Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สบู่กระดาษ

สบู่กระดาษ

Published by mali Suphannee, 2022-02-19 13:19:54

Description: สบู่กระดาษ

Search

Read the Text Version

รายงานโครงงาน เรอ่ื งสบู่กระดาษ Peper Sope โดย นางสาวชนม์ชนันทร์ จนั ทรา เลขท่ี 26 นางสาวนาตาลี เขยี วขจี เลขท่ี 28 นางสาวอัยรนิ รัตนพลที เลขท่ี 33 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4/3 เสนอ คณุ ครู กชพร ศิรจิ ำรสั คณุ ครู อุบลรัตน์ ถึกสวุ รรณ โรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคม อำเภอคลองใหญ่ จงั หวัดตราด สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา จนั ทบรุ ี ตราด รายงานโครงงานฉบบั น้เี ป็นสว่ นหน่งึ ของรายวิชา I30202 การสื่อสารและการนำเสนอ IS 2 (Communication and Presentation) ปกี ารศกึ ษา 2564

ก คณะกรรมการตรวจสอบรายงานการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง(Independent Study : IS เรอ่ื ง สบู่กระดาษ (Peper Sope) ของ กลุ่ม Peper Sope เรยี บรอ้ ยแล้ว เหน็ สมควรรบั เป็นสว่ นหนง่ึ ของการเรยี นรายวชิ า I20202/I30202 การสื่อสารและการนำเสนอ : IS2 (Communication and Presentation) ตามหลกั สตู ร โรงเรียนมาตรฐานสากล คณะกรรมการตรวจสอบ (…………………………........................................) (…………………………........................................) คุณครูกชพร ศิรจิ ำรสั คุณครูอบุ ลรัตน์ ถึกสวุ รรณ ครูผู้สอน ครูผสู้ อน โรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคมอนุมตั ิให้รบั การศึกษาค้นควา้ ฉบับน้ีเป็นส่วนหนงึ่ ของการศึกษาคน้ ควา้ ด้วย ตนเอง (Independent Study : IS) ตามหลกั สตู รโรงเรยี นมาตรฐานสากล (นายคมสัน ณ รังษี) ผู้อำนวยการโรงเรยี นคลองใหญว่ ทิ ยาคม ………./……………/…………

ข ช่อื เร่ือง สบกู่ ระดาษ (Peper Sope) ผู้ศึกษา 1. น.ส.ชนม์ชนนั ทร์ จันทรา เลขที่26 2. น.ส.นาตาลี เขียวขจี เลขท2ี่ 8 3. น.ส.อัยริน รตั นพลที เลขท3่ี 3 ครผู สู้ อน คุณครู กชพร ศริ ิจำรัส คุณครู อุบลรตั น์ ถึกสวุ รรณ รายวิชา I30202 การสอื่ สารและการนำเสนอ : IS2 สถานศึกษา โรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคม อำเภอคลองใหญ่ จงั หวัดตราด ปีท่ีพิมพ์ 2565 บทคดั ยอ่ การศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองคร้ังนีม้ ีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เพื่อศึกษาข้อมูลเกย่ี วกบั โรคโควดิ -19 และ ศกึ ษาวธิ ีการป้องกนั ที่ดี โดยใชส้ บใู่ นการลา้ งมือทุกๆวันในการใชช้ ีวิตประจำวัน โดยไดม้ ีการจดั ทำโครงงานสบู่ กระดาษขึ้นเพ่อื ให้ผู้ทีส่ นใจศึกษา ไดน้ ำไปปฏิบตั ใิ ช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ เนือ่ งจากสบูก่ ระดาษมขี นาดท่ีเลก็ พกพา และใชง้ านงา่ ย พกตดิ ตวั ไดท้ ุกท่ที ุกเวลา และเผยแพร่ผลงาน ดำเนินการศึกษาคน้ คว้าจากเอกสาร เหตุการณใ์ น ยคุ ปัจจบุ ันและเว็ปไซต์วธิ กี ารปฏิบัตงิ านต่างๆ คณะผูจ้ ดั ทำได้ดำเนินการตามข้นั ตอนที่วางแผนไว้และ ผล การศึกษาได้ข้อมูลเกยี่ วกับความรา้ ยแรงของโรคโควิด-19 และการป้องกันตนเอง และวิธีการทำสบกู่ ระดาษท่ี ถกู ต้องและปลอดภยั ในการใช้งาน การเผยแพรผ่ ลงาน ได้จัดแสดงผลงานโดยการ การทำวดิ ิโอนำเสนอวธิ ีการทำ สบู่กระดาษ และได้ประดิษฐส์ บ่กู ระดาษให้เปน็ ชิ้นงานเพือ่ เป็นชิน้ งานตัวอย่าง และนำเสนอเป็นรปู เล่มรายงาน

ค กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานเร่ือง สบกู่ ระดาษ (Peper Sope) ฉบบั น้ี ได้รับการสนับสนนุ จาก นายคมสัน ณ รังษี ผอู้ ำนวยการ โรงเรยี นคลองใหญ่วทิ ยาคม ผู้จดั ทำขอกราบขอบพระคณุ ท่านมา ณ โอกาสน้ีขอขอบพระคณุ ขอขอบพระคุณ คณุ ครู กชพร ศริ ิจำรสั คุณครูอบุ ลรตั น์ ถกึ สวุ รรณ ทไ่ี ด้คำแนะนำ และคอยชว่ ยเหลอื ในการ จัดทำรายงานจนสำเรจ็ ลุลว่ ง และขอขอบคุณคณะครูทุกท่าน ทใี่ หค้ วามชว่ ยเหลือและคำแนะนำที่เป็นประโยชน์ ขอขอบพระคุณบดิ ามารดาของคณะผู้จดั ทำ ท่ีให้การสนับสนุนในการศึกษาเล่าเรยี น และคอยเปน็ กำลงั ใจที่ ให้เสมอมา ชนมช์ นนั ทร์ จันทรา นาตาลี เขยี วขจี อัยริน รัตนพลที ผู้ศึกษา

สารบัญ ง เรอ่ื ง หนา้ หนา้ อนุมตั ิ บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบญั ค บทท่ี 1 บทนำ ง ความเปน็ มาและความสำคญั 1 วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา 1 สมมติฐาน 2 ขอบเขตของการศกึ ษา 2 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 2 บทที่ 2 เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง 1. สบู่ 3 2. เบสสบู่ 4 3. กระดาษตรากลองทอง 5 4. ว่านหางจระเข้ 6 5. หัวน้ำหอมอโรมา่ กล่นิ ยูคาลปิ ตสั 14 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินการศึกษาและเก็บรวบรวมขอ้ มูล 18 บทที่ 4 ผลการศกึ ษาและเก็บรวบรวมข้อมูล 19 บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สรุปผล 20 อภปิ รายผล 20 ขอ้ เสนอแนะ 20 บรรณานุกรม 21 ประวัตผิ ้ศู ึกษา 22 ภาคผนวก 23

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญ ในยุคนี้ยคุ ที่ทว่ั โลกต้องเผชิญกบั โรคทีน่ ่ากลัวไมม่ ยี ารักษาและสามารถตดิ ต่อกนั ได้อย่างง่ายดาย ซึง่ โรคน้นั คือ โรคโควดิ -19 โคโรน่าไวรัส หรอื coronavirus (CoV) คือเชอ้ื ไวรสั ทเ่ี ป็นสาเหตุของโรคปอดอักเสบตดิ เชอ้ื ร่วมไป ท้ังโรคปอดอักเสบรุนแรงพบได้ท้งั ในสัตว์และในคน โดยโคโรน่าไวรัสมีหลายสายพนั ธ์ุ ซ่งึ สายพันธุ์ที่เคยระบาด รนุ แรงก็ได้แก่ ไวรัสซาร์ส (SARS-CoV) ท่เี คยระบาดไปท่ัวโลกในปี 2002 ซึ่งมีผู้เสียชีวิตท่วั โลกกว่า 600 คน และ ไวรสั เมอร์ส (MERS-CoV) ซ่งึ มีผูเ้ สียชวี ิตเกือบ 900 คนในปี2012 ซง่ึ โคโรน่าไวรัส ที่กำลังระบาดอยูใ่ นชว่ งน้ี เปน็ สายพนั ธุ์ใหม่ หรอื อาจเรียกไดว้ า่ เป็นไวรสั โคโรน่าสายพนั ธุ์ใหม่ 2019 ซ่ึงคาดกันวา่ แม้จะมคี วามรนุ แรงไม่เทา่ สาย พนั ธอุ์ ่นื ๆ แต่ก็มีสทิ ธิทเ่ี ช้อื ไวรสั จะพฒั นาตัวเองจนมคี วามรุนแรงเพม่ิ ขนึ้ ดงั นัน้ ต้องเฝา้ ระวังอย่างใกลช้ ดิ ไวรสั โคโรน่า สามารถติดต่อไดผ้ ่าน “คนสู่คน” โดยสามาถติดตอ่ ไดห้ ลายทาง เช่นการสัมผัสน้ำมกู นำ้ ลาย เสมหะ ของผูป้ ่วย นอกจากน้ันเชือ้ ไวรสั โคโรนายังสามารถเข้าสู่รายการไดห้ ลายชอ่ งทาง เช่น ตา จมกู ปาก ถา้ อากาศโดยรอบมีเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ ลอยอยู่อาจเกิดจากการที่ผ้ปู ว่ ยจามหรือไอออกมา เราสามารถตดิ เช้ือไวรสั โคโร นา่ ได้ผ่านทางการหายใจได้ แตโ่ อกาสจะน้อยกวา่ การสัมผสั สารคดั หลงั่ (น้ำมูก นำ้ ลาย) โดยตรง การป้องกนั ไวรสั ชนิดนค้ี อื ห้ามอยใู่ นท่ีคนพลุกพล่าน ดแู ลสขุ ภาพให้แข็งแรง สวมแมสและลา้ งมือในตอนท่ีออกจากบา้ นเสมอ ดงั นั้นกลมุ่ ผจู้ ดั ทำโครงงานจงึ ไดม้ คี วามคิดทจ่ี ะประดษิ ฐ์สบู่กระดาษขึน้ เพือ่ เปน็ การป้องกันตนเองเวลาออก จากบ้านหรือกอ่ นเขา้ บา้ น แม้แต่เวลาทจี่ ะไปเท่ียวตา่ งจงั หวัดก็สามารถนำไปใช้ไดเ้ น่อื งจากมขี นาดทีเ่ ล็ก พกพาง่าย ใช้ง่ายและสะดวก พกใส่กระเปา๋ เสื้อกระเปา๋ สะพายได้ 1.2 วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา 1. เพือ่ ศึกษาเก่ยี วกับโรคโควิด-19 2. เพื่อศกึ ษาวิธปี ้องกนั ตนเองและครอบครวั 3. เพอ่ื ประดษิ ฐส์ ิ่งท่สี ามารถป้องกันตนเองเมือ่ ออกไปขา้ งนอก 4. เพ่ือฝึกทักษะการประดษิ ฐ์ส่งิ ของและการสืบค้นข้อมลู

2 1.3 สมมติฐาน 1. สามารถฆา่ เช้ือโรคได้ 2. สามารถใชง้ านอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. สามารถพกพาตดิ ตัวได้และสะดวกสบาย 1.4 ขอบเขตของโครงงาน ระยะเวลาการศกึ ษา 14 มกราคม – 28 กุมภาพันธ์ 2565 1.5 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับ 1. ได้ทราบเก่ียวกับข้อมลู ของโรคโควดิ -19 2. ได้ทราบถึงการป้องกันตนเองและครอบครวั จากโรคโควดิ -19 3. ได้สง่ิ ประดิษฐ์ท่มี ีประสิทธิภาพใช้งานได้จริง 4. ไดร้ บั ทักษะในการประดษิ ฐ์ของใชแ้ ละการสืบค้นข้อมลู

3 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง การศกึ ษาด้วยตนเอง เร่ือง สบูก่ ระดาษ (Peper Sope) ผู้ศกึ ษาไดม้ ีการศึกษาเอกสารที่เก่ยี วข้อง ดังน้ี 1. สบู่ 2. เบสสบู่ 3. กระดาษตรากลองทอง 4. วา่ นหางจระเข้ 5. หวั น้ำหอมอโรมา่ กลนิ่ ยูคาลิปตสั 1. สบู่ สบู่ (SOAP) คือสารเคมีทเี่ กดิ จากการทำปฏิกิรยิ ากันระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ (ด่าง,โซดาไฟ) และน้ำมนั ที่มาจากสตั วห์ รอื พืช ปฏิกิรยิ าที่เกดิ ข้นึ นี้เรยี กวา่ สปองซิฟิเคชน่ั (Saponfication) คุณสมบัติของสบู่ หรอื ผ้ลู ที่ได้จากการสปองซิฟิเคชั่น นี้ จะสามารถละลายได้ท้งั ในน้ำและไขมัน และสามารถเกบ็ ไขมันไว้ได้ จึงมีประสิทธภิ าพในการทำความสะอาดได้เปน็ อยา่ งดี โดยคำว่า \"สบ่\"ู ในภาษาไทย เพ้ียนมาจากคำวา่ \"soap\" ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมาจากคำวา่ \"sapo\" ซง่ึ หมายถึง สบู่ ในภาษาละติน ในทางเคมสี บู่คือเกลือของกรดไขมัน สบ่ใู นบา้ นเรือนใช้ชะล้าง อาบและใชใ้ นการทำความสะอาดบ้าน โดยสบทู่ ำหน้าทเี่ ปน็ สารลดแรงตงึ ผิว และนำ้ มันอมิ ลั ซิไฟเออร์เพอ่ื ใหส้ บู่ไหลไปกบั น้ำได้ในอตุ สาหกรรม สบยู่ ังใช้กับการป่นั ผา้ และเป็นสว่ นประกอบสำคัญของสารหล่อลืน่ บางชนิด

4 สบสู่ ำหรบั การชะลา้ งได้มาจากน้ำมนั พืชหรือสัตว์ และไขมันท่ีมีคา่ เบสสูง เชน่ โซดาไฟ หรอื โพแทสเซยี มไฮดรอกไซด์ในสารละลายในนำ้ ไขมนั และนำ้ มนั เป็นสว่ นประกอบของไตรกลีเซอไรด์ กล่าวคือโมเลกุลของกรดไขมันสามโมเลกลุ ตดิ กับโมเลกุลของกลีเซอรอลหน่ึงโมเลกุลสารประกอบอลั คาไลน์ ที่มกั ถูกเรียกวา่ ไล (lye) ชกั นำใหเ้ กิดกระบวนการการเปลีย่ นเป็นสบู่ (saponification) ในปฏิกริ ยิ าน้ี ไขมนั ไตรกลีเซอไรดจ์ ะสลายดว้ ยนำ้ (hydrolyze) กลายเปน็ กรดไขมนอิสระ และกรดไขมนอิสระจะรวมกับอัลคาไลจนเกิดเปน็ สบหู่ ยาบุหรือส่วนผสมของเกลอื สบู่ ไขมนั หรอื อลั คาไล ที่เกนิ มา น้ำ และกลีเซอรอลอิสระ (กลเี ซอรีน) ผลพลอยได้คอื กลเี ซอรีนสามารถคงอยู่ในรปู ผลติ ภัณฑ์สบู่ ทำหน้าทเ่ี ปน็ สารท่ีทำให้ออ่ นโยน หรอื ถกู ็แยกออกเพอ่ื นำไปใชป้ ระโยชน์อย่างอื่น สำหรบั สบู่ ในช่วงนี้นับวา่ เป็นทีน่ ิยมมาก เพราะเกดิ จากสถานการณใ์ นปจั จุบันทม่ี ีการพบเชือ้ ไวรัสโควดิ - 19 การดแู ลรักษาตัวเองเบ้ืองตน้ ด่ังเชน่ การล้างมือจงึ นบั เป็นส่งิ จำเป็นอยา่ งยิ่ง แต่รหู้ รือไมว่ า่ ประโยชน์ของสบู่กอ้ น นนั้ สามารถนำมาทำประโยชน์ไดอ้ ีกมากมาย มากกว่าแค่การลา้ งมอื 1. สบ่ชู ่วยให้เสอ้ื ผา้ หอมสดชน่ื นำเศษผา้ ห่อสบู่ พร้อมรัดด้วยหนังยางเอาไว้ จากนั้นกน็ ำไปใส่ไวใ้ นลน้ิ ชัก ตู้เสอ้ื ผ้า ก็จะหมดปญั หาเส้ือผ้าเหมน็ อับแลว้ ค่ะ 2. ช่วยไล่แมลง นำสบกู่ ้อนเปียกนำ้ ไปถทู ่ใี บของต้นไม้ ก็จะชว่ ยป้องกันเพล้ียและศัตรูพืชได้ หรือถา้ หาก ใครอยากทำนำ้ ยาไลแ่ มลง ก็ให้นำสบ่ใู ส่ลงในขวดนำ้ แล้วเขย่าใหล้ ะลายเข้ากนั หรือจะนำสบ่กู บั น้ำไปเคี่ยวจนเป็น เนื้อเดียวกันก็ได้ เสร็จแลว้ ก็สามารถนำฉดี พน่ ตามใบไมเ้ พื่อไล่แมลงได้เลยค่ะ 3. ปอ้ งกนั เฟอรน์ ิเจอร์เสยี หายจากสัตว์เลี้ยง นำสบู่ไปถูบริเวณท่สี ัตว์เลี้ยงชอบไปขูดจนเปน็ รอย และ บริเวณต่างๆ จะช่วยปอ้ งกนั ไมใ่ ห้สตั ว์เลี้ยงเข้าใกลท้ เ่ี ดิมอกี เพราะสัตวเ์ ล้ียงไม่ชอบกลน่ิ สบนู่ น่ั เอง 4. กำจัดคราบฝังแน่น ช่วยขจัดคราบได้ สำหรับบ้านไหนทผี่ งซกั ฟอกหมดกะทนั หนั เพยี งแค่เทนำ้ ใส่คราบ จนเปยี ก เสร็จแล้วกน็ ำสบกู่ อ้ นมาขัด ๆ ถู ๆ จนเป็นฟอง ก็จะสามารถกำจัดคราบสกปรกตา่ ง ๆ ออกไดง้ า่ ย ๆ แลว้ 5. แกป้ ญั หาลนิ้ ชักหรือประตูเลื่อนฝดื นำสบูก่ ้อนไปถูบรเิ วณขอบล้นิ ชกั หรือรางประตดู ู รบั รองเลยว่า หลังจากน้ีแค่ดึงนิดเดียวกจ็ ะเปิด-ปิดงา่ ยหมดปัญหาแบบเดิม ๆ 2. เบสสบู่ เบสสบู่ หรือกอ้ นกลีเซอรนี คือ สบดู่ ิบที่ยังไมไ่ ด้ผา่ นการผสมสมุนไพร หรือสารเติมแตง่ ใดๆ คุณสมบัติของเบสสบู่ใส คือใหค้ วามชุ่มชื้นแกผ่ ิวได้เป็นอย่างดี อาบสะอาด ลดความมัน และกระจ่างใส ผใู้ ชส้ ามารถนำเบสสบู่ หรือก้อนกลีเซอรนี มาหลอมละลาย และเตมิ สารสกัดธรรมชาติอนื่ ๆ เพิ่มคุณค่าในการบำรุง ผิวเพิม่ มากข้ึนได้ตามต้องการ เม่ือนำมาใช้ จะรู้สึกอาบสะอาด ผิวไม่แห้งตงึ

5 วิธีการทำกไ็ ม่ยุ่งยากเลย เพียงหลอมเบสสบ่ใู นหม้อสแตนเลส หรือหม้อตุ๋นดว้ ยไฟปานกลาง ให้ละลาย ผสมสาร สกดั สมนุ ไพร นำ้ หอม ลงไป คณุ ค่าของสบู่กลเี ซอรีนทม่ี ีต่อผิว จะยังขึ้นอยู่กับชนิดของน้ำมันทเ่ี ลอื กใช้ ซึ่งนำ้ มนั แตล่ ะชนิดกนั จะมีคณุ ประโยชน์ ที่แตกต่างกนั ไป -ใช้น้ำมันมะพรา้ ว -มีอายกุ ารใช้งานนาน -ไมต่ ้องเสย่ี งปัญหาสบขู่ ้นึ รา -หลอมข้ึนรูป ได้ทรงทสี่ วย สเี งาวบั -อาบสะอาด ขจัดความมนั ไม่เกิดสิว -ไม่มีสาร SLS -ไมม่ ีนำ้ หอม -ไม่มีพาราเบน -ฟองเยอะ 3. กระดาษตรากลองทอง กระดาษตรากลองทองแบบบางพเิ ศษผลิตโดย บรษิ ทั บางกอกไทย-มาร์เกต็ ติ้ง จำกดั ในการจัดทำ ส่งิ ประดิษฐใ์ นครง้ั นท้ี างกลมุ่ ข้าพเจา้ ไดใ้ ช้กระดาษตรากลองทองจุ่มลงในสบูท่ ่เี ตรยี มไว้เพื่อทำสบกู่ ระดาษ ถึงแมว่ า่ หากดดู ว้ ยสายตาหรอื ได้จับแล้วอาจจะคดิ ว่ากระดาษแผน่ น้บี างมาก แต่เม่ือได้นำมาทำการประดิษฐแ์ ลว้ ทดลองนัน้ สรุปว่ากระดาษชนดิ นีใ้ ช้ได้ดี ไม่บางจนฉีกขาดงา่ ย

6 4. ว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้ เป็นตน้ พชื ท่มี ีเน้อื อ่ิมอวบ จัดอยู่ในตระกูลลเิ ลียม (Lilium) แหล่งกำเนดิ ดั้งเดิมอยู่ใน คาบสมทุ รอาหรบั สายพนั ธขุ์ องวา่ นหางจระเข้มีมากกวา่ 300 สายพนั ธุ์ ซ่งึ มีท้ังพันธุ์ท่ีมีขนาดใหญ่มากจนไปถึง พนั ธ์ุท่มี ขี นาดเล็กกว่า 10 เซนตเิ มตร ลักษณะพิเศษของวา่ นหางจระเข้ก็คือ มใี บแหลมคลา้ ยกับเขม็ เน้ือหนา และ เน้อื ในมนี ้ำเมอื กเหนยี ว ว่านหางจระเขผ้ ลิดอกในช่วงฤดูหนาว ดอกจะมสี แี ตกต่างกนั เช่น เหลือง ขาว และแดง เป็นต้น คำว่า \"อะโล\" (Aloe) เปน็ ภาษากรกี โบราณ หมายถงึ ว่านหางจระเข้ ซึง่ แผลงมาจากคำว่า \"Allal\" มี ความหมายว่า ฝาดหรอื ขมในภาษายวิ ฉะนั้นเมื่อผูค้ นได้ยินช่ือน้ี ก็จะทำใหน้ กึ ถึงว่านหางจระเข้ วา่ นหางจระเขเ้ ดมิ เป็นพชื ท่ขี ึน้ ในเขตร้อนต่อมาไดถ้ กู นำไปแพรพ่ นั ธุ์ในยุโรปและเอเชีย โดยปลูกเพื่อใช้ในการเกษตรและ การแพทย์ รวมถงึ สำหรับการตกแตง่ และปลูกเป็นตน้ ไม้กระถาง ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ว่านหางจระเข้เป็นพืชชนดิ หน่งึ ท่ีพชื อวบนำ้ ลำตน้ ส้ันหรือไม่มลี ำตน้ สงู 10- 100 ซม. (24–39 นิ้ว) กระจายพันธโ์ุ ดยตะเกียง ใบหนาอ้วนมสี เี ขียวถึงเทา-เขียว บางสายพันธมุ์ จี ดุ สีขาวบนและล่างของโคนใบ ขอบใบ เป็นหยกั และมฟี นั เล็กๆสขี าว ออกดอกในฤดรู ้อนบนช่อเชงิ ลด สงู ได้ถงึ 90 ซm (35 in) ดอกเปน็ ดอกหอ้ ย วงกลีบ ดอกสเี หลอื งรปู หลอด ยาว 2–3 ซม. (0.8–1.2 น้วิ ) วา่ นหางจระเข้กเ็ หมือนพืชชนิดอน่ื ในสกลุ ท่ีสรา้ งอารบ์ สั คลู าร์ ไมคอรไ์ รซา (arbuscular mycorrhiza) ขึ้น ซ่ึงเปน็ สมชพี ทท่ี ำให้พชื ดดู ซมึ สารอาหารและแร่ธาตใุ นดนิ ไดด้ ขี ึ้น

7 ประโยชน์วา่ นหางจระเข้ วา่ นหางจระเข้ เป็นสมนุ ไพรใกล้บา้ นท่คี นไทยค้นุ เคยกันดี มีสรรพคุณมากมาย ถูกนำใชใ้ นการทำยารักษา โรคต่างๆ ทำให้ได้รบั การขนานนามว่า \"สมุนไพรมหัศจรรย์\" อกี ทงั้ ยังมปี ระโยชน์ตอ่ สขุ ภาพและความงาม เรยี กได้ วา่ เปน็ คณุ ค่าจากธรรมชาตแิ บบไมต่ ้องพ่ึงสารเคมี 10 สรรพคุณของว่านหางจระเข้มอี ะไรบา้ ง ว่านหางจระเข้ ทำอะไรไดบ้ ้าง? คนสว่ นใหญม่ กั ใช้ว่านหางจระเขร้ ักษาแผลถูกนำ้ ร้อนลวก เน่ืองจากในพชื ชนดิ นม้ี สี ารโพลยี ูโรไนด์ และโพลแี ซคคาไรด์ ที่ช่วยทำใหแ้ ผลหายไวข้นึ ซง่ึ สรรพคุณของว่านหางจระเขย้ ังสามารถ ใชร้ ักษาโรคต่างๆ และฤทธเ์ิ ย็นจากเนื้อว้นุ ยงั ชว่ ยบรรเทาอาการทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั ผวิ หนังได้อีกด้วย สำหรับสรรพคุณ อ่ืนๆ ท่คี ุณอาจไมเ่ คยรมู้ าก่อน มีดังนี้ 1. ชว่ ยป้องกนั โรคเบาหวาน ด้วยการรับประทานเนอ้ื ว้นุ หรือจะทำเปน็ นำ้ ปนั่ วา่ นหางจระเขม้ าดมื่ ก็ได้ ก็ จะช่วยบรรเทาอาการและป้องกันโรคเบาหวานได้ 2. ว่านหางจระเขม้ สี รรพคุณช่วยแกอ้ าการปวดศีรษะ ดว้ ยการตัดใบสดของวา่ นหางจระเข้แล้วทาปูนแดง ดา้ นหน่ึง แลว้ เอาด้านที่ทาปูนปิดตรงขมับ จะช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะได้ (ใบ) 3. วุ้นว่านหางจระเข้มสี รรพคุณชว่ ยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร ช่วยปอ้ งกนั และลดการเกดิ แผลใน กระเพาะขณะท้องว่าง ช่วยรักษาโรคเก่ียวกบั ระบบทางเดินอาหารต่าง ๆ 4. สรรพคณุ ว่านหางจระเขช้ ่วยแก้กระเพาะลำไส้อักเสบ ดว้ ยการใช้ใบนำมาปอกเปลอื กเอาแตว่ ุ้น นำมา รับประทานวันละ 2 ครั้ง ครั้งละ 2 ช้อนโต๊ะ (เนื้อวุน้ ) 5. ใชเ้ ป็นถา่ ย ยาระบาย ที่เปลือกของวา่ นหางจระเขจ้ ะมนี ้ำยางสีเหลือง ในนำ้ ยางจะมสี ารแอนทราควิ โนน (Anthraquinone) ทม่ี ีฤทธ์เิ ปน็ ยาระบาย หากนำน้ำยางไปเคี่ยวให้น้ำระเหยออกแล้วทง้ิ ไวใ้ หเ้ ยน็ กจ็ ะไดส้ าร สีนำ้ ตาลเกือบดำ หรอื เรียกวา่ \"ยาดำ\" ซง่ึ ยาดำน้เี องใชเ้ ป็นส่วนผสมในตำรับยาแผนโบราณทต่ี อ้ งการให้มฤี ทธเิ์ ปน็ ยาระบายอยหู่ ลายตำรับ (ยางในใบ) 6. ช่วยรกั ษาอาการท้องผูก ด้วยการกรีดเอายางจากวา่ นหางจระเขม้ าเคี่ยวใหง้ วด ทิ้งไวใ้ หเ้ ย็นจะได้กอ้ น ยาสดี ำ (ยาดำ) แล้วตักมาใชป้ ระมาณช้อนชา เตมิ นำ้ เดือด 1 ถ้วย แล้วคนจนละลาย โดยผูใ้ หญร่ ับประทานครงั้ ละ 2 ชอ้ นชาก่อนนอน แตถ่ ้าเป็นเดก็ ให้รบั ประทานครั้งละ 1 ชอ้ นชาก่อนนอน 7. ช่วยรกั ษาริดสีดวงทวาร ดว้ ยการใช้เน้ือวุน้ จากใบเหลาให้เปน็ ปลายแหลมเลก็ น้อย และนำไปแช่ตูเ้ ย็น หรือนำ้ แขง็ จนเน้อื แขง็ แล้วนำไปใช้เหน็บในช่องทวารหนกั ควรหมนั่ ทำเป็นประจำวนั ละ 1-2 ครงั้ จนกวา่ จะหาย (เนอ้ื ว่นุ )

8 8. ชว่ ยแกห้ นองใน (ราก, เหง้า) 9. ชว่ ยแก้มุตกดิ หรือระดูขาวของสตรี (ราก, เหงา้ ) 10. ทงั้ ตน้ ของว่านหางจระเข้มรี สเยน็ ใชด้ องกบั สรุ านำมาดืม่ ช่วยขบั น้ำคาวปลาได้ (ทง้ั ต้น) 11. ช่วยบรรเทาและแก้อาการปวดตามข้อ ด้วยการรับประทานเนือ้ วุ้นคร้งั ละ 1-2 ชอ้ นโตะ๊ วันละ 3 ครง้ั เปน็ ประจำ จะช่วยทำให้อาการปวดดขี ึ้น (ว้นุ จากใบ) 12. ใบว่านหางจระเข้มรี สเย็น นำมาตำผสมกับสุราใช้พอกรักษาฝีได้ (ใบ) 13. ชว่ ยรกั ษาแผลสด แผลจากของมคี ม แผลทร่ี มิ ฝปี าก แก้ฝี แก้ตะมอย ด้วยการใชว้ นุ้ จากใบนำมาแปะ บรเิ วณแผลให้มดิ ชดิ และใช้ผา้ ปิดไว้ แล้วหยอดนำ้ เมือกลงตรงแผลใหช้ มุ่ อยูเ่ สมอ หรอื จะเตรียมเป็นขีผ้ ้งึ ก็ได้ (วนุ้ จากใบ) 14. ชว่ ยรกั ษาแผลถลอกและแผลจากการถูกครดู (แผลพวกน้ีจะเจบ็ ปวดมาก) ให้ใชว้ ุ้นว่านหางจระเข้ นำมาทาแผลเบา ๆ ในวนั แรกต้องทาบ่อย ๆ จะช่วยในการสมานแผล ทำใหแ้ ผลหายเรว็ ยง่ิ ขึน้ และทำใหไ้ มเ่ จ็บ แผลมาก (วนุ้ จากใบ) 15. ชว่ ยรกั ษาแผลไฟไหม้ นำ้ ร้อนลวก ชว่ ยดับพิษรอ้ นบรรเทาอาการปวดแสบปวดรอ้ นจากแผล ดว้ ยการ ใชว้ นุ้ จากใบสดทลี่ ้างนำ้ สะอาด แลว้ ฝานบาง ๆ นำมาทาหรือแปะไวบ้ รเิ วณแผลตลอดเวลา จะช่วยทำให้แผลหาย เรว็ มากขนึ้ และอาจไมเ่ กดิ รอยแผลเป็นด้วย (วนุ้ จากใบ) 16. ชว่ ยขจัดรอยแผลเปน็ ทำใหแ้ ผลเป็นจางลง ปอ้ งกนั การเกิดรอยแผลเปน็ (วุ้นจากใบ) 17. ชว่ ยรกั ษาตาปลาและฮอ่ งกงฟตุ ดว้ ยการใช้วุน้ จากใบท่ีลา้ งสะอาดแลว้ นำมาปิดไวบ้ ริเวณทีเ่ ปน็ และ หมัน่ เปลย่ี นบอ่ ย ๆ จนกวา่ จะดขี ้ึน (วุน้ จากใบ) 18. วุน้ จากใบใชท้ าเพ่ือปกปอ้ งผิวจากแสงแดด ด้วยการใช้วุ้นจากใบทากอ่ นออกแดด หรอื จะใชใ้ บสดกไ็ ด้ แตใ่ บสดอาจทำให้ผิวหนงั แห้ง เพราะใบมีฤทธ์ฝิ าดสมาน ถา้ ตอ้ งการลดการทำให้ผิวแห้ง กอ็ าจจะใชร้ ่วมกับน้ำมัน พืชหรอื อาจเตรยี มเป็นโลช่นั ก็ได้ (วุ้นจากใบ) 19. ช่วยรกั ษาอาการผิวหนงั ไหมจ้ ากแสงแดด หรือไหม้เกรียมจากการฉายรังสี หรอื แผลเรอื้ รังจากการ ฉายรังสี โดยนำวนุ้ ของว่ายหางจระเข้มาทาผวิ บอ่ ย ๆ ก็จะช่วยลดการอักเสบได้ แตถ่ ้าไปนาน ๆระวงั ผวิ แหง้ ควร ผสมกับน้ำมนั พชื เวน้ แตว่ ่าจะทำให้ผวิ เปยี กชุ่มอยู่ตลอดเวลา (ว้นุ จากใบ) 20. วุน้ จากใบใชท้ าเพื่อรักษาฝ้า (ว้นุ จากใบ) 21. ชว่ ยรักษาโรคเรอื้ นกวาง (โรคสะเก็ดเงนิ ) ช่วยลดการตกสะเกด็ และลดอาการคนั ของโรคเรอื้ นกวาง ทำให้แผลดดู ขี น้ึ (วนุ้ จากใบ) ประโยชน์ของว่านหางจระเข้

9 1. นํ้าวา่ นหางจระเข้ สามารถชว่ ยต่อต้านอนมุ ลู อิสระ มสี ่วนช่วยชะลอความแกช่ รา และชว่ ยเสริมสร้าง ภูมิคมุ้ กันโรคไดอ้ ีกดว้ ย 2. ว่านหางจระเขอ้ ุดมไปดว้ ยวติ ามนิ และแร่ธาตุ รวมไปถงึ กรดอะมิโนอีกหลายชนดิ ทจ่ี ำเป็นและมี ประโยชนต์ ่อรา่ งกาย เชน่ ธาตแุ มกนเี ซยี ม ธาตุโพแทสเซยี ม ธาตุทองแดง ธาตแุ มงกานสี ธาตุซลี เี นยี ม ธาตุ โครเมยี ม วิตามนิ เอ วติ ามินซี วติ ามิอี วิตามนิ บี 1 วิตามินบี 2 วิตามนิ บี 3 วติ ามินบี 6 วติ ามนิ บี 9 โคลนี และยัง เปน็ พชื เพียงไม่กีช่ นิดที่มีวิตามนิ บี 12 ดว้ ย 3. ชว่ ยในการยอ่ ยอาหาร ทำความสะอาดลำไส้ใหญ่ ช่วยในการดีท็อกซล์ ้างสารพิษในร่างกาย ชว่ ยในการ ทำงานของระบบกระเพาะอาหาร และชว่ ยลดปรมิ าณของเชื้อแบคทีเรียในลำไส้ 4. จากวารสารแพทย์อังกฤษตพี ิมพใ์ นปี 2000 (British medical journal) ระบวุ า่ สารสกดั จากวา่ นหาง จระเขส้ ามารถช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล ชว่ ยควบคมุ ความดนั โลหติ และเพ่ิมการไหลเวยี นของโลหติ และอาจจะ มีความเป็นไปได้ว่ามนั สามารถชว่ ยลดความเสีย่ งของการเกิดโรคหวั ใจได้อีกด้วย 5. ช่วยป้องกันและแก้อาการเมารถเมาเรือ ด้วยการรบั ประทานเน้ือวนุ้ ว่านหางจระเขห้ รือน้ําวา่ นหาง จระเข้เยน็ ๆ ก็จะชว่ ยบรรเทาอาการดงั กลา่ วได้ 6. การใช้วนุ้ วา่ นหางจระเขท้ าเป็นประจำวันละ 2-4 คร้ัง จะช่วยปอ้ งกันและลดความเส่ยี งของการเกดิ โรคมะเร็งผิวหนัง 7. ชว่ ยบำรงุ ผวิ พรรณ ช่วยทำให้ผวิ พรรณเนยี นนมุ่ ดูชุม่ ชื้น แกป้ ญั หาผวิ แหง้ กร้านตามหัวเข่า, ขอ้ ศอก หรือสน้ เท้าได้ เพยี งแคใ่ ชว้ ุ้นจากใบวา่ นหางจระเข้แชใ่ นอ่างอาบน้ำ ในระหวา่ งอาบให้ใชเ้ น้ือวนุ้ ถูตามส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายที่ต้องการ หากทำเปน็ ประจำกจ็ ะชว่ ยทำใหผ้ วิ พรรณของคุณเนยี นนมุ่ ช่นื ชน้ื และเตง่ ตงึ ได้ 8. ช่วยเตมิ น้ำใหผ้ วิ ทำให้ผิวหนา้ และผิวกายชมุ่ ชน้ื และป้องกนั การเกดิ รวิ้ รอยแห่งวยั เพียงแค่ใช้วนุ้ จาก ใบว่านหางจระเขน้ ำมาพอกให้ท่ัวบริเวณใบหนา้ หรือบรเิ วณผิวท่ีต้องการ ทง้ิ ไว้ประมาณ 15 นาทแี ล้วลา้ งออก จะ ช่วยทำใหผ้ วิ พรรณชมุ่ ชื้นสดใสและดเู ตง่ ตงึ ขึ้น 9. ว่านหางจระเข้รกั ษาสิว ยับยง้ั การติดเช้อื ท่เี ปน็ สาเหตุของสิว ช่วยลดรอยดำจากสวิ และชว่ ยลดความ มนั บนใบหนา้ เพราะในใบว่างหางจระเขจ้ ะมีฤทธเิ์ ปน็ กรดอ่อน ๆ (ไม่แนะให้ใช้กบั สิวอักเสบ เพราะจะทำให้เกดิ การติดเชอ้ื ได้งา่ ย) 10. ชว่ ยรกั ษาจุดดา่ งดำตามผวิ หนงั อนั เนอ่ื งมาจากแสงแดดหรือจากอายุที่มากขนึ้ ดว้ ยการใชว้ นุ้ จากใบ สดนำทาท่ีผวิ วันละ 2 ครั้งหลังอาบนำ้ และตอ้ งทำอยา่ งต่อเน่ืองสม่ำเสมอจึงจะเหน็ ผล 11. ช่วยปอ้ งกนั การเกิดฝ้า หากใช้ว่านหางจระเข้เป็นประจำกจ็ ะชว่ ยปอ้ งกันการเกิดฝา้ ได้เปน็ อย่างดี (ไมใ่ ช่การรกั ษาแตเ่ ปน็ การปอ้ งกนั )

10 12. วนุ้ จากใบสดใชช้ โลมบนเสน้ ผม จะช่วยทำให้เสน้ ผมสลวย ผมดกเปน็ เงางาม ช่วยปอ้ งกนั และขจัด รังแค ช่วยบำรุงตอ่ มทีร่ ากผมให้มีสุขภาพดี และยังช่วยรักษาแผลบนหนงั ศรี ษะได้อีกด้วย 13. ในฟิลิปปนิ ส์ ใชว้ ุ้นจากว่านหางจระเขร้ ว่ มกับเน้อื ในของเมลด็ สะบ้า ในการรักษาผมร่วงหรอื หนังศีรษะ ลา้ น 14. ปจั จุบันไดม้ ีการทดลองใชว้ ุ้นจากใบเพื่อรักษาคนไขท้ เี่ ป็นแผลกดทับ (Bedsore) 15. ชว่ ยลบทอ้ งลายหลงั คลอด ด้วยการใช้วนุ้ ของวา่ นหางจระเข้มาทาบริเวณท้องเป็นประจำท้ังในขณะ ตั้งครรภ์และหลังคลอด 16. ช่วยแก้เสน้ เลือดดำขอดบริเวณขา ด้วยการใชว้ ุ้นวา่ นหางจระเขม้ าทาบรเิ วณทีเ่ ป็นเส้นเลือดขอดเปน็ ประจำ 17. สาร Aloctin A พบวา่ มันสามารถชว่ ยรกั ษาโรคตา่ ง ๆ ได้หลายโรค เชน่ โรคมะเร็ง ชว่ ยแก้อาการแพ้ รกั ษาโรคผวิ หนัง เปน็ ต้น 18. ในปจั จบุ ันมีผลติ ภัณฑ์ต่าง ๆ หลายรูปแบบ ทผี่ ลิตมาจากวา่ นหางจระเข้ เชน่ เครือ่ งสำอาง โลชัน สบู่ แชมพู ครีมบำรุงผวิ ครมี ทาใต้ตา ครีมรักษาฝา้ กระ จุดดา่ งดำ ครีมทาแผลสดแผลพุพอง เจลวา่ นหางจระเข้ เจลท รีตเมนตบ์ ำรงุ ผิวหน้า ฯลฯ 19. นอกจากนีว้ ่านหางจระเข้ยังสามารถนำมาทำเป็นอาหารจำพวกของหวานได้อกี ดว้ ย เชน่ นำ้ ว้นุ ลอย แก้ว ว้นุ แช่อิม่ นำมาป่ันทำเป็นนำ้ วา่ นหางจระเข้ เปน็ ตน้ วา่ นหางจระเข้ทาหน้า หากใครมีปัญหาผวิ หน้า ไมว่ า่ จะเป็นหนา้ แหง้ หรือหน้ามนั ให้นำวุน้ วา่ นหางจระเข้ไปลา้ งให้สะอาด หลงั จากนั้นนำมาทาใบหนา้ ก่อนนอน นวดเบาๆ ทำเปน็ ประจำสัก 1 เดือน ผิวหนา้ จะนมุ่ ช่มุ ชน้ื ไมห่ ยาบกรา้ น ว่านหางจระเขร้ กั ษาสิว นำวุ้นว่านหางจระเข้มาล้างให้สะอาด และนำไปปัน่ จนละเอียดกจ็ ะได้สมนุ ไพรมาสกห์ น้าจากธรรมชาติ ทาบางๆ ท่ัวใบหน้า สว่ นใครที่เป็นสวิ ให้ใช้วุน้ ว่านหางจระเขแ้ ต้มหัวสวิ ก่อนนอน เพ่ือลดอาการอกั เสบ ว่านหางจระเข้หมักผม ปัญหาผมแห้งสามารถแก้ได้ ด้วยการหมักผมที่มีส่วนผสมจากวา่ นหางจระเข้ ใหน้ ำวุน้ ไปลา้ งให้สะอาด และปัน่ กบั น้ำเปลา่ ในอัตรา 1:1 หลังจากน้นั นำไปกรอง เพ่อื นำนำ้ ที่ได้ไปหมักโคนผมประมาณ 15 นาที นวดเบาๆ ท่ัวศรี ษะ แล้วลา้ งออกให้สะอาด

11 การปลกู ช่ือสามญั : หางตะเข,้ วา่ นไฟไหม้, Star cactus, aloe เปน็ ไมล้ ม้ ลกุ รปู ร่างหน้าตาประหลาด ช่ือนา่ ฉงนนี้ มปี ระโยชนเ์ หลือคณานบั คำวา่ Aloe นี้ มาจาก “allal” ภาษากรีกโบราณ หมายถงึ วา่ มรี สขมและฝาด จากคมั ภรี ไ์ บเบล้ิ (JOHN 19:39) ไดจ้ ารกึ ไวว้ ่า น้ำสำหรับ ชโลมพระศพของพระเยซูน้ันมีสว่ นผสมของว่านหางจระเข้เปน็ สว่ นประกอบ แสดงว่าผคู้ นในยคุ สมัยนั้นย่อมรู้ คณุ คา่ ประโยชน์มากมายหลายดา้ นของว่านชนิดนเ้ี ป็นอย่างดวี า่ นหางจระเข้ มถี ่นิ กำเนิดเดมิ อยู่แถบเมดเิ ตอร์เร เนียนและทางตอนใต้ของทวปี แอฟริกา แพรก่ ระจายพันธุ์ไปท่วั โลก พบวา่ มมี ากมายกวา่ 300 สายพนั ธุ์ ลกั ษณะ ทางพฤกษศาสตร์ ลำต้นมักเป็นกอเตีย้ ๆ ใบรปู รา่ งคลา้ ยหางจระเข้ อวบนำ้ สีเขยี วหรือเทา บางพันธ์ุอาจมลี ายจุด ขาวประปราย บางพนั ธกุ์ ็ไม่มี ขนาดของใบก็ต่างกนั ไป ขอบใบมหี นามแหลมแข็งส้นั ๆ ภายในกาบใบมลี ักษณะเปน็ ว้นุ สีเขยี วใส เยน็ ดอกออกเป็นชอ่ ต้งั ตรงข้นึ มาระหวา่ งซอกใบกา้ นชอ่ ดอกยาว ตวั ดอกดูคลา้ ยหลอดยาวสีส้มอม เหลอื ง พอดอกแกก่ ็จะกลายเป็นต้นอ่อน เรยี กว่า ตะเกียง สามารถนำไปเพาะเป็นตน้ ใหมไ่ ด้ สรรพคณุ และการใชป้ ระโยชน์…ว่านหางจระเข้ จดั เป็นพวกสมุนไพรครอบจักรวาลตวั หนงึ่ เลยกว็ า่ ได้ คน ไทยเราใช้ประกอบเข้าเป็นยาดำ แกไ้ ขไ้ ด้สารพดั โรค จนมคี ำกล่าววา่ “แทรก เปน็ ยาดำ” ไงครับ นกั วิทยาศาสตร์ ชาวญป่ี ุ่น สมองไวไดจ้ ดสิทธิบัตรการค้นพบสาร Aloctin A ซึง่ มคี ุณสมบตั ิเปน็ ตวั กระตุ้นใหร้ ่างกายสรา้ งคอลลา เจน บำบัดรอยแผลจากไฟไหม้ นำ้ ร้อนลวก ไวเ้ มื่อ 20 พฤศจิกายน 2521 เนื้อเจลสเี ขยี วใส ภายในมีคุณสมบตั นิ านปั การ เช่น นำมาขยำชโลมเสน้ ผม บำรงุ หนังศีรษะและรากผม ใช้ ทาลดความมันบนใบหนา้ ลดรอยขดู ขีด จุด สวิ ฝ้า กระ ลดอาการปวดแสบปวดร้อนจากการฉายรังสเี อ็กซเรย์ หรอื ถูกแดดเผา เพิ่มความช่มุ ชน้ื ความยดื หยุน่ ใหเ้ ซลล์ผวิ หนัง จึงมีการนำวุน้ จากวา่ นหางจระเข้ไปสกดั ทำเปน็ เครื่องสำอางราคาแพงๆ หลายยีห่ อ้ ในขณะน้ี หรือยังใช้ทาแผลสด จากรอยถูกของมีคมบาด รักษาน้ำกัดเท้า ทา สว่ นที่หยาบแขง็ กระด้าง เช่น บริเวณข้อศอก หัวเข่า สน้ เท้า ฯลฯ จะทำใหค้ ลายตวั นมุ่ เนียนขน้ึ อยา่ งเห็นไดช้ ดั

12 วิธกี ารปลูก…ว่านหางจระเข้ ขยายพนั ธโ์ุ ดยการใช้ ตะเกยี ง หรอื ต้นอ่อนทเ่ี กิดจากปลายชอ่ ดอก หรือแยก หนอ่ ที่บริเวณโคนต้นไปปลกู เมอ่ื อายุได้ถงึ ระยะขยายพนั ธ์ุ ก็จะมหี น่อเล็กๆ โผลข่ น้ึ มารอบๆ ตน้ แม่ รอให้มขี นาด โตสกั หน่อย มีใบ 5 ใบ หรือ 6 ใบ จึงตัดไปชำลงในถุง กระถาง หรอื ลงแปลงเลย ให้ขดุ หลมุ ไมต่ ้องลกึ นัก เพราะ วา่ นชนิดนี้มีระบบรากต้นื ๆ เท่าน้นั ความลกึ ของหลมุ แค่ 20 เซนติเมตร กน็ ่าจะพอ กว้าง 30×30 เซนตเิ มตร โรย ปยุ๋ คอก แกลบดบิ กาบมะพร้าวสบั ใบไมแ้ หง้ ลงไปคลกุ เคล้าให้เขา้ กันดี ปลกู ตน้ กล้าลงไป กลบดินใหแ้ นน่ รดน้ำ แต่พอดๆี อยา่ ให้แฉะเกิน เพราะปกติเจ้าน่เี ขาไมค่ ่อยชอบน้ำมากอยู่แลว้ เดยี๋ วรากจะเนา่ เสียกอ่ น โทษของวา่ นหางจรเข้และข้อควรระวัง 1. ทำให้เป็นไข้และปวดตามข้อ 2.เพ่ิมการหล่ังกรดในกรเพราะอาหาร 3.ทำใหเ้ ป็นมะเร็งในจมูก 4.ใช้ทาบาดเเผลแลว้ ปวดมากขึ้น ขอ้ ควรระวงั 1. ยาง และ ยาดำ ทไ่ี ด้จาดยางวา่ นหางจระเข้ หา้ มใชก้ ินสำหรบั คนท่ีกำลงั มีอาการปวดท้อง ออ่ นเพลีย ไตอกั เสบ เป็นริดสีดวงทวารหรือหญงิ มีครรภ์ และหญงิ ที่อยูร่ ะหวา่ งใหน้ ม ลกู เพราะอาจทำให้แท้งลกู และทำใหล้ กู ทีก่ ินนมแมท่ ้องเสีย 2. ส่วนวุน้ และนำ้ เมือกว่านหางจระเข้ห้ามให้คนทีแ่ พย้ างา่ ย หรือร่างกายขาดความตา้ นทานยาตา่ งๆ

13 เพราะกนิ วา่ นหางจระเขเ้ ข้าไปแล้วอาจเกิดผื่นคันทผ่ี ิวหนงั คำแนะนำในการใช้ว่านหางจระเข้ 1. การเลอื กใชใ้ บจากต้นวา่ นหางจระเข้ควรเลอื กตน้ ที่มีอายุมากกวา่ 1 ขนึ้ ไป และให้เลือกใบลา่ งสดุ เพราะ จะอวบโตและมวี นุ้ มากกวา่ ใบท่ีอย่ดู า้ นบน 2. เน่อื งจากวนุ้ ของว่านหางจระเข้ไม่มีฤทธ์ิในการฆ่าเช้อื ดังนั้นถา้ เป็นไปได้ควรปอกโดยใชเ้ ทคนิคปลอด เชอ้ื Aseptic technique เพ่ือป้องกันการติดเชอื้ 3. การนำวนุ้ มาใชเ้ พ่ือรกั ษาแผลจำเปน็ ตอ้ งลา้ งนำ้ ให้สะอาด เพ่อื ป้องกันน้ำยางจากเปลือกท่ีมีสารแอนท ราควโิ นน (Anthraquinone) เพราะอาจจะทำให้เกดิ อาการแพไ้ ด้ 4. ว่านหางจระเข้จะมีคุณภาพสงู สดุ เม่ือตัดมาแลว้ ใชท้ ันที และจะมสี รรพคุณทางยาทด่ี ีกว่า ผลิตภัณฑ์สำเร็จรปู 5. ว้นุ ของวา่ นหางจระเข้จะไม่คงตัวเท่าไหร่นัก ดังนั้นถ้าปอกแล้วจะเก็บไว้ได้เพียง 6 ชวั่ โมงเท่านัน้ 6. หากนำวา่ นหางจระเข้ไปแช่ในตเู้ ย็นจนเย็นกอ่ นการนำมาใช้ จะช่วยทำใหร้ ู้สึกสดช่ืนเย็นสบายมาก ยิง่ ขนึ้ 7. การใช้เพ่อื ใช้เป็นยาถา่ ย ยาระบาย ไม่ควรใช้กับหญงิ ตงั้ ครรภห์ รือหญงิ ที่กำลงั จะมีประจำเดอื น รวมไป ถงึ ผทู้ ี่เปน็ โรคริดสีดวงทวารด้วย 8. การใชว้ ้นุ จากใบเพื่อใชเ้ ปน็ ยาทาภายนอก สำหรับบางรายแล้วอาจจะเกิดอาการแพไ้ ด้ (จากงานวิจยั พบวา่ ไม่ถึง 1%) โดยลักษณะของอาการแพห้ ลงั จากหรอื ปิดวุ้นลงบนผวิ หนัง จะทำใหผ้ วิ หนังเปน็ ผืน่ แดงบาง ๆ หรอื อาจมีอาการเจ็บแสบด้วย โดยอาการจะแสดงหลงั จากทาไปแลว้ ประมาณ 2-3 นาที ถา้ คุณมอี าการแพ้หลังการ ใชว้ ุ้นวา่ นหางจระเข้ กใ็ ห้รีบล้างออกด้วยน้ำสะอาด และเลิกใชท้ ันที

14 5. หวั น้ำหอมอโรม่า กล่ินยคู าลิปตัส อโรมาเธอราพี (Aromatherapy) หรือ สุคนธบำบดั คือ ศาสตร์ในการใชน้ ำ้ มนั หอมระเหยทีไ่ ดจ้ ากการสกัดพชื หอม (ขอยำ้ วา่ ต้องเป็นนำ้ มันหอมระเหยท่ีไดจ้ ากการสกัดจากพชื เทา่ นน้ั ) เพื่อการบำบดั รักษาหลายอาการ ต้ังแต่ อาการติดเชื้อตา่ งๆ โรคผวิ หนงั ไปจนถึงภูมิคมุ้ กนั บกพร่องและความเครยี ด มีการใชน้ ำ้ มันหอมระเหยในยุโรปมา กว่าร้อยปี และมีการใช้ในการแพทยต์ ะวนั ออกมานานกวา่ พันปี แตใ่ นประเทศฝรัง่ เศสมกี าร ใชส้ ุคนธบำบัดทาง การแพทย์อยา่ งเป็นระบบ และมกี ารวิจัยกันอยา่ งกว้างขวางทั่วโลกในทุกๆ ดา้ น ส่วนสหรฐั อเมรกิ านิยมใช้สคุ นธ บำบดั ร่วมกบั การแพทยท์ างเลอื กอื่นๆ ในการรักษาโรคต่างๆ ในประเทศไทยก็มีการใชแ้ บบพน้ื บา้ นเช่น การเข้ากระโจมแกห้ วดั ผู้เขียนจำได้ว่าตอนเป็นเด็กเลก็ เมื่อเปน็ หวัดคุณแมจ่ ะให้น่ังอยหู่ นา้ กาละมงั เคลือบที่มีสมนุ ไพรเปราะหอม หอมแดง ใบมะขาม และเทนำ้ เดือดลงไปพร้อม กับเอาผ้าเชด็ ตัวคลุมโปงครอบไว้ท้ังตัว ไอหอมระเหยเข้าจมูกเขา้ ไปบำบัดอาการหวัด สักพักเมื่อน้ำพออุ่นๆ คณุ แม่ กจ็ ะเอานำ้ น้ันรดศรี ษะไล่หวดั อกี รอบ เป็นอันวา่ ไปโรงเรยี นได้ อดหยดุ อยู่กบั บา้ น ความรู้ติดตัวนีไ้ ดเ้ อาไปใชเ้ มอื่ ผเู้ ขยี นได้ไปทำงานทีป่ ระเทศภฏู านแลว้ เกดิ เป็นไข้หวดั อยา่ งแรง โดยตนื่ ข้นึ มากลางดึกมีอาการปวดหวั มาก มไี ข้ ปวดเมื่อยเน้ือตวั หายใจไม่สะดวก ถา้ เป็นประเทศไทยกไ็ ปโรงพยาบาล หรอื ให้ลูกดูแล แตท่ ีน่ ภี่ ฏู าน แถมพาราเซ ตามอลก็หมด ยาสมุนไพรแก้หวัดกห็ มดเพราะใจดีแจกคนอ่ืนดว้ ย เลยเข้าครัว โชคดที เ่ี ปราะหอมก็เป็นเครื่องเทศ อยา่ งหนง่ึ และเคยซ้ือไว้ แตไ่ ม่มีหอมแดงใช้หอมฝรัง่ แทน ใบมะขามหาไม่ได้ แต่สองอยา่ งน้ีกเ็ พยี งพอท่ีจะขจัด อาการท้ังหมดน้ีได้และกลบั ไปนอนพักตอ่ ไปทำงานวันรุ่งข้นึ ได้ ยงั มีอกี มากมายที่เราใชส้ บื ต่อกันมา ใครจะแบง่ ปนั กข็ อขอบคณุ ล่วงหน้า แมแ้ ต่การแพทยแ์ ผนปจั จุบนั ก็มกี ารใช้ทงิ เจอร์กำยาน (Benzoin Tincture) มขี ายทโ่ี รงพยาบาลศริ ิราช ซ่ึงคุณพ่อของผูเ้ ขียนใช้ในการรมจมูกเพราะทา่ นเปน็ ไซนัสอักเสบ และผ้เู ขยี นกใ็ ช้เป็นประจำเมอ่ื มีอาการหวัดคัด จมกู ร่วมกบั การรมเปราะหอมและหัวหอม วิธกี ารใชค้ ือ หากระป๋องผลไม้ขนาดเท่าแก้วกาแฟซงึ่ เป็นกระป๋อง อลมู ิเนยี มเคลือบดา้ นใน ทำกรวยขนาดพอดีครอบปากกระปอ๋ ง ใชก้ ระดาษแขง็ พอมว้ นได้ ตดั ปลายแหลมให้มีช่อง พอให้ไอระเหยออกมาได้ ต้มนำ้ เดอื ดจดั เทลงในกระป๋อง สัก 3/4 กระป๋อง เททงิ เจอร์กำยานลงไปประมาณ 5 ซีซี หรือหนึ่งช้อนชา รบี เอากรวยครอบ และเอาจมกู ไปสดู ดมท่ีช่อง ระวงั ไอร้อนลวกจมูกจากการสดู ดมใกล้เกินไป ควร ใชห้ ลงั มือสัมผสั ไอทีร่ ะเหยออกมาก่อนว่าร้อนไปหรือไม่และระยะห่างแค่ไหนจึงพอดี เราต้องการกล่นิ หอมไม่ใช่ ความรอ้ น เมื่อเยน็ ลงจะสามารถสดู ดมได้ใกล้ขึ้นๆ เม่ือไม่มีไอระเหยออกมาแล้ว เทน้ำท้งิ แลว้ สดู ดมสารหอมท่ี เหลอื ติดกน้ กระป๋องทำใหห้ ายใจโลง่ กระปอ๋ งนี้เกบ็ ไวใ้ ชไ้ ด้อีกไมต่ ้องลา้ ง เพราะกำยานใช้เป็นยากันบูดในยาไทย และเคร่ืองสำอาง ถา้ อยากล้างต้องใช้แอลกอฮอลละลายสารเรซนิ ทต่ี ดิ อยู่ออกไปก่อนจึงล้างตามปกติได้

15 ในด้านวทิ ยาศาสตร์ อโรมาเธอราพี เป็นศาสตรแ์ ขนงหนึ่งของ Herbal Medicine เพราะเป็นการใช้นำ้ มัน หอมระเหย (essential oil) ทไี่ ดจ้ ากการกลั่นพชื หอม หรือ ด้วยการสกดั ดว้ ยวิธีตา่ งๆ โดยน้ำมัน (essence) ของ พืชเหลา่ นมี้ ีคณุ สมบตั ิในการรกั ษา ส่วนของพชื อาจจะเปน็ ดอก ใบ กงิ่ เปลอื ก แกน่ ยาง ผล หรือ เมลด็ กไ็ ด้ แต่ เนื่องจากมปี รมิ าณนอ้ ยจึงตอ้ งใชว้ ตั ถุดิบพชื จำนวนมาก และสง่ ผลใหม้ ีราคาแพง จงึ มีการใช้กลิน่ สงั เคราะห์ปน ปลอม จึงขอเตือนวา่ ผู้ท่ตี อ้ งการผลบำบัดตอ้ งใชน้ ้ำมนั หอมระเหยจากพชื เท่านนั้ ทจ่ี รงิ แลว้ ส่วนทท่ี ำการบำบัดคือ รา่ งกายเราเอง แต่โมเลกุลเล็กๆ หลายๆ โมเลกุลในน้ำมนั หอมระเหยเขา้ สสู่ มองของเราผา่ นประสาทรับกลิน่ ที่อยู่ ในโพรงจมูกด้านบน ซง่ึ สว่ นนี้ใกลส้ มองมาก และทำใหเ้ กิดปฏกิ ริ ิยาตอบสนองทางเภสชั วิทยาของร่างกายมนษุ ย์ ในน้ำมนั หอมระเหยมีโมเลกุลเลก็ ๆ นับร้อยโมเลกุล และทุกๆ โมเลกุลล้วนมผี ลต่อการบำบัดรกั ษา มิใช่แต่ เพียงสารทมี่ ีมากเทา่ นัน้ นำ้ มันหอมระเหยหลายๆ ชนิดมสี ่วนประกอบทคี่ ลา้ ยๆ กนั อาจตา่ งกันบา้ งในบางโมเลกลุ และสดั ส่วน แตใ่ หผ้ ลการรกั ษาที่ตา่ งกนั รวมทั้งกลนิ่ ซึ่งมีความเฉพาะเจาะจงกับพชื แตล่ ะชนดิ (essence) เชน่ กลน่ิ มะลิ ก็จะไมพ่ บในดอกกุหลาบ เปน็ ตน้ ผลต่อรา่ งกาย (Physiological Effects) ของน้ำมนั หอมระเหย เกิดเมือ่ โมเลกลุ เลก็ ๆ นับรอ้ ยเหล่าน้ีไปถึง สมองส่วนลมิ บคิ (limbic system) ซึ่งควบคุมอารมณแ์ ละความร้สู กึ โดยจะมีความสมั พันธก์ ับประสบการณแ์ ละ ความจำ และเน่ืองจากสมองส่วนนีเ้ ช่อื มตอ่ โดยตรงกับสมองท่คี วบคมุ การเตน้ ของหวั ใจ ความดนั การหายใจ ความจำ ระดบั ความเครียด สมดุลยฮ์ อร์โมน ดังน้ันการสดู ดมนำ้ มันหอมระเหยจึงเปน็ วิธีที่ใหผ้ ลทางรา่ งกายและ ระบบประสาทที่เร็วทส่ี ุดทางหนึ่ง เพราะหลังจากการสดู ดมนำ้ มนั หอมระเหยจะเข้าสู่กระแสเลอื ดโดยทางเน้อื เย่ือ ของปอด และจากระบบประสาทรับกลน่ิ จะไปมีผลตอ่ สมองสว่ นต่างๆ เช่น สมองส่วนคอร์เท็กซ์ มีผลต่อการเรียนรู้ (intellectual process) ตอ่ มพทิ วิ ทอรี (pituitary gland) ซึง่ ควบคุมระบบฮอรโ์ มนทง้ั หมด รวมท้ังฮอรโ์ มนจาก ต่อมหมวกไต และสมองส่วนไฮโปธาลามสั ซึ่งควบคมุ ความโกรธและความรุนแรง

16 กลน่ิ ยูคาลิปตัส ยคู าลิปตัสเปน็ พชื พ้นื ถ่ินของทวีปออสเตรเลยี ด้วยกล่ินหอมเย็นเปน็ เอกลักษณ์อาจชว่ ยใหผ้ ูท้ ี่สูดดมหายใจ โลง่ รสู้ ึกปลอดโปร่ง และยงั มีสารประกอบท่ีอาจมคี ุณสมบัตริ กั ษาโรค บางพ้ืนทจี่ งึ นยิ มนำยคู าลิปตัสมาสกัดเป็น นำ้ มันหอมระเหย เปน็ ส่วนประกอบในยา และผลติ ภณั ฑ์เพื่อสุขภาพตา่ ง ๆ เชน่ นำ้ ยาฆ่าเชอื้ นำ้ ยาบ้วนปาก ยาอม แกไ้ อหรอื แกเ้ จ็บคอ สเปรยบ์ รรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนือ้ ผลิตภัณฑไ์ ล่ยุงและแมลง เป็นตน้ คำกลา่ วอ้าง เก่ยี วกับยูคาลปิ ตัสน้ันเช่ือถือได้มากน้อยเพียงใด มีการศึกษาและหลกั ฐานทางการแพทย์บางสว่ นไดพ้ สิ ูจน์ สรรพคณุ ในการรักษาโรคของพืชชนิดนี้ไว้ ดงั นี้ ความปลอดภัยในการใชย้ คู าลปิ ตัสรกั ษาโรค ในปัจจุบันยงั ไม่มีข้อมูลจากการค้นควา้ ทมี่ ากพอจะสรุปว่าการรับประทานหรอื การใช้ยูคาลิปตัสสามารถ รักษาโรคไดจ้ รงิ หรือปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพเพยี งใด แต่จากการศึกษาวิจยั บางส่วน อาจระบุปริมาณและคำแนะนำใน การใชย้ ูคาลปิ ตัสอย่างปลอดภัย ดงั น้ี -สำหรบั น้ำมันยูคาลิปตัส ควรมีการเจือจางก่อนนำไปใช้ทาผิวหนงั หรอื รับประทาน เพราะการใช้นำ้ มนั ยู คาลปิ ตสั ทมี่ คี วามเขม้ ขน้ อาจเกิดพิษต่อร่างกายและก่อใหเ้ กิดผลข้างเคยี งรา้ ยแรงถงึ ชีวิตได้ ซึ่งอาจสงั เกต ผลข้างเคียงเหลา่ นน้ั ไดจ้ ากอาการรุนแรง เช่น วิงเวยี นศีรษะ ปวดแสบท้อง กล้ามเนื้ออ่อนแรง รูมา่ นตาหดเล็กลง และหายใจไม่ออก นอกจากน้ี ยงั มีรายงานดว้ ยวา่ การรับประทานนำ้ มันยูคาลปิ ตัสท่ีไม่ไดเ้ จือจางเพียง 3.5 มิลลิลติ รเป็นเหตุให้ผูใ้ ชเ้ สียชีวติ ได้ -โดยท่ัวไป การรับประทานใบยูคาลิปตัสปรมิ าณเล็กนอ้ ยจากอาหารคอ่ นข้างปลอดภัย และการ รบั ประทานสารยคู าลิปทอลท่ีสกัดไดจ้ ากน้ำมนั ยูคาลิปตสั ไมเ่ กิน 12 สปั ดาห์ ก็ไมเ่ ป็นอันตรายต่อรา่ งกาย แต่หาก เปน็ สารสกัดจากใบยูคาลิปตสั ในรปู แบบอาหารเสรมิ ท่มี ีความเขม้ ขน้ มากกวา่ ควรปรกึ ษาแพทย์ก่อนรับประทาน เสมอ เพราะยงั ไม่มีข้อมูลยนื ยันด้านความปลอดภยั ท่ีเพยี งพอ -การรบั ประทานน้ำมนั ยคู าลิปตสั อาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงเปน็ อาการท้องเสยี คลนื่ ไส้ และอาเจยี นได้ บุคคลในกลุม่ ตอ่ ไปน้ี ควรระมดั ระวังในการรบั ประทานหรอื ใช้ยูคาลิปตสั เป็นพเิ ศษ -หญิงต้งั ครรภ์หรืออยู่ในชว่ งใหน้ มบตุ ร แม้การรบั ประทานยคู าลปิ ตัสตามปรมิ าณปกติจากอาหารค่อนข้าง ปลอดภัย แต่ควรหลกี เล่ยี งการใช้น้ำมนั ยคู าลปิ ตสั เนอ่ื งจากยังไม่มขี ้อมูลที่รับรองความปลอดภยั ของคุณแมแ่ ละ ทารกในครรภจ์ ากการใชน้ ้ำมันยคู าลปิ ตัส -เด็ก ห้ามรบั ประทานน้ำมันยูคาลิปตสั หรือนำนำ้ มันนี้ไปทาผิวหนัง เพราะอาจไม่ปลอดภัยต่อร่างกาย และควรหลีกเลย่ี งการรบั ประทานใบยูคาลิปตัสในปริมาณมาก เพราะยงั ไม่มีขอ้ มลู ด้านความปลอดภัยเพยี งพอใน ดา้ นปรมิ าณที่เหมาะสมท่จี ะไม่ทำใหเ้ กดิ อันตรายตอ่ ผู้บริโภค

17 -ผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน มรี ายงานว่าใบยูคาลปิ ตสั อาจช่วยลดระดบั นำ้ ตาลในเลือดได้ ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานจึง ควรระมัดระวงั ในการใช้ยูคาลิปตัสรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะระหวา่ งทรี่ ับประทานยารักษาโรคเบาหวาน เพื่อ ปอ้ งกันระดับนำ้ ตาลในเลือดลดตำ่ จนเกินไป และผ้ปู ่วยควรตรวจวัดระดบั น้ำตาลในเลอื ดของตนเองอยา่ งสม่ำเสมอ -ผปู้ ่วยที่ต้องเข้ารบั การผา่ ตัด ควรหยดุ ใชย้ คู าลปิ ตัสลว่ งหนา้ 2 สปั ดาห์ เนื่องจากยูคาลิปตัสอาจส่งผลให้ ระดบั น้ำตาลในเลือดลดลง และอาจทำใหเ้ กดิ ปัญหาในการควบคุมระดับนำ้ ตาลในเลือดของผปู้ ่วยระหวา่ งหรอื หลัง การผ่าตดั ซึ่งส่งผลเสียต่อสขุ ภาพของผู้ปว่ ย

18 บทท่ี 3 วิธดี ำเนินการศึกษาและเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ผูศ้ ึกษาได้ดำเนนิ การศึกษาค้นคว้าตามลำดับข้ันตอน ดงั น้ี วัน เดอื น ปี รายการปฏิบตั ิงาน สถานท่ี ผรู้ บั ผิดชอบ หมายเหตุ 14 ม.ค. เลือกเรื่องท่จี ะศกึ ษา โรงเรยี นคลองใหญ่ ชนม์ชนันทร์ 2565 เรือ่ ง สบู่กระดาษ วทิ ยาคม นาตาลี อยั ริน 20 ม.ค. กำหนดประเดน็ และวิเคราะห์ โรงเรยี นคลองใหญ่ 2565 หวั ขอ้ ย่อยทจี่ ะศึกษา วทิ ยาคม ชนม์ชนันทร์ นาตาลี 25 ม.ค. 1)ดำเนนิ การศึกษาโดยวิธีการ สบื ค้น อัยรนิ -30 ม.ค. 2565 ข้อมูลและจัดทำโครงงาน ชนม์ชนันทร์ นาตาลี 30 ม.ค. 2)วสั ดุ อปุ กรณ์ อัยริน -7 ก.พ. 2565 คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ เบสสบู่ ชนม์ชนนั ทร์ 8 ก.พ. นาตาลี -28 ก.พ. กระดาษตรากลองทอง โรงเรยี นคลองใหญ่ อัยริน 2565 ว่านหางจระเข้ วิทยาคม ชนมช์ นนั ทร์ นาตาลี หวั นำ้ หอมอโรมา่ อ่ืนๆ อยั รนิ 3)ขั้นตอนการปฏบิ ัติ สืบคน้ ข้อมูล หาอุปกรณ์และวิธที ำ จดั ทำชิน้ งาน และนำเสนอ จัดทำรายงานการศึกษา ครผู ู้สอนและ โรงเรยี นคลองใหญ่ ครูทป่ี รกึ ษาตรวจสอบความถูกตอ้ ง วิทยาคม นำเสนอการศกึ ษา นำความรู้ไป โรงเรียนคลองใหญ่ ประยกุ ตใ์ ช้เพอ่ื สรา้ งผลงาน และ วิทยาคม เผยแพรผ่ ลงานทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน

19 บทท่ี 4 ผลการศึกษา จากการศึกษาค้นคว้า เรื่อง สบู่กระดาษ (Peper Sope) ผู้ศกึ ษานำเสนอผลการศึกษาค้นควา้ ตามหวั ขอ้ ดังต่อไปนี้ 1. สบู่ 2. เบสสบู่ 3. กระดาษตรากลองทอง 4. วา่ นหางจระเข้ 5. หัวนำ้ หอมอโรมา่ กล่ินยูคาลิปตัส 1. สบู่ โดยผู้ศึกษาได้ศึกษาในหวั ข้อที่ 1 ซ่ึงไดร้ ับความรู้เก่ียวกบั สบูว่ า่ สบนู ัน้ คืออะไรและทำมาจากอะไร โดย สรุปไดว้ ่า สบู่ คือสารเคมีท่ีเกิดจากการทำปฏิกิรยิ ากันระหว่างโซเดยี มไฮดรอกไซด์ (ด่าง,โซดาไฟ) และน้ำมนั ท่มี า จากสัตว์หรอื พชื ปฏิกิรยิ าท่เี กิดข้ึนนีเ้ รียกว่า สปองซฟิ ิเคชนั่ และประโยชนข์ องสบู่กม็ ีอย่างมากมาย เชน่ ชว่ ยให้ เส้อื ผา้ หอมสดชน่ื กำจัดคราบฝังแน่น เป็นตน้ 2. เบสสบู่ โดยสรปุ ไดว้ า่ เบสสบู่หรอื กอ้ นกลีเซอรนี คอื สบ่ดู บิ ที่ไม่ได้ผ่านการผสมสมุนไพร หรือสารเติมแตง่ ใดๆ คุณสมบัติของเบสสบใู่ ส คือใหค้ วามชุ่มชื้นแกผ่ ิวไดเ้ ป็นอย่างดี โดยการทีจ่ ะทำสบไู่ ดน้ ั้นสว่ นประกอบหลักเลยก็คือ เบสสบู่เพราะจะทำใหส้ บ่สู ามารถขึ้นตัวเปน็ ก้อนได้ โดยมีท้ังสใี สและสีขุ่น 3. กระดาษตรากลองทอง โดยในขอ้ มูลสว่ นนีไ้ มส่ ามารถหาได้มากนักแตส่ ามารถสรปุ ได้ว่ากระดาษชนิดนที้ ่ีกลุม่ ข้าพระเจ้าไดน้ ำมาใช้ จะมีความบางเปน็ พเิ ศษแตไ่ ม่ฉีกขาดงา่ ย สามารถหาซื้อได้ทั่วไปและมรี าคาถกู 4. ว่านหางจระเข้ โดยสามารถสรุปได้ว่าพชื ชนิดนี้มีทงั้ โทษและประโยชนใ์ นตัว โดยประโยชนข์ องพืชชนิดนท้ี ่ี เด่นเห็นไดช้ ดั โดยท่วั ไปคือ ชว่ ยรกั ษาแผลไฟไหม้ ชว่ ยลดรอย วุ้นจากใบใช้ทาเพ่ือปกป้องผวิ จากแสงแดด และก็ยงั มีข้อควรระวงั อีกด้วย 5. หวั นำ้ หอมอโรม่า กลินยคู าลิปตสั โดยท่ไี ด้เลือกหัวนำ้ หอมกล่ินน้ีมานั้นสรปุ ไดว้ า่ ยูคาลปิ ตสั เป็นพืชทีม่ ีกลิ่น หอมเยน็ เปน็ เอกลักษณ์อาจช่วยใหผ้ ู้ที่สดู ดมหายใจโล่ง ร้สู กึ ปลอดโปร่ง จึงไดเ้ ลือกกลน่ิ นี้มาทำสบู่เพื่อให้ไดม้ ี ความรูส้ กึ เย็น สดช่ืน และพชื ชนดิ น้นี ิยมนำมาสกดั เปน็ นำ้ มันหอมระเหยอีกดว้ ย จากผลการคน้ ควา้ เรื่อง สบกู่ ระดาษ (Peper Sope) ทีไ่ ดน้ ำเสนอไปแล้วขา้ งต้นทำให้ผู้ศึกษาได้ทราบถงึ ท่ีมาและความร้ายแรงของโรคโควิด-19 โดยไดศ้ ึกษาตั้งแต่การเกิดโรคชนดิ นี้จนไปถงึ ความรา้ ยแรงต่อรา่ งกายของ มนษุ ย์ และไดท้ ราบถงึ วธิ กี ารป้องกันตนเองและคนท่ีรกั จากโรคชนดิ นีโ้ ดยทำไดโ้ ดยการสวมแมสและลา้ งมือด้วย สบ่หู รือแอลกอฮอล์และยังได้ทราบถงึ การทำส่งิ ประดิษฐ์ ท้ังยังได้รบั ทักษะในการค้นควา้ หาขอ้ มูลทถ่ี กู ต้องอกี ดว้ ย

20 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ การศกึ ษาคน้ ควา้ เรื่อง สบกู่ ระดาษ (Peper Sope) สามารถสรุปและอภิปรายผลการดำเนนิ การได้ ดังนี้ 5.1 สรุปผลการศกึ ษา การศกึ ษาคน้ ควา้ เรื่อง สบูก่ ระดาษ สามารถสรปุ ได้ ดงั นี้ จากผลการคน้ คว้า เรื่อง สบ่กู ระดาษ (Peper Sope) ท่ไี ด้นำเสนอไปแล้วขา้ งต้นทำให้ผู้ศึกษาได้ทราบถงึ ที่มาและความรา้ ยแรงของโรคโควดิ -19 โดยได้ศึกษาตั้งแต่การเกดิ โรคชนดิ นี้จนไปถงึ ความร้ายแรงต่อรา่ งกายของ มนุษย์ และไดท้ ราบถงึ วธิ ีการป้องกันตนเองและคนท่รี ักจากโรคชนิดน้ีโดยทำได้โดยการสวมแมสและล้างมือดว้ ย สบหู่ รือแอลกอฮอล์และยงั ได้ทราบถึงการทำส่งิ ประดษิ ฐ์ ท้ังยังไดร้ ับทักษะในการค้นคว้าหาขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งและ สามารถผลติ ผลติ ภัณฑ์ทีส่ ามารถใช้งานได้จริงและมปี ระสิทธภิ าพ 5.2 อภิปรายผล การจดั ทำรายงาน เรอ่ื ง สบ่กู ระดาษ สามารถอภปิ รายผลได้ ดังนี้ จากผลการทดลองและประดิษฐช์ ิ้นงานดงั กลา่ ว กลุม่ ผ้จู ัดทำไดท้ ราบและพบว่าสบกู่ ระดาษที่ไดจ้ ดั ทำขึน้ สามารถใชง้ านได้จริง มีกลน่ิ หอมและมีขนาดเลก็ แพตเกจอาจยงั ไมส่ วยงาม รปู ร่างลักษณะชน้ิ งานไม่เรยี บสวยนัก แต่ขนาดของชน้ิ งานเล็กพกพาไดส้ ะดวก กลุ่มผ้จู ัดทำจงึ คดิ วา่ ชน้ิ งานทก่ี ลุม่ ผ้จู ดั ทำไดท้ ำข้นึ จะเปน็ ผลดตี ่อผ้ทู ี่ได้ใช้ และผทู้ ไ่ี ด้ทราบข้อมลู ภายในรายงานเลม่ นี้ 5.3 ปัญหาและอุปสรรค 1. ชน้ิ งานทไี่ ด้ประดิษฐ์ขน้ึ มีลักษณะไม่เรยี บเนียนและไมส่ วยงาม 2. ในขัน้ ตอนการทำมีปญั หาเรอ่ื งส่วนผสมเล็กน้อย 3. ช้ินงานดงึ ออกมาใชง้ านได้ยาก 5.4 ข้อเสนอแนะ ควรทำแพคเกจทีใ่ สส่ ิง่ ประดิษฐ์ใหด้ ูดแี ละเรียบร้อยกว่าเดมิ และควรต้องมีการเตรียมพร้อมแพคเกจท่จี ะ ใสใ่ ห้ดีกว่าน้ี ควรปรับปรุงคุณภาพการใชง้ านของสิง่ ประดิษฐใ์ ห้มปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น และตอ้ งปรบั ปรุงและ พัฒนาชน้ิ งานใหส้ ามารถใช้งานได้งา่ ยมากข้นึ

22 ประวตั ผิ ู้ศกึ ษา 1. ชื่อ-สกุล นางสาวชนมช์ นันทร์ จนั ทรา วนั เดือน ปีเกดิ 23 เมษายน 2549 เบอรโ์ ทรศัพท์ 0951945228 2. ชือ่ -สกลุ นางสาวนาตาลี เขยี วขจี วนั เดือน ปีเกดิ 7 มิถนุ ายน 2548 เบอรโ์ ทรศัพท์ 0658574751 3. ช่อื -สกุล นางสาวอัยริน รตั นพลที วนั เดือน ปีเกิด 27 กันยายน 2548 เบอรโ์ ทรศัพท์ 0658802512

23 ภาคผนวก

24 1.นำวา่ นหางจระเข้มาห่ันเป็นส่วนๆ 2.นำไปลา้ งและปลอกเปลือกออก 3.นำว่านหางจระเขท้ หี่ ั่นทำความสะอาดแลว้ มาบดสับให้ละเอยี ด

25 4.เตรียมเบสสบู่สัก 4-7 กอ้ น 5.นำเบสสบู่ทเ่ี ตรี ยมไวใ้ สล่ งในหม้อและตงั้ ไฟ 6.เมื่อเบสสบลู่ ะลาย ใสว่ า่ นหางจระเขท้ ่ีบดสบั แล้วลงไปผสม

26 7.ใช้ซอ้ มคนใหส้ ว่ นผสมเขา้ กนั 8.เมือ่ ส่วนผสมเข้ากนั ใสห่ ัวนำ้ หอม และปดิ เตาแก๊ส 9.ใชก้ ระดาษตรากลองทอง จ่มุ ลงไปเพ่ือให้สบูเ่ ซตตวั

27 10.นำสบู่กระดาษท่เี ซตตัวและเย็นแล้วมาใส่ในกล่องทเี่ ตรียมไว้




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook