Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนตำบล63แสมสาร

แผนตำบล63แสมสาร

Published by yingnuy praweena, 2020-03-24 03:04:58

Description: แผนตำบล63แสมสาร

Search

Read the Text Version

1 แผนปฏบิ ัตกิ ารกศน.ตำบลแสมสาร การจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประจำปี งบประมาณ 2563 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสตั หบี สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั ชลบุรี สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2 คำนำ แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตำบลแสมสาร จดั ทำขึ้นเพือ่ เป็นแนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2563 โดยยดึ แนวทางตามยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนนิ งาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ประจำปี งบประมาณ 2563 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจดุ เนน้ การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบรุ ี ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสัตหีบ ตลอดจนบรบิ ท ความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายในพื้นที่ เพือ่ กำหนดเป็นแนวปฏบิ ัตแิ ละแนวทางใน การดำเนินงาน กศน.ตำบลแสมสาร ใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมาย ที่ตงั้ ไวอ้ ย่างมี ประสทิ ธิภาพ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่าแผนปฏบิ ัติการ กศน.ตำบลแสมสารประจำปีงบประมาณ 2563 เล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบุคลากรและผูเ้ กีย่ วข้อง เพอ่ื ให้การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศัยบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ และมีคุณภาพตามเป้าหมายตลอดจน เปน็ ประโยชน์ตอ่ ผ้มู สี ่วนเก่ยี วข้อง ประชาชน ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติต่อไป นางสาวประวณี า ดาวมณี หวั หนา้ กศน.ตำบลแสมสาร

สารบญั 3 หน้า คำนำ สารบัญ สว่ นที่ 1 ข้อมลู พ้นื ฐาน ข้อมลู ทัว่ ไป กศน.ตำบลแสมสาร...............................................................................................................2 สว่ นที2่ ทิศทาง นโยบาย กศน.ตำบลแสมสาร - นโยบายและจุดเนน้ ของ สำนกั งาน กศน. ปีงบประมาณ 2563.............................................................17 - ทิศทาง นโยบายและจดุ เนน้ ของ กศน.อำเภอสัตหีบ..............................................................................33 - ปรัชญา วิสยั ทศั น์ พันธกจิ กศน.ตำบลแสมสาร.....................................................................................36 - ผลการวิเคราะห์ SWOT (Swot Analysis) ของ กศน.ตำบลแสมสาร...................................................36 ส่วนท3่ี รายละเอียดแผนงาน/โครงการประจำปี 2561 - ตารางแผนปฏบิ ัติการประจำปี 2563 ....................................................................................................39 ส่วนที่ 4 กลยทุ ธก์ ารดำเนินงาน - การดำเนนิ งานตามแนวทางวงจร PDCA..................................................................................................40 สว่ นท่ี 5 ภาคผนวก - คำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2563 กศน.ตำบลแสมสาร - รายช่ือคณะกรรมการ กศน.ตำบลแสมสาร คณะผจู้ ดั ทำ

4 ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน

2 สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพืน้ ฐาน กศน.ตำบลแสมสาร 1.1 ทต่ี ง้ั อาคาร วัดช่องแสมสาร หมทู่ ี่ 2 ตำบลแสมสาร อำเภอสตั หบี จังหวดั ชลบรุ ี 20180 1.2 แผนที่ตง้ั อาคาร กศน.ตำบลแสมสาร

3 1.3 บุคลากรประจำ กศน.ตำบลแสมสาร นางสาวประวณี า ดาวมณี ตำแหนง่ หัวหน้า กศน.ตำบลแสมสาร นางสาวทัตพิชา นนลือชา ตำแหนง่ ครู ศรช.กศน.ตำบลแสมสาร 1.4 สงั กัด ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสัตหบี สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดชลบุรี สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ 1.5 แหล่งเรียนรู/้ เครอื ข่าย ท่ีต้ัง หมู่ที่ 2 ตำบลแสมสาร 1.5.1 ศูนย์การเรียนชมุ ชน หมู่ท4ี่ ตำบลแสมสาร ท่ี ช่ือ 1 กศน.ตำบลแสมสาร 2 อาคารประชาคมหมูบ่ า้ นหม4ู่ 1.5.2 บ้านหนงั สือชมุ ชน ทตี่ ง้ั ผู้ติดตอ่ /ผดู้ แู ล/รบั ผิดชอบ ท่ี ชื่อหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริม นางสาวประวีณา ดาวมณี 1 หนองน้ำเคม็ สุขภาพชุมชนตำบล แสมสาร หม่ทู 2ี่ ต.แสมสาร

4 1.5.3 ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ /แหลง่ เรยี นรู้ ท่ี ชื่อ-สกุล/สถานท่ี ความสามารถและประสบการณ์ ท่ีตัง้ 1 นางอมั พร พทิ ักษณ์กรณ์ การแปรรปู อาหารทะเล กศน.ตำบลแสมสาร 2 เพอร์คลู ่าฟาร์ม ฟารม์ ปลา ศกึ ษาและเพาะเลยี้ งพนั ธ์ุสัตว์ หมทู่ ่ี 2 ตำบลแสมสาร การต์ นู ทะเล 3 พพิ ิธภัณฑธ์ รรมชาตวิ ิทยา การอนรุ กั ษ์และการเพาะพันธ์ุ หมู่ที่ 2 ตำบลแสมสาร เกาะและทะเลไทย สัตว์และพืชทางทะเล ธรรมชาติ วิทยาทางทะเล ตน้ กำเนดิ ดนิ 4 วดั ชอ่ งแสมสาร แหลง่ ศกึ ษาศาสนพิธที ่สี ำคญั ใน หมู่ที่ 2 ตำบลแสมสาร ตำบลแสมสารและเปน็ ทยี่ ดึ เหนี่ยวจติ ใจคนในตำบลและ พื้นที่ใกล้เคยี ง 5 วิหารหลวงพอ่ ดำ แหล่งศกึ ษาศาสนพธิ ีท่ีสำคญั ใน หมทู่ ี่ 3 ตำบลแสมสาร ตำบลแสมสารและเปน็ ทย่ี ดึ เหนีย่ วจิตใจคนในตำบลและ พน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี ง 6. ศนู ยก์ ารเรยี นรู้อนิ ทรียว์ ถิ ี แหล่งเรยี นร้เู กษตรอนิ ทรีย์ นสร.กร. ตำบลแสมสาร ไทย นสร. ทฤษฎใี หมต่ ามแนวทาง อำเภอสัตหีบ จงั หวดั ชลบรุ ี เศรษฐกจิ พอเพยี ง 1.5.4 แหล่งเรียนรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ท่ี ชื่อ ทต่ี ง้ั 1 ศนู ย์การเรยี นรอู้ นิ ทรีย์วถิ ีไทย นสร.กร. ตำบลแสมสาร อำเภอสัตหบี นสร. จงั หวดั ชลบรุ ี 2 บา้ นนางรัศมี งามเดน่ เจรญิ ศรี หมู่ 4 ตำบลแสมสาร

5 สภาพทางกายภาพของชมุ ชน ตำบลแสมสาร ในอดีตเกาะแสมสารน้ัน มีชุมชนชาวบ้านอาศัยอยู่โดยมีหลกั ฐานเป็นบ้านเรือน หรือวดั ปลูกสรา้ งอยู่ บนเกาะแสมสาร ชาวบา้ นบนเกาะก็จะมอี าชีพหลักคอื การทำ แต่ตอ่ มาเมื่อมีการขอความร่วมมือจากทางราชการ เพื่อใช้พ้ืนท่ีของเกาะแสมสาร เพ่ือการอนุรักษ์ ชาวบ้าน อาศัยอยู่บนเกาะจึงได้ย้ายถิ่นฐานจากบนเกาะแสมสาร ขึ้นมาบนฝั่ง ปจั จุบันกค็ ือ \" ตำบลแสมสาร \" ซง่ึ แต่เดิมน้ันก่อนท่ีจะเป็นตำบลแสมสารน้ันในอดีตพ้นื ท่ีนกี้ ็คอื หมู่ 5 ของตำบลพลตู าหลวง อำเภอสัตหีบ แต่ต่อมาไดท้ ำเร่ืองขอเปน็ ตำบล เนอ่ื งจากมีจำนวนประชากรเพ่ิมมากข้ึนจาก\" หมู่บ้านแสมสาร \" ให้เปล่ียนเป็น \" ตำบลแสมสาร \" โดยประชากรส่วนใหญ่ในพน้ื ท่ียงั คงประกอบอาชพี ประมงเป็น อาชีพหลัก. และในส่วนของ \" เกาะแสมสาร \" หลังจากที่กองทัพเรือได้เข้าไปทำการอนุรักษ์แล้วปัจจุบัน ได้เปิด โอกาสให้ชาวบ้านซึ่งเคยอยู่อาศัยบนเกาะแสมสาร ได้เข้าไปเยี่ยมเกาะแสมสารได้ และในช่วงเทศกาลสงกรานต์วัน ไหลของตำบลแสมสาร จะมีประเพณีฉลองสงกรานต์ของชาวบ้านตำบลแสมสาร โดยมีการข้ามเรือจากฝ่ังไปฉลอง และทำบญุ ทีว่ ดั ท่ีอยู่บนเกาะแสมสาร โดยไดร้ ับความรว่ มมอื จากกองทพั เรอื เป็นอย่างดี คาดว่าตอ่ ไปประเพณีนจ้ี ะ ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวอย่างมากในอนาคต ซ่ึงชาวบ้านชุมชนแสมสารเองก็มีความสำคัญกับเกาะ แสมสารเพราะลำพังจะพ่ึงเพียงกำลังของทหารเรือที่จะดูแลรักษาเกาะแสมสารแต่เพียงอย่างเดียวการทำงานคง ยากลำบาก แต่หากมชี มุ ชนเขา้ มาร่วมมือช่วยเหลือในการดแู ลรักษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ ก็จะทำให้เกาะแสมสาร ยังคงความอุดมสมบูรณ์ได้ต่อไปในอนาคต และน่ีก็คือส่ิงหนึ่งที่ดีที่เกิดขึ้นในการร่วมมือของราชการและชุมชน ใน การอนุรกั ษธ์ รรมชาติใหค้ งอยู่ต่อไป... คำขวญั ตำบลแสมสาร ถ่นิ ชาวประมง สกั การะองค์หลวงพอ่ ดำ งามลำ้ เกาะแกง่ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วไทย ฟ้าใสทะเลงาม สมนามแสมสาร กศน.ตำบลแสมสาร มีบทบาทหนา้ ที่ในการจดั การศกึ ษานอกโรงเรียนสายสามัญ ในหลักสูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 2551พ.ศ. จดั การเรยี นการสอนผู้ไม่รู้ หนงั สอื เพื่อให้อ่านออกเขียนได้ การศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย การศึกษาต่อเน่อื งการศึกษาเพอ่ื การมีงานทำ การศึกษา เพอื่ พฒั นาทกั ษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน และการศึกษาตามอัธยาศยั โดยจัดให้มบี ้านหนงั สือ หนงั สืออจั ฉรยิ ะในชมุ ชน กศน.ตำบล มวี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ จัดการเรียนรู้ ทห่ี ลากหลายตามความต้องการของผเู้ รียน เป็นแหล่งเรยี นรู้ ตลอดชีวิตอยา่ งทั่ว ถึงสำหรบั ผูส้ นใจและประชาชนในชุมชนถงึ และเท่าเทยี มกัน ขนาดพนื้ ที่ ท่ตี ัง้ อาณาเขตติดต่อ แสมสารมีลักษณะเปน็ รปู ทรงยาวรี ขนาดพน้ื ท่ีโดยรวมประมาณ 5 ตารางกโิ ลเมตร และอยหู่ า่ งจากฝง่ั ของอำเภอสตั หีบไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้ ประมาณ 8 กิโลเมตร โดยมีเนอ้ื ทบี่ นเกาะทงั้ หมดจำนวน 2738 ไร่ 3 งาน 36 ตารางวา.

6 อาณาเขตตำบล ตำบลแสมสารเปน็ 1 ใน 5 ตำบลในเขตอำเภอสัตหีบ จงั หวัดชลบุรี มี อาณาเขตพน้ื ทอี่ ยู่ติดกับทอ้ งถิน่ ใกล้เคียง ดังน้ี ทิศเหนอื ตดิ พนื้ ท่ีองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลสัตหีบ ทศิ ตะวันออก ติดพ้ืนท่ีองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลพลูตาหลวง ทิศใต้ ตดิ ชายฝ่ังทะเลอ่าวไทย ทิศตะวันตก ติดชายฝัง่ ทะเลอ่าวไทย ตำบลแสมสารมีพืน้ ทที่ ั้งหมดโดยประมาณ 32 ตารางกิโลเมตร พน้ื ที่ประมาณ 20,000 ไร่ ลกั ษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภมู ิประเทศโดยท่วั ไปของตำบลแสมสารแสมสารมีลักษณะเป็นรูปทรงยาวรี ขนาดพน้ื ทโ่ี ดยรวม ประมาณ 5 ตารางกโิ ลเมตร ลกั ษณะดินลูกรังปนหนิ ลกู รงั ภมู ปิ ระเทศบนเกาะประกอบไปด้วย ภเู ขาขนาดใหญ่ 1 ลกู สูงประมาณ 167 เมตร อยทู่ างทิศเหนือของเกาะและภเู ขาขนาดย่อม 1 ลูก สงู ประมาณ 159 เมตร อยู่ทางทศิ ใต้ของเกาะและมเี นนิ ขนาดความสงู เล็กน้อยอกี บางส่วน เกาะแสมสารเป็นเกาะหน่งึ ที่ข้ึนกับอำเภอสตั หบี จงั หวัด ชลบุรี อยู่ทางทศิ ใต้ของแหลมแสมสาร ออกไปประมาณ2 กิโลเมตร

7 จำนวนประชากร จำนวนประชากรในพน้ื ที่ตำบลแสมสารแยกเป็นชาย 3,217 คน เปน็ หญงิ 3,201 คน รวมทง้ั สิน้ 6,418 คน (ข้อมลู จาก แผนพฒั นาป2ี 561 ของ อบต.ตำบลแสมสาร) ทรพั ยากร ทรพั ยากรทางธรรมชาตทิ างทะแลเช่นเกาะต่างทอ่ี ยูใ่ นพื้นทแ่ี สมารมีเกาะขาม เกาะแสมสาร รวมถึงพันธ์ุ ปลาต่าง ๆโดยเฉาะปลาการ์ตูนทพ่ี บในหนา้ อา่ วแสมสารปะการังสที องและทรัพยากรตัวกล่าวได้รับการอนุรักษด์ ูแล จากเจ้าหน้าท่ีของทางทะหารภายใตก้ ารดูแลของเจ้าหน้าท่ขี องอุทยานทางทะเลเกาะขาม การประกอบอาชีพ ประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี ประมง และรบั จ้างทัว่ ไปเก่ยี วกบั การประมง สภาพทางสังคม 1. กศน.ตำบลจำนวน 1 แหง่ คอื - กศน.ตำบลแสมสาร ตงั้ อยู่บรเิ วณวัดช่องแสมสาร หม2ู่ ตำบลแสมสาร อำเภอสตั หีบ จังหวดั ชลบรุ ี 2. โรงเรยี นของรฐั จำนวน 1 แห่งไดแ้ ก่ - โรงเรียนชุมชนบา้ นช่องแสมสาร: ตำบลแสมสาร อำเภอสัตหีบ จงั หวดั ชลบุรี 3. วัดจำนวน 1 แหง่ - วดั ช่องแสมสาร 4. องค์การบริหารส่วนตำบล 1 แหง่ - องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลแสมสาร 5. ท่ารถโดยสารประจำทาง จำนวน 1 แหง่ 6. แหล่งใหค้ วามรูป้ ราชญช์ าวบ้าน จำนวน 3 แห่งตัง้ อยูต่ ำบลแสมสาร 7. สถานพยาบาล จำนวน 1 แห่ง คอื โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลแสมสาร 8. การโทรคมนาคม มโี ทรศพั ทเ์ ขา้ ถึงหมบู่ า้ นมีหอกระจายขา่ ว/เสยี งตามสายทกุ หม่บู ้าน 9. การไฟฟ้า 1) มไี ฟฟา้ เขา้ ถึงทุกหมบู่ ้าน ประชากรทุกครวั เรือนมไี ฟฟ้าใชท้ ุกหลงั 2) ไฟฟ้าสาธารณะยงั มไี ม่เพียงพอกับเขตพืน้ ที่

8 สภาพทางสงั คม-ประชากร ตำบลแสมสารมีจำนวนหม่บู ้านอยใู่ นเขตการปกครองจำนวน 4 หมูบ่ า้ น ไดแ้ ก่ หมู่ที่ ชือ่ หมูบ่ ้าน จำนวนประชากรปี พ.ศ. 2562 ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) 1 บ้านชอ่ งแสมสาร 565 595 1,160 2 บา้ นหนองนำ้ เค็ม 1,131 952 2,083 3 บ้านหวั แหลม 437 442 879 4 บา้ นหนองกระจง 1,084 1,212 2,296 รวม 3,217 3,201 6,418 ความหนาแน่นของประชากร 192.38 คน/ตารางกโิ ลเมตร จำนวนบ้าน 2,588 หลังคาเรอื น ศาสนา ตำบลแสมสาร มีการนบั ถือศาสนา ผนู้ ับถอื ศาสนาพทุ ธร้อยละ 98 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในองคก์ ารบริหารสว่ นตำบล มศี าสนสถาน 1 แหง่ คอื วดั ชอ่ งแสมสาร ตง้ั อย่ทู ี่หมู่ 2 บา้ นหนองนำ้ เค็ม ผู้นับถอื ศาสนาอสิ ลาม รอ้ ยละ 1 ของจำนวนประชากรท้ังหมดในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ผนู้ บั ถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 1 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในเขตองค์การบรหิ ารส่วนตำบล

9 วัฒนธรรมประเพณี สำคัญในตำบลแสมสาร ไดแ้ ก่ - งานปดิ ทองหลวงพอ่ ดำ เดือนกมุ ภาพนั ธ์ กิจกรรมโดยสังเขป ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา, ปิดทอง - งานปิดทองหลวงพ่อทตั เดือนเมษายน กิจกรรมโดยสังเขป กีฬาพ้นื บา้ น, กอ่ เจดยี ์ทราย, รดนำ้ ผ้ใู หญ่ ฯลฯ- - งานลอยกระทง เดอื นพฤศจกิ ายน กิจกรรมโดยสงั เขป ทำบญุ ตกั บาตร, ประกวดร้องเพลงประเพณีวนั ไหล- - สงกรานต์ เดอื นเมษายน กจิ กรรมโดยสงั เขป การรดน้ำดำหวั ผู้ใหญ่ รดนำ้ พระ เลน่ สาดน้ำ ประกวดการ ก่อกองทราย ประชากรแฝง ตำบลแสมสาร มีประชากรแฝง แรงงานย้ายถิน่ ฐานประมาณ 3,342 คน สภาพทางเศรษฐกจิ ประชากรส่วนใหญใ่ นตำบลแสมสารประกอบอาชีพประมงซงึ่ มากถงึ รอ้ ยละ 60 ของประชากรท้งั หมด และ รอ้ ยละ 30 ประกอบธุรกจิ สว่ นตัว/คา้ ขาย รอ้ ยละ 10 ประกอบอาชีพแรงงานและรับจา้ ง โดยภาพร่วมแล้ว ประชากรตำบลแสมสารจัดอยู่ในกลมุ่ ผู้มรี ายได้นอ้ ย รายได้ไม่พอใชจ้ า่ ยในชีวิตประจำวนั คา่ ครองชีพสงู ดงั นนั้ เพ่อื เปน็ การตอ่ รองในด้านธุรกิจการตลาดและพฒั นาฝีมอื ในการประกอบอาชีพต่างๆ การประกอบอาชีพเสริมการสรา้ ง ทุนทางสงั คมโดยวิธปี ระชาคม ซึ่งส่งผลใหป้ ระชากรมรี ายได้เพ่ือเล้ียงครอบครัวสูงขน้ึ แหล่งท่องเท่ียวในตำบลแสมสาร - อนเุ สาวรยี พ์ ระเจา้ ตากสนิ มหาราช - วิหารหลวงพอ่ ดำ มีเจดยี ท์ ี่สรา้ งขนึ้ ในสมยั รชั กาลท่ี 5 มากกวา่ 100 ปี - วดั ช่องแสมสารมซี มุ้ ประตแู ละอโุ บสถและวิหารเฉลิมพระเกยี รตทิ ีส่ วยงาม - พิพิทธภัณฑ์ธรรมชาตเิ กาะและทะเลไทย - อุทยานใต้ทะเลเกาะขาม - เกาะแสมสาร - หาดน้ำใส - หาดนางรำหาดนางรอง

10 ปญั หาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนทจ่ี ำแนกตามลักษณะของกลุ่มเปา้ หมาย ขนาด กศน.ตำบล จำนวนผูเ้ รียน/นักศกึ ษา ระดับการศึกษาท่ใี ห้บรกิ าร กศน.ตำบลแสมสาร อำเภอสตั หบี จงั หวัดชลบุรี จดั การศึกษาให้กบั คนในชมุ ชนภาคเรียนท่ี 2/2562 ดงั น้ี ลำดับ ระดับ จำนวน 1 ส่งเสริมการร้หู นังสือ - 2 ประถม - 3 ม.ต้น 66 4 ม.ปลาย 123 รวม 189

11 แหล่งเรยี นรูช้ ุมชน/ภาคีเครือขา่ ย พิพธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติวทิ ยาเกาะและทะเลไทย ประวัตคิ วามเปน็ มา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ไดท้ รงมีพระราชกระแสแนะนำแนวทางการสรา้ ง ความรู้ความเข้าใจและจติ สำนึก ในเรือ่ งเก่ียวกบั การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตใิ ห้แกเ่ ยาวชนไว้หลายครัง้ หลายครา ครง้ั หนึ่งเม่ือวนั ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 ได้มีพระราชกระแสว่า \"การสอนให้เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรกั ษ์พืชพรรณน้ัน ควรใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็นความ งดงามความสนใจ และก่อให้เกดิ ความปิติทีจ่ ะทำการศึกษาและอนุรกั ษ์พืชพรรณตอ่ ไป การใช้วิธกี าร สอน การอบรมให้เกิดความรสู้ ึกกลัวว่าหากไม่อนุรักษ์แล้ว จะเกิดผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทำ ใหเ้ ด็กเกดิ ความเครยี ด ซึง่ จะเป็นผลเสียตอ่ ประเทศในระยะยาว\" สถานท่ีต้งั ตัง้ อยรู่ ิมทะเลบรเิ วณเขาหมาจอ ตำบลแสมสาร อำเภอสตั หีบ จงั หวดั ชลบุรี ในจดุ ทีอ่ ยู่ตรงขา้ มเกาะแสมสาร รายละเอียด กำหนดวนั และเวลาในการเยีย่ มชม ระหว่างวันอังคาร - วันอาทิตย์ ตง้ั แต่เวลา 9.00 ถงึ 17.00 น. (หยดุ วนั จันทร์ 1 วนั ยกเว้นตรงกบั วันนกั ขัตฤกษ์ จะเปิดให้เขา้ ชมเป็นกรณีพเิ ศษ) ทางพิพธิ ภัณฑ์ฯ จำหนา่ ยบัตรเยี่ยมชม เพือ่ สมทบเป็นค่าใช้จ่ายในการบำรงุ รกั ษาพิพธิ ภัณฑฯ์ ดังน้ี สำหรบั ผู้ใหญ่ คนละ 50 บาท เดก็ นกั เรยี นไม่เกนิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 คนละ 20 บาท กรณีทำหนงั สือแจ้งมาเป็นหมู่คณะ (จำนวน20 คนขึน้ ไป) จะเสียค่าบำรุงผู้ใหญ่ 30 บาท เดก็ 20 บาท กรณียกเวน้ คา่ เยยี่ มชม ทหารเรอื ในเคร่อื งแบบ นักบวช เดก็ เล็กความสงู ไม่เกนิ 110 ซม

12 บทบาท/ภารกิจ/หน้าที่ใหบ้ ริการ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย เป็นพิพิธภัณฑ์ท่ีสากลเรียกว่า Natural History Museum อันเป็นสถานท่ีรวบรวมและจัดแสดงวัตถุธรรมชาติ (ธรรมชาติวิทยา) ท้ังในด้านธรณีวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ ทางทะเลเป็นแห่งแรกในประเทศไทย ต้ังอยู่ริมทะเลบริเวณเขาหมาจอ ตำบล แสมสาร อำเภอสัตหีบ จังหวดั ชลบรุ ี อยู่ตรงขา้ มเกาะแสมสาร มพี ้ืนทีป่ ระมาณ 16 ไร่ เป็นหน่ึงใน โครงการ อนรุ ักษพ์ ันธุกรรมพืชอนั เน่อื งมาจากพระราชดำรฯิ สิ่งก่อสรา้ งมีลักษณะเปน็ อาคารไตร่ ะดบั เขาถึงยอดเนิน เปน็ อาคารรปู พัด เพ่ือใหม้ องเห็นทัศนยี ภาพมุมกว้างของเกาะและทะเลโดยมุ่งท่ีจะใหผ้ ู้ชมเหน็ ความงดงาม ของท้องทะเล แล้ว เกิดจินตนาการและความปิติท่ีจะรักษาทรัพยากรธรรมชาติไว้ตามแนวพระราชดำริ พระราชทานของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ว่า \"ให้สำรวจต้ังแต่ยอดเขาถึงใต้ ทะเล\" กองทัพเรือได้น้อมเกล้าฯ รับพระราชดำริมาประมวลเป็นรูปแบบการก่อสร้างและหลักการการ จดั การพิพธิ ภณั ฑ์ฯ จนกระทั่งบัดนกี้ ารก่อสรา้ งพิพิธภณั ฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทยบนฝงั่ แสมสาร รวมท้งั สวนพฤกษศาสตร์ และเสน้ ทางศึกษาธรรมชาตบิ นเกาะแสมสารแล้วเสร็จสมบรู ณแ์ ละเปิดให้บริการ แล้วตัง้ แต่ 30 ตุลาคม 2550 กิจกรรมทีส่ ่งเสริมและสนับสนนุ เปน็ แหล่งทอ่ งเท่ยี วและคน้ คว้าหาข้อมูลเกยี่ วกับการเรียนในกจิ กรรมของทอ้ งถิน่ ในเชงิ วทิ ยาศาสตรธ์ รรมชาติและการท่องเทย่ี วทำใหน้ กั ศึกษาภาคภูมิใจในแหล่งการเรยี นรู้นี้ การเดินทาง จากกรุงเทพฯ ใช้เสน้ ทางมอเตอร์เวย์ ไปยงั อำเภอสตั หบี เม่ือถึงทางแยกท่ีตดั กบั ถนนสุขมุ วทิ บริเวณ โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ ให้ใชเ้ สน้ ทางไปท่าเรอื จกุ เสม็ด ถงึ ค่ายพระมหาเจษฎาราชเจ้า เลยี้ วซ้าย มี ปา้ ยบอกทางไปยงั พพิ ิธภณั ฑ์เป็นระยะ หากมาตามถนนสุขมุ วทิ ผา่ นพัทยา บางเสร่ อำเภอสัตหีบ จนมาถึงสี่ แยกกโิ ลสิบ (บรเิ วณโรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกิต์)ิ แยกขวา ไปทา่ เรือจุกเสมด็ ถึงค่ายพระมหาเจษฎา ราชเจ้า มีป้ายบอกทางเลย้ี วซา้ ยไป สำนักงานพิพธิ ภณั ฑธ์ รรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย เวบ็ ไซต์ www.tis-museum.org

13 อุทยานใต้ทะเลไทย เกาะขาม ประวัตคิ วามเป็นมา ประเทศไทย...มีพื้นท่ีขนาบด้วยฝั่งทะเลถึงสองด้าน โดยรวมความยาวชายฝ่ังทะเลท้ังประเทศรวมกันได้ ประมาณ 2600 กิโลเมตร พ้ืนท่ีตลอดความยาวของชายฝ่ังทะเลล้วนอุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ มากมายเชน่ ป่าชายเลน ปะการัง และหญ้าทะเล รวมถึงมีสัตว์น้ำต่างๆมากมาย ที่อาศัยอยู่โดยท่วั ไป แต่ เนอื่ งจาก...การขาดการจัดการที่ดโี ดยจากการขยายตวั ทางเศรษฐกิจและความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยมกี ารนำเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อยา่ งฟุ่มเฟอื ยแบบไมม่ ีขีดจำกดั อีกทัง้ การถกู ทำลายจากธรรมชาติ เช่นเกิดปรากฎการณ์ เอลนินโย โดยจากเหตกุ ารณ์ดังกล่าวจงึ ทำให้ทางคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันท่ี 4 มิถุนายน พ.ศ 2534 เร่ืองมาตรการเร่งด่วนจัดการทรัพยากรชายฝ่ังทะเล ด้านป่าชายเลนและ ปะการัง โดยรัฐบาลต้องเร่งให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องเช่น กรมประมง กรมป่าไม้ กรมท่ีดิน รวมถึง กองทัพเรือ ให้ดำเนินงานในด้านการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูธรรมชาติสภาพแวดล้อมทางทะเล จากที่เป็นอยู่ ปัจจุบันมิให้เสื่อมโทรมลงไปมากกว่าเดิม ในขณะเดียวกันก็ให้มีมาตรการฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ มทางทะเลให้กลบั คนื สูธ่ รรมชาตโิ ดยเร็วเพอื่ ประโยชน์อย่างยั่งยนื ต่อไป... ความสำคญั ของแหล่งเรียนรู้ 1.ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมบนเกาะขามและบริเวณใกลเ้ คียง จะได้รับการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูให้มี ความสวยงามตามธรรมชาตอิ ย่างต่อเน่ือง 2. ได้แนวทางในการปฏิบัติประจำท่ีเป็นระบบที่เหมาะสม ถูกต้องตามหลักวิชาการของเจ้าหน้าท่ีประจำ อุทยานใต้ทะเลเกาะขาม 3.ไดแ้ นวปฏิบตั ิสำหรบั ผู้เยี่ยมชมอุทยานใตท้ ะเลเกาะขาม ท้ังการเยี่ยมชมในลักษณะท่องเท่ียวชมความงาม และการเยีย่ มชมในเชิงศกึ ษา 4.ปลูกจิตสำนึกในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ให้เกิดข้ึนกับผู้เยี่ยมชม และผู้ท่ีมีความสนใจให้มี ความรสู้ ึกรกั และหวงแหนธรรมชาติ

14 วิหารหลวงพอ่ ดำ \" สักการะหลวงพ่อดำ \" คนส่วนใหญ่ที่มีโอกาสเยี่ยมเยือนหมู่บ้านช่องแสมสาร แห่งน้ีต้องหา โอกาสแวะเคารพสักการะหลวงพ่อดำวิหารของหลวงพ่อท่ีอยู่ในหมู่บ้านแห่งน้ีเพ่ือความเป็นสิริมงคลแก่ ตนเอง หลวงพ่อดำน้ันเป็นสิ่งศักดิส์ ิทธ์ิที่ชาวหมู่บ้านชอ่ งแสมสารให้ความนับถอื กนั มาช้านานแล้ววิหารของ หลวงพ่อดำอยู่ในหมู่บ้านมีป้ายบอกทางชัดเจนโดยวหิ ารอย่บู นเนินสูงตดิ ทะเลมองเห็นวิวทะเล และมองเห็น หม่บู ้านช่องแสมสารท้งั หมดไดอ้ ย่างชดั เจนเลยทีเดียว.

15 ศาลพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ด้วยพระวิริยะอุตสาหะอันแรงกล้า และความกล้าหาญของ พระองค์เป็นที่ครั่นคร้ามของอริราชศัตรูและพระองค์ทรงใช้ยุทธวิธีของหน่วยรบขนาดเล็กกระทำการรบใน ลกั ษณะสงครามพเิ ศษ เข้าตอ่ สกู้ ับขา้ ศึกวรี กรรมอนั โดดเดน่ ของพระองค์นเี่ อง ท่ีทรงใชย้ ทุ ธวธิ กี ารรบหลากหลาย รูปแบบเป็นต้นแบบในปัจจุบัน และจากพระปรีชาสามารถของพระองค์นี่เองที่ทำให้หลายหน่วยงานในปัจจุบัน ยกย่องพระองค์เป็นแบบอย่าง หรอื ถือเปน็ พระบดิ า หรือวนั สถาปนาของหน่วยงานของตนเพือ่ ความเปน็ สริ มิ งคล และเพื่อเชิดชูเกียรตคิ ณุ ของพระองคท์ า่ นใหค้ งอยู่ตราบชว่ั ลกู หลาน สบื ตอ่ ไปนานแสนนาน... หน่วยสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ จึงไดก้ ำหนดให้วนั ที่ 17 เมษายน ของทุกปีซึง่ เป็นวัน พระราชสมภพของสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช เปน็ วันสถาปนาหน่วยงานและได้รบั การอนุมัติให้จัดสร้างพระ บรมราชานุสาวรีย์ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชขึ้นท่ี ณ.บริเวณ เขาหมาจอ ตำบลแสมสาร อำเภอสตั หีบ จงั หวัดชลบุรี...

16 ส่วนท2ี่ ทิศทาง และ นโยบาย

17 สว่ นท่2ี แผน/แนวทางการดำเนนิ งานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นโยบายจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563 1.(ร่าง) นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 วสิ ัยทศั น์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ อยา่ งมีคณุ ภาพ สามารถดำรงชีวิตท่ีเหมาะสม กับชว่ งวยั สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทักษะท่จี ำเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 พันธกิจ 1. จัดและส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยทม่ี ีคุณภาพ เพอ่ื ยกระดบั การศึกษา พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ของประชาชนทุกกลมุ่ เปา้ หมายใหเ้ หมาะสมทกุ ช่วงวัย พรอ้ มรบั การเปลยี่ นแปลงบรบิ ททาง สงั คม และสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต 2 สง่ เสรมิ สนบั สนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมสี ว่ นร่วมจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั และการเรียนรู้ตลอดชวี ิต รวมท้ังการดำเนินกิจกรรมของศนู ยก์ ารเรียนและแหล่งการเรยี นร้อู ่ืนใน รปู แบบต่างๆ 3. ส่งเสรมิ และพัฒนาการนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพในการ จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยให้กบั ประชาชนอย่างทวั่ ถึง 4. พัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวตั กรรม การวัดและประเมนิ ผลในทกุ รูปแบบให้สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบนั 5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบรหิ ารจัดการให้มปี ระสทิ ธิภาพ เพอ่ื มุ่งจดั การศกึ ษาและการเรยี นร้ทู ่มี ี คุณภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผ้ดู ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมทง้ั ประชาชนท่วั ไปได้รบั โอกาสทางการศกึ ษา ในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน การศกึ ษาต่อเนอื่ ง และการศึกษาตามอัธยาศยั ที่มี คณุ ภาพอย่างเท่าเทยี มและทวั่ ถงึ เป็นไปตามสภาพ ปญั หา และความต้องการของแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย 2. ประชาชนได้รบั การยกระดบั การศึกษา สรา้ งเสรมิ และปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม และ ความเปน็ พลเมือง อนั นำไปสกู่ ารยกระดับคุณภาพชวี ติ และเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งให้ชุมชน เพือ่ พัฒนาไปสู่ ความม่นั คงและยัง่ ยนื ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และส่ิงแวดลอ้ ม

18 3. ประชาชนไดร้ ับโอกาสในการเรียนรู้ และมเี จตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั รวมทง้ั แกป้ ญั หาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ 4. ประชาชนไดร้ บั การสร้างและส่งเสรมิ ให้มีนิสัยรักการอ่านเพือ่ การแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ น รว่ มจัด ส่งเสริม และสนบั สนนุ การดำเนนิ งานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมท้งั การขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรยี นรู้ของชมุ ชน 6. หนว่ ยงานและสถานศึกษาพฒั นา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยีดจิ ิทัล มาใช้ ในการยกระดับคณุ ภาพในการจดั การเรยี นรู้และเพ่ิมโอกาสการเรียนรู้ให้กบั ประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพฒั นาส่อื และการจัดกระบวนการเรยี นรู้ เพือ่ แกป้ ญั หาและพัฒนา คุณภาพชีวติ ที่ตอบสนองกบั การเปลี่ยนแปลงบรบิ ทดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และส่งิ แวดล้อม รวมท้งั ตามความตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบทห่ี ลากหลาย 8. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการท่เี ปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล 9. บคุ ลากรของหนว่ ยงานและสถานศึกษาไดร้ บั การพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ สมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ าน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ตวั ช้วี ัด ตวั ชวี้ ัดเชงิ ปริมาณ 1. จำนวนผเู้ รยี นการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาช้ันพ้ืนฐานท่ไี ด้รับการสนับสนุนคา่ ใช้จ่ายตามสทิ ธทิ ี่ กำหนดไว้ 2. จำนวนของคนไทยกลมุ่ เป้าหมายต่าง ๆ ทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นร/ู้ เขา้ รบั บริการกิจกรรมการศกึ ษา ต่อเนือ่ ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ที่สอดคลอ้ งกบั สภาพ ปญั หา และความตอ้ งการ 3. ร้อยละของกำลังแรงงานทีส่ ำเร็จการศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ข้นึ ไป 4. จำนวนภาคเี ครือข่ายทเ่ี ข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจัด/พฒั นา/ส่งเสริมการศกึ ษา (ภาคีเครอื ขา่ ย :สถาน ประกอบการ องค์กร หนว่ ยงานทม่ี าร่วมจัด/พฒั นา/สง่ เสรมิ การศกึ ษา) 5. จำนวนประชาชน เดก็ และเยาวชนในพ้ืนทสี่ งู และชาวไทยมอแกน ในพ้นื ที่ 5 จังหวดั 11 อำเภอไดร้ บั บรกิ ารการศึกษาตลอดชีวิตจากศนู ยก์ ารเรียนชุมชนสงั กดั สำนกั งาน กศน. 6. จำนวนผู้รบั บรกิ ารในพืน้ ทเ่ี ป้าหมายได้รบั การส่งเสรมิ ด้านการรูห้ นังสอื และการพัฒนาทกั ษะชวี ิต 7. จำนวนนักเรียนนกั ศึกษาทไี่ ดร้ ับบริการตวิ เขม้ เต็มความรู้ 8. จำนวนประชาชนที่ไดร้ ับการฝึกอาชีพระยะสัน้ สามารถสร้างอาชีพเพ่อื สร้างรายได้ 9. จำนวน ครู กศน. ตำบล จากพื้นที่ กศน.ภาค ได้รับการพฒั นาศักยภาพดา้ นการจดั การเรยี นการสอน ภาษาอังกฤษเพือ่ การส่ือสาร 10. จำนวนประชาชนที่ไดร้ ับการฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพอื่ การส่ือสารด้านอาชีพ

19 11. จำนวนผูส้ ูงอายุภาวะพึ่งพงิ ในระบบ Long Term Care มผี ดู้ ูแลที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 12. จำนวนประชาชนทีผ่ ่านการอบรมจากศนู ยด์ ิจิทัลชุมชน 13. จำนวนศนู ย์การเรยี นชุมชน กศน. บนพนื้ ที่สงู ในพ้นื ที่ 5 จงั หวัด ที่ส่งเสรมิ การพฒั นาทกั ษะการฟงั พดู ภาษาไทยเพอื่ การสอื่ สาร รว่ มกันในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จำนวนบุคลากร กศน. ตำบลทีส่ ามารถจัดทำคลังความรู้ได้ 15. จำนวนบทความเพอ่ื การเรียนรตู้ ลอดชีวติ ในระดับตำบลในหวั ข้อต่าง ๆ 16. จำนวนหลักสตู รและสื่อออนไลนท์ ่ใี ห้บรกิ ารกับประชาชน ท้งั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้น พื้นฐาน การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ตัวชี้วัดเชงิ คณุ ภาพ 1. รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวิชาทุกระดบั 2. ร้อยละของผเู้ รยี นทีไ่ ดร้ บั การสนบั สนนุ การจัดการศึกษาข้นั พน้ื ฐานเทียบกบั คา่ เป้าหมาย 3. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายทล่ี งทะเบยี นเรียนในทุกหลักสตู ร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องเทยี บ กบั เป้าหมาย 4. รอ้ ยละของผู้ผ่านการฝึกอบรม/พฒั นาทกั ษะอาชพี ระยะสัน้ สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการประกอบอาชพี หรือพฒั นางานได้ 5. ร้อยละของผู้เรยี นในเขตพื้นทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ท่ไี ด้รบั การพฒั นาศักยภาพ หรอื ทกั ษะดา้ นอาชีพ สามารถมงี านทำหรือนำไปประกอบอาชพี ได้ 6. ร้อยละของผจู้ บหลักสตู ร/กจิ กรรมทีส่ ามารถนำความรคู้ วามเขา้ ใจไปใชไ้ ดต้ ามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร กิจกรรม การศึกษาต่อเน่อื ง 7. ร้อยละของประชาชนท่ไี ด้รบั บรกิ ารมีความพึงพอใจตอ่ การบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษา ตามอัธยาศยั 8. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายที่ได้รับบริการ/ขา้ ร่วมกจิ กรรมที่มีความรูค้ วามเข้าใจ/เจตคติทักษะ ตามจดุ มุ่งหมายของกิจกรรมท่ีกำหนด ของการศกึ ษาตามอัธยาศัย 9. รอ้ ยละของนกั เรียน/นักศกึ ษาท่ีมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นในวชิ าทไ่ี ด้รับบรกิ ารตวิ เข้มเต็มความรู้เพม่ิ สงู ขน้ึ 10. ร้อยละของผูส้ ูงอายุท่ีเปน็ กลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสมาเข้าร่วมกจิ กรรมการศึกษาตลอดชวี ติ

20 นโยบายเร่งด่วนเพ่ือรว่ มขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 1.ยุทธศาสตรด์ ้านความมันคง 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรกั ภักดีต่อสถาบนั หลกั ของชาติ โดยปลกู ฝังและสรา้ งความตระหนักรู้ถึง ความสำคัญของสถาบนั หลกั ของชาติ รณรงค์เสรมิ สรา้ งความรักและความภาคภูมใิ จในความเป็นคนไทยและชาติ ไทย น้อมนำและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งรวมถงึ แนวทางพระราชดำรติ ่าง ๆ 1.2 เสรมิ สร้างความร้คู วามเขา้ ใจท่ีถกู ตอ้ ง และการมสี ่วนร่วมอย่างถกู ตอ้ งกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ในบริบทของไทย มคี วามเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความ หลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ์ 1.3 ส่งเสริมและสนบั สนุนการจัดการศึกษาเพอื่ ป้องกันและแก้ไขปญั หาภยั คกุ คามในรูปแบบใหม่ ทั้งยาเสพ ติด การคา้ มนษุ ย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพิบตั จิ ากธรรมชาติ โรคอุบตั ใิ หม่ ฯลฯ 1.4 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและสรา้ งเสรมิ โอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษา การพัฒนาทักษะ การ สรา้ งอาชีพ และการใชช้ วี ติ ในสงั คมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้ และพื้นท่ี ชายแดนอ่นื ๆ 1.5 สรา้ งความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่อื นบ้านยอมรบั และ เคารพในประเพณี วัฒนธรรมของกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ และชาวต่างชาตทิ ี่มีความหลากหลาย ในลักษณะพหุสงั คมที่อยู่ รว่ มกนั 2 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั 2.1 เรง่ ปรบั หลกั สตู รการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพ่ือยกระดับทกั ษะด้านอาชพี ของประชาชนใหเ้ ปน็ อาชพี ท่รี องรับอตุ สาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณาการความ ร่วมมอื ในการพฒั นาและเสริมทักษะใหมด่ ้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุ่งเนน้ สรา้ งโอกาสในการสรา้ งงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความตอ้ งการของตลาดแรงานทัง้ ภาคอตุ สาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะในพื้นท่ี เขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขคพัฒนาพเิ ศษตามภูมภิ าคต่าง ๆ ของประเทศสำหรับพ้ืนที่ปกติใหพ้ ฒั นาอาชพี ทเ่ี นน้ การตอ่ ยอดศกั ยภาพและตามบริบทของพ้ืนท่ี 2.2 จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาพ้ืนท่ภี าคตะวันออก ยกระดับการศกึ ษาให้กับประชาชนให้จบการศึกษาอยา่ ง น้อยการศกึ ษาภาคบังคับ สามารถนำคณุ วฒุ ิทีไ่ ด้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รวมทง้ั พฒั นาทกั ษะในการ ประกอบอาชีพตามความต้องการของประชาชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ตอบสนองตอ่ บรบิ ทของสังคมและชุมชน รวมท้งั รองรบั การพฒั นาเขตพน้ื ท่ีระเบียบเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC) 2.3 พฒั นาและส่งเสริมประชาชนเพอ่ื ต่อยอดการผลติ และจำหนา่ ยสินค้และผลิตภัณฑ์ออนไลน์ 1) เรง่ จัดตัง้ ศูนยใ์ ห้คำปรึกษาและพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ Brand กศน. เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพของสนิ คแ้ ละ ผลิตภัณฑ์ การบรหิ ารจัดการทค่ี รบวงจร (การผลิต การตลาด การส่งออก และสรา้ งช่องทางจำหน่าย) รวมทงั้ สง่ เสริมการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลในการเผยแพรแ่ ละจำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ 2) พัฒนาและคดั เลือกสุดยอดสนิ ค้าและลติ ภณั ฑ์ กศน. ในแต่ละจงั หวดั พร้อมทงั้ ประสานความร่วมมอื กับ สถานีบรกิ ารน้ำมนั ในการเป็นซ่องทางการจำหน่ายสุดยอดสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน.ใหก้ วา้ งขวางย่ิงขึ้น

21 3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 3.1 พัฒนาครูและบุคลากรท่ีเกีย่ วข้องกับการจัดกจิ กรรมและการเรยี นรู้ เปน็ ผู้เชอ่ื มโยงความรู้กับ ผูเ้ รียนและผ้รู ับบริการ มคี วามเปน็ \"ครมู อื อาชพี \" มจี ติ บริการ มีความรอบรแู้ ละทันต่อการเปลยี่ นแปลงของสังคม และเป็น \"ผู้อำนวยการการเรียนรู้\" ที่สามารถบริหารจดั การความรู้ กจิ กรรม และการเรียนรทู้ ่ดี ี 1) เพิ่มอัตราข้าราชการครูใหก้ ับ กศน. อำเภอทุกแห่ง โดยเรง่ ดำเนินการเรอื่ งการหาอตั ราตำแหนง่ การสรรหา บรรจุ และแตง่ ตงั้ ข้าราชการครู 2) พัฒนาขา้ ราชการครใู นรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สูตรที่เชื่อมโยงกับวิทยฐานะ 3) พฒั นาครู กศน.ตำบลใหส้ ามารถปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยเนน้ เรื่องการพัฒนา ทกั ษะการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 4) พฒั นาศึกษานเิ ทศก์ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 5) พฒั นาบุคลากร กศน.ทกุ ระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรเู้ รื่องการใชป้ ระโยชนจ์ ากดจิ ทิ ัลและ ภาษาต่างประเทศทจี่ ำเปน็ 3.2 พัฒนาแหล่งเรยี นรูใ้ หม้ ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ต่อการเรยี นรู้ มีความพรอ้ ม ในการใหบ้ ริการกิจกรรมการศึกษาและการเรยี นรู้ เปน็ แหลง่ สารสนเทศสาธารณะทีง่ ยต่อการเข้าถงึ มีบรรยากาศ ทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ เปน็ คาเพ่พืน้ ที่การเรยี นรสู้ ำหรบั คนทกุ ช่วงวัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก มบี รรยากาศสวยงามมี ชวี ติ ท่ดี งึ ดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยสำหรับผู้ใช้บริการ 1) เรง่ ยกระดับ กศน.ตำบลนำรอ่ ง 928 แห่ง (อำเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็น กศน.ตำบล 5 ดี พรเี ม่ยี ม ท่ปี ระกอบดว้ ย ครดู ี สถานทดี่ ี (ตามบริบทของพืน้ ที่) กจิ กรรมดี เครอื ขา่ ยดี และมีนวัตกรรมการเรยี นรทู้ ่ดี มี ี ประโยชน์ 2) จัดใหม้ ศี นู ย์การเรียนรตู้ ้นแบบ กศน. เพ่ือยกระดบั การเรียนรู้ ใน 6 ภูมิภาค เป็นพนื้ ทกี่ ารเรยี นรู้ (Co - Learning Space) ท่ีทันสมัยสำหรับทุกคน มคี วามพรอ้ มในการให้บรกิ ารต่าง ๆ อาทิ พนื้ ทสี่ ำหรับการ ทำงาน/การเรยี นรู้ พื้นท่ีสำหรับกจิ กรรมต่าง ๆ มหี อ้ งประชุมขนาดเล็ก รวมท้ังทำงานร่วมกบั ห้องสมุดประชาชนใน การให้บรกิ ารในรปู แบบหอ้ งสมดุ ดจิ ิทัล บริการอินเทอร์เนต็ สอ่ื มัลติมีเดีย เพอ่ื รองรบั การเรียนรแู้ บบ Active Learning 3) พัฒนาห้องสมดุ ประชชน \"เฉลิมราชกุมารี\" ใหเ้ ปน็ Digital Library โดยให้มบี รกิ ารหนงั สือในรูปแบบ e - Book บริการคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอร์เนต็ ความเรว็ สูง รวมทัง้ Free Wifi เพอื่ การสืบค้นข้อมูล 3.3 สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ทีท่ ันสมัยและมปี ระสทิ ธิภาพ เออ้ื ต่อการเรียนรูส้ ำหรับทกุ คน สามารถ เรียนไดท้ ุกทที่ ุกเวลา มีกิจกรรมท่หี ลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชุมชน เพอื่ พัฒนาศกั ยภาพ การเรยี นรู้ของประชาชน รวมท้งั ใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการรว่ มจัดกจิ กรรมการเรียนรูเ้ พ่ือเชือ่ มโยง ความสัมพนั ธข์ องคนในชุมชนไปส้กู ารจดั การความรูข้ องชุมชนอย่างยงั่ ยืน

22 1) สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ปี ลกู ฝังคุณธรรม สร้างวนิ ัย จิตสาธารณะ ความรับผดิ ชอบ ต่อสว่ นรวม และการมจี ิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบตา่ ง ๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจน สนับสนนุ ให้มีการจดั กจิ กรรมเพือ่ ปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรมให้กบั บุคลากรในองค์กร 2) จดั ให้มหี ลกั สูตรลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ โดยให้สำนักงาน กศน.จังหวัดทุกแห่ปกทม. จัดตง้ั กองลูกเสือ ที่ลกู เสอื มีความพรอ้ มดา้ นทักษะภาษาต่างประเทศ เปน็ ลกู เสือมคั คุเทศก์จังหวดั ละ 1 กอง เพอ่ื สง่ เสรมิ ลูกเสอื จติ อาสาพฒั นาการท่องเทีย่ วในแตล่ ะจงั หวดั 3.4 เสรมิ สรา้ งความร่วมมอื กบั ภาคีเครอื ขา่ ย ประสาน ส่งเสริมความรว่ มมอื ภาคีเครือข่าย ทั้งภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ รวมท้ังส่งเสริมและสนบั สนุนการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน เพือ่ สร้างความเข้าใจ และใหเ้ กิดความร่วมมอื ในการส่งเสริม สนบั สนุน และจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ใหก้ ับ ประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ 1) เร่งจดั ทำทำเนียบภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ในแต่ละตำบล เพ่อื ใช้ประโยชนจ์ ากภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ในการสร้างการเรยี นรจู้ ากองคค์ วามรใู้ นตวั บุคคลให้เกดิ การถ่ายทอดภูมปิ ญั ญา สร้างคุณค่าทางวัฒนธรรมอยา่ ง ย่งั ยืน 2) สง่ เสรมิ ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ส่กู ารจดั การเรียนร้ชู ุมชน 3) ประสานความร่วมมือกบั ภาคีเครอื ข่ายเพ่อื การขยายและพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ใหเ้ ข้าถงึ กลุ่มเป้าหมายทกุ กลุ่มอย่างกวา้ งขวางและมคี ณุ ภาพ อาทิ กลมุ่ ผ้สู ูงอายุ กลมุ่ อสม. 3.5 พฒั นานวัตกรรมทางการศึกษาเพ่ือประโยชน์ต่อการจัดการศกึ ษาและกล่มุ เป้าหมาย 1) พัฒนาการจดั การศกึ ษาออนไลน์ กศน. ทงั้ ในรปู แบบของการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะ ชีวิตและทกั ษะอาชพี การศึกษาตามอธั ยาศัย รวมท้ังการพฒั นาช่องทางการคา้ ออนไลน์ 2) สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยีในการปฏิบตั ิงาน การบรหิ ารจดั การ และการจดั การเรยี นรู้ 3) ส่งเสริมใหม้ กี ารใช้การวิจยั อยา่ งงา่ ยเพื่อสรา้ งนวตั กรรมใหม่ 3.6 พฒั นาศักยภาพคนด้านทักษะและความเขา้ ใจในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Literacy) 1) พฒั นาความรแู้ ละทักษะเทคโนโลยดี ิจิทัลของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เพื่อพัฒนา รปู แบบการจดั การเรียนการสอน 2) ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ดา้ นเทคโนโลยีดิจทิ ัล เพื่อใหป้ ระชาชนมที ักษะความเขา้ ใจและ ใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั ท่ีสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน รวมทัง้ สร้างรายได้ใหก้ บั ตนเองได้ 3.7 พฒั นาทกั ษะภาษาต่างประเทศเพ่อื การสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเปน็ รูปธรรม โดยเน้นทกั ษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการทอ่ งเที่ยว รวมทัง้ พฒั นาส่ือการเรยี นการสอนเพ่อื สง่ เสริมการใชภ้ าษาเพือ่ การสือ่ สารและการพัฒนาอาชีพ

23 3.8 เตรยี มความพร้อมการเข้าส่สู งั คมผสู้ งู อายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ 1) สง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมให้กบั ประชาชนเพอ่ื สร้างความตระหนักถงึ การเตรียมพรอ้ มเขา้ สู่ สังคมผูส้ งู อายุ (Aging Society) มีความเขา้ ใจในพฒั นาการของช่วงวัย รวมทงั้ เรยี นรแู้ ละมีสว่ นรว่ มในการดูแล รบั ผดิ ชอบผสู้ ูงอายใุ นครอบครวั และชมุ ชน 2) พฒั นาการจัดบรกิ ารการศกึ ษาและการเรยี นรู้สำหรับประชาชนในการเตรียมความพรอ้ ม เข้าสูว่ ัยสูงอายุทีเ่ หมาะสมและมคี ณุ ภาพ 3) จัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ สำหรบั ผสู้ ูงอายภุ ายใต้แนวคดิ \"Active Aging\" การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทกั ษะชีวติ ใหส้ ามารถดแู ลตนเองทงั้ สุขภาพกายและสขุ ภาพจติ และรู้จักใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี 4) สร้างความตระหนักถงึ คุณค่าและศักด์ิศรขี องผู้สงู อายุ เปดิ โอกาสให้มีการเผยแพร่ภมู ิปัญญา ของผู้สงู อายุ และให้มีสว่ นรว่ มในกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในชมุ ชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชพี เพ่ือรองรับสงั คมผู้สงู อายุ โดยบรู ณาการความร่วมมือกับหน่วยงาน ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ในทกุ ระดบั 3.9 การสง่ เสริมวิทยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษา 1) จัดกจิ กรรมวิทยาศาสตรเ์ ชิงรกุ และเนน้ ใหค้ วามรวู้ ทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งง่ายกบั ประชาชนในชุมชน ทง้ั วทิ ยาศาสตร์ในวถิ ีชีวติ และวทิ ยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 2) พัฒนาสอื่ นิทรรศการเละรปู แบบการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตรใ์ หม้ ีความทันสมัย 3.10 ส่งเสรมิ การรภู้ าษาไทยให้กบั ประชาชนในรปู แบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพืน้ ท่ีสูง ใหส้ ามารถฟัง พูด อ่าน และเขยี นภาษาไทย เพ่ือประโยชในการใช้ชีวิตประจำวันได้ 4 ยทุ ธศาสตรต์ ้นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 จดั ต้งั ศูนยก์ ารเรยี นร้สู ำหรบั ทกุ ช่วงวยั ที่เป็นศูนย์การเรียนร้ตู ลอดชีวติ ที่สามารถให้บริการ ประชาชนได้ทกุ คน ทุกชว่ งวยั ท่ีมีกจิ กรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความตอ้ งการในการเรยี นรใู้ นแตล่ ะวัย และเปน็ ศนู ย์บริการความรู้ ศนู ย์การจัดกิจกรรมทคี่ รอบคลุมทกุ ช่วงวัย เพอ่ื ให้มพี ัฒนาการเรียนร้ทู ีเ่ หมาะสม และมคี วามสุขกับการเรยี นรู้ตามความสนใจ 1) เรง่ ประสานกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน เพือ่ จัดทำฐานข้อมูลโรงเรียน ที่ถกู ยุบรวม หรอื คาดว่านา่ จะถูกยุบรวม 2) ใหส้ ำนกั งาน กศน.จังหวัดทุกแหง่ ท่ีอยูใ่ นจงั หวัดทม่ี ีโรงเรยี นท่ถี ูกยบุ รวม ประสานขอใช้ พ้นื ทีเ่ พอื่ จัดตงั้ ศูนย์การเรียนรู้สำหรับทุกชว่ งวยั กศน. 4.2 สง่ เสริมและสนบั สนุนการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้สำหรบั กลมุ่ เปา้ หมายผู้พกิ าร 1) จดั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน การศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ และทักษะอาชีพ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั โดยเน้นรูปแบบการศกึ ษาออนไลน์

24 2) ให้สำนักงาน กศน.จังหวัดทกุ แห่ง/กทม. ทำความร่วมมือกับศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจำจังหวัด ในการใช้ สถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ และครภุ ัณฑด์ ้านการศึกษา เพือ่ สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาและการเรียนรสู้ ำหรับ กล่มุ เปา้ หมายผพู้ กิ าร 4.3 ยกระดบั การศึกษาใหก้ ับกลุ่มเปา้ หมายทหารกองประจำการ รวมท้ังกล่มุ เป้าหมายพเิ ศษอื่น ๆ อาทิ ผตู้ ้องขัง คนพิการ เดก็ ออกกลางคัน ประชากรวัยเรยี นทอี่ ย่นู อกระบบการศึกษาใหจ้ บการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สามารถนำความรทู้ ีไ่ ดร้ ับไปพัฒนาตนเองได้อยา่ งต่อเนือ่ ง 4.4 พฒั นาหลักสตู รการจดั การศกึ ษาอาชีพระะสัน้ ใหม้ ีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บรบิ ทของพืน้ ท่ี และตอบสนองความต้องการของประชาชนผ้รู ับบรกิ าร 5. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเป็นมติ รต่อสง่ิ แวดล้อม 5.1 สง่ เสรมิ ให้มีการใหค้ วามร้กู บั ประชาชนในการรับมือและปรบั ตวั เพือ่ ลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และผลกระทบที่เก่ียวข้องกับการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สร้างความตระหนกั ถึงความสำคญั ของการสร้างสงั คมสเี ขียว ส่งเสรมิ ความร้ใู หก้ บั ประชาชนเกี่ยวกบั การคดั แยกตั้งแตต่ ้นทาง การกำจดั ขยะ และการนำกลับมาใช้ชำ้ เพอ่ื ลดปริมาณและต้นทนุ ในการจดั การขยะของ เมอื ง และสามารถนำขยะกลับมาใชป้ ระโยชนไ์ ดโ้ ดยง่าย รวมท้งั การจัดการมลพษิ ในชุมชน 5.3 สง่ เสริมใหห้ นว่ ยงานและสถานศกึ ษาใชพ้ ลงั งานท่เี ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ทรพั ยากรท่ี สง่ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อม เชน่ รณรงค์เรอ่ื งการลดการใช้ถงุ พลาสติก การประหยัดไฟฟ้า เปน็ ต้น 6. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบหารบริหารจดั การภาครัฐ 6.1 พฒั นาและปรับระบบวธิ ีการปฏิบัติราชการให้ทันสมยั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจรติ และประพฤตมิ ิ ชอบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลกั ฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสมั ฤทธ์มิ ีความโปรง่ ใส 6.2 นำนวตั กรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทำงานทเ่ี ปน็ ดจิ ิทลั มาใชใ้ นการบรหิ ารและพฒั นางานสามารถ เชอื่ มโยงกบั ระบบฐานขอ้ มูลกลางของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พรอ้ มทัง้ พฒั นาโปรแกรมออนไลน์ท่ีสามารถเชอื่ มโยง ขอ้ มลู ต่าง ๆ ทีท่ ำใหก้ ารบริหารจัดการเปน็ ไปอยา่ งต่อเนอ่ื งกนั ตงั้ แต่ตน้ จนจบกระบวนการและให้ประชาชน กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างทนั ที ทุกทแี่ ละทุกเวลา 6.3 ส่งเสรมิ การพฒั นาบคุ ลากรทุกระดบั อย่างต่อเนอ่ื ง ใหม้ คี วามรูแ้ ละทักษะตามมาตรฐานตำแหนง่ ใหต้ รง กบั สายงาน ความชำนาญ และความตอ้ งการของบุคลากร “คนไทยได้รบั โอกาสการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคณุ ภาพ สามารถดำรงชีวติ ที่เหมาะสมกับ ชว่ งวัย สอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทกั ษะท่ีจำเปน็ ในโลกศตวรรษที่ 21”

25 2.แนวทาง/กลยทุ ธ์การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของกศน.อำเภอสตั หบี ปรัชญา คิดเปน็ ทำเปน็ เนน้ คณุ ธรรม วสิ ยั ทศั น์ “ภายในปี 2565 ผู้เรียน/ผรู้ ับบริการ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสตั หีบ มคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ใชแ้ หล่งเรียนรู้ ภูมปิ ญั ญา ส่อื เทคโนโลยี ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดย เครอื ข่ายมสี ่วนรว่ ม” อตั ลกั ษณ์ “เท่าทันเทคโนโลยี” ความหมาย การใช้เทคโนโลยี ในการเรยี นรแู้ ละการดำรงชวี ติ ได้อย่างถกู ต้อง เอกลักษณ์ “องคก์ ร ออนไลน์” หมายถึง สถานศกึ ษาใช้เทคโนโลยใี นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ และการบริหารงานภายในองค์กร พันธกิจ 1. ออกแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั หลกั สูตร 2. จดั ระบบสารสนเทศเพือ่ การเรียนรู้และการบรหิ ารการศกึ ษา 3. พัฒนาบุคลากรดา้ นการออกแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้/สือ่ /การประเมินผล 4. สง่ เสริมและสนบั สนุนการมสี ่วนรว่ มของภาคีเครอื ขา่ ยและชุมชนในการจัดกิจกรรมการศกึ ษา เปา้ ประสงค์ 1. ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีในการจดั การเรยี นรู้ 2. จดั การเรียนรรู้ ว่ มกบั เครอื ข่าย

กลยทุ ธ์ 26 กลยทุ ธ์ วตั ถุประสงค์ 1. พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน 1. เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมคี ุณธรรม จริยธรรมคา่ นิยมอันพงึ ประสงค์ 2. เพื่อให้ผเู้ รียนมีทักษะและความสามารถในการแสวงหาความรู้ 3. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมีทักษะและความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ 4. เพื่อใหผ้ ู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษาตามนโยบายสถานศกึ ษา 5. เพ่ือให้ผู้เรียนการศึกษาต่อเนอ่ื งนำความรูไ้ ปใช้ได้ 6. เพื่อให้ผเู้ รยี นการศกึ ษาเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนำความร้ไู ปใชไ้ ด้ 7. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนการศึกษาดิจทิ ัลชมุ ชนสามารถนำความรู้ไปใชไ้ ด้ 8. เพื่อใหผ้ รู้ บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัยนำความรไู้ ปใช้ได้ 9. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียน/ผรู้ บั บริการสามารถเข้าถงึ ข้อมูลจากระบบสารสนเทศและ สามารถนำความรไู้ ปใช้พฒั นาตนเองได้ 2. พฒั นาบุคลาการ 1. เพื่อใหบ้ คุ ลากรมีความรูแ้ ละทักษะด้านการออกแบบการจัดกระบวนการ เรยี นการสอน 3. บริหารการจดั การสถานศกึ ษา 2. เพ่ือใหบ้ คุ ลากรมีความรูแ้ ละทักษะด้านการออกแบบสอื่ การเรยี นการสอน 4. ภาคเี ครอื ข่ายรว่ มจัดกจิ กรรม 3. เพื่อให้บคุ ลากรมคี วามรแู้ ละทกั ษะด้านวธิ ีการประเมนิ ผลทีม่ คี ุณภาพ 1. เพอ่ื จัดระบบสารสนเทศเพอ่ื การเรยี นรแู้ ละการบริหารสถานศึกษา 1. เพื่อใหเ้ ครอื ข่ายมสี ว่ นร่วมสง่ เสริมสนับสนุนและร่วมจัดการจัดกิจกรรม การศกึ ษา 2.นโยบายและจุดเนน้ ของ กศน.อำเภอสัตหบี เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมทั้งประชาชนกลมุ่ เป้าหมายพิเศษไดร้ ับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน การศึกษาต่อเนอ่ื งและการศกึ ษาตาม อัธยาศัยทม่ี ีคุณภาพ อย่างเท่าเทยี มและทัว่ ถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละกลมุ่ 2. ประชาชนไดร้ ับการสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรเู้ พ่อื แก้ปญั หาและพัฒนาคุณภาพชวี ิตและเสรมิ สร้าง ความเขม้ แข็งให้กับชมุ ชน โดยมี กศน. ตำบล ศูนย์การเรยี นชมุ ชน และแหลง่ การเรียนรอู้ ่นื ในชุมชนเป็นกลไกในการ จัดการเรียนรู้ เพ่อื พัฒนาไปสู่ความม่นั คงและยั่งยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สงั คมวัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ และ ส่ิงแวดล้อมในอำเภอสัตหีบ

27 3. ชุมชนและทกุ ภาคส่วน ร่วมเปน็ ภาคีเครอื ข่ายในการจัด ส่งเสริม และสนบั สนุนการดำเนนิ งานการศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมท้ังมีส่วนร่วมในการขบั เคล่อื นกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชนตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและปรัชญาคดิ เป็น 4. ประชาชนในอำเภอสัตหบี ไดร้ บั โอกาสในการเรยี นรู้และมีเจตคติทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่ี เหมาะสมสามารถคดิ วเิ คราะห์ และประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแก้ปัญหา และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ 5. กศน.อำเภอสัตหีบ หน่วยงานและสถานศึกษาพฒั นาและนำสื่อเทคโนโลยที างการศกึ ษา เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ในการเพม่ิ โอกาสและยกระดับคณุ ภาพในการจัดการเรยี นรใู้ หก้ บั นักศึกษาในตำบล สัตหบี 6. บุคลากรของ กศน.อำเภอสัตหีบ และสถานศกึ ษาได้รบั การพัฒนาเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการปฏบิ ตั ิงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทวั่ ถงึ 7. กศน.ตำบลแสมสารและสถานศึกษามรี ะบบการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล ตวั ช้ีวัด 1. จำนวนผเู้ รียนการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานที่ไดร้ ับการสนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยตามสิทธทิ ี่ กำหนดไว้ 2. จำนวนของคนไทยกล่มุ เป้าหมายต่างๆ (กลมุ่ เป้าหมายทว่ั ไป กลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ และกล่มุ คนไทยท่ัวไป เปน็ ตน้ ) ทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้/ไดร้ ับบริการกจิ กรรมการศึกษาต่อเนือ่ ง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ที่ สอดคลอ้ งกบั สภาพ ปัญหา และความต้องการ 3. รอ้ ยละผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใชไ้ ดต้ ามจุดมุง่ หมาย ของหลักสูตร/กจิ กรรมทก่ี ำหนด 4. จำนวนแหล่งเรียนรูใ้ นระดับตำบลท่ีมคี วามพรอ้ มในการให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย 5. จำนวนประชาชนกลุ่มเปา้ หมายที่เข้ารับการฝึกอาชีพ เหน็ ชอ่ งทางในการประกอบอาชพี 6. ร้อยละของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมทสี่ ามารถอา่ นออกเขียนไดแ้ ละคดิ เลขเปน็ ตามจุดมุ่งหมายของกิจกรรม 7. ร้อยละของประชาชนกล่มุ เปา้ หมายทไ่ี ด้รับบริการเข้ารว่ มกจิ กรรมแหล่งเรียนรตู้ ามอัธยาศยั มคี วามรู้ความเข้าใจ เจตคติ ทักษะตามจุดมุ่งหมายของกจิ กรรมท่ีกำหนด 8. จำนวนผ้ดู แู ลประชาชนทผี่ ่านการอบรมตามหลักสูตรท่ีกำหนด 9. จำนวนองคก์ รภาคสว่ นตา่ ง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ท่รี ว่ มเป็นภาคีเครอื ข่ายในการดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 10. จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปท่ีเขา้ ถึงบริการการเรียนรู้ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ใน รูปแบบ

28 11. จำนวน/ประเภทของสอ่ื และเทคโนโลยีทางการศึกษาท่ีมีการจัดทำ/พัฒนาและนำไปใช้เพ่ือส่งเสริมการ เรยี นร้ขู องผเู้ รียน/ผูร้ ับบริการการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั 12. จำนวนนักเรยี น นักศึกษา และประชาชนทว่ั ไปทีเ่ ขา้ ถึงบริการความร้นู อกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยผา่ นช่องทางส่ือเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยกี ารส่อื สาร 13. ร้อยละของนักศกึ ษาท่ีมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนทไ่ี ดร้ บั บริการติวเขม้ เตม็ ความรู้เพ่ิมสงู ขึ้น 14. จำนวนบุคลากรของหนว่ ยงานและสถานศึกษาไดร้ บั การพฒั นาเพือ่ เพ่มิ สมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 15. รอ้ ยละของสถานศึกษาในสังกัดทีม่ ีระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมกี ารจัดทำรายงานการประเมิน ตนเอง 16. ร้อยละของหนว่ ยงาน และสถานศึกษา กศน. ท่มี ีการใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารใน การจดั ทำฐานขอ้ มูลชุมชนและการบรหิ ารจัดการ เพอื่ สนับสนุนการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศยั ขององค์การ 17. ร้อยละของหนว่ ยงาน และสถานศึกษา กศน. ที่สามารถดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาท ภารกิจที่รับผิดชอบได้สำเร็จตามเปา้ หมายทกี่ ำหนดไวอ้ ย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยใช้ทรพั ยากรอยา่ งคุม้ คา่ /ตาม แผนทก่ี ำหนดไว้ จดุ เนน้ การดำเนินงาน กศน. ตามยทุ ธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6 ยทุ ธศาสตร์ 1. พฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน และการวดั ผลประเมนิ ผล จดุ เนน้ การดำเนนิ งาน 1.1 จดั กระบวนการเรียนร้ทู ีต่ อบสนองกบั การเปลย่ี นแปลงและความตอ้ งการของประชาชนชมุ ชนและ สังคม ในรูปแบบทห่ี ลากหลาย ใหป้ ระชาชนคดิ เป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจภายใต้ฐานข้อมูลทีถ่ กู ต้อง เช่น ความรู้ เรอ่ื งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข/การเลอื กตงั้ แนวทางและทศิ ทางการ พัฒนาประเทศดา้ นต่าง ๆ ของรัฐบาล โดยประสานความรว่ มมือกับกระทรวงต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง ร่วมจดั ทำเนอื้ หา และส่อื ประกอบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ รวมทงั้ ใหม้ กี ารจัดทำแผนการเรียนรู้รายชมุ ชน เพ่อื พฒั นาสู่ชมุ ชน/เมือง แห่งการเรยี นรู้ 1.2 ส่งเสริมใหม้ กี ารจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) โดยบรู ณาการความรู้ ด้าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวติ สกู่ ารประกอบอาชีพ ประยกุ ต์ใช้ในการ ทำงาน และเปน็ แนวทางของการสรา้ งแรงงานท่มี ศี ักยภาพไดใ้ นอนาคต 1.3 จดั การศึกษาเพ่ือเพ่มิ อตั ราการรูห้ นงั สอื ให้คนไทยใหส้ ามารถอ่านออกเขียนได้ โดยใช้หลักสูตรการรู้ หนังสอื ของคนไทยของสำนักงาน กศน.และสือ่ ท่เี หมาะสมกับสภาพและพื้นทขี่ องกลุ่มเป้าหมาย

29 2. การผลิต พัฒนา ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา จดุ เน้นการดำเนินงาน 2.1 จดั ทำแผนพฒั นาอัตรากำลงั ลว่ งหน้าระยะ 10 ปี เพ่ือใช้เป็นข้อมลู สำหรับการขอกรอบอตั รากำลัง เพิม่ เติมใหเ้ พยี งพอตอ่ ขอบขา่ ยการดำเนนิ งานของ กศน. 2.2 เรง่ พฒั นาศกั ยภาพครู กศน. ทกุ ประเภท เพ่อื ใหส้ ามารถเป็นท้งั ผู้สอนและผู้ออกแบบการเรยี นรู้ รายบคุ คล และจดั กิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้อย่างมีประสิทธิภาพ และจดั ทำแผนพฒั นาครู กศน.ทุกประเภท และทุก ระดับ ช่วงระยะ 10 ปี เพื่อพฒั นาสมรรถนะครู กศน. ให้ได้เกณฑม์ าตรฐานที่กำหนด 2.3 สำรวจข้อมูล และทบทวนหลกั เกณฑก์ ารจา้ งลูกจ้างแบบจ้างเหมาบรกิ าร และพนักงานราชการใหต้ รง ตามความต้องการของพืน้ ท่ี 3. ผลิต และพัฒนากำลงั คน รวมทัง้ งานวิจยั ทส่ี อดคลอ้ งกับความต้องการของการพฒั นาประเทศ จุดเน้นการดำเนนิ งาน 3.1 ยกระดบั การศกึ ษาให้กับกลมุ่ พนักงานรักษาความปลอดภยั ให้จบการศกึ ษาภาคบังคบั อย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการเรยี นรปู แบบโปรแกรมเรยี นรรู้ ายบคุ คล 3.2 จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้สอดคล้องและรองรบั กับความต้องการของการ พฒั นาตามบรบิ ทของแตล่ ะพน้ื ที่ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ โดยมุ่งเน้นผลติ กำลังคนใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการ ของพื้นที่ พร้อมทัง้ สรา้ งทกั ษะทางวชิ าชีพ โดยเนน้ ด้านการบรหิ ารและการประกอบการ เพื่อใหป้ ระชาชนในพ้นื ท่ี ไดร้ ับการพฒั นาศักยภาพในแนวทางทด่ี ีข้ึน 4. ขยายโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาและการเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชีวิต จุดเนน้ การดำเนนิ งาน 4.1 เรง่ บริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก โดยประสานข้อมูลโรงเรียนขนาดเล็กจากสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (สพฐ.) และประสานหน่วยงานในพ้ืนทีเ่ พือ่ สำรวจความตอ้ งการในกาจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก เพ่อื ทำเป็น กศน. ตำบลหรือแหลง่ การเรยี นรูข้ องชุมชนภายในตำบลสัตหบี 4.2 จัดและสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในการจดั การศึกษาและการเรยี นร้ใู หก้ ับ กลุม่ เป้าหมายเด็กออกกลางคัน/เด็กตกหล่น และกลมุ่ คนพกิ ารในตำบลสัตหีบ 4.3 เร่งสำรวจข้อมูลการรู้หนังสือของคนไทย โดยใหค้ วามสำคญั กับกลุ่มเป้าหมายนักศกึ ษา กศน.ในตำบล แสมสาร 4.4 พฒั นา กศน.ตำบล/แขวง ให้เป็นฐานการขบั เคลือ่ นการจดั การศึกษา โดยเน้นการประสานเชอ่ื มโยง ระหวา่ งชุมชนและภาคีเครอื ขา่ ย ในการจดั การศกึ ษารูปแบบ กศน.ตำบล 4 ศนู ย์ ได้แก่ (1) ศนู ยเ์ รยี นรหู้ ลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจำตำบล (2) ศนู ย์สง่ เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตยตำบล (3) ศนู ยด์ ิจิทัลชุมชน และ (4) ศนู ยก์ ารศึกษาตลอดชีวิตชมุ ชน เพอื่ สนองตอบต่อความตอ้ งการของประชาชนอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ รวมทั้งสร้างและกระจายโอกาสในการเรยี นรู้ตลอดชีวิตในชุมชน 4.5 จดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตประชาชนทกุ ช่วงวัย“กศน.เพือ่ ประชาชน”เชน่ จดั การเรียน วชิ าชพี ระยะส้นั (โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน) ให้กับประชาชนทีส่ อดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน

30 บริบทของพ้ืนที่ จดั การศกึ ษาเพือ่ เสรมิ สรา้ งคุณภาพชีวิตใหก้ บั กลุ่มประชาชนและการพัฒนาทักษะชวี ิตในการเตรียม ความพรอ้ มรบั มอื กบั การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คม ธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม และการเข้าสู่สังคมเศรษฐกิจที่ ขับเคลือ่ นด้วยนวัตกรรม (Thailand 4.0) 4.6 ม่งุ เนน้ การส่งเสริมให้เกิดชุมชนรกั การอ่านภายในตำบลสัตหบี “น่ังที่ไหน อา่ นทีน่ ั่น” ในรูปแบบตา่ ง ๆ 16 เช่นอาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน หอ้ งสมดุ ประชาชน บา้ นหนงั สอื ชุมชน ตูห้ นงั สอื เคลื่อนทใี่ นตลาด และหนังสอื พิมพ์ ฝาผนัง เปน็ ต้น 5. สง่ เสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอ่ื การศึกษา จุดเนน้ การดำเนินงาน 5.1 พฒั นา กศน. อำเภอสัตหีบ ให้มีความพรอ้ มเกี่ยวกบั โครงสรา้ งพื้นฐานด้าน ICT และเทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษาอนื่ ทีเ่ หมาะสมกับพืน้ ท่ี เพอื่ ให้ กศน.ตำบลสตั หีบ เข้าถงึ การใช้บรกิ ารทางอินเทอร์เนต็ มีความพรอ้ มในการ ใหบ้ ริการการศกึ ษาและการเรียนรทู้ ี่เป็นไปตามความต้องการของประชาชนและชุมชน และสร้างโอกาสในการ เรียนรไู้ ดอ้ ย่างทั่วถึง 5.2 พัฒนาระบบช่องทางแหลง่ เรียนร้อู อนไลน์ (Portal Web) และส่งเสริมให้ประชาชนนำเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สารมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรยี นรู้/กิจกรรมตา่ ง ๆ เพ่ือเพม่ิ โอกาสการเรยี นรู้ และการพัฒนา อาชีพ เชน่ การแสวงหาความรู้เพอื่ การดำรงชวี ติ การพฒั นาต่อยอดอาชีพเพ่ือสรา้ งรายได้ โดยผ่านกลไกของศูนย์ ดิจทิ ัลชมุ ชน เพ่อื ให้ผเู้ รียนสามารถนำความรู้ความสามารถ เจตคตทิ ี่ดีต่อการประกอบอาชพี และทักษะท่พี ัฒนาข้ึน ไปใชป้ ระโยชน์ในการประกอบอาชพี ทส่ี ร้างรายไดไ้ ด้จริงและการพัฒนาสเู่ ศรษฐกจิ เชิงสรา้ งสรรคต์ อ่ ไป 6. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการส่งเสรมิ ใหท้ กุ ภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา จุดเน้นการดำเนนิ งาน 6.1 สำรวจ วิเคราะห์ และปรบั ปรงุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน โดย ดำเนนิ การให้ผู้เรยี นไดร้ ับการสนบั สนุนคา่ จัดซ้อื ตำราเรียน คา่ จัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน และคา่ เล่าเรียน อยา่ งท่วั ถึง และเหมาะสมกบั สภาพการจัดการศกึ ษา เพื่อเพ่มิ โอกาสในการรบั การศึกษาที่มคี ุณภาพโดยไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย 6.2 สร้างความรู้ ความตระหนัก และปลูกจติ สำนึกตามหลกั ธรรมาภบิ าล ตลอดจนความร้เู ร่ืองกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั และอื่นๆทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การปฏิบตั งิ านใหก้ ับบุคลากรทกุ ระดับทุกประเภทโดยส่งเสริมการจัด กิจกรรม การจัดทำนวัตกรรมเกยี่ วกับองคค์ วามรดู้ า้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม การป้องกนั การทจุ ริต และราชการใส สะอาด ของหน่วยงานและสถานศึกษา เพื่อให้ กศน.ตำบลสัตหีบ เป็นองคก์ รแห่งศกั ดศ์ิ รแี ละสุจริตธรรมที่ประชาชน มีความเชื่อมั่น ศรัทธาและมีความไวว้ างใจในการปฏิบัตงิ าน

31 ภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง 1. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 1) สนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบตัง้ แต่ปฐมวยั จนจบการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานโดยดำเนนิ การให้ ผเู้ รยี นไดร้ ับการสนับสนนุ ค่าจดั ซอ้ื ตำราเรยี น คา่ จัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น และค่าเล่าเรียนอยา่ งท่วั ถงึ และ เพียงพอเพื่อเพิ่มโอกาสในการรบั การศึกษาทีม่ คี ณุ ภาพโดยไมเ่ สยี ค่าใช้จ่าย 2) จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐานใหก้ ับกลมุ่ เปา้ หมายผ้ดู ้อย พลาดและขาด โอกาสทางการศึกษา ทง้ั ระบบการให้บริการ ระบบการเรยี นการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรยี น ผา่ น การเรยี นแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุม่ การเรียนแบบชน้ั เรยี น และการจดั การศกึ ษาทางไกล 3) จัดให้มีการประเมนิ เพื่อเทียบระดบั การศกึ ษา และการเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์ท่มี ี ความโปรง่ ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของ กลมุ่ เป้าหมายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4) ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนต้องเรยี นรแู้ ละปฏิบัตกิ จิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ เพ่ือดำเนินกิจกรรม เสรมิ สร้างความสามัคคี บำเพ็ญสาธารณประโยชนอ์ ยา่ งตอ่ เนื่อง และส่งเสรมิ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข เช่น กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจติ อาสา การจัดต้ัง ชมรม/ชมุ นุม และเปดิ โอกาสให้ผ้เู รยี นนำกจิ กรรมการบำเพญ็ ประโยชนอ์ ื่น ๆนอกหลักสูตร มาใช้เพ่ิมช่วั โมงกจิ กรรม ใหผ้ เู้ รียนจบตามหลกั สูตรได้ 5) จดั ตง้ั ศนู ย์แนะแนวและประสานการศกึ ษาพิเศษอำเภอ/เขต ใหค้ รบทกุ อำเภอทว่ั ประเทศ 1.2 การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง 1) จัดการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมงี านทำอย่างยง่ั ยืน โดยใหค้ วามสำคญั กับการจัดการศึกษาอาชีพ เพือ่ การมีงานทำประเภทชา่ งพนื้ ฐาน/ช่างชนบท และอาชีพที่สอดคลอ้ งกับศักยภาพของผู้เรยี นและศักยภาพของ แต่ ละพ้ืนท่ี 2) จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิตใหก้ ับทุกกลุ่มเปา้ หมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษาในรปู แบบ ตา่ งๆ อาทิ คา่ ยพัฒนาทกั ษะชีวิต การจดั ตง้ั ชมรม/ชุมนุม การส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษต่างๆ ท่มี ุ่งเน้นใหท้ ุก กลุม่ เปา้ หมายมคี วามรคู้ วามสามารถในการบริหารจัดการชวี ิตของตนเองใหอ้ ย่ใู นสังคมได้อย่างมคี วามสขุ มีคุณธรรม จริยธรรม รวมทง้ั สามารถใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ครอบครัวและชุมชน 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใชห้ ลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ บูรณาการในรปู แบบของการฝกึ อบรม การเรยี นทางไกล การประชมุ สมั มนา การจัดเวทแี ลกเปลีย่ นเรียนรู้ การจดั กจิ กรรมจติ อาสา การสร้างชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิ และรูปแบบอน่ื ๆ ทเ่ี หมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมายและบรบิ ทของชุมชนแต่ ละพน้ื ที่ โดยเนน้ การดำเนนิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสรา้ งจติ สำนกึ ความเปน็ ประชาธิปไตย ความ เป็นพลเมืองดี การบำเพ็ญประโยชน์ การอนุรักษพ์ ลังงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

32 4) ส่งเสริมการจัดการเรียนร้เู พ่อื สรา้ งจิตสำนึกและวนิ ัยในชมุ ชน เชน่ การส่งเสริมคุณธรรมและ จรยิ ธรรมในชมุ ชน การเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยของชมุ ชน ศนู ยเ์ รียนรูห้ ลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจำตำบลสัตหบี 1.3 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1) ส่งเสริมใหม้ กี ารขยายและพฒั นาแหลง่ การเรยี นรใู้ นระดับตำบล เพื่อการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ และจัดกิจกรรมเพอ่ื เผยแพรอ่ งค์ความรู้ในชุมชนไดอ้ ย่างท่วั ถึง 2) จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้เพือ่ ปลกู ฝังนิสยั รักการอา่ น และพัฒนาความสามารถในการอ่าน และศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทกุ กล่มุ เป้าหมายให้ได้ระดบั อ่านคลอ่ ง อา่ นเข้าใจความเขียนคล่อง และอ่าน เชงิ คดิ วเิ คราะหพ์ ้นื ฐาน และใหป้ ระชาชนสามารถรับรู้ขอ้ มลู ข่าวสารท่ีถูกต้องและทันเหตกุ ารณ์ เพ่อื สามารถนำ ความรทู้ ีไ่ ด้รับไปใชป้ ระโยชน์ในการปฏบิ ตั ิจริง 3) ส่งเสริมใหม้ กี ารสรา้ งบรรยากาศ และส่งิ แวดล้อมทเ่ี อือ้ ตอ่ การอ่านใหเ้ กดิ ขนึ้ ในสงั คมไทย โดย สนบั สนนุ การพฒั นาแหลง่ การเรยี นรใู้ ห้เกิดขนึ้ อยา่ งกวา้ งขวางและท่ัวถงึ เชน่ พัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนทกุ แห่งให้ เปน็ แหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชีวติ ของชุมชน สง่ เสรมิ และสนบั สนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอา่ น การสร้างเครอื ขา่ ยสง่ เสริม การอ่าน จัดหนว่ ยบริการเคลือ่ นทพ่ี ร้อมอุปกรณเ์ พือ่ สง่ เสริมการอา่ นและการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลายออกให้บริการ ประชาชนในพน้ื ที่ต่าง ๆ อยา่ งทวั่ ถงึ สมำ่ เสมอ รวมทงั้ เสริมสรา้ งความพรอ้ มในด้านส่อื อุปกรณ์เพือ่ สนบั สนนุ การ อ่าน และการจัดกจิ กรรมเพื่อส่งเสรมิ การอ่านอยา่ งหลากหลาย 4) จดั ทำมุมวิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษา ให้เป็นแหล่งการเรยี นรูเ้ ชิงวิชาการประจำตำบล โดย พัฒนาและจัดทำนิทรรศการ และจดั กิจกรรมทเ่ี น้นการเสริมสรา้ งทกั ษะ กระบวนการเรียนรู้ และเจตคตทิ าง วทิ ยาศาสตร์ เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษา ประชาชนนำความรู้และทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ ไปใชพ้ ัฒนาทักษะการคดิ วิเคราะห์ บนฐานข้อมูลท่ี ถูกต้อง และสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอนาคตไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รวมทั้ง เช่อื มโยงกระบวนการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาชุมชน ให้ผรู้ บั บรกิ ารสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในการดำเนินชีวติ การพัฒนาอาชพี การรกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม และการป้องกันภยั พิบตั จิ ากธรรมชาตใิ นพนื้ ที่ 2. ด้านหลกั สตู ร สอื่ รูปแบบการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล งานบรกิ ารทางวิชาการและการประกนั คณุ ภาพ การศึกษา 2.1 ส่งเสริมการพฒั นาหลักสูตร รปู แบบการเรยี นการสอน และกจิ กรรมการเรียนรเู้ พ่อื ส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่ีหลากหลาย ทนั สมัย รวมทง้ั หลกั สตู รท้องถนิ่ ทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาพบริบท ของพนื้ ที่ และความต้องการของกลุม่ เป้าหมายและชุมชน เช่น การจัดโปรแกรมการเรยี นรรู้ ายบุคคล และแผนการ เรยี นรู้รายชมุ ชน

33 2.2 พฒั นารปู แบบการจดั การศึกษาทางไกลให้มีความทันสมยั ดว้ ยระบบหอ้ งเรยี นและการควบคมุ การสอบ ออนไลน์ 2.3 พัฒนาระบบการประเมนิ เพือ่ เทยี บระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ใหม้ ี คณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.4 ส่งเสริมการพัฒนาส่อื แบบเรยี น สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์และส่ืออ่ืนๆ ท่เี ออ้ื ต่อการเรียนร้ขู องผู้เรียน กลมุ่ เปา้ หมายทัว่ ไปและกลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ 2.5 พัฒนาระบบการวัดผลและประเมนิ ผลการศกึ ษานอกระบบทกุ หลกั สูตร โดยเฉพาะหลกั สูตรในระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนำแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Exam) มาใช้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรูแ้ ละเผยแพร่ รปู แบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เพอ่ื ให้มกี ารนำไปสู่การ ปฏิบตั อิ ย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกบั บรบิ ทอยา่ งตอ่ เนื่อง 2.7 พฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาให้ไดม้ าตรฐาน เพือ่ พรอ้ มรบั การประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพฒั นาบคุ ลากรใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการประกันคณุ ภาพ และ สามารถดำเนนิ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอ้ ย่างต่อเนือ่ งโดยใชก้ ารประเมินภายในดว้ ยตนเอง และ จดั ใหม้ ีระบบสถานศึกษาพเ่ี ลีย้ งเข้าไปสนบั สนุนอย่างใกล้ชิด สำหรับสถานศึกษาทย่ี งั ไม่ได้เข้ารบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด 3. ดา้ นเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพฒั นารายการวทิ ยุและรายการโทรทัศนเ์ พอ่ื การศกึ ษาให้เชื่อมโยงและตอบสนองตอ่ การจดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของสถานศกึ ษาเพ่อื กระจายโอกาสทางการศกึ ษาสำหรับ กลมุ่ เป้าหมายต่างๆ ใหม้ ีทางเลือกในการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลายและมคี ุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เทา่ ทันสื่อและ เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การส่ือสาร เช่น รายการพัฒนาอาชพี เพ่อื การมงี านทำรายการติวเข้มเตมิ เตม็ ความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศกึ ษา สถานีวิทยโุ ทรทศั น์เพอ่ื การศึกษากระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) และทาง อนิ เทอรเ์ น็ต 3.2 พัฒนาช่องทางการเผยแพร่การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ผ่านระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารแบบออนไลน์ เพ่ือส่งเสรมิ ใหค้ รู กศน.นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร มาใช้ในการสรา้ งกระบวนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานวี ิทยศุ กึ ษา และสถานโี ทรทัศนเ์ พอื่ การศึกษาเพ่อื เพิ่มประสทิ ธิภาพการผลติ และการ ออกอากาศให้กลุม่ เป้าหมายสามารถใชเ้ ปน็ ช่องทางการเรียนรูท้ ่มี ีคุณภาพไดอ้ ยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวิต โดยขยาย เครอื ขา่ ยการรับฟังให้สามารถรับฟงั ได้ทกุ ที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพน้ื ท่ีทวั่ ประเทศและเพิม่ ชอ่ งทางให้สามารถรับชม รายการโทรทศั น์ได้ท้ังระบบ Ku - Band , C - Band และทางอินเทอร์เนต็ พรอ้ มที่จะรองรับการพัฒนาเป็นสถานี วิทยโุ ทรทัศน์เพ่อื การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV)

34 3.4 พฒั นาระบบการใหบ้ ริการสือ่ เทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษาให้ได้หลายช่องทางท้ังทางอินเทอร์เนต็ และ รปู แบบอ่ืน ๆ เชน่ Application บนโทรศัพท์เคล่ือนที่ และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เปน็ ต้น เพ่อื ให้ กลุม่ เป้าหมายสามารถเลือกใชบ้ ริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรไู้ ด้ตามความต้องการ 3.5สำรวจ วจิ ยั ตดิ ตามประเมนิ ผลด้านส่อื เทคโนโลยเี พอื่ การศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง และนำผลมาใช้ในการ พฒั นางานใหม้ ีความถกู ต้อง ทันสมยั และสามารถสง่ เสรมิ การศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ของประชาชนไดอ้ ย่าง แทจ้ รงิ 4. ดา้ นโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนนุ การดำเนินงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนอื่ ง จากราชวงศ์ภายในตำบลและพื้นที่ใกล้เคียง 4.2 จัดทำฐานขอ้ มลู โครงการและกิจกรรมของ กศน.ตำบล ท่ีสนองงานโครงการอนั เนือ่ งมาจาก พระราชดำริทสี่ ามารถนำไปใชใ้ นการวางแผน การตดิ ตามประเมนิ ผลและการพัฒนางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4.3 สง่ เสริมการสรา้ งเครือข่ายการดำเนนิ งานเพอ่ื สนบั สนุนโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำรเิ พือ่ ใหเ้ กิด ความเข้มแขง็ ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 4.4 พัฒนาศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” ใหม้ คี วามพรอ้ มในการจัดการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหน้าท่ีท่กี ำหนดไวอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 5. ดา้ นบคุ ลากร ระบบการบรหิ ารจัดการ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 5.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทกุ ระดับ ทกุ ประเภทให้มีสมรรถนะสงู ข้ึนอย่างต่อเน่ือง ทงั้ ก่อนและระหว่างการ ดำรงตำแหนง่ เพอื่ ให้มเี จตคติท่ีดใี นการปฏบิ ัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบรหิ ารจัดการการดำเนนิ งานของหนว่ ยงาน และสถานศกึ ษาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ รวมทงั้ สง่ เสริมใหบ้ ุคลากรในสงั กดั พัฒนาตนเองเพื่อเลือ่ นตำแหน่งหรอื เลอื่ น วิทยฐานะโดยเนน้ การประเมนิ วทิ ยฐานะเชิงประจกั ษ์ 2) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตำบล ให้มีสมรรถนะสงู ขน้ึ ในการบรหิ ารจดั การ กศน.อำเภอสัตหบี และ การปฏิบตั ิงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยเนน้ การเปน็ นักจดั การความรแู้ ละผู้อำนวยความสะดวก ในการเรยี นรเู้ พ่ือให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ที่มีประสทิ ธิภาพอย่างแท้จริง 3) พฒั นาครู กศน. และผู้ท่ีเกย่ี วข้องให้สามารถจัดรปู แบบการเรยี นรไู้ ด้อย่างมคี ณุ ภาพโดยสง่ เสรมิ ใหม้ ีความรู้ความสามารถในการจัดทำแผนการสอน การจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล และการวจิ ยั เบือ้ งตน้ 4) สง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการ กศน. อำเภอสตั หบี เพือ่ ใหม้ ีส่วนร่วมในการบริหาร การดำเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อำเภอสัตหบี อย่างมีประสิทธภิ าพ 5) พฒั นาศักยภาพบุคลากร ท่ีรบั ผิดชอบการบรกิ ารการศึกษาและการเรยี นรู้ ให้มคี วามรู้ ความสามารถและมีความเป็นมอื อาชีพในการจดั บริการส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชวี ิตของประชาชนในตำบลแสมสาร

35 1) พฒั นาอาสาสมัคร กศน.อำเภอสตั หีบ ให้สามารถทำหนา้ ทเ่ี ป็นผูจ้ ัด ส่งเสริมและสนับสนุนการ จัด 2) การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 7) เสริมสรา้ งสัมพันธภาพระหวา่ งบุคลากร รวมทั้งภาคีเครอื ขา่ ยทงั้ ในตำบลและตำบลใกล้เคียงใน ทุกระดับเพ่ือเพิม่ ประสิทธภิ าพในการทำงานร่วมกัน โดยจัดใหม้ กี ิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะ และเสริมสร้าง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ ลากร และภาคีเครือข่ายในรปู แบบทห่ี ลากหลายอย่างต่อเนือ่ ง 5.2 การพัฒนาโครงสร้างและอตั รากำลัง 1) จดั ทำแผนการพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและดำเนนิ การปรับปรุงสถานท่ี และวสั ดอุ ุปกรณ์ใหม้ ี ความพร้อมในการจดั การศึกษา 2) แสวงหาภาคีเครอื ข่ายในท้องถ่ินเพ่ือการมีส่วนร่วมในการดำเนนิ กจิ กรรม การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั รวมทั้งระดมทรพั ยากรเพอื่ นำมาใชใ้ นการปรบั ปรงุ โครงสร้างพ้นื ฐานให้มคี วามพร้อม สำหรับดำเนนิ กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของประชาชน 3) บริหารอตั รากำลงั ที่มอี ยู่ท้งั ในส่วนทเ่ี ปน็ ขา้ ราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างให้เกิด ประสทิ ธิภาพสงู สดุ ในการปฏิบัตงิ าน 5.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ 1) เร่งผลักดันให้มกี ารประกาศใช้กฎหมายวา่ ด้วยการศึกษาตลอดชีวติ 2) เพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกำกบั ควบคมุ และเร่งรดั การเบิกจา่ ยงบประมาณให้เป็นตามเปา้ หมายท่กี ำหนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลให้มคี วามครบถว้ น ถกู ตอ้ ง ทนั สมยั และเชอื่ มโยงกันทั่วประเทศอยา่ ง เป็นระบบเพ่ือให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนำไปใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือสำคญั ในการบรหิ ารการวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมนิ ผล และการนำผลมาพัฒนาการดำเนนิ งานอยา่ งตอ่ เนื่องตามวงจรคุณภาพเดมม่ิง (PDCA) รวมทง้ั จัดบริการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธภิ าพ 4) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลรวมของนกั ศกึ ษา กศน.อำเภอสตั หีบ ใหม้ ีความครบถ้วน ถูกต้อง ทนั สมยั และเชอ่ื มโยงกันทวั่ ประเทศ สามารถสืบคน้ และสอบทานไดท้ นั ความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัดการศกึ ษาใหก้ ับ ผู้เรียนและการบรหิ ารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 5) สง่ เสรมิ ให้มกี ารจดั การความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดบั รวมทัง้ การศึกษาวิจยั เพือ่ สามารถนำมาใช้ในการพฒั นาประสิทธภิ าพการดำเนนิ งานท่ีสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของประชาชนและชุมชน พรอ้ มท้งั พฒั นาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหนว่ ยงานและสถานศึกษา 6) สร้างความรว่ มมอื ของทุกภาคส่วนทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ในการพฒั นาและสง่ เสรมิ การ จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวติ

36 5.4 การกำกบั นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล 1) สรา้ งกลไกการกำกบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการดำเนินงานการศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหเ้ ชอื่ มโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่ายทั้งระบบ 2)ให้หน่วยงานและสถานศกึ ษาท่ีเกยี่ วขอ้ งทกุ ระดบั พัฒนาระบบกลไกการกำกับ ติดตามและ รายงานผลการนำนโยบายสกู่ ารปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดำเนนิ งานตามนโยบายในแต่ละเรอื่ งไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ 3) สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่อื อ่นื ๆ ที่เหมาะสม เพอ่ื การกำกบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมีประสิทธิภาพ 4) พัฒนากลไกการตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี ของ กศน.ตำบล เพ่ือการรายงานผลตามตวั ช้ีวัดในคำรบั รองการปฏบิ ตั ิราชการประจำปขี องสำนักงาน กศน.ให้ ดำเนนิ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ กี าร และระยะเวลาที่กำหนด 5) ใหม้ ีการเชอื่ มโยงระบบการนเิ ทศในทกุ ระดบั ท้ังหนว่ ยงานภายในและภายนอกองค์กรตง้ั แต่ ส่วนกลาง ภูมภิ าค กลุ่มจังหวัด จงั หวดั อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพ่ือความเปน็ เอกภาพในการใช้ขอ้ มลู และ การพฒั นางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

37 ส่วนที่ 3 แผนปฏบิ ตั ิการ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ประจำปงี บประมาณ 2563

สว่ นท่ี 3 38 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ ประจำปี 2563 งบประมาณ ตารางแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 2563 กศน.ตำบล..แสมสาร… (บาท) ลำดับที่ โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย - คน/แห่ง - 1 การจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน - 1.1 หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 - - - ประถมศึกษา 22 คน - มัธยมศึกษาตอนต้น 123 คน 2,300.-บาท - มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2,400.-บาท 1.2 สง่ เสริมการรหู้ นงั สือ - 5,200 บาท 2 ผลผลติ ที่ 4 งานการศึกษานอกระบบ 20 คน 10,800.-บาท - การศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ติ 6 คน 8,400.-บาท - การศกึ ษาเพอ่ื เรยี นรหู้ ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 15 คน - การศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน - งบรายจ่ายอ่ืน 12 คน - - ศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน (พฒั นาอาชีพ ไม่เกิน 30 ช่ัวโมง) 12 คน - -ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (พัฒนาอาชีพ 31 ชั่วโมง ขึ้นไป) - - - 3 การจดั การศึกษาตามอัธยาศัย - - - หอ้ งสมุดประชาชน - - สมาชกิ หอ้ งสมดุ 1 แห่ง 4,050.-บาท - ผรู้ บั บริการ 647 คน - กศน.ตำบล 136 คน 33,150.-บาท - บา้ นหนังสือชุมชน - อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่าน 15 คน 4 กิจกรรมตามยทุ ธศาสตร์ - โครงการศนู ย์ดจิ ิทัลชุมชน รว่ มทง้ั ส้ิน

39 สว่ นที่ 4 กลยทุ ธก์ ารดำเนนิ งาน - การดำเนนิ งานตามแนวทางวงจร PDCA (Plan-Do-Check-Act) เป็นกิจกรรมพน้ื ฐานในการพัฒนาประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพของการดำเนินงาน ซง่ึ ประกอบด้วย ข้นั ตอน 4 ขน้ั คอื วางแผน-ปฏิบัติ-ตรวจสอบ-ปรบั ปรงุ การดำเนนิ กจิ กรรม PDCA อยา่ งเปน็ ระบบใหค้ รบวงจรอยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง หมนุ เวยี นไปเร่อื ย ๆ ย่อมส่งผลให้การดำเนินงานมปี ระสิทธิภาพและมีคณุ ภาพเพม่ิ ขนึ้ โดยตลอดวงจร PDCA นไี้ ดพ้ ฒั นาขึ้นโดย ดร.ชวิ ฮารท์ ต่อมา ดร.เดมมิ่ง ไดน้ ำมาเผยแพร่จนเปน็ ท่รี ูจ้ กั กนั อย่าง แพรห่ ลาย ขัน้ ตอนแตล่ ะขัน้ ของวงจร PDCA มรี ายละเอยี ด ดังน้ี 1. Plan (วางแผน) หมายความรวมถึงการกำหนดเป้าหมาย / วตั ถปุ ระสงค์ในการดำเนินงานวธิ ีการ และขัน้ ตอนทจี่ ำเปน็ เพ่ือใหก้ ารดำเนินงาน บรรลุเปา้ หมายในการวางแผนจะต้องทำความเขา้ ใจกับ เป้าหมายวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน เปา้ หมายทีก่ ำหนดต้องเป็นไปตามนโยบาย วสิ ยั ทัศน์และพนั ธกิจ ขององค์กรเพ่อื ก่อให้เกดิ การพฒั นาทเี่ ป็นไปในแนวทางเดียวกนั ทั่วทง้ั องคก์ ร การวางแผนในบางด้านอาจจำเป็นตอ้ งกำหนด มาตรฐาน ของวธิ ีการทำงานหรือ เกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆไปพร้อมกันด้วยขอ้ กำหนดที่เปน็ มาตรฐานน้ี จะชว่ ยให้การ วางแผนมีความสมบรู ณ์ย่ิงขน้ึ เพราะใช้เปน็ เกณฑ์ในการตรวจสอบได้วา่ การปฏิบัตงิ านเปน็ ไปตามมาตรฐานท่ไี ด้ ระบุไวใ้ นแผนหรือไม่ 2. DO (ปฏิบัติ) หมายถงึ การปฏบิ ัตใิ หเ้ ปน็ ไปตามแผนทไ่ี ด้กำหนดไว้ ซึ่งกอ่ นทีจ่ ะปฏิบตั ิงานใด ๆ จำ เป็นตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลู และเง่อื นไขตา่ ง ๆ ของ สภาพงานที่เก่ียวข้องเสียกอ่ น ในกรณที ีเ่ ป็นงานประจำทเี่ คย ปฏบิ ัตหิ รอื เปน็ งานเล็กอาจใช้วิธีการเรยี นรู้ ศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง แต่ถา้ เป็นงานใหม่หรือ งานใหญท่ ี่ต้อง ใชบ้ ุคลากรจำนวนมากอาจตอ้ งจัดใหม้ กี ารฝกึ อบรม ก่อนทีจ่ ะปฏบิ ัตจิ รงิ การปฏิบตั ิจะต้องดำเนินการไป ตามแผน วิธกี าร และข้ันตอน ที่ได้กำหนดไว้และจะต้องเก็บรวบรวมและบนั ทกึ ข้อมลู ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการปฏบิ ัตงิ าน ไวด้ ้วยเพอ่ื ใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการดำเนินงานในข้ันตอนต่อไป

40 3. Check (ตรวจสอบ) เปน็ กจิ กรรมทม่ี ขี ึ้นเพ่อื ประเมนิ ผลว่ามกี ารปฏบิ ัตงิ านตามแผน หรอื ไมม่ ปี ัญหา เกิดขน้ึ ในระหว่างการปฏบิ ตั งิ านหรอื ไม่ ขัน้ ตอนนม้ี คี วามสำคัญ เนอ่ื งจากในการดำเนินงานใด ๆ มกั จะเกิดปัญหา แทรกซ้อนท่ีทำใหก้ ารดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนอยูเ่ สมอ ซ่ึงเปน็ อุปสรรค ตอ่ ประสทิ ธภิ าพและ คุณภาพของการทำงาน การตดิ ตาม การตรวจสอบ และการประเมินปัญหาจงึ เปน็ สิ่งสำคัญที่ต้องกระทำ ควบคู่ไปกับการดำเนนิ งาน เพ่อื จะไดท้ ราบขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนใ์ นการปรบั ปรุงคณุ ภาพ ของการดำเนนิ งานต่อไป ในการตรวจสอบ และการประเมนิ การปฏบิ ตั งิ าน จะต้องตรวจสอบดว้ ย วา่ การปฏบิ ัตินัน้ เป็นไปตามมาตรฐานที่ กำหนดไวห้ รือไม่ท้งั นเ้ี พ่อื เป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพของงาน 4. Act (การปรับปรุง) เป็นกจิ กรรมทมี่ ีขึ้นเพื่อแกไ้ ขปญั หาที่เกิดขึ้นหลังจากไดท้ ำการตรวจสอบแล้ว การปรบั ปรุงอาจเปน็ การแก้ไขแบบเร่งด่วน เฉพาะหน้า หรอื การค้นหาสาเหตทุ แ่ี ท้จรงิ ของปัญหา เพื่อ ป้องกนั ไมใ่ ห้เกดิ ปัญหาซ้ำรอยเดิม การปรบั ปรงุ อาจนำไปส่กู ารกำหนดมาตรฐานของวิธีการ ทำงานท่ตี า่ งจากเดมิ เมอ่ื มีการดำเนินงานตามวงจร PDCA ในรอบใหมข่ อ้ มลู ที่ได้จากการปรบั ปรุงจะช่วยให้การวางแผนมคี วาม สมบูรณแ์ ละมีคุณภาพเพิม่ ขนึ้ ได้ดว้ ย การบรหิ ารงานในระดบั ตา่ ง ๆ ทุกระดับตัง้ แตเ่ ลก็ สดุ คือการปฏิบตั ิงาน ประจำวันของบุคคลคนหนึ่งจนถงึ โครงการในระดบั ใหญ่ท่ีตอ้ งใช้ กำลังคนและเงินงบประมาณจำนวนมาก ยอ่ มมี กิจกรรม PDCA เกดิ ข้ึนเสมอ โดยมกี ารดำเนินกจิ กรรมท่ีครบวงจรบา้ ง ไมค่ รบวงจรบ้างแตกต่างกัน ตามลักษณะ งานและและสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน ในแตล่ ะองค์กรจะมวี งจร PDCA อยหู่ ลาย ๆ วง วง ใหญส่ ดุ คือ วงที่มี วสิ ยั ทัศน์และแผนยุทธศาสตร์ ขององคก์ รเป็นแผนงาน (P) แผนงานวงใหญ่อาจครอบคลมุ ระยะเวลาต่อเน่อื งกัน หลายปีจึงจะบรรลุผล การจะผลักดนั ให้วิสยั ทัศนแ์ ละแผนยทุ ธศาสตร์ ขององค์กร ปรากฏเป็นจรงิ ได้จะต้องปฏิบตั ิ (P)โดยนำแผนยุทธศาสตรม์ ากำหนดเปน็ แผนการปฏบิ ัติงาน ประจำปขี อง หน่วยงานตา่ ง ๆ ขององค์กรแผนการ ปฏบิ ัตงิ านประจำปจี ะกอ่ ใหเ้ กิดวงจร PDCA ของหนว่ ยงานขึ้นใหม่ หาก หน่วยงานมีขนาดใหญ่ มบี คุ ลากรที่ เกีย่ วข้องจำนวนมาก กจ็ ะต้องแบ่งกระจาย ความรับผดิ ชอบไปยงั หนว่ ยงานตา่ งๆ ทำให้เกดิ วงจร PDCA เพ่มิ ขนึ้ อีก หลาย ๆ วงโดยมคี วามเชอ่ื มโยงและซอ้ นกันอยู่ การ ปฏิบัตงิ านของหนว่ ยงาน ทง้ั หมดจะรวมกนั เปน็ (D) ขององคก์ ร นัน้ ซึ่งองค์กรจะต้องทำการตดิ ตามตรวจสอบ (C) และแก้ไขปรับปรงุ จุดที่เป็นปญั หาหรืออาจตอ้ งปรบั แผนใหม่ ใน แตล่ ะปี (A) เพอ่ื ใหว้ สิ ยั ทัศน์และแผนยุทธศาสตร์ระยะยาวนนั้ ปรากฏเป็นจริง

41 ภาคผนวก

42 คำรบั รอง

43 คณะกรรมการ กศน.ตำบลแสมสาร

44 คำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ระหวา่ งผู้อำนวยการ กศน.อำเภอสตั หีบ และ หัวหนา้ กศน.ตำบลแสมสาร

45 คำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการ สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1. คำรบั รองระหว่าง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอสตั หบี ผู้รับคำรบั รอง นางสรุ ัสวดี เลย้ี งสพุ งศ์ และ ผู้ทำคำรบั รอง นางสาวประวีณา ดาวมณี หัวหน้า กศน.ตำบลแสมสาร 2. คำรบั รองนีเ้ ปน็ คำรับรองฝา่ ยเดียว มิใชส่ ัญญาและใช้สำหรับระยะเวลา 1 ปี เริ่มตง้ั แตว่ ันท่ี 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2563 3. รายละเอยี ดของคำรับรองได้แก่ ตัวช้ีวดั ผลการปฏบิ ัตริ าชการ นำ้ หนักข้อมูลพืน้ ฐาน เปา้ หมาย เกณฑ์การให้ คะแนนและรายละเอียดอืน่ ๆ ตามทีป่ รากฏอยใู่ นเอกสารประกอบท้ายคำรบั รองน้ี 4. ข้าพเจา้ นางสุรัสวดี เล้ียงสพุ งศ์ ในฐานะผูบ้ ังคับบญั ชาของ นางสาวประวณี า ดาวมณี ได้พิจารณา ตัวช้วี ดั ผล ภาคปฏิบัติราชการ น้ำหนกั ขอ้ มูลพน้ื ฐาน เป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนนและรายละเอียดอืน่ ๆตามทก่ี ำหนดใน เอกสารประกอบท้ายคำรบั รองน้ี และขา้ พเจ้ายินดีจะใหค้ ำแนะนำ กำกับ และตรวจสอบผลการปฏบิ ัตริ าชการ ของ นางสาวประวณี า ดาวมณี ให้เป็นไปตามคำรับรองทจ่ี ดั ทำขึ้นน้ี 5. ข้าพเจา้ นางสาวประวณี า ดาวมณี ได้ทำความเขา้ ใจคำรับรบั รองตาม 3 แลว้ ขอให้คำรบั รองกับ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอสัตหีบวา่ จะมุ่งม่นั ปฏิบตั ิราชการใหเ้ กิดผลงานที่ดตี ามเปา้ หมายของตวั ชวี้ ัดแต่ละตัวในระดับสงู สุด เพ่อื ให้เกิดประโยชน์สขุ แกป่ ระชาชนตามท่ีให้คำรับรองไว้ 6. ผรู้ ับคำรับรองและผู้ทำคำรับรองได้เข้าใจคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการและเห็นพอ้ งกนั แลว้ จงึ ได้ลงลายมือช่ือ ไว้เป็นสำคัญ ........................................... .................................................. (นางสาวประวีณา ดาวมณี) (นางสรุ สั วดี เลย้ี งสพุ งศ์) หวั หน้า กศน.ตำบลแสมสาร วันท.่ี ...........เดอื น...............................พ.ศ............... ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอสตั หีบ วันที.่ .............เดือน.................................พ.ศ...............

46 กรอบการประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กศน.อำเภอสตั หีบ ประเดน็ การประเมนิ ผลการ ตวั ช้ีวัด น้ำหนัก(ร้อยละ) ปฏิบัติราชการ การประเมินประสทิ ธิผล ตวั ชว้ี ัดท่ี 1 ความสำเร็จในการบรรลุเปา้ หมายตามนโยบาย 80 สำคัญ/แผนปฏิบตั ริ าชการ/ตัวชวี้ ัดตามคำรบั รองภาคปฏิบตั ิ ราชการของกระทรวง/สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการและ แผนปฏิบัตริ าชการของหนว่ ยงาน 1.1 รอ้ ยละความสำเรจ็ ในการบรรลเุ ป้าหมายตามโครงการ/ 30 กิจกรรม/งาน/แผนปฏิบัตกิ ารของสำนักงาน กศน. 1.2 ร้อยละความสำเร็จของโครงการทีม่ ผี ลสัมฤทธ์ิตามเปา้ หมาย 10 ของโครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการของสำนักงาน กศน. 1.3 ระดบั คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ ้าน การศึกษานอกระบบ(N-NET) 10 1.4 จำนวนผใู้ ชง้ านส่อื การเรียนการสอนจากรายการโทรทศั นเ์ พ่ือ การศกึ ษา(ETV)ผา่ นระบบออนไลน์ 10 1.5 รอ้ ยละของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชนสามารถนำ ความรู้ไปใชไ้ ด้ 10 1.6 ร้อยละของผเู้ รยี นทสี่ อบผ่านเกณฑก์ ารสอบปลายภาคเรียน หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 10 พุทธศักราช 2551 ในรายวิชาหลักไดแ้ ก่ วิชาคณิตศาสตร/์ วิทยาศาสตร/์ ภาษาอังกฤษ/ภาษาไทย การประเมินประสทิ ธผิ ล ตวั ช้วี ัดท่ี 2 รอ้ ยละเฉล่ยี ถว่ งน้ำหนกั ผลสัมฤทธ์ิการสนับสนนุ 20 การดำเนินงานมิตภิ ายในตามคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการของ สำนกั งานปลักกระทรวงศึกษาธิการ 2.1. ร้อยละความสำเร็จของการเบกิ จ่ายงบประมาณรายข่าย 10 ภาพรวม 2.2ระดบั ความสำเร็จของการดำเนนิ งานตามมาตรการประหยดั 10 พลังงานของส่วนราชการ

47 คำรบั รองการปฏิบตั ิราชการ ประจำปีงบประมาณ 2563 กศน.อำเภอสตั หีบ ลำดับที่ โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย งบประมาณ 1 คน/แหง่ (บาท) 2 การจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1 หลักสูตรการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 - - 3 - ประถมศึกษา 90 คน - - มธั ยมศึกษาตอนตน้ 99 คน - 4 - มธั ยมศึกษาตอนปลาย - 1.2 สง่ เสริมการรหู้ นงั สือ - ผลผลติ ที่ 4 งานการศึกษานอกระบบ 2,300.-บาท - การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต 20 คน 2,400.-บาท - การศกึ ษาเพอ่ื เรยี นร้หู ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 6 คน 5,200 บาท - การศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน 15 คน งบรายจ่ายอนื่ 10,800.-บาท - ศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน (พฒั นาอาชีพ ไม่เกนิ 30 ชั่วโมง) 12 คน 8,400.-บาท -ศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน (พฒั นาอาชพี 31 ช่วั โมง ขึ้นไป) 12 คน การจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย - - หอ้ งสมดุ ประชาชน - - - สมาชิกห้องสมดุ - - - ผู้รบั บรกิ าร - - - กศน.ตำบล 1 แห่ง - - บ้านหนังสอื ชมุ ชน 647 คน - - อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน 136 คน กิจกรรมตามยทุ ธศาสตร์ 4,050.-บาท - โครงการศูนย์ดจิ ทิ ัลชมุ ชน 15 คน 33,150.-บาท ร่วมท้งั สน้ิ ........................................... .................................................. (นางสาวประวีณา ดาวมณี) (นางสรุ ัสวดี เล้ยี งสุพงศ์) หัวหนา้ กศน.ตำบลแสมสาร วันที.่ ...........เดอื น...............................พ.ศ............... ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอสัตหีบ วันท.่ี .............เดือน.................................พ.ศ...............


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook