Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต

ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต

Published by cw0933674101, 2021-08-27 10:41:41

Description: ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต

Search

Read the Text Version

รายงานเรือง ความเปนมาของ อินเตอร์เน็ต

คํานํา ร า ย ง า น ฉ บั บ นี จั ด ทํา ขึ น เ พื อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ร ย น ว ช า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ ส า ร ะ ส น เ ท ศ โ ด ย มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เ พื อ ใ ห้ ผู้ จั ด ทํา ไ ด้ ฝ ก ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า แ ล ะ นํา สิ ง ที ไ ด้ ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ม า ส ร้ า ง เ ป น ชิ น ง า น เ ก็ บ ไ ว้ เ ป น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร เ ร ย น ก า ร ส อ น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ ค รู ต่ อ ไ ป ทั ง นี เ นื อ ห า ไ ด้ ร ว บ ร ว ม ม า จ า ก ห นั ง สื อ แ บ บ เ ร ย น แ ล ะ จ า ก ห นั ง สื อ คู่ มื อ ก า ร เ ร ย น อี ก ห ล า ย เ ล่ ม ใ ห้ คาํ แ น ะ นํา เ พื อ แ ก้ ไ ข ใ ห้ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ต ล อ ด ก า ร ทาํ ง า น ผู้ จั ด ทาํ ห วั ง ว่ า ร า ย ง า น ฉ บั บ นี ค ง มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ผู้ ที นํา ไ ป ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ต า ม ค ว า ม ค า ด ห วั ง

สารบัญ หนา้ 1 หนา้ 5 เรอง ประวตั คิ วามเปนมาของอินเตอร์เนต็ เรอง อินเตอร์เนต็ ในประเทศไทย

ประวัติความเปนมาของอินเตอร์เน็ต จุดเร่มิ ตน ของอนิ เตอรเน็ตนัน้ เรม่ิ นับหน่ึงตัง้ แตปี พ.ศ. 2500 โดยหนวยงาน ARPA (Advanced Research Project Ageney) ของกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา โดยไดแรงกระตนุ จากการท่ีสหภาพโซเวียตสง ดาวเทียมสปุ ตนิกข้นึ สอู วกาศ โดยในปี พ.ศ. 2506 หนวยงาน ARPA วา จางบริษทั RandCorporationศึกษาถึงวิธใี นการสงั่ งานและควบคมุ ระบบเน็ตเวิรก ท่ีสามารถรอดพนตากความหายนะ หากถกู โจมตดี ว ยอาวุธระเบดิ ปรมาณจู ากสหภาพโซเวียต ผลจากการศกึ ษาพบวา คําตอบของปัญหาดงั กลาวก็คอื การไม กาํ หนดจดุ ศนู ยก ลางทีจ่ ําเพราะเจาะจงและการออกแบบระบบเครอื ขา ยท่เี ตรยี มพรอมรบั มือกับความเสียหายท่ีจะเกิด ข้นึ จากแนวความคิดดังกลาวจงึ ผสมผสานกับจนเกิดรปู แบบของอนิ เตอรเน็ต นัน้ คืออินเตอรเน็ตจะไมมีการกาํ หนด จุดศนู ยก ลางของการตดิ ตอที่แนนอนตายตัว

พ.ศ. 2512 โครงการ APRANet ทีถ่ ือเป็นโครงการนํารองของอินเตอรเ น็ต ภายใตก ารสนับสนนุ ของกระทรวงกลาโหมของ สหรัฐอเมรกิ าไดทาํ การเช่อื มโยงโนด 4 จดุ ไดแก เมืองซานตาบารบ ารา และมหาวทิ ยาลัยรัฐยูทาห ภายในระยะเวลาเพียง 2 ปี จํานวนโนดเพ่มิ ข้นึ เป็น 15 จดุ โดยรวมเอาสถาบันดังๆ อยา งเอม็ ไอที หมาวทิ ยาบัยฮารวารดและองคการนาซาเอาไว พ.ศ. 2515 ระบบ Telnet ไดอ อกถกู นํามาเผยแพร พ.ศ. 2516 ไดมกี ารเช่ือมโยงโครงการ ARPANet ไปยงั ตางประเทศเป็นครัง้ แรก โดยเช่ือมตอ ไปยังประเทศองั กฤษ และนอรเวย และปีเดยี วกนั ไดมีการนําระบบ FTP ออกเผยแพร พ.ศ. 2520 มกี ารคิดคนระบบอี- เมลลและนําออกเผยแพร พ.ศ. 2522 เริ่มตนการเผยแพรร ะบบกลมุ ขา วสาร พ.ศ. 2525 โครงการ ARPANet ไดถ กู ปรับเปลีย่ นมาใชโ ปรโตคอล TCP/IP ออกเผยแพร พ.ศ. 2527 มีการนําระบบ DSN (Domain Name Server) มาใชใ นการอางอิงตําแหนงหรือที่อยรู ะหวา งโดเมน พ้ืนฐาน 6 กลมุ พ.ศ. 2529 สถาบนั National Science (NSF) ไดร ิเรมิ่ โครงการ NSFNet โดยใชศูนยกลางที่ใชเคร่อื งซูเปอรค อมพวิ เตอร 5 เคร่ือง ตอ เช่อื มกัน เพ่อื สรางเสนทางเช่ือมตอ ความเรว็ สงู ที่มคี วามเรว็ 56 kbps แตจะแตกตางจากโครงการ NSFNet ซ่งึ เน นการเช่ือมโยง ระหวา งหนวยงานที่ทาํ การคนควา ใหทางทหารหรอื รัฐบาล โดย NSFNet จะทาํ การเช่ือมตอระหวางหนวยงานทีท่ างการศกึ ษาทงั้ หลายเขาดว ยกันพ.ศ. 2530 จํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอรท่ีมสี ถานะเป็น โฮสต (Host) เพมิ่ ข้นึ เป็น 10,000 จุด

พ.ศ. 2531 สายเช่ือมถูกปรับปรงุ มาใชมาตรฐาน T1 (ความเร็ว 1.544 Mbps) พ.ศ. 2532 ทมิ เบอรเนอรส ลี (บดิ าแหงเว็บ) ไดจดั ทําเอกสารนําเสนอ ซ่งึ เป็นจดุ เร่ิมตน กําเนิดของ Wold Wide Web หรือเขียน สัน้ ๆ วา WWW พ.ศ. 2533 โครงการ ARPANet มอี ันตองสนิ้ สุดลง ขณะเดียวกนั ระบบอารซี ไดร ับการเผยแพรเขา สูส ารธารณชน บริษทั The Wold เป็นบริษทั ใหบรกิ ารเช่ือมตอ อินเตอรเน็ตในเชงิ พาณิชยแหงแรงของโลก พ.ศ. 2534 ระบบ โกเฟอร (Gopher) ไดรับการประกาศทดลองใชง านจริง และไดรบั การประกาศตวั เวิลด ไวด เว็บ ที่ Conceil European Ia Recherche Nucleaire ในประเทศสวติ เซอรแลนด สายเช่ือมหลกั ไดถูเปล่ยี นมาใชมาตรฐาน T3 พ.ศ. 2535 ไดมีความรว มมือในการจัดตงั้ องคกร ISOC (Internet Society) ข้ึนทเ่ี มืองวิโอลา ซ่ึงเป็นครงั้ แรกที่มีการเปิดตวั โปรแกรมเว็บบราวเซอรท เ่ี ป็นแบบกราฟฟิกภาคภาษาอังกฤษตวั แรกของโลก และจากการสํารวจพบวา จํานวนเคร่อื งโฮสตเพิม่ ข้ึน เป็น 1,000,000เคร่อื ง พ.ศ. 2536 เปิดตวั อยางสวยงามดวยโปรแกรม Mosaic For X ของนายมารกแอนเดอรเซน หลังจากนัน้ ไมน านก็มีเวอรชนั สาํ หรับเคร่อื งพซี ีและเคร่ืองแมคอินทอซ ตดิ ตามออกมาในปีเดียวกัน ทําเนียบขาวของประเทศสหรัฐอเมริกาไดตดั สนิ ใจตอ สายออนไลนของอินเตอรเน็ตและมกี ารกาํ หนดมาตรฐานเก่ยี วกับ HTML เวอรช ัน่ 1.0

พ.ศ. 2537 มารก แอนเดอรเซน และเจม คลารก ประธานฝายบริหารของซลิ คิ อน กราฟฟิกส ไดรวมกนั จัดตงั้ บริษทั Mosaic Commounications Corporation. ซ่งึ ในภายหลงั ไดเปลย่ี นช่ือเป็น บริษทั Netscape Communications Corporation ซ่งึ ในปีนี้เองท่ีสถาบนั Mit ไดจัดการประชมุ W3 ข้นึ เป็นครัง้ แรกและมาตรฐานของHTML ไดร ับ การปรับปรงุ จนกลายเป็นเวอรชัน 2.0 ที่นาต่ืนเตน ทส่ี ุดคอื การนําเอาอินเตอรเ น็ตมาสรา งสรรคประโยชนเชิงพาณิชยในรูปแบบของ ไซเบอรมอลล พ.ศ. 2538 บรษิ ทั Netscape Communications Corp. ไดแปลงสภาพเป็นบรษิ ทั มหาชนเกิดความเปลีย่ นแปลงท่สี าํ คัญที่ทาํ ให โครงการ NSFNet ไมอาจตอบสนองความตอ งการทีแ่ ทจรงิ ไดจ งึ ตองกําจัดวงการใชงานอยเู พยี งแคก ารตอ เช่อื มเครอื ขายเพ่อื การ คนควาวจิ ยั เทานัน้ พ.ศ. 2539 บิลล เกตส และบริษทั ไมโครซอฟตข องเขาไดก าวกระโดดเขาสสู มภมู อิ ินเตอรเน็ต ดว ยโปรแกรมเว็บบราวเซอรต วั เกง อยางอินเตอรเ น็ตเอ็กโพเลอร (Internet Explore) เคร่ืองโฮลตคอมพวิ เตอรพุง พรวดข้ึนไปแลวกวา 10.000,000 เคร่ือง

อินเตอรเ์ น็ตในประเทศไทย จุดท่เี ช่อื มกับระบบอินเตอรเ น็ตในตางประเทศนัน้ มชี ่อื เรยี กวา อนิ เตอรเน็ต – เกตเวย (Internet Gateway) และสาํ หรับการตอเช่ือม อินเตอรเน็ตภายในประเทศนัน้ จะมีหนวยงานท่ีใหบรกิ าร (โดยไมคิดคาบรกิ าร) การตอ เช่ือมของผูใช ซ่งึ เรยี กหนวยงานนี้วา หนวย งานใหบ ริการอินเตอรเ น็ตหรอื ISP (Internet Server Provider) โดยตวั ISP ก็จะสามารถติดตอกับระบบคอมพวิ เตอรข องตนเอง เขา กบั ระบบเครอื ขา ยคอมพิวเตอรของ ISP ก็สามารถตดิ ตอ กับเคร่อื งคอมพิวเตอรตา งๆ บนระบบอินเตอรเ น็ตทัว่ โลกได เราจะ สามารถเห็นภาพโดยรวมของระบบเครือขา ยอินเตอรเ น็ตในประเทศไทยได สาํ หรบั ในประเทศไทยเริ่มเช่ือมโยงกบั เครอื ขา ยอนิ เตอรเ น็ตในปี พ.ศ. 2532 ท่มี หาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร เพ่อื สง จดหมาย อเิ ลก็ ทรอนิกส (E-mail) กบั ประเทศออสเตรเลียตอ มากระทรวงวทิ ยาศาสตร โดยการดําเนินการของศนู ยเ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส และคอมพวิ เตอรแหง ชาติ (NECTEC) ไดจ ัดทําโครงการเช่อื มโยงเครอื ขายระหวา งวิทยาลยั ข้นึ หนายงาน ISP ท่ีจุฬาลงกรณ ซ่งึ เรยี กวาเครอื ขายไทยเน็ต และทีก่ ระทรวงวทิ ยาศาสตร ซ่ึงเรยี กวา เครือขา ยไทยสาร โดยทัง้ สองแหงใหบ รกิ ารเฉพาะสภาบนั การ ศึกษาและหนวยงานราชการเทา นัน้ ตอมาความตองการใชอินเตอรเน็ตมากข้ึน การส่ือสารแหงประเทศไทยซ่งึ ดแู ลรบั ผดิ ชอบการ ตดิ ตอส่อื สารระหวา งประเทศโดยตรงกไ็ ดอนมุ ตั ใิ หเ อกชนเขา มาดําเนินการใหบรกิ ารอินเตอรเ น็ตภายในประเทศแกห นวยงานเอกชน ตา งๆ ข้ึน ซ่ึงในชว งนัน้ มีดว ยสองแหง คอื การบกิ ารของบรษิ ทั อนิ เตอรเ น็ตไทยแลนด (Internet Thailand) และบรษิ ทั เคเอสซี โดย จะเช่อื มไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา

จดั ทําโดย นาย ธรี นยั วะเกิดเปม นาย รฐั ภมู ิ ลาสุด คอมพวิ เตอร์ สาขาบญั ชี

จัดทําโดย น.ส.เอมื พร เชือกลางใหญ่ นส. มณฑติ า ริพลทา สาขาบญั ชี สาขาบัญชี

จัดทาํ โดย น.ส.อลั จนา วารีศรี น.ส.นันทพร ประกงิ สาขาบัญชี สาขาบัญชี

จดั ทาํ โดย น.ส.ชวลั รตั น์ มะตนเด สาขาบัญชี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook