติบุคคลต้ังใหม่สูงที่สุด ได้แก่ 1) กำรขำยส่ง 14 รำย 2) กำรก่อสร้ำง จำนวน 7 รำย 3) เกษตรกรรม,บริกำรด้ำนอสังหำริมทรัพย์ จำนวนอย่ำงละ 6 รำย 4) กำรให้บริกำรชุมชน,กำรผลิต จำนวน อยำ่ งละ 3 รำย 5) กำรไฟฟำ้ โรงแรมและภตั ตำคำร อื่นๆ จำนวนละ 1 รำย เม่ือพิจำรณำทนุ จดทะเบียนของนิติบุคคลตงั้ ใหม่ พบว่ำมีทุนจดทะเบียนทั้งส้ิน 171,730,000 บำท แบ่งเป็น บริษัทจำกัดมที ุนจดทะเบยี นทั้งส้ิน 155,000,000 บำท ห้ำงหุ้นส่วนจำกัดมีทุนจดทะเบียนท้ังสิ้น 16,730,000 บำท ห้ำงหุ้นส่วนสำมัญทุนจดทะเบียน - บำท โดยอุตสำหกรรมท่ีมีทุนจดทะเบียนมำกท่ีสุด ไดแ้ ก่ กำรขำยสง่ กำรขำยปลีก มที ุนจดทะเบียนทัง้ ส้ิน 89,700,000 บำท รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว 17

ตาราง1 การจดทะเบียนของนิตบิ คุ คลตัง้ ใหมต่ ามหมวดธุรกจิ จังหวดั สระแก้วไตรมาส 4 ปี 2562 อุตสาหกรรม บริษัทจากัด หา้ งหุ้นส่วนจากดั ห้างหนุ้ สว่ นสามัญ รวม ราย ลา้ นบาท ราย ลา้ นบาท ราย ล้านบาท ราย ลา้ นบาท เกษตรกรรม กำรลำ่ สตั ว์ กำรปำ่ ไม้ 6 30,000,000 6 30,000,000 กำรผลิต 3 9,000,000 3 9,000,000 กำรไฟฟำ้ แก๊สและกำรประปำ 1 1,000,000 1 1,000,000 กำรก่อสร้ำง 4 8,000,000 3 2,500,000 7 10,500,000 8 87,000,000 6 2,700,000 14 89,700,000 กำรขำยส่ง กำรขำยปลีก กำรซ่อมแซม 1 5,000,000 1 5,000,000 ยำนยนต์ / จักรยำนยนต์ ของใช้สว่ น 1 5,000,000 2 5,500,000 3 10,500,000 บคุ คลและของใช้ในครัวเรอื น โรงแรมและภตั ตำคำร กำรขนสง่ สถำนท่เี กบ็ สนิ คำ้ และกำร คมนำคม ตัวกลำงทำงกำรเงิน บริกำรดำ้ นอสงั หำรมิ ทรัพย์ กำรใหเ้ ชำ่ 3 8,000,000 3 5,015,000 6 13,015,000 และบริกำรทำงธรุ กิจ กำรบริกำรดำ้ นสขุ ภำพ กำรศึกษำ กำรให้บริกำรชมุ ชน สงั คม 3 3,000,000 3 3,000,000 อ่ืนๆ 1 15,000 1 15,000 รวม 29 115,000,000 16 16,730,000 45 171,730,000 ท่มี ำ : สำนักงำนพำณิชย์จังหวดั สระแกว้ ในไตรมำสท่ี 4 ปี 2562 กำรจดทะเบยี นโรงงำนอตุ สำหกรรมทปี่ ระกอบกจิ กำรใหม่ของจังหวัดสระแก้ว มจี ำนวน 3 โรง ประเภทอุตสำหกรรม กำรผลติ ทนุ จดทะเบยี น 209.10 ลำ้ นบำท คนงำน 56 คน ทีม่ ำ : สำนักงำนอตุ สำหกรรมจังหวดั สระแกว้ รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแก้ว 18

สถานการณ์ แรงงานจงั หวดั สระแกว้ สถำนกำรณ์แรงงำนจังหวัดไตรมำส 4 ปี 2562 ชว่ งเดือน ตลุ ำคม – ธนั วำคม 2562 ขอนำเสนอข้อมลู ในประเด็นต่ำง ๆ ตำมลำดับคือ 1) กำลังแรงงำน กำรมีงำนทำ กำรวำ่ งงำน 2) กำรสง่ เสรมิ กำรมีงำนทำ 3) กำรพฒั นำศักยภำพแรงงำน 4) กำรคมุ้ ครองแรงงำนและสวสั ดกิ ำร และ 5) กำรประกันสังคม 1) กาลงั แรงงาน การมีงานทา การวา่ งงาน แผนภูมิ 1 โครงสรา้ งประชากรจังหวดั สระแก้ว ไตรมาส 4 ปี 2562 จานวนประชากรจงั หวดั สระแก้ว 635,929 คน ผู้อยู่ในวัยทางาน (อายุ 15 ปีข้ึนไป) 498,545 คน กาลังแรงงานรวม ผ้ไู ม่อยใู่ นกาลังแรงงาน 331,546 คน 166,999 คน ผู้รอฤดกู าล ทางานบ้าน 3,232 คน 59,999 คน กาลงั แรงงานปจั จุบนั เรยี นหนังสอื 328,314 คน 25,350 คน ผวู้ า่ งงาน ผู้มงี านทา อนื่ ๆ 5,456คน 322,858 คน 81,650 คน ภาคการเกษตร นอกภาคการเกษตร 126,213 คน 196,645 คน ทม่ี ำ : สำนักงำนสถิติจังหวัดสระแกว้ 1.1 โครงสร้างของกาลังแรงงาน จังหวัดสระแก้วมีผู้ที่มีอำยุ 15 ปีข้ึนไป 498,545 คน แยกเป็นผู้ท่ีอยู่ในกำลังแรงงำนรวม 331,546 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 66.5 และเปน็ ผู้ทไ่ี ม่อยู่ในกำลงั แรงงำน 166,999 คน คิดเปน็ ร้อยละ 33.5 สำหรับกลุ่มผทู้ อ่ี ยู่ในกำลังแรงงำนทงั้ หมด 322,314 คน น้ันแยกได้เปน็ 2 กลุ่ม คือ 1) ผ้มู งี ำนทำ จำนวน 322,858 คน คิดเปน็ ร้อยละ 64.8 ของผอู้ ยูใ่ นกำลงั แรงงำนรวม รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแก้ว 19

2) ผู้ว่ำงงำนซึ่งหมำยถึงผู้ไม่มีงำนทำ และพร้อมท่ีจะทำงำน มีจำนวน 5,456 คน หรือคิดเป็นอัตรำ กำรวำ่ งงำน ร้อยละ 1.1 ของผู้อย่ใู นกำลงั แรงงำนรวม ตาราง 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงาน และเพศ สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญิง จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ผมู้ อี ำยุ 15 ปขี นึ้ ไป 498,545 100.00 243,500 100.00 255,045 100.00 1. ผ้อู ยใู่ นกำลงั แรงงำนรวม 331,546 66.5 185,758 76.3 145,788 57.2 1.1 กำลังแรงงำนปจั จบุ นั 328,314 65.9 184,527 75.8 143,787 56.4 1.1.1 ผูม้ งี ำนทำ 322,858 64.8 179,402 73.7 143,456 56.3 1.1.2 ผูว้ ่ำงงำน 5,456 1.1 5,125 2.1 331 0.1 1.2 ผูท้ ่ีรอฤดูกำล 3,232 0.6 1,231 0.5 2,001 0.8 2. ผ้ไู ม่อย่ใู นกำลังแรงงำน 166,999 33.5 57,742 23.7 109,257 42.8 2.1 ทำงำนบ้ำน 59,999 12.0 3,862 1.6 56,137 22.0 2.2 เรียนหนังสือ 25,350 5.1 11,525 4.7 13,825 5.4 2.3 อ่ืนๆ 81,650 16.4 42,355 17.4 39,295 15.4 ทม่ี ำ : สำนกั งำนสถติ ิจังหวดั สระแกว้ 1.2 ภาวะการมงี านทาของประชากร 1.2.1 อาชีพ ในจำนวนประชำกรของจังหวัดสระแก้วผู้มีงานทาทั้งส้ินประมำณ 322,858 คน พบว่ำ เป็นชำย ประมำณ 179,402 คน หญิงประมำณ 143,456 คน คิดเปน็ ร้อยละ 64.8 ,73.7 และ 56.3 ตำมลำดบั สำหรับอำชีพของผู้มีงานทา จำกผลกำรสำรวจปรำกฏว่ำ ผู้มีงำนทำจำแนกตำมอำชีพส่วนใหญ่คือผู้ ปฎิบัติงำนท่ีมีฝีมือในด้ำนกำรเกษตรและกำรประมง 106,690 คน ร้อยละ 33.0 โดยสัดสว่ นของชำยมีมำกกว่ำ หญงิ คือชำยร้อยละ 34.6 ส่วนหญิงร้อยละ 31.1 รองลงมำคือ พนักงำนบริกำรและพนักงำนในร้ำนค้ำและตลำด มีประมำณ 65,370 คน คิดเป็นร้อยละ 20.3 ซึ่งสัดส่วนหญิงมำกกว่ำชำย คือ ร้อยละ 26.9 และ 14.9 ตำมลำดับ รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ 20

ตาราง 3 จานวนและร้อยละของผมู้ ีงานทา จาแนกตามอาชพี และเพศ รวม ชาย หญิง อาชพี จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ ยอดรวม 322,858 100 179,402 100 143,456 100 2.6 6,582 3.7 1,819 1.3 1. ผ้บู ัญญตั กิ ฎหมำย ข้ำรำชกำรระดับอำวโุ ส และผจู้ ดั กำร 8,401 4.5 5,639 3.1 8,898 6.2 2. ผปู้ ระกอบวิชำชพี ด้ำนตำ่ งๆ 14,537 2.4 4,646 2.6 3,132 2.2 3. ผปู้ ระกอบวิชำชพี ด้ำนเทคนคิ สำขำตำ่ งๆ และอำชีพที่ 7,778 3.8 5,518 3.1 6,850 4.8 เกี่ยวข้อง 20.3 26,720 14.9 38,650 26.9 33.0 62,036 34.6 44,654 31.1 4. เสมยี น 12,368 13.0 26,878 15.0 14,958 10.4 5. พนักงำนบรกิ ำรและพนกั งำนในร้ำนคำ้ และตลำด 65,370 6.1 15,106 8.4 4,513 3.2 6. ผู้ปฏิบัติงำนท่ีมฝี มี ือในดำ้ นกำรเกษตร และกำรประมง 106,690 14.3 26,227 14.6 19,982 13.9 7. ผปู้ ฏิบัติงำนดำ้ นควำมสำมำรถทำงฝมี ือ และธุรกิจอ่นื ๆที่ 41,836 0 0 000 เกย่ี วขอ้ ง 8. ผู้ปฏบิ ัตกิ ำรโรงงำนและเครอ่ื งจกั ร และผ้ปู ฏิบตั งิ ำนดำ้ นกำร 19,619 ประกอบ 9. อำชพี ข้ันพ้ืนฐำนตำ่ งๆ ในดำ้ นกำรขำย และกำรให้บรกิ ำร 46,259 10. คนงำนซง่ึ มิได้จำแนกไว้ในหมวดอืน่ 0 ท่มี ำ : สำนักงำนสถิตจิ ังหวดั สระแกว้ 1.2.2 ประเภทอตุ สาหกรรม เม่ือพิจำรณำถึงประเภทอุตสำหกรรมหรือลักษณะของกำรประกอบกิจกรรมของผู้มีงำนทำในเชิง เศรษฐกิจ ในไตรมำสนี้ พบว่ำ มีผู้มีงำนทำนอกภำคเกษตรกรรมมำกกว่ำภำคเกษตรกรรม คือร้อยละ 60.9 และ 39.1 ตำมลำดับ ทั้งนี้ผู้ท่ีทำงำนนอกภำคเกษตรกรรมส่วนใหญ่ทำงำนในสำขำ สำขำกำรขำยส่ง กำรขำย ปลีก ร้อยละ 19.2 รองลงมำสำขำกำรผลิต ร้อยละ 11.9 ที่พักแรมและบริกำรด้ำนอำหำร ร้อยละ 7.2 กำร บรหิ ำรรำชกำร รอ้ ยละ 5.6 กำร กำรก่อสรำ้ ง ร้อยละ 4.5 ส่วนที่เหลือกระจำยอยู่ในสำขำอ่ืน ๆ ซ่ึงแต่ละสำขำ มีไมม่ ำกนัก รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวดั สระแก้ว 21

ตาราง 4 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ หนว่ ย: คน อตุ สาหกรรม รวม ชาย หญิง จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ยอดรวม 322,858 100.00 179,402 100.00 143,456 100.00 ภาคเกษตรกรรม 1. เกษตรกรรม กำรป่ำไม้และกำรประมง 126,213 39.1 74,580 41.6 51,633 36.0 นอกภาคเกษตรกรรม 2. กำรทำเหมืองแร่ และเหมอื งหนิ 1,058 0.3 0 0.00 1,058 0.7 3. กำรผลิต 38,545 11.9 19,302 10.8 19,243 13.4 4. กำรไฟฟ้ำ กำ๊ ซ และไอน้ำ 856 0.3 856 0.5 0 0.00 5. กำรจดั หำนำ้ บำบัดนำ้ เสีย 1,619 0.5 872 0.5 747 0.5 6. กำรกอ่ สร้ำง 14,513 4.5 13,677 7.6 836 0.6 7. กำรขำยส่ง กำรขำยปลีก 61,970 19.2 33,426 18.6 28,544 19.9 8. กำรขนสง่ สถำนทเี่ ก็บสนิ ค้ำ 5,151 1.6 4,823 2.7 328 0.2 9. ทพ่ี ักแรมและบริกำรดำ้ นอำหำร 23,280 7.2 8,640 4.8 14,640 10.2 10. ขอ้ มูลข่ำวสำร และกำรส่ือสำร 259 0.1 116 0.1 143 0.1 11. กจิ กำรทำงกำรเงินและกำรประกันภยั 692 0.2 252 0.1 440 0.3 12. กจิ กำรด้ำนอสงั หำริมทรัพย์ 84 0.0 0 - 84 0.1 13. กิจกรรมทำงวชิ ำชพี และเทคนิค 3,289 1.0 3,143 1.7 146 0.1 14. กำรบริหำร และสนับสนุน 1,272 0.4 1,182 0.7 90 0.1 15. กำรบริหำรรำชกำร และกำรป้องกันประเทศ 18,072 5.6 10,856 6.0 7,216 5.0 16. กำรศกึ ษำ 9,545 3.0 2,978 1.7 6,567 4.6 17. งำนดำ้ นสขุ ภำพ และงำนสงั คมสงเครำะห์ 3,876 1.2 276 0.1 3,600 2.5 18. ศิลปะควำมบันเทิง นันทนำกำร 5,649 1.8 3,253 1.8 2,396 1.7 19. กจิ กรรมบรกิ ำรดำ้ นอน่ื ๆ 5,523 1.7 1,061 0.6 4,462 13.1 20. กิจกรรมกำรจ้ำงงำนในครัวเรอื น 1,392 0.4 109 0.1 1,283 0.9 21. องค์กำรระหวำ่ งประเทศและองค์กำร 0 0.00 0 0.00 0 0.00 ตำ่ งประเทศอื่นๆ และสมำชิก 0 0.00 0 0.00 0 0.00 22. ไมท่ รำบ รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแกว้ 22

ท่ีมำ : สำนกั งำนสถิติจงั หวดั สระแกว้ 1.2.3 สถานภาพการทางาน ในจำนวนผู้มีงำนทำท้ังส้ิน 322,858 คน เม่ือพิจำรณำถึงสถำนภำพกำรทำงำน ผลกำรสำรวจครั้งนี้ พบว่ำ ลูกจ้ำงมีจำนวนมำกที่สุด 120,837 คน ร้อยละ 37.4 ลูกจ้ำงเอกชนร้อยละ 27.0 และลูกจ้ำงรัฐบำล เพยี งรอ้ ยละ 10.4 ทำงำนส่วนตัว 130,023 คน รอ้ ยละ 40.3 ชว่ ยธุรกิจในครวั เรอื น 59,129 ร้อยละ 18.3 และ นำยจำ้ ง 12,869 รอ้ ยละ 4.0 แผนภมู ิ 2 ร้อยละของผู้มงี านทา จาแนกตามสถานภาพการทางาน 18.30 40.30 37.40 27.00 12.20 4.00 นายจ้าง ทางานส่วนตัว ช่วยธรุ กิจครวั เรอื น ลกู จ้างรฐั บาล ลกู จา้ งเอกชน ทม่ี ำ : สำนักงำนสถติ ิจังหวัดสระแก้ว ตาราง 5 จานวนและรอ้ ยละของผูม้ งี านทา จาแนกตามสถานภาพการทางาน และเพศ สถานภาพการทางาน รวม ชาย หญิง จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ ยอดรวม 322,858 100.00 179,402 100.00 143,456 100.00 4.0 9,321 5.2 3,548 2.5 1. นำยจำ้ ง 12,869 10.4 16,172 9.0 17,311 12.1 27.0 56,075 31.3 31,279 21.8 2. ลูกจำ้ งรัฐบำล 33,483 40.3 73,980 41.2 56,043 39.0 18.3 23,854 13.3 35,275 24.6 3. ลูกจ้ำงเอกชน 87,354 0.00 0 0.00 0 0.00 4. ทำงำนสว่ นตวั 130,023 5. ชว่ ยธรุ กิจครวั เรือน 59,129 6. กำรรวมกลมุ่ 0 ที่มำ : สำนกั งำนสถติ จิ ังหวดั สระแกว้ 1.2.4 ชว่ั โมงการทางานต่อสัปดาห์ ในจำนวนผู้มงี ำนทำ 322,858 คน ซ่ึงประกอบดว้ ยผู้ทท่ี ำงำนในสปั ดำห์กำรสำรวจต้งั แต่ 1 ชัว่ โมงข้ึน ไป จำนวน 2,203 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.7 ของผูม้ งี ำนทำทัง้ ส้ิน และผู้ที่ไม่ได้ทำงำนในสปั ดำห์กำรสำรวจแตม่ ี งำนประจำ(ชว่ั โมงทำงำนเป็น“0”) จำนวน 14,444 คนคดิ เปน็ ร้อยละ 4.5 ในจำนวนนเ้ี ปน็ ชำย 9,650 คน และ รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแก้ว 23

เปน็ หญิง 4,794 คน ผ้มู งี ำนส่วนใหญ่ทำงำนสัปดำห์ละ 50 ชวั่ โมงขึ้นไป ร้อยละ 37.6 และผทู้ ่ีทำงำนระหว่ำง 40-49 ชวั่ โมงขึ้นไปต่อสัปดำห์ มีประมำณร้อยละ 36.5 ตาราง 6 จานวนและร้อยละของผู้มีงานทา จาแนกตามชว่ั โมงการทางานตอ่ สัปดาห์ และเพศ ชว่ั โมงการทางาน รวม ชาย หญงิ ตอ่ สัปดาห์ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ 322,585 100.00 179,402 100.00 143,456 100.00 ยอดรวม 1. 0 ชั่วโมง 1/ 14,444 4.5 9,650 5.4 4,794 3.3 2. 1 - 9 ช่วั โมง 2,203 0.7 0 0.00 2,203 1.5 3. 20 - 29 ชั่วโมง 21,092 6.5 10,602 5.9 10,490 7.3 4. 40 - 49 ช่ัวโมง 117,771 36.5 68,285 38.1 49,486 34.5 5. 50 ชว่ั โมง ข้ึนไป 121,293 37.6 65,428 36.5 55,865 39.0 ท่มี ำ : สำนักงำนสถิติจงั หวัดสระแกว้ 1/ผไู้ มไ่ ดท้ ำงำนในสปั ดำห์กำรสำรวจ แต่มงี ำนประจำ 1.2.5 การศกึ ษา ระดับกำรศึกษำที่สำเร็จของผู้มีงำนทำ ส่วนใหญ่จบกำรศึกษำต่ำกว่ำประถมศึกษำและไม่มี กำรศึกษำ จำนวน 88,895 คน หรือร้อยละ 27.5 รองลงมำคือ ระดับประถมศึกษำ จำนวน 76,046 คนคิด เป็นร้อยละ 23.6 มัธยมศึกษำตอนต้น จำนวน 59,309 คน หรือร้อยละ 18.4 มัธยมศึกษำตอนปลำย จำนวน 52,025 คน ร้อยละ 16.1 อุดมศึกษำ จำนวน 44,874 คน คิดเป็นร้อยละ 13.9 ไม่ทรำบ จำนวน 1,709 คิดเป็น รอ้ ยละ 0.5 ตาราง 7 จานวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามระดับการศกึ ษาทสี่ าเร็จ และเพศ หน่วย: คน ระดับการศกึ ษาท่สี าเรจ็ รวม ชาย หญงิ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ยอดรวม 322,858 100.00 179,402 100.00 143,456 100.00 1. ไม่มกี ำรศกึ ษำและต่ำกว่ำ ประถมศกึ ษำ 88,895 27.5 42,633 23.8 46,262 32.3 2. ประถมศึกษำ 76,046 23.6 45,391 25.3 30,655 26.1 59,309 18.4 35,870 20.0 23,439 21.4 3. มธั ยมศึกษำตอนตน้ 52,025 16.1 30,996 17.2 21,029 16.3 44,874 13.9 23,297 13.0 21,577 15.0 4. มธั ยมศึกษำตอนปลำย 0 0.00 0 0.00 0 0.00 5. อดุ มศกึ ษำ 6. อื่นๆ 7. ไมท่ รำบ 1,709 0.5 1,215 0.7 494 0.3 ทม่ี ำ : สำนกั งำนสถติ จิ ังหวดั สระแก้ว รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวดั สระแกว้ 24

แผนภูมิ 3 รอ้ ยละของผมู้ ีงานทา จาแนกตามระดบั การศกึ ษาท่สี าเรจ็ 30.00 27.50 23.60 25.00 20.00 18.40 16.10 15.00 10.00 13.90 5.00 0.00 0.50 0.00 ท่มี ำ : สำนักงำนสถิติจงั หวดั สระแกว้ 1.3 ภาวะการว่างงานของประชากร ประชำกรของจังหวัดสระแก้ว ที่ว่ำงงำนมี 5,456 คน คิดเป็นร้อยละ 1.1 เป็นชำย 5,125 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 2.1 และหญิง 331 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.1 ของผูว้ ำ่ งงำน ตำมลำดับ สำหรับอัตรำกำรว่ำงงำนของประชำกร ซ่ึงหมำยถึง สัดส่วนของผู้ว่ำงงำนต่อจำนวนประชำกรท่ีอยู่ใน กำลังแรงงำนรวม จำกกำรสำรวจพบว่ำ จังหวัดสระแก้วมีอัตรำกำรว่ำงงำนร้อยละ 1.1 หญิงมีอัตรำกำรว่ำงงำน ตำ่ กว่ำชำย คือ รอ้ ยละ 2.1 และ 0.1 ตำมลำดบั ตาราง 8 จานวนและอัตราการว่างงาน จาแนกตามเพศ เพศ ผอู้ ยใู่ นกาลงั จานวน ผ้วู ่างงาน อัตรา แรงงานรวม 5,456 ร้อยละ 1.64 5,125 100 1.45 ยอดรวม 331,546 331 1.45 0.09 ชำย 185,758 0.09 หญิง 145,788 ทีม่ ำ : สำนกั งำนสถติ ิจังหวัดสระแก้ว หมายเหตุ : อัตราการวา่ งงาน = ผ้วู ่างงาน x 100 ผู้อยู่ในกาลงั แรงงาน รายงานสถานการณ์แรงงานจงั หวดั สระแก้ว 25

1.4 เปรยี บเทียบสถานภาพแรงงานไตรมาส 3 พ.ศ.2562 และ ไตรมาส 4 พ.ศ.2562 เม่ือพิจำรณำเปรียบเทียบสถำนภำพแรงงำนในไตรมำสท่ี 3 พ.ศ.2562 และไตรมำสที่ 4 พ.ศ. 2562 พบว่ำ ภำวะผู้อยู่ในกำลังแรงงำนในไตรมำสที่ 4 พ.ศ. 2562 จำนวนผู้มีงานทามีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจำกร้อยละ 60.5 เป็นร้อยละ 64.8 และผู้วำ่ งงำนลดลงจำกร้อยละ 1.25 เปน็ รอ้ ยละ 1.1 ภำวะผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงำนเนื่องจำกทำงำนบ้ำน เรียนหนังสือ และอื่นๆ (ป่วย พิกำรจนไม่ สำมำรถทำงำนได้ ไม่สมัครใจทำงำน ยังเด็กเกินไปหรือชรำภำพ เป็นต้น) พบว่ำ ผู้ทำงำนบ้ำนมีสัดส่วนลดลง จำกร้อยละ 13.3 เป็นร้อยละ 12.0 สำหรับผู้เรียนหนังสือลดลงจำกร้อยละ 5.5 เป็นร้อยละ 5.1 และผู้ไม่อยู่ ในกำลงั แรงงำนเนอ่ื งจำกสำเหตุอ่ืนๆ มีสดั ส่วนลดลง คือจำกร้อยละ 19.2 เปน็ ร้อยละ 16.4 ตาราง 9 จานวนและรอ้ ยละของประชากร จาแนกตามสถานภาพแรงงาน ไตรมาส 3 พ.ศ. 2562 และ ไตรมาส 4 พ.ศ. 2562 3/2562 4/2562 สถานภาพแรงงาน จานวน จานวน จานวน ร้อยละ ผมู้ อี ายุ 15 ปีข้ึนไป 496,536 496,536 498,545 100.00 1. ผู้อยใู่ นกำลังแรงงำน 306,879 306,879 331,546 66.5 1.1 กำลงั แรงงำนปัจจบุ ัน 306,814 306,814 328,314 65.9 300,599 300,599 322,858 64.8 1.1.1 ผู้มีงำนทำ 6,216 6,216 5,456 1.1 1.1.2 ผ้วู ำ่ งงำน 3,232 0.6 1.2 ผทู้ ่รี อฤดูกำล 65 65 166,999 33.5 2. ผู้ไมอ่ ยูใ่ นกำลงั แรงงำน 189,657 189,657 59,999 12.0 2.1 ทำงำนบ้ำน 66,355 66,355 25,350 5.1 2.2 เรียนหนงั สอื 27,527 27,527 81,650 16.4 2.3 อ่นื ๆ 95,775 95,775 ทม่ี ำ : สำนกั งำนสถิติจงั หวัดสระแกว้ แผนภูมิ 4 รอ้ ยละของประชากร จาแนกตามสภาพแรงงานไตรมาส 3 ปี2562 และไตรมาส 4 ปี2562 รอ้ ยละ 60.54 64.80 3/2562 80 4/2562 70 1.25 1.10 13.3612.00 5.54 5.10 19.2916.40 60 ผู้ว่ำงงำน ทำงำนบ้ำน เรียนหนงั สอื 50 อ่นื ๆ 40 30 20 10 0 ผู้มงี ำนทำ ที่มำ : สำนกั งำนสถิติจงั หวัดสระแกว้ รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแกว้ 26

2) การส่งเสริมการมีงานทา 2.1 การจัดหางานในประเทศ ภำรกิจกำรส่งเสริมให้ประชำชนมีงำนทำ เป็นภำรกิจหลักของกระทรวงแรงงำน ซึ่งดำเนินกำรโดย สำนักงำนจัดหำงำนจงั หวัดสระแกว้ กำรสง่ เสรมิ กำรมงี ำนทำในรูปแบบกำรจัดหำงำนมีท้ังกำรหำงำนในประเทศและ ต่ำงประเทศ โดยกำรจัดหำงำนในจังหวัดสระแก้วในช่วงไตรมำสที่ 4 (ตุลำคม – ธันวำคม 2562) มีตำแหน่ง งำนวำ่ งท่ีแจ้งผำ่ นสำนักงำนจัดหำงำนจงั หวดั สระแกว้ 336 อัตรำ ซ่งึ มีสัดส่วนทล่ี ดลง จำกไตรมำสท่ีแล้ว ที่มีจำนวนตำแหน่งงำนว่ำง 324 อัตรำ ในส่วนของผู้ลงทะเบียนสมัครงำน ไตร มำสนพ้ี บวำ่ มี 193 คน เพิ่มข้นึ จำกไตรมำสท่แี ล้วที่มีจำนวน 161 คน ขณะท่ีผูไ้ ด้รับกำรบรรจุงำนในไตรมำสน้ี มจี ำนวน 272 คน ลดลงจำกไตรมำสท่ี 3 ทมี่ ีจำนวน 329 คน แผนภมู ิ 5 เปรียบเทียบตาแหนง่ งานวา่ ง/การสมคั รงาน/การบรรจุงาน ไตรมาส 3 ปี 2562 และไตรมาส 4 ปี 2562 329 324 336 3/2562 350 272 4/2562 300 250 161 193 200 150 100 50คน 0 ทมี่ ำ : สำนกั งำนจดั หำงำนจงั หวดั สระแก้ว สำหรับตำแหนง่ งำนว่ำงไตรมำส 4 น้ีพบว่ำมี 336 อัตรำ (ไม่ระบ)ุ คิดเปน็ สัดส่วนรอ้ ยละ 100 รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแก้ว 27

แผนภูมิ 6 ตาแหน่งงานว่างในจังหวัดสระแก้วแยกตามเพศ ไตรมาส 4 ปี 2562 ชำย, 0 หญิง, 0 หนว่ ย : คน ไม่ระบุ, 336 ทีม่ ำ : สำนักงำนจัดหำงำนจังหวัดสระแกว้ เมอ่ื พิจำรณำถึงจำนวนผูม้ ำลงทะเบียนสมัครงำนในไตรมำสน้ีท่ีพบว่ำมีจำนวนทั้งสิ้น 193 คน เป็นชำย 88 คน คิดเป็นร้อยละ 45.6 และเป็นหญิง 105 คน คิดเป็นร้อยละ 54.4 และกำรบรรจุงำนมีผู้ได้รับกำร บรรจุให้มงี ำนทำทัง้ สิ้น 272 คน โดยสัดส่วนของเพศหญิงจะได้รับกำรบรรจุงำนมำกกว่ำเพศชำย กล่ำวคือ ผู้บรรจงุ ำนทเี่ ป็นเพศหญิง 178 คน คิดเป็นร้อยละ 65.4 เป็นเพศชำย 94 คน คดิ เป็นร้อยละ 34.5 แผนภูมิ 7 ตาแหนง่ งานว่าง / ผสู้ มัครงาน/ และการบรรจุงานในจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามเพศ ไตรมาส 4 ปี 2562 ไมร่ ะบุ หญิง ชำย หนว่ ย : คน ผไู้ ด้รับบรรจุ 94 178 ผ้สู มัครงำน 88 105 ทตม่ีำแำหน:ง่ งำสนำว่ำนง ักงำ00นจดั หำงำนจงั หวัดสระแก้ว 336 สำหรบั ตำแหน่งงำนว่ำงตำมระดับกำรศกึ ษำไตรมำสนพี้ บว่ำ ตำแหนง่ งำนว่ำงระดับที่ต้องกำรสูงสุดคือ มัธยมศึกษำ มีควำมต้องกำร 120 อัตรำ ร้อยละ 35.7 รองลงมำเป็นระดับระดับประถมศึกษำและต่ำกว่ำ 59 อัตรำ ร้อยละ 17.5 ปวส. 51 อัตรำ ร้อยละ 15.1 อนุปริญญำ 33 อัตรำ ร้อยละ 9.8 ระดับปริญญำตรี 17 อัตรำ ร้อยละ 5.0 แสดงให้เห็นว่ำขณะน้ีตลำดแรงงำนในจังหวัดสระแก้ว มีควำมต้องกำรคนในระดับ อนปุ ริญญำน้อยมำก ขณะที่ผูส้ มคั รงำนไตรมำสนี้ ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีกำรศึกษำระดับมัธยมศึกษำมีจำนวน 122 คน ร้อยละ 63.3 รองลงมำเปน็ ระดบั ประถมศึกษำและต่ำกว่ำ จำนวน 28 คน ร้อยละ 14.5 ระดับปวช.ปวส. 44 คน ร้อยละ 16.9 ระดับปริญญำตรี จำนวน 17 คน ร้อยละ 5.0 และผู้บรรจุงำนระดับมัธยมศึกษำมีกำร บรรจุงำนมำกที่สุดจำนวน 149 คน ร้อยละ 54.7 รองลงมำเป็นระดับปริญญำตรี จำนวน 40 คน ร้อยละ 14.7 ประถมศึกษำและต่ำกว่ำ จำนวน 39 คน ร้อยละ 14.3 ปวส. จำนวน 33 คน รอ้ ยละ 12.1 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว 28

แผนภูมิ 8 ตาแหน่งงานว่าง / ผ้สู มคั รงาน / บรรจุงานในจังหวดั สระแก้ว จาแนกตามระดับการศกึ ษา ไตรมาส 4 ปี 2562 160 140 120 100 80 60 40 20 0 ประถมศกึ ษำและ มัธยมศึกษำ ปวช. ปวส. อนุปริญญำ ปริญญำตรี ตำแหนง่ งำนวค่ำนง ตำ่ กว่ำ 120 56 51 33 17 59 122 7 18 0 18 149 11 33 0 40 ผู้ลงทะเบียน 28 บรรจงุ ำน 39 ทีม่ ำ : สำนักงำนจัดหำงำนจังหวดั สระแกว้ จำกแผนภมู ิข้ำงตน้ ประเดน็ ท่นี ำ่ สังเกต คอื ควำมต้องกำรแรงงำนในจังหวัดสระแก้วส่วนใหญ่ยังคงเป็น แรงงำนมีระดับกำรศึกษำต่ำอยู่ อำจเป็นเพรำะงำนในจังหวัดสระแก้วส่วนใหญ่ยังเป็นงำนที่ยังไม่ต้องใช้ฝีมือ มำกนัก ขณะที่ระดบั ปวช. ปวส. อนปุ รญิ ญำ พบวำ่ มีตำแหนง่ งำนว่ำงมำกกว่ำผู้มำลงทะเบียนสมัครงำนและผู้ ได้รับกำรบรรจุงำน ฉะน้ัน ควรให้เยำวชนในจังหวัดสระแก้วได้รับรู้ว่ำ กลุ่มสำยอำชีพน่ำจะเป็นตัวเลือกที่ดีใน กำรเรียนต่อหลังจำกจบระดับมัธยมศึกษำ และจะเห็นได้ว่ำระดับปริญญำตรีมีผู้มำลงทะเบียนสมัครงำนในจังหวัด มำกกว่ำตำแหน่งว่ำง น่อี ำจเปน็ เหตุผลหนง่ึ ที่ทำให้เยำวชนส่วนใหญ่ไมเ่ รียนตอ่ ในระดับปรญิ ญำตรี เพรำะเรียนไปก็ไม่มี งำน ตอ้ งไปหำงำนในเมืองใหญๆ่ ด้ำนอำชีพพบว่ำไตรมำสน้ี อาชีพท่ีมีตาแหน่งงานว่างสูงสุด 3 อันดับแรกคือ 1) ผู้ปฎิบัติงำนใน โรงงำน จำนวน 130 อัตรำ ร้อยละ 38.6 2) อำชีพงำนพื้นฐำน จำนวน 115 อัตรำ ร้อยละ 34.2 3) เสมียน เจ้ำหน้ำท่ี จำนวน 31 อัตรำ ร้อยละ 9.2 และสำหรับอาชีพที่มีผู้สมัครงานสูงสุด คือ ผู้ปฎิบัติงำนในโรงงำน จำนวน 90 คน ร้อยละ 46.6 รองลงมำคือ อำชีพงำนพื้นฐำน จำนวน 61 คน ร้อยละ 31.6 เสมียน เจ้ำหน้ำท่ี จำนวน 18 คน ร้อยละ 9.3 ผ้ปู ฎบิ ตั ิงำนโดยใช้ฝีมือในธุรกิจต่ำงๆ จำนวน 14 คน ร้อยละ 7.2 ส่วนการบรรจุ งาน มกี ำรบรรจุงำน อำชีพงำนพื้นฐำน จำนวน 120 คน ร้อยละ 44.1 รองลงมำคือ ผู้ปฎิบัติงำนในโรงงำน จำนวน 50 คน ร้อยละ 18.3 ช่ำงเทคนิคและผู้ปฎิบัติงำนที่เกี่ยวข้อง จำนวน 42 คน ร้อยละ 15.4 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว 29

แผนภูมิ 9 ตาแหนง่ งานว่างในจงั หวัดสระแกว้ จาแนกตามอาชพี ไตรมาส 4 ปี 2562 9. อำชีพงำนพ้ืนฐำน บรรจุงำน 8. ผปู้ ฏิบตั ิงำนในโรงงำน ผคู้ วบคุมเคร่อื งจักร… ผสู้ มัครงำน ตำแหนง่ ว่ำง 7. ผปู้ ฏิบัตงิ ำนโดยใชฝ้ มี ือในธุรกิจตำ่ งๆ 6. ผปู้ ฏิบตั งิ ำนฝีมือด้ำนกำรเกษตรและประมง… 5. พนกั งำนบริกำร พนกั งำนขำยในรำ้ นค้ำและ… 4. เสมียน เจ้ำหน้ำที่ 3. ช่ำงเทคนคิ และผู้ปฏิบตั งิ ำนที่เกยี่ วข้อง 2. ผปู้ ระกอบวชิ ำชพี ดำ้ นต่ำงๆ 1. ผู้บัญญัตกิ ฎหมำย ข้ำรำชกำรระดับอำวุโส… 0 50 100 150 ทีม่ ำ : สำนักงำนจดั หำงำนจงั หวดั สระแก้ว หำกศึกษำในด้ำนอุตสำหกรรมพบว่ำ อุตสำหกรรมที่มีตาแหน่งงานว่าง ไตรมำส 4 ปี 2562 คือ 1) กำรผลติ 130 อตั รำ รอ้ ยละ 38.6 2) กำรขำยส่ง 125 อตั รำ ร้อยละ 37.20 3) กำรบริหำร กำรไฟฟ้ำ จำนวน ละ 24 อัตรำ ร้อยละ 7.14 ซ่งึ สอดคล้องกับกำรบรรจุงำน ท่ีพบว่ำอุตสาหกรรมที่บรรจุงานได้สูงสุดคือ 1) กำร ผลิต 110 คน รอ้ ยละ 40.4 2) กำรขำยสง่ จำนวน 101คน รอ้ ยละ 37.1 3) กำรบรหิ ำรรำชกำร 20 คน รอ้ ยละ 7.3 ตาราง 10 แสดงจานวนตาแหน่งงานว่างและการบรรจุงานจงั หวัดสระแกว้ จาแนกตามอุตสาหกรรม ไตรมาส 4 ปี 2562 ประเภทอุตสาหกรรม ตาแหน่งว่าง บรรจุ อตั รา รอ้ ยละ คน ร้อยละ รวมภาคเกษตรกรรม 1. เกษตรกรรม กำรลำ่ สัตว์ และกำรป่ำไม้ 3 0.89 3 1.10 2. กำรประมง 130 38.69 110 40.44 รวมนอกภาคเกษตรกรรม 3. กำรทำเหมอื งแร่ และเหมอื งหิน 24 7.14 15 5.51 4. กำรผลิต 5. กำรไฟฟำ้ ก๊ำซ และกำรประปำ 125 37.20 101 37.13 6. กำรก่อสร้ำง 7. กำรขำยสง่ กำรขำยปลีก กำรซอ่ มแซมยำนยนต์ 7 2.08 6 2.20 รถจกั รยำนยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน 8. โรงแรม และภตั ตำคำร 9. กำรขนสง่ สถำนทีเ่ ก็บสินค้ำ และกำรคมนำคม รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแก้ว 30

ประเภทอุตสาหกรรม ตาแหนง่ วา่ ง บรรจุ อัตรา รอ้ ยละ คน รอ้ ยละ 4 1.47 10. กำรเปน็ สือ่ กลำงทำงกำรเงิน 5 2.38 18 5.35 20 7.35 11. กิจกำรด้ำนอสังหำรมิ ทรัพย์ กำรให้เชำ่ และกิจกรรมทำง 24 7.14 ธุรกจิ 13 4.77 12. กำรบรหิ ำรรำชกำร และกำรป้องกันประเทศ รวมทัง้ กำร 272 100. ประกันสังคมภำคบงั คบั 13. กำรศึกษำ 14. งำนด้ำนสขุ ภำพ และงำนสงั คมสงเครำะห์ 15. กจิ กรรมด้ำนบริกำรชุมชน สังคม และกำรบริกำรสว่ น บุคคลอืน่ ๆ 16. ลูกจ้ำงในครัวเรือนสว่ นบุคคล 17. องคก์ ำรระหว่ำงประเทศและองคก์ ำรต่ำงประเทศอน่ื ๆ และสมำชกิ 18. ไมท่ รำบ รวม 336 100 ทม่ี ำ : สำนกั งำนจดั หำงำนจงั หวัด ช่วงอำยุที่ได้รับ การบรรจุของตลาดแรงงาน ในไตรมำสนี้ส่วนใหญ่จะมีอำยุระหว่ำง 18 – 49 ปี โดยที่ อำยุ 30 - 39 ปี ได้รับกำรบรรจุงำน 114 คน ร้อยละ 41.91 อำยุ 18 - 24 ปี ได้รับกำรบรรจุงำน 57 คน ร้อยละ 20.95 และอำยุ 25 - 29 ปี ได้รับกำรบรรจุงำน 47 คน ร้อยละ 17.27 ขณะที่ ผู้สมัครงาน อำยุ 18 - 24 ปี จำนวน 76 คน ร้อยละ 39.37 อำยุ 30 – 39 ปี จำนวน 52 คน ร้อยละ 26.94 อำยุ 25 - 29 จำนวน 41 คน ร้อยละ 21.24 รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ 31

แผนภมู ิที่ 10 การบรรจุงานจังหวัดสระแก้วจาแนกตามอายุ ไตรมาส 4 ปี 2562 100 15-17 53 57 18-24 25-29 47 30-39 114 40-49 50-59 60 ปขี ้ึนไป ทีม่ ำ : สำนกั งำนจดั หำงำนจังหวัดสระแก้ว 2.2 แรงงานต่างดา้ ว แรงงำนตำ่ งดำ้ ว จำนวนแรงงำนต่ำงด้ำว ในจังหวัดสระแก้วรวม 4,220 คน แยกเป็นกลุ่ม - เข้ำมำทำงำนอย่ำงถูกต้องตำมกฎหมำย ณ เดือนธันวำคม 2562 มีจำนวนทั้งส้ิน 244 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น แรงงำนท่ีอนุญำตให้เข้ำมำอยู่ช่ัวครำว (พ.ร.ก.กำรบริหำรจัดกำรกำรทำงำนของคนต่ำงด้ำว ปี 2560 หมวด 4 มำตรำ 59) จำนวน 225 คน อนุญำตให้เข้ำมำทำงำนในรำชอำณำจักรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรส่งเสริมกำร ลงทุน (พ.ร.ก.กำรบริหำรจัดกำรกำรทำงำนของคนต่ำงด้ำว ปี 2560 หมวด 4 มำตรำ 62) จำนวน 1 คน (พ.ร.ก.กำรบริหำรจดั กำรกำรทำงำนของคนตำ่ งดำ้ ว ปี 2560 หมวด 4 มำตรำ 63/1) จำนวน 18 คน - จำนวนแรงงำนต่ำงด้ำวท่ีได้รับอนุญำตให้ทำงำนในจังหวัดสระแก้ว ข้อมูล ณ วันที่ 25 เดือน ธันวำคม 2562 ประเภทแรงงำนต่ำงด้ำว ประเภทสัญชำติอ่ืน และประเภท 3 สัญชำติ คือ เมียนมำ ลำว กัมพูชำ 1.) กลุ่มนำเข้ำ (MOU) มีจำนวนท้ังส้ิน 1,192 คน เมียนมำ มีจำนวน 198 คน ลำว จำนวน 197 คน กัมพูชำ จำนวน 797 คน นำยจ้ำง 345 คน 2.) กลุ่มพิสูจน์สัญชำติ มีจำนวนท้ังสิ้น 2,917 คนเมียนมำ จำนวน 261 คน ลำว จำนวน 60 คน กัมพูชำ จำนวน 2,596 คน นำยจ้ำง 1,155 คน 3.) กลุ่มท่ีใช้บัตรผ่ำนแดน (Border Pass) มีจำนวนทั้งส้ิน 13,020 คน กัมพูชำ จำนวน 13,020 คน นำยจ้ำง 3,793 คน และสัญชำติอ่ืน คือ 1.) กลุ่มคนต่ำงด้ำวท่ัวไป มีจำนวนท้ังส้ิน 212 คน นำยจ้ำง 54 คน 2.) กลุ่มคนต่ำงด้ำวเข้ำมำตำม BOI จำนวนทัง้ สิน้ 1 คน นำยจ้ำง 1 คน 3.) กลุม่ บุคคลพนื้ ท่ีสงู มีจำนวนทั้งสิ้น 18 คน นำยจำ้ ง 16 คน รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแกว้ 32

แผนภมู ิ 11 จานวนแรงงานต่างด้าวท่ไี ดร้ บั อนญุ าตใหท้ างานใน จังหวดั สระแก้ว จาแนกตามสญั ชาติ ปี 2562 ณ วันท่ี 25 ธันวาคม 2562 ลาดั ประเภทแรงงานต่าง สัญชาติ รวม รวมแรงงานตา่ งด้าว บ ด้าว นายจา้ ง เมยี นมา ลาว กมั พูชา 1. 3 สัญชาติ(เมยี นมา รวม ชาย หญงิ รวม ลาว กัมพูชา) นาย ชาย หญิง รวม นาย ชาย หญิง รวม นายจา้ ง ชาย หญงิ 1.กลุ่มนาเขา้ (MOU) จา้ ง จ้าง 2.กลมุ่ พสิ จู น์สญั ชาติ 18 154 43 198 78 47 150 197 249 405 392 797 345 606 586 1192 91 149 112 261 30 23 37 60 1034 1324 1272 2596 1155 1496 1421 2917 3.กลมุ่ ทีใ่ ช้บัตรผา่ น - 3793 6784 6236 13020 3793 6784 6236 13020 แดน (Border Pass) 109 303 156 459 108 70 187 257 5076 8513 7900 16413 5293 8886 8243 17129 รวมทัง้ สิน 2 สัญชาตอิ น่ื 54 143 69 212 1 101 2.1กลมุ่ คนต่างดา้ ว 16 6 12 18 ทั่วไป 71 150 81 302 2.2กลุ่มคนต่างด้าวเข้า มาตาม BOI 2.3กลุ่มบุคคลพน้ื ทส่ี ูง รวมทง้ั สิน้ 2.3 แรงงานไทยในตา่ งประเทศ ผู้แจ้งควำมประสงค์ไปทำงำนต่ำงประเทศ ส่วนใหญ่เป็นผู้มีกำรศึกษำระดับประถึมศึกษำของผู้แจ้ง ควำมประสงค์ทั้งหมด 21 คน คิดเป็นร้อยละของภำพรวม 43.75 ระดับ มัธยมศึกษำ 9 คน คิดเป็นร้อยละ ของภำพรวม 18.75 ระดับระดับปวช. ปวส. อนุปริญญำ 15 คน คิดเป็นร้อยละของภำพรวม31.25 ระดับ ปริญญำตรี 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละของภำพรวม 6.25 รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแก้ว 33

แผนภูมิ 12 แรงงานไทยในจังหวัดสระแก้ว ท่ีแจ้งความประสงค์เดินทางไปทางานต่างประเทศ จาแนกตามระดับการศกึ ษา ไตรมาส 4 ปี 2562 หน่วย : คน 3 21 15 9 ประถมศกึ ษำ มธั ยมศึกษำ ปวช. ปวส. ปวท. อนุปรญิ ญำ ปรญิ ญำตรี ท่มี ำ : สำนักงำนจัดหำงำนจังหวดั สระแกว้ ในสว่ นของกำรอนุญำตใหไ้ ปทำงำนต่ำงประเทศไตรมำส 4 ปี 2562 พบว่ำมีจำนวนท้ังสิ้น 32 คน และ หำกพิจำรณำตำมวิธีกำรเดินทำงพบว่ำ ส่วนใหญ่เป็นประเภทไปโดยประเภท Re-Entry คือกลับไปทำงำนอีกคร้ัง หนงึ่ โดยกำรต่ออำยสุ ัญญำ 29 คน (รอ้ ยละ 90.62) รองลงมำคือเดินทำงดว้ ยตนเองมี 3 คน (ร้อยละ 9.37) แผนภูมิ 13 แรงงานไทยในจังหวัดสระแก้ว ท่ไี ดร้ ับอนญุ าตไปทางานต่างประเทศ จาแนกตามวธิ ี เดินทาง ไตรมาส 4 ปี 2562 หนว่ ย : คน 3 Re-Entry เดินทำงด้วยตนเอง 29 ท่ีมำ : สำนกั งำนจัดหำงำนจังหวัดสระแก้ว เมือ่ พจิ ำรณำเปรยี บเทยี บกับไตรมำสทแ่ี ลว้ พบวำ่ ผไู้ ด้รบั อนญุ ำตใหไ้ ปทำงำนต่ำงประเทศในภำพรวมไตร มำสนี้มีสัดส่วนลดลงจำกไตรมำสท่ีแล้วท่ีมีจำนวน 50 คน โดยส่วนใหญ่เดินทำงโดยประเภท Re-Entry และ รองลงมำคอื เดินทำงด้วยตนเอง แรงงำนไทยเดินทำงไปทำงำนตำมที่ได้รับอนุญำตในไตรมำส 4 ปี 2562 ส่วนใหญ่จะไปทำงำนใน ภูมิภำคเอเชีย ซึ่งมีจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75 ของแรงงำนไทยที่ไปทำงำนต่ำงประเทศทั้งหมด ขณะทีต่ ะวันออกกลำง มจี ำนวน 4 คน ร้อยละ 12.5 และภูมภิ ำคอนื่ ๆ 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.5 รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแกว้ 34

แผนภูมิ 14 แรงงานไทยในจังหวัดสระแกว้ ท่ไี ด้รับอนุญาตไปทางานตา่ งประเทศ จาแนกตามภูมภิ าค ที่ เดินทางไป ไตรมาส 4 ปี 2562 04 หนว่ ย : คน 4 เอเชยี 24 ตะวนั ออกกลำง แอฟริกำ ภมู ิภำคอนื่ ๆ ทีม่ ำ : สำนักงำนจดั หำงำนจังหวัดสระแกว้ 3) การพฒั นาศักยภาพแรงงาน ในรอบไตรมำส 4 ปี 2562 (เดือนตุลำคม – ธันวำคม 2562) สำนักงำนพัฒนำฝีมือแรงงำนได้ ดำเนินกำรฝึกอบรมพัฒนำผู้ใช้แรงงำนในรูปแบบต่ำง ๆ ได้แก่ กำรฝึกเตรียมเข้ำทำงำน กำรฝึกยกระดับฝีมือ แรงงำน เพ่ือเพิ่มศักยภำพฝีมือแรงงำนไทยให้มีมำตรฐำนฝีมือทัดเทียมประเทศต่ำง ๆ ขณะเดียวกันเป็นกำร พฒั นำทักษะให้สอดคล้องกบั ควำมต้องกำรของตลำดแรงงำน โดยภำพรวมของกำรฝึกตำ่ ง ๆ ดังนี้ กำรฝึกเตรยี มเขำ้ ทำงำนในจงั หวัดสระแก้วในมผี ู้เข้ำรับกำรฝกึ 36 คน ผำ่ นกำรฝึก 16 คน *เขำ้ ฝกึ ในไตรมำส 4 จบฝกึ ในไตรมำส 1/2563 แผนภูมิ 15 การฝึกเตรียมเข้าทางานในจงั หวัดสระแก้ว จาแนกตามกลุ่มอาชีพไตรมาส 4 ปี 2562 7. ธุรกิจและบรกิ ำร 00 หน่วย : คน 6. เกษตรอุตสำหกรรม 00 5. ช่ำงอตุ สำหกรรมศิลป์ 00 15 ผู้ผ่ำนกำรฝกึ 4. ช่ำงไฟฟำ้ อิเล็กทรอนิกส์ คอมพวิ เตอร์ 0 18 ผู้เขำ้ รับกำรฝกึ 3. ชำ่ งเคร่อื งกล 0 2. ชำ่ งอุตสำหกำร 0 3 1. ชำ่ งก่อสรำ้ ง 00 5 0 10 15 20 ทีม่ ำ : ศูนย์พัฒนำฝมี อื แรงงำนจังหวัดสระแกว้ กำรฝึกยกระดับฝมี ือแรงงำนในจังหวัดสระแกว้ มีผู้เขำ้ รับกำรฝกึ 206 คน ผำ่ นกำรฝึก 191 คน กลมุ่ อำชีพท่ีได้รบั กำรฝกึ มำกทส่ี ุด คือ ธุรกจิ และบริกำร เขำ้ รับกำรฝึก 90 คน ผ่ำนกำรฝึก 78 คน ช่ำงไฟฟ้ำ เขำ้ รับ กำรฝกึ 50 คน ผำ่ นกำรฝกึ 48 คน ช่ำงเคร่ืองกล เข้ำรบั กำรฝึก 46 คน ผำ่ นกำรฝึก 45 คน แผนภมู ิ 16 การฝึกยกระดบั ฝีมือแรงงานในจังหวดั สระแก้ว จาแนกตามกลุ่มอาชีพไตรมาส 4 ปี 2562 รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแก้ว 35

7. ธุรกจิ และบริกำร 78 90 หนว่ ย : คน 6. เกษตรอุตสำหกรรม 0 ผู้ผำ่ นกำรฝกึ 5. ชำ่ งอตุ สำหกรรมศิลป์ 0 ผู้เขำ้ รบั กำรฝึก 4. ชำ่ งไฟฟ้ำ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ คอมพิวเตอร์ 20 80 100 20 3. ช่ำงเครื่องกล 48 2. ช่ำงอตุ สำหกำร 0 50 1. ช่ำงก่อสร้ำง 0 45 0 46 0 20 40 60 ทีม่ ำ : ศูนยพ์ ฒั นำฝีมือแรงงำนจังหวัดสระแ0กว้ กำรฝกึ อำชีพเสรมิ ในจงั หวดั สระแกว้ ในไตรมำสที่ 4 พบวำ่ มีกำรฝกึ อำชีพเสริมทง้ั ส้ิน 20 คน ผ่ำนกำร ฝึก 20 คน กลุ่มอำชีพที่พบว่ำมกี ำรฝึกมำกที่สุด คอื อุตสำหกรรมศิลป์ รบั กำรฝึก 20 คน ผำ่ น 20 คน แผนภูมิ 17 การฝึกอาชีพเสริมในจังหวัดสระแก้ว จาแนกตามกลุ่มอาชพี ไตรมาส 4 ปี 2562 7. ธุรกิจและบริกำร 0 หน่วย : คน 6. เกษตรอตุ สำหกรรม 0 5. ช่ำงอุตสำหกรรมศิลป์ 0 20 0 20 4. ชำ่ งไฟฟ้ำ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ คอมพวิ เตอร์ 0 ผู้ผำ่ นกำรทดสอบ 3. ช่ำงเคร่ืองกล 0 ผเู้ ขำ้ รับกำรทดสอบ 00 2. ชำ่ งอุตสำหกำร 00 10 15 20 25 1. ชำ่ งกอ่ สร้ำง 0 0 ท่ีมำ : ศูนย์พัฒนำฝีมือแรงงำนจงั หวดั สระแ0ก้ว 5 รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแกว้ 36

4) การคุ้มครองแรงงานและสวสั ดิการ 4.1 การตรวจแรงงาน กระทรวงแรงงำนนอกจำกจะมีภำรกิจด้ำนกำรส่งเสริมกำรมีงำนทำ กำรพัฒนำฝีมือแรงงำนเพื่อ ยกระดับฝีมือให้เป็นท่ียอมรับของตลำดแรงงำน และทัดเทียมมำตรฐำนสำกลแล้ว อีกภำรกิจหน่ึงท่ีเกิดขึ้น ต่อเนอื่ งภำยหลงั กำรส่งเสริมให้คนมีงำนทำแล้วคือ ภำรกิจด้ำนกำรคุ้มครองลูกจ้ำง นำยจ้ำง ให้ได้รับควำม เป็นธรรมในกำรจ้ำงงำน โดยสำนักงำนสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำนจังหวัดสระแก้ว หน่วยงำนในสังกัดกระทรวง แรงงำนเป็นหนว่ ยงำนทม่ี ีบทบำท ในกำรคุม้ ครองผู้ใช้แรงงำนให้ได้รับควำมเป็นธรรมจำกกำรจ้ำงงำน ภำยใต้ พระรำชบัญญัติคุ้มครองแรงงำนเพ่ือไม่ให้ถูกเอำรัดเอำเปรียบจำกนำยจ้ำงโดยมีจุดมุ่งหมำยสูงสุด คือ ให้มี คุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น ขณะเดียวกันในอีกด้ำนหน่ึงก็ต้องผดุงไว้ซึ่งควำมยุติธรรมกับฝ่ำยนำยจ้ำง กล่ำวคือไม่โอน เอยี งไปด้ำนใดด้ำนหนง่ึ ท้ังน้ี มำตรกำรท่ีจะช่วยให้ผู้ใช้แรงงำนได้รับรำยได้และสวัสดิกำรท่ีเป็นธรรมเพียงพอต่อ กำรดำรงชีวิต รวมถึงได้รับกำรคุ้มครองแรงงำนให้มีคุณภำพชีวิตที่ดีข้ึนได้คือกำรตรวจสถำนประกอบกำร เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จว่ำผใู้ ชแ้ รงงำนได้รบั กำรปฏิบัตแิ ละดแู ลตำมกฎหมำย ขณะเดียวกันจะเป็นมำตรกำรในกำรกระตุ้น ใหส้ ถำนประกอบกำรเอำใจใส่ดแู ลลกู จำ้ งของตนให้มำกขึ้นอกี ด้วย สำหรับใน ไตรมำส 4 ปี 2562 (ช่วงเดือนตุลำคม – ธันวำคม 2562) สำนักงำนสวัสดิกำรและคุ้มครอง แรงงำนจงั หวัดสระแก้ว ได้ดำเนินกำรตรวจสถำนประกอบกำรท้ังสิ้น 20 แห่ง มีลูกจ้ำงที่ผ่ำนกำรตรวจหรือได้รับ กำรคุ้มครองรวม 290 คน จำแนกเป็นชำย 177 คน (ร้อยละ 61.0 ของลูกจ้ำงท่ีตรวจท้ังหมด) หญิง 109 คน (ร้อยละ 37.5 ของลูกจ้ำงที่ตรวจทั้งหมด) เด็ก 4 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ซึ่งสถำนประกอบกำรที่ตรวจส่วนใหญ่เป็น สถำนประกอบกำรขนำด 1 – 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40 (8 แห่ง) รองลงมำเป็นสถำนประกอบกำรขนำด 5-9 คน คิด เป็นร้อยละ 10 (2 แห่ง) สถำนประกอบกำรขนำด 10-19 ร้อยละ 25 (5 แห่ง) สถำนประกอบกำรขนำด 20-49 ร้อย ละ 20 (4 แห่ง) สถำนประกอบกำรขนำด 50-99 รอ้ ยละ 5 (1 แห่ง) ตารางท่ี 11 จานวนสถานประกอบการและลกู จ้างที่ผ่านการตรวจในจงั หวดั สระแกว้ ไตรมาส 4 ปี 2562 สถานประกอบการ/ลกู จา้ งที่ผ่านการตรวจ ขนาดสถาน ไตรมาส 4 ปี 2562 ประกอบการ สถานประกอบการ (แห่ง) ลูกจา้ ง (คน) 1 – 4 คน 8 21 5 – 9 คน 2 12 10 – 19 คน 5 76 20 – 49 คน 4 116 50 – 99 คน 1 65 100 – 299 คน 300 – 499 คน 500 – 999 คน 1,000 คน+ รวม 20 290 ที่มำ : สำนักงำนสวัสดกิ ำรและคมุ้ ครองแรงงำนจงั หวัดสระแก้ว รายงานสถานการณแ์ รงงานจงั หวดั สระแก้ว 37

ในส่วนผลกำรตรวจพบว่ำ ไตรมำส 4 ปี 2562 สถำนประกอบกำรทั้งหมด (จำนวน 20 แห่ง) ร้อยละ 100 ปฏิบัติ ถูกต้องตำมกฎหมำย ซ่ึงโดยปกติควำมผิดเรื่องกำรไม่ปฏิบัติตำมข้อบังคับในกำรทำงำนมักพบว่ำเป็นเพรำะสถำน ประกอบกำรสว่ นใหญ่มไิ ด้ติดประกำศข้อบังคับกำรทำงำน ซง่ึ ได้แก่ กำรกำหนดวันหยุด เวลำทำงำน เวลำพัก ฯลฯ ให้ ลกู จ้ำงทรำบทว่ั กนั ซงึ่ ตำมระเบยี บปฏบิ ตั ิของพระรำชบัญญัติคุ้มครองแรงงำน พ.ศ. 2541 กำหนดให้นำยจ้ำงต้อง ติดประกำศข้อบงั คบั กำรทำงำนใหล้ กู จำ้ งทรำบ พร้อมส่งสำเนำประกำศให้กรมสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำนทรำบ ด้วย แต่ในทำงปฏิบตั นิ ำยจ้ำงบำงรำยมิได้ติดประกำศหรือติดประกำศแต่มิได้ทำสำเนำแจ้งสำนักงำนสวัสดิกำรและ คมุ้ ครองแรงงำนจงั หวัดสระแก้วทรำบ จึงถอื วำ่ ปฏบิ ัติไม่ถูกตอ้ ง สำหรับกำรตรวจควำมปลอดภัยในกำรทำงำน ซ่ึงเป็นเครื่องมือในกำรคุ้มครองดูแลควำมปลอดภัย อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนของลูกจ้ำง นอกจำกน้ีกำรตรวจควำมปลอดภัยในกำรทำงำนยังเป็น อกี มำตรกำรหนึ่งที่ดำเนินกำรเพือ่ กระตุ้นส่งเสรมิ ให้เจ้ำของสถำนประกอบกำรเห็นควำมสำคัญ และตระหนักถึงเรื่อง ควำมปลอดภัยในกำรทำงำน เพรำะหำกกำรทำงำนมีควำมปลอดภัยย่อมส่งผลถึงคุณภำพชีวิตที่ดี ของผู้ใช้แรงงำน ตำมมำ เมื่อคนงำนมีคุณภำพชีวิตที่ดี จะทำงำนอย่ำงมีควำมสุขและจะส่งผลต่อผลผลิตท่ีเพ่ิมสูงข้ึนของสถำน ประกอบกำรอันนำไปสู่ผลกำไรตำมมำน่ันเอง ในไตรมำสที่ 4 ปี 2562 ช่วงเดือนตุลำคม – ธันวำคม 2562 สำนักงำนสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำนจังหวัดสระแก้ว ได้ดำเนินกำรตรวจควำมปลอดภัยในสถำนประกอบกำร ท้งั สิน้ 6 แหง่ ลูกจำ้ งท่ีผำ่ นกำรตรวจท้งั ส้นิ 118 คน ตาราง 12 การตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการจังหวัดสระแก้ว ไตรมาส 4 ปี 2562 จาแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 4/2562 ขนาดสถานประกอบการ สถานประกอบการทีผ่ า่ น ลูกจา้ งทผี่ ่านการ 1 - 4 คน การตรวจ (แห่ง) ตรวจ (คน) 5 - 9 คน 10 - 19 คน 25 20 - 49 คน 50 - 99 คน 16 100 - 299 คน 300 - 499 คน 1 14 500 - 999 คน 1,000 คน+ 1 28 รวม 1 65 20 118 ที่มำ : สำนกั งำนสวสั ดกิ ำรและคุ้มครองแรงงำนจังหวดั สระแกว้ รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ 38

ตาราง 13 การตรวจความปลอดภยั กบั การปฏิบัตถิ ูกต้องตามกฎหมายความปลอดภยั จงั หวัด สระแกว้ ไตรมาส 4 ปี 2562 ไตรมาส 4 / 2562 ขนาดสถานประกอบการ สถานประกอบการท่ผี ่านการ สถานประกอบการท่ีปฏิบัติถูกตอ้ ง ตรวจ (แห่ง) (แห่ง) 1 - 4 คน 2 5 - 9 คน 1 10 - 19 คน 1 20 - 49 คน 1 50 - 99 คน 1 100 - 299 คน 300 - 499 คน 500 - 999 คน 1,000 คน+ รวม 20 ท่ีมำ : สำนักงำนสวสั ดิกำรและคุ้มครองแรงงำนจงั หวัดสระแก้ว กำรดำเนินกำรของเจ้ำหน้ำท่ีในส่วนของสถำนประกอบกำรท่ีปฏิบัติไม่ถูกต้องตำมกฎหมำยควำมปลอดภัย ประกอบไปดว้ ยกำรให้คำแนะนำในวิธีกำรปฏิบตั ิทีถ่ ูกตอ้ ง กำรออกคำสั่งให้สง่ เอกสำร เรียกพบ ปรับปรุง หรือหยุด กำรใช้เครือ่ งจกั ร รวมท้งั กำรส่งเรือ่ งดำเนนิ คดี ทงั้ น้ี ในบำงแหง่ อำจมีกำรดำเนนิ กำรมำกกว่ำ 1 กรณี 4.2 การประสบอนั ตราย/เจบ็ ปว่ ยจากการทางาน สำหรับกำรประสบอันตรำยหรือเจ็บป่วยเนื่องจำกกำรทำงำนในรอบไตรมำส 4 ปี 2562 เดือนตุลำคม – ธนั วำคม 2562 พบวำ่ กำรประสบอันตรำยหรือเจ็บป่วยเนือ่ งมำจำกกำรทำงำน มที ั้งส้ิน 33 คน โดยส่วนใหญ่เป็น กำรประสบอันตรำยหรือเจ็บป่วยในสถำนประกอบกำรท่ีมีลูกจ้ำง 201-500 มีจำนวน 9 คน รองลงมำคือขนำด 21- 50, 1000ข้นึ ไป มีจำนวนอย่ำงละ 6 คน 1-10 คน จำนวน 4 คน 11-20, 501-1000 คน มีจำนวนอย่ำงละ 3 คน 51- 100 ,101-200 คน จำนวนอยำ่ งละ 1 คน รายงานสถานการณแ์ รงงานจังหวดั สระแกว้ 39

แผนภูมิ 18 ผปู้ ระสบอันตรายหรือเจบ็ ป่วย เนอื่ งจากการทางานในจงั หวัดสระแก้ว จาแนกตาม ขนาด สถานประกอบการ ไตรมาส 4 ปี 2562 1001 คน 3 6 9 501-1000 คน 6 201-500 คน 1 3 101-200 คน 1 4 51-100 คน 21-50 คน 11-20 คน 1 -10 คน ทีม่ ำ : สำนักงำ0นประกนั สังคม2จงั หวดั สระแก้ว4 6 8 10 หน่วย : คน เมื่อพจิ ำรณำผูป้ ระสบอันตรำยหรือเจบ็ ป่วยจำกกำรทำงำน ตำมประเภทควำมร้ำยแรง 33 คน พบว่ำมีอยู่ 3 ประเภท คือ หยุดงำนเกนิ 3 วัน จำนวน 8 คน และหยดุ งำนไมเ่ กนิ 3 วนั จำนวน 23 คน แผนภมู ิ 19 ผู้ประสบอนั ตรายหรือเจ็บปว่ ยเนื่องจากการทางานในจงั หวัดสระแก้ว จาแนกตามประเภท ความรา้ ยแรง ไตรมาส 4 ปี 2562 0 0 หนว่ ย : คน 2 1. ตำย 8 2. ทุพพลภำพ 3. สญู เสียอวยั วะบำงสว่ น 23 4. หยดุ งำนเกิน 3 วนั 5. หยุดงำนไม่เกนิ 3 วนั ที่มำ : สำนกั งำนประกนั สงั คมจังหวัดสระแก้ว สำหรับสำเหตุกำรประสบอันตรำยเน่ืองจำกกำรทำงำน สรุปได้ดังนี้ วัตถุหรือส่ิงของตัด/บำด/ท่ิมแทง จำนวน 11 คน ตกจำกท่ีสูง,วัตถุหรือส่ิงของหนีบ/ดึง จำนวนอย่ำงละ 5 คน วัตถุหรือส่ิงของกระแทกชน,วัตถุ หรือสิ่งของพังทลำยหล่นทับ,อุบัติเหตุจำกยำนพำหนะ จำนวนอย่ำงละ 2 คน อำคำรหรือส่ิงก่อสร้ำงพังทับ, วตั ถหุ รอื สงิ่ ของระเบิด, ผลจำกควำมรอ้ น,ถูกทำรำ้ ยร่ำงกำย จำนวนอย่ำงละ 1 คน รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแกว้ 40

แผนภูมทิ ี่ 20 สาเหตุการประสบอันตรายเน่ืองจากการทางาน ไตรมาส 4 ปี 2562 หนว่ ย : คน 212 2 วัตถุหรือสง่ิ ของหล่นทบั วัตถหุ รือสง่ิ ของกระแทก 5 ตกจำกท่ีสงู 11 ถกู ทำร้ำยรำ่ งกำย วัตถหุ รือสงิ่ ของหนบี 1 ผลจำกควำมร้อน/สมั ผสั ของร้อน 11 5 วัตถุหรือสงิ่ ของระเบดิ วตั ถุหรือส่ิงของตดั ท่ีมำ : สำนักงำนประกันสงั คมจังหวัดสระแกว้ 4.3 การแรงงานสมั พนั ธ์ นอกเหนอื จำกภำรกจิ ด้ำนกำรคมุ้ ครองแรงงำนและดแู ลดำ้ นควำมปลอดภัย ทั้งแก่ลูกจ้ำงและนำยจ้ำง แลว้ กระทรวงแรงงำนโดยสำนกั งำนสวสั ดกิ ำรและคุม้ ครองแรงงำนจังหวัดสระแก้ว ยังมีภำรกิจในกำรส่งเสริม และพัฒนำระบบแรงงำนสัมพันธ์ ให้เหมำะสมและสอดคล้องกับเศรษฐกิจ สังคม เพ่ือป้องกันควำมขัดแย้ง และเสริมสร้ำงควำมร่วมมือที่ดีต่อกันระหว่ำงนำยจ้ำง ลูกจ้ำง และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง โดยมีเป้ำหมำยหลักเพื่อ สร้ำงสันติสุขในวงกำรแรงงำน ให้นำยจ้ำงและลูกจ้ำงมีทัศนคติที่ดีต่อกันในกำรทำงำน เพรำะหำกนำยจ้ำง ลูกจ้ำงมีควำมเข้ำใจกันเป็นอย่ำงดีย่อมไม่เกิดปัญหำขัดแย้งข้ึน เม่ือปัญหำข้อขัดแย้งไม่มี พลังในกำรขับเคล่ือนงำน หรอื ทีมงำนกจ็ ะดีนำไปสู่กำรเพ่มิ ผลผลติ หรอื เพิ่มผลติ ภำพในกำรปฏิบัติงำน ลูกจ้ำงหรือผู้ใช้แรงงำนมีควำมสุข ในกำรทำงำน คุณภำพชวี ิตยอ่ มดีขึ้น ขณะเดียวกันนำยจ้ำงก็มีควำมสุขเนื่องจำกมีผลผลิตเพิ่มข้ึนเป็นผลกำไร ตำมมำ ทั้งนี้ ในกลุ่มของนำยจ้ำงและลูกจ้ำง จะมีกำรต้ังองค์กำรเพ่ือทำหน้ำท่ีเป็นตัวแทนตนเอง โดยเมื่อ พิจำรณำในส่วนองค์กำรนำยจ้ำง ไตรมำสท่ี 4 ปี 2562 พบว่ำจังหวัดสระแก้วยังไม่มีสมำคมนำยจ้ำง สหพันธ์ นำยจ้ำง สภำองคก์ ำรนำยจำ้ ง ในส่วนจำนวนองค์กำรลูกจ้ำง ในไตรมำสน้ี มีองค์กำรลูกจ้ำงทำหน้ำที่เป็นตัวแทนตนเอง คือ สหภำพ แรงงำนในกจิ กำรเอกชน 1 แหง่ ตาราง 14 จานวนองค์การลกู จา้ งจังหวดั สระแกว้ ไตรมาส 4 ปี 2562 ประเภทองค์กร จานวน (แห่ง) องค์กำรลูกจำ้ ง สหภำพแรงงำนรฐั วสิ ำหกิจ 0 สหภำพแรงงำนในกจิ กำรเอกชน 1 สหพันธแ์ รงงำน 0 สภำองคก์ รลูกจ้ำง 0 1 รวม ที่มำ : สำนกั งำนสวัสดกิ ำรและคุ้มครองแรงงำนจงั หวดั สระแก้ว ในส่วนของขอ้ เรยี กร้อง ขอ้ พพิ ำท ขอ้ ขัดแย้ง ในรอบไตรมำสที่ 4 ปี 2562 (เดือนตุลำคม – ธนั วำคม 2562) พบว่ำไม่มีในไตรมำสนี้ไม่มีกำรแจง้ ขอ้ เรยี กร้อง ขอ้ พิพำท ขอ้ ขดั แย้งใด ๆ รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวดั สระแก้ว 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook