Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่2pdf

หน่วยที่2pdf

Published by tnamdej, 2020-05-26 03:10:53

Description: หน่วยที่2pdf

Search

Read the Text Version

แผนการสอน/การเรียนรูภาคทฤษฎี 18 ชอื่ วิชา งานเครอ่ื งยนตเล็ก หนวยที่ 2 ช่ือหนว ย หลกั การทํางานของเครื่องยนต สอนสปั ดาหท ่ี 2-3 ชื่อเรื่อง หลักการทํางานของเครื่องยนต คาบรวม 12 จํานวนคาบ 6 หวั ขอเรื่อง ดานความรู 1. หลกั การทํางานเครอื่ งยนตเบนซิน 4 จงั หวะ 2. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบล้ินลกู สูบ 3. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบใชล ิ้นแผน ดา นทกั ษะ 4. คารบ เู รเตอรแ ละถงั น้ํามนั เบนซนิ ดานคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความขยัน ความอดทน 6. ความสนใจใฝร ู ความรู รอบคอบ ระมัดระวัง สาระสาํ คญั 1. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 4 จงั หวะ แบง เปน จงั หวะดดู , จงั หวะอดั , จังหวะงาน, จังหวะคาย 2. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบลิ้นลกู สูบ ลกู สบู ทาํ หนา ทเี่ ปด -ปดชองไอดี และชอ งไอเสยี ดว ยสว นบนและสว นลา งของลกู สบู 3. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซนิ 2 จังหวะ แบบใชล ้ินแผน แบงเปน แบบแผนธรรมดา (Reed Valve) และ แบบใชเ พาเวอรร ดี วาลว (Power Reed Valve) 4. คารบูเรเตอรและถังน้ํามันเบนซินเปนสวนหนึ่งของระบบซึ่งจะเปนตัวนําไปยังการจุดระเบิดของ เครื่องยนตและทําใหเชื้อเพลิงมีปริมาณที่เหมาะสมตามความตองการของเครื่องยนต

19 สมรรถนะอาชพี ประจาํ หนว ย (ส่งิ ทต่ี องการใหเกิดการประยกุ ตใ ชค วามรู ทักษะ คณุ ธรรม เขา ดวยกัน) กาํ หนดและอธิบายหลักการทํางานของเครื่องยนตเบนซิน 4 จงั หวะและ 2 จงั หวะ ใหส อดคลอ งกับ ความตองการของลูกคาและกลุมเปาหมาย จดุ ประสงคก ารสอน/การเรยี นรู • จุดประสงคท ั่วไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 4 จงั หวะ(ดานความรู) 2. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จังหวะแบบลิ้นลูกสูบ(ดานความรู) 3. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จงั หวะแบบใชลนิ้ แผน (ดานความร)ู 4. คารบ เู รเตอรและถงั นํ้ามนั เบนซนิ (ดา นทกั ษะ) 5. เพ่ือใหม ีเจตคติทด่ี ีตอ การเตรยี มความพรอ มดานการเตรยี ม วัสดุ อปุ กรณ และการปฏิบตั ิงาน อยางถูกตอง สําเรจ็ ภายในเวลาท่กี ําหนด มเี หตแุ ละผลตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและ คุณลกั ษณะ3D (ดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม) • จุดประสงคเ ชิงพฤติกรรม / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ผูเรยี นสามารถอธิบายหลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 4 จงั หวะไดอยางถูกตอ ง(ดานความรู) 2. ผเู รียนสามารถอธิบายหลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จงั หวะแบบลนิ้ ลูกสบู ไดอยาง ถูกตอง(ดานความรู) 3. ผเู รียนสามารถอธิบายหลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จงั หวะแบบใชลิ้นแผนไดอ ยาง ถูกตอ ง(ดานความรู) 4. ผูเรียนสามารถถอดประกอบและอธิบายหลัการทํางานคารบูเรเตอรและถังน้ํามันเบนซินได อยางถูกตอง(ดา นทักษะ, ความรู) 5. ผูเรียนสามารถใชเครือ่ งมือไดอยางถูกตอง(ดา นทกั ษะ) 6. เตรยี มความพรอม ดานวัสดุ อปุ กรณ สอดลองกบั งานไดอยางถูกตอ งและคณุ ลักษณะ3D (ดา น คณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียงและคณุ ลกั ษณะ3D) 7. ปฏิบัตงิ านไดอยางถูกตอ ง และสําเรจ็ ภายในเวลาทีก่ าํ หนดอยางมีเหตผุ ลตามหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียงและคณุ ลักษณะ3D (ดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง และคุณลักษณะ3D)

20 การบรู ณาการกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคณุ ลกั ษณะ 3D • หลักความพอประมาณ 1. ผเู รยี นจดั สรรเวลาในการฝกปฏิบตั ิตามใบงานไดอยา งเหมาะสม 2. กําหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑการประเมินการใชเครื่องมืออยางถูกตองและเหมาะสมกับงาน 3. ผเู รยี นรจู กั ใชและจัดการวัสดุอุปกรณตา งๆอยางประหยดั และคมุ คา 4. ผูเรียนปฏบิ ัตติ นเปน ผูน าํ และผตู ามทด่ี ี 5. ผูเรียนเปน สมาชกิ ท่ีดีของกลมุ เพื่อนและสงั คม • หลกั ความมีเหตผุ ล 1. เหน็ คุณคาของการใชเคร่อื งมือในการใชงานอยางถูกตองและเหมาะสมกับงานไดอ ยางชดั เจน 2. จดั แสดงเนอ้ื หาของเคร่ืองมอื ไดอยา งถกู ตอ ง มีเหตผุ ล และสามารถนําไปประยกุ ตใ ชในการดาํ เนิน ธุรกจิ และในชีวิตประจําวันได กลา แสดงความคดิ อยา งมีเหตุผล 3. กลา ทกั ทวงในสง่ิ ทไ่ี มถูกตองอยา งถกู กาลเทศะ 4. กลา ยอมรับฟง ความคิดเหน็ ของผูอืน่ 5. ใชวัสดถุ กู ตอ งและเหมาะสมกับงาน 6. ไมม เี ร่ืองทะเลาะววิ าทกับผูอน่ื 7. คิดสง่ิ ใหม ๆ ทีเ่ กดิ ประโยชนตอ ตนเอง และสังคม 8. มีความคิดวิเคราะหในการแกปญหาอยางเปนระบบ • หลักความมภี มู คิ มุ กัน 1. มีทักษะทางหลักความปลอดภัยอีกทั้งสื่อความหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. ผูเรยี นไดร บั ความรทู ถี่ กู ตอ ง พรอมทงั้ กาํ หนดเนื้อหาไดครบถวนถกู ตอ งตามหลกั ความปลอดภัยทด่ี ี และมีสาระสาํ คญั ท่สี มบูรณ 3. มีการเตรียมความพรอมในการเรียนและการปฏิบัติงาน 4. กลาซักถามปญหาหรือขอสงสัยตาง ๆ อยางถูกกาลเทศะ 5. แกป ญ หาเฉพาะหนา ไดด ว ยตนเองอยา งเปน เหตเุ ปน ผล 6. ควบคุมอารมณของตนเองได 7. ควบคมุ กริ ิยาอาการในสถานการณตา ง ๆไดเ ปน อยา งดี

21 การตดั สินใจและการดําเนินกจิ กรรมตา งๆใหอยูในระดับพอเพียงหรอื ตามปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งนัน้ ตองอาศัยทงั้ ความรูและคุณธรรมเปน พ้ืนฐาน ดังนี้ • เงอ่ื นไขความรู 1. ผูเรยี นไดใชก ระบวนการคดิ ในการบรกิ ารหลักความปลอดภยั (ความสนใจใฝร ู ความรอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง) 2. มีความรู ความเขาใจในการใชเ คร่อื งมอื 3. ใชว ัสดอุ ยา งประหยดั และคุมคา 4. ปฏิบัติงานดวยความละเอียดรอบคอบ 5. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • เงอื่ นไขคณุ ธรรม 1. ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายเสร็จตามกําหนด (ความรับผิดชอบ) 2. ใชว ัสดุอปุ กรณอ ยา งคมุ คา ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือรนในการเรียนและการปฏิบัติงาน (ความขยัน ความอดทน) 4. ใหความรวมมือกับการทํากิจกรรมของสวนรวม อาสาชวยเหลืองานครูและผูอื่น (แบงปน) เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู

22 • ดานความร(ู ทฤษฎี) 2. หลกั การทํางานเครื่องยนตเบนซนิ 2 และ 4 จงั หวะ สาระสําคัญประจําหนวย เครื่องยนตเ บนซินเลก็ หรอื เรียกวา เคร่อื งยนตเบนซนิ อเนกประสงค เปน เครื่องตนกําลงั ขนาดเลก็ สูบ เดยี วขนดประมาณ 3-10 แรงมา ใชเ ปน เครอื่ งทนุ แรงในการเกษตร งานกอสรา ง เคร่อื งปนไฟ เครอื่ งสูบน้ํา เคร่ืองรถไถนา เครอ่ื งพนยาปราบรตั รพู ืช เครื่องหนิ ขดั พน้ื เครื่องทุบดนิ สรา งถนน เปนตน เครื่องยนตเบนซินเล็ก มหี ลักการและโครงสรา งเชน เดียวกบั เคร่ืองยนตเ บนซินรถจกั รยานยนตห รอื เครอ่ื งยนตรถยนต กาํ ลงั เครอื่ งยนตไ ดจ ากการเผาไหมน้ํามันเบนซนิ คือ เปลยี่ นพลงั งานความรอ นเปน พลังงานกล ใชงานแทนกาํ ลังคนและกําลังสตั วไดอ ยา งตอ เนอ่ื ง ขอ ดีของเคร่อื งยนตเบนซนิ เล็ก - ขนาดกะทดั รดั ดัดแปลงใชเปน เครื่องทุนแรง ไดสารพัดประโยชน - เครือ่ งเดินเงียบและสัน่ สะเทือนนอย - นา้ํ หนักประมาณ 15 -20 กโิ ลกรมั - ประหยดั นาํ้ มนั เบนซนิ - ซอมงาย ชน้ิ สวนนอย ราคาถกู - ตองการการบํารุงรักษานอย - ใชไดทั้งงานที่ตองการความเร็วรอบคงที่ เชน เครือ่ งปนไฟ เครื่องสูบนํ้า และท่ีตอ ง การความเรว็ ไมคงท่ี เชน เคร่อื งยนตเรือ เคร่อื งยนตรถ เปน ตน รูปท่ี 2.1 เครอื่ งยนตเ บนซนิ เลก็

23 2.1 หลักการทาํ งานเครอื่ งยนตเ บนซิน 4 จงั หวะ จงั หวะดดู ไอดี จงั หวะอดั จงั หวะงาน จงั หวะคาย รูปที่ 2.2 การทํางานเครื่องยนต 4 จังหวะซาํ้ ๆ กัน จึงเรยี กวา วัฏจกั รการทํางาน 4 จงั หวะ 2.1.1 จังหวะดดู ( Suction Stroke) ลกู สูบเลื่อนลง ล้ินไอดีเปดลิน้ ไอเสยี เกดิ สญุ ญากาศภายในกระบอกสูบ ดดู ไอดีเขา บรรจุในกระบอก สูบ จนลกู สูบเลื่อนลงถงึ ศนู ยต ายลาง ( Buttom Dead Centre = BDC) 2.1.2 จังหวะอดั (Compression Stroke) เม่ือลกู สูบเลื่อนลงจนสุดจังหวะดดู ลน้ิ ทั้งคูจะปด ลูกสบู เลือ่ นข้ึนอัดไอดใี หม ีปริมาตรลดลงดว ยอตั รา อัดประมาณ 1 : 6 ถึง 1 : 10 ความดันประมาณ 6.0-10.0 กก./ซม.2 2.1.3 จงั หวะงาน (Combustion Stroke หรอื Power Stroke) กอ นลูกสูบถงึ ศูนยตายบนในจังหวะอดั เลก็ นอย ประกายไฟจากหวั เทยี นและจดุ ไอดีใหเผาไหม แกสเผา ไหมร อ นประมาณ 1,600 – 2,200๐ ซ. หรือความดันประมาณ 40-60 กก. / ซม.2 ผลักดนั ลูกสบู ใหหมนุ เพลา ขอ เหว่ยี ง 2.1.4 จังหวะคาย (Exhaust Stroke) ลิน้ ไอเสยี เปด ลูกสบู เล่ือนขน้ึ ขบั ไลไอเสยี ออก จนกระท่งั ลกู สบู ข้นึ เกอื บถึงศนู ยตายบนล้ินไอดี จะเร่ิมเปด เพ่ือเริม่ ตนจงั หวะดูดรอบตอ ไป

24 2.2 หลกั การทาํ งานเคร่ืองยนตเบนซนิ 2 จังหวะ แบบลน้ิ ลูกสบู 2.2.1 ลําดบั การทํางาน ล้ินลูกสบู หมายถงึ ลกู สูบทําหนาทเี่ ปด-ปด ชอ งไอดแี ละชอ งไอเสยี ดว ยสว นบนและสว นลา งของ ลูกสูบ ตําแหนงการบรรจุไอดีและคายไอเสียจึงคงที่ สมรรถนะของเครื่องยนตจะดีเฉพาะที่ความเร็วรอบสูง การทํางานของลูกสูบดูไดตามตารางใตรูป 2.2.2 หนา ท่ีสวนประกอบหลกั สว นประกอบเคร่อื งเบนซิน 2 จังหวะ บางชิ้นสวนทํางานตางกับสวนประกอบเครื่องยนตเบนซิน 4 จงั หวะ ดังน้ี - หอ งเพลาขอเหว่ยี งไมไ ดเปนหองบรรจุนํ้ามันหลอลน่ื แตเปนหอ งบรรจุไอ - กระบอกสูบ มีชองบรรจุ ชอ งไอดี ชอ งไอเสียทะลผุ นงั กระบอกสูบ - หัวลูกสบู เปนสนั นูน เปน สันบังคับทิศทางไหลไอดี ใหข บั ไลไอเสีย - แหวนลกู สบู ไมม แี หวนนาํ้ มนั ปากแหวนเวา ตามเดอื ยสลกั กนั ลกู สบู หมนุ - สลกั ลูกสบู เปน สลักตนั ตรงกลาง ไมใหไอดีไหลผา นสลกั ลกู สูบ - เพลาขอ เหวี่ยงเปนแบบถอดแยกชนิ้ ได เพอ่ื ถอดประกอบตลับลกู ปน กา นสบู 2.2.3 วฏั จกั รของเคร่ืองยนต 2 จงั หวะ วฏั จักรหรอื ทฤษฎีเคร่ืองยนต 2 จังหวะหมายถงึ ลกู สูบข้นึ ลง 2 ครง้ั หรือเคร่อื งยนตหมุนครบ 1 รอบได 1 ครัง้ เรียกวาเครื่องยนต 2 จงั หวะ

25 เปรียบเทียบขอ ดีขอ เสียระหวา งเครอ่ื งยนต 2 จังหวะกบั เครื่องยนต 4 จงั หวะ 2.3 หลกั การทาํ งานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จงั หวะ แบบใชล ้นิ แผน ขอ ดี ขอเสีย 1) โครงสรางงาย ไมม ีระบบลิ้นท่ยี งุ ยาก 1) สิ้นเปลืองนํ้ามนั เบนซินและนํา้ มนั เคร่ือง สลบั ซบั ซอ น มากกวา เครอ่ื งยนต 4 จังหวะ 2) ไดเ ปรียบดา นกาํ ลังตอ นํา้ หนักของเครือ่ งยนต 2) สว นประกอบเครือ่ งยนตรับภาระทางความ คือ นา้ํ หนกั นอ ย รอ นสูง เพราะมกี ารเผาไหมท ุกรอบ 3) มีช้นิ สว นเคลอ่ื นไหวนอ ย จึงประหยัดท้ังคา 3) สวนประกอบเครอื่ งยนตตองรบั ภาระทางกล ซอ ม และคาบํารงุ รกั ษา สงู เพราะเครอ่ื งยนตท าํ งานทุกรอบ 4) เคร่อื งยนตส ง กาํ ลงั ไดเรียบกวา เพราะ 4) เครอ่ื งยนตร ะบายความรอ นออกยากเพราะมี เครอื่ งยนตทาํ งานทกุ รอบทเ่ี พลาขอ เหวีย่ ง เวลาจาํ กดั ทาํ งานทกุ รอบ หนุน 5) ทอรค หรือแรงบิดสูเคร่ืองยนต 4 จังหวะ 5) ออกแบบใหเปน เครอ่ื งยนตอเนกประสงคได ไมไ ด ดี เพราะตดิ ตงั้ ใชง านไดท ัง้ แนวนอนและ 6) ไอเสยี มมี ลพษิ ท้ังแกสพิษและควัน เปน แนวดิ่ง อนั ตรายตอ สง่ิ แวดลอ ม 2.3.1 แบบใชลิ้นแผนธรรมดา (Reed Valve) ลน้ิ แผนหรอื รีดวาลว เปนล้นิ ทใี่ ชใ นระบบสงไอดี ลกั ษณะเปนแผนบาง ๆ ทาํ จากเหล็กสปริงติดต้งั อยูด านบนของหอเพลาขอ เหวย่ี ง ในขณะทล่ี กู สูบ เลอ่ื นข้ึนลงในกระบอกสบู ความดนั ในหอ งเพลา ขอ เหวีย่ ง จะเพิ่มข้ึนและลดลงสลับกับขณะ เดียว กันลนิ้ แผน จะเปด และปดสลับกนั ไปดว ย เวลาการ เปดของล้ินแผน แปรผนั โดยตรงตามความเรว็ รอบ ของเครื่องยนตเรียกอีกอยา งหน่งึ วา ระยะ เวลา ของการดูดไอดีขึน้ อยูก ับสภาวะของเครือ่ งยนต รปู ท่ี 1.9 ภาพตัดแสดงล้นิ แผน ลน แผนทํางานโดยสุญญากาศและความดันใน หองเพลาขอเหวยี่ ง ดังแสดงในตารางตอ ไปนเี้ ปน เหนอื ลูกสูบ เครื่องยนตหมุนซาย ปดชองบรรจุและ จดุ ระเบดิ และดนั เปด ชอ งไอเสยี ลด เปดชองบรรจุไอ เริ่มอัดไอดีใน อดั ไอดี ลูกสูบลง ความดัน ดีขบั ไลไอเสีย หองเผาไหม

26 ใตล ูกสบู ดดู ไอดเี ขา บรรจุ ลน้ิ แผน ปดเร่มิ เพม่ิ ความดนั ไอดี ดนั ไอดเี ขา หอ ง ดดู ไอดเี ขา บรรจุ ไว เกดิ ความดนั ใหส ูงข้ึน เผาไหม ไว หมายเหตุ - ลน้ิ แผนทําหนา ทีค่ วบคุมไอดเี ขาบรรจใุ นเพลาขอ เหวย่ี งใหม ีประสิทธิภาพการบรรจไุ อดสี ูงข้นึ - ลูกสูบทําหนาที่ควบคุมการบรรจุไอดีเขาหองเปาไหมและขับไลไอเสียออกไป 2.2 หลักการทาํ งานเคร่อื งยนตเ บนซนิ 2 จังหวะ แบบลน้ิ ลูกสูบ ลิ้นลกู สูบหมายถงึ ลูกสูบทาํ หนาที่เปด-ปด ชอ งไอดแี ละชอ งไอเสยี ดว ยสว นบนและสว นลา งของ ลูกสูบ ตําแหนงการบรรจุไอดีและคายไอเสียจึงคงที่ สมรรถนะของเครื่องยนตจะดีเฉพาะที่ความเร็วรอบสูง 2.3 หลักการทาํ งานเครื่องยนตเ บนซิน 2 จังหวะ แบบใชล้นิ แผน 2.3.1 แบบใชล น้ิ แผน ธรรมดา (Reed Valve) ล้ินแผน หรือรีดวาลว เปนลิน้ ทใ่ี ชในระบบสงไอดี ลักษณะเปนแผน บาง ๆ ทาํ จากเหลก็ สปริงตดิ ตง้ั อยดู านบนของหอ เพลาขอเหวีย่ ง 2.3.2 แบบใชเ พาเวอรร ดี วาลว (Power Reed Valve) เพราะการบรรจุไอดีในแบบเดมิ ซง่ึ มเี พยี งแบบลิน้ ลูกสูบและแบบลิน้ แผนธรรมดา ยงั มขี อเสยี คอื ท่คี วามเรว็ รอบตํา่ รอบปานกลาง และรอบสงู ไอดีทีเ่ ขากระบอกสบู ในแตละความเรว็ ไมม คี วามแนนอน ไมส ัมพนั ธก บั การทํางานของเครื่องยนต เครื่องยนต จึงมีการพัฒนาระบบการควบคุมไอดีของเครื่องยนต 2 จงั หวะ แบบ เพาเวอรร ดี วาลว ใหไอดีทเ่ี ขาไปในเครอื่ งยนตม คี วามราบเรียบสมา่ํ เสมอ และแนนอนทกุ ๆ ความเรว็ รอบของ เครอ่ื งยนต • ดา นทกั ษะ(ปฏบิ ตั )ิ คารบเู รเตอรแ ละถงั นํา้ มัน หลกั การทาํ งานของคารบเู รเตอรเบอ้ื งตน ( Principle of Operation ) หลักการทํางานเบื้องตนของคารบูเรเตอรเบื้องตน อาศัยหลักการ 3 ประการคือ 1. สุญญากาศ ( Vaccum ) 2. แรงดันบรรยากาศ ( Atmospheric Pressure ) 3. คอคอด ( Venturi Principle ) สญุ ญากาศ ( Vaccum ) สุญญากาศสมบูรณ ( Absolute Vacuum) หมายถงึ บริเวณใด ๆ กต็ าม ทีไ่ มม ีอากาศหรือแนวแรงดนั

27 บรรยากาศปกตเิ ลย ซึ่งสภาพเชนนี้มโี อกาสที่จะเกิดขนึ้ ไดย ากมาก และ ไมเคยเกิดขน้ึ เลยในเครอ่ื งยนตเล็กแกส โซลีน ดังนน้ั ในทางปฏิบตั ิ บรเิ วณ ใด ๆ ก็ตาม ทแี่ รงดนั ตาํ่ กวาแรงดันบรรยากาศปกติ โดยทั่วไปจะเรียกวา “สญุ ญากาศ” วงจรคารบ เู รเตอรต าํ แหนง เดนิ เบา  ลน้ิ เรงปดเกอื บสุด  น้ํามันเบนซินออกผสมกับอากาศที่นมหนูเดินเบา  ปรบั ความเรว็ เดนิ เบาดว ยสกรเู ดนิ เบา หมายเหตุ การปรับความเร็วเดินเบาคือปรับใหสวนผสม ไอดพี อเหมาะกบั เครอ่ื งยนตเ ดนิ เบาเดนิ เบาไดเ รยี บและ เครอื่ งยนตไ มดับเอง ตาํ แหนงเรง ปานกลาง  ลนิ้ เรง เปดเลก็ นอย  สุญญากาศทีน่ มหนใู หญมากข้นึ จึงดดู นา้ํ มนั เบนซนิ ข้ึนสงู  น้ํามันเบนซินออกผสมกับอากาศที่ชองเดินเบาปาน กลาง ตาํ แหนง เรง สดุ  ลิ้นเรง เปด สดุ  สุญญากาศที่นมหนูใหญมีมาก  น้ํามันเบนซินออกผสมทางชองอากาศนมหนูเดินเบา หมายเหตุ คารบูเรเตอรมีหลายกวาวงจรขางบนเพื่อให การทํางานสัมผันกับแรงดึงดูดน้ํามันเบนซินของ สุญญากาศทเ่ี กิดข้นึ ในทอไอดี

28 6.คารบเู รเตอร ( Carburetors ) องคป ระกอบของคารบ ูเรเตอรท่สี ําคัญที่จะทาํ ใหเครื่องยนตท าํ งานไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพนัน้ ตอ ง ประกอบดวยองคประกอบทั้ง 3 ประการคือ 1. ระบบน้ํามนั เช้อื เพลงิ ( Fuel System ) 2. ระบบจุดระเบิด ( Inition System ) 3. กําลงั อัด ( Comprestion ) คารบเู รเตอรเปนอปุ กรณห นง่ึ ในระบบน้าํ มันเชอ้ื เพลิง ซึ่งทําหนาทจ่ี า ยสวนผสมระบบนํ้ามนั เชือ้ เพลงิ แกส โซลนี กับอากาศ ( Gasoline and air mixture ) ใหก ับเครื่องยนตใ นอัตราสว นผสมโดยประมาณระหวา ง 9 : 1 ถึง 16 : 1 ( อากาศ : เช้อื เพลิงแกสโซลนี ) โดยนา้ํ หนัก ทงั้ น้ีขนึ้ อยูกบั อุณหภมู เิ ครือ่ งยนต ความเรว็ ภาระ และการออกแบบ ฯลฯ อัตราสวนผสมจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการทํางานขอนเครื่องยนตดังเชน ขณะสตารทเคร่ืองส วนผสมจะทาํ หนา ท่ีสุด นั้น คอื 8 : 1 ขณะความเรว็ เดินเบาเครอื่ งยนต ( Idle ) สวนผสมจะบางนน้ั คอื 11.5 : 1 ความเร็วปกติ ( Normal Speed ) สว นผสมจะบางทีส่ ุด ประหยดั ท่สี ุด นั้นคือ 15 : 1 ขณะใหกําลงั งานสูงสดุ ( Full Power ) สว นผสมจะหนาขึน้ เม่อื เทยี บกบั ความเร็วปกติ น้ันคอื 12.5 : 1ขณะเรงเครื่องยนต ( Accleleration ) สวนผสมจะหนาข้ึนน้นั คอื 9 : 1 เคร่อื งยนตจะไมเกดิ การเผาไหม ถาน้ํามนั เชอื้ เพลงิ ที่เขาสหู อ งเผาไหมยังเปนฃองเหลวอยูดงั น้นั น้าํ มนั ตอ งมีสภาพเปนไอ ( Vporized ) และสวนผสมในทุกภาพการทํางานจึงเกิดการเผาไหมได สภาพการทํางาน ตา ง ๆ เชน 1. สตารท เครือ่ งยนตขณะเครื่องเยน็ หรือ รอน 2. ความเรว็ เดนิ เบา 3. เปดลิ้นเรงบางสวนหรือความเร็วปานกลาง 4. เรง เครอ่ื งยนต 5. การทํางานที่ความเร็วสูง ทุกสภาพการทํางานดงั กลา วนั้น นาํ้ มันเชือ้ เพลงิ จะตองกลายเปน ไอและผสมกบั อากาศกอ นทจ่ี ะเขา ไปสหู องเผาไหมดังน้ันคารบเู รเตอรจ ึงมีหนาท่หี ลักดังตอ ไปนี้ 1. ผสมอากาศกับน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับสภาพการทํางานตาง ๆ เพื่อควบคุมการเผาไหมและกําลังอัด 2. ควบคมุ อัตราสวนผสมใหถกู ตอ งดว ยการทาํ ใหนา้ํ มนั เชื้อเพลงิ เปนฝอยละอองละเอยี ดแลวผสมกับอากาศ

29 • ดา นคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคณุ ลกั ษณะ 3D (จุดประสงคเชงิ พฤตกิ รรมขอทึ่ 5-6) 1. การเตรยี มความพรอมดานการเตรียม วัสดุ อปุ กรณนกั ศึกษาจะตองกระจายงานไดท ั่วถงึ และ ตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มกี ารจัดเตรียมสถานท่ี สือ่ วสั ดุ อปุ กรณไ วอ ยา ง พรอ มเพรียงและนกั ศึกษาทุกคนจะตองรจู กั ใชและจดั การกบั วสั ดุอปุ กรณเหลาน้ันอยางฉลาด และรอบคอบ สามารถนําวสั ดอุ ปุ กรณใ นทองถิน่ มาประยุกตใชอยางคุมคาและประหยดั งานจะ สําเร็จไดนักศกึ ษาจะตอ งมคี วามขยันอดทน มีความเพียรพยายามและกระตือรือรนในการเรียน และการปฏิบัตงิ าน และรจู ักแบงปน ใหค วามรวมมือกบั การทาํ กจิ กรรมของสวนรวม อาสา ชวยเหลอื งานครูและผอู ่ืน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและหลักคณุ ลกั ษณะ 3D 2. ความมีเหตุมีผลในการปฎิบัติงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคุณลักษณะ3D นักศึกษาจะตองมีการใชเทคนคิ ทแี่ ปลกใหม ใชสือ่ และเทคโนโลยี ประกอบการ นาํ เสนอท่ี นาสนใจ ปฏบิ ัติงานดว ยความละเอียดรอบคอบ นกั ศกึ ษาจะมภี มู ิคมุ กนั ในตัวทดี่ ไี ดนักศกึ ษา จะตอ งมีความสนใจใฝรู รอบรู รอบคอบ และระมัดระวัง กิจกรรมการเรียนการสอน

30 กิจกรรมการสอนหรือกจิ กรรมของครู กิจกรรมการเรียนหรอื กิจกรรมของนักเรยี น ขน้ั นาํ ขน้ั นาํ 1. ครใู หผเู รยี นทําแบบทดสอบ 1. นักเรียนทุกคนตั้งใจทําแบบทดสอบ 2.ครูถามผูเรียนถา จะซอ มรถยนตจะตองทาํ ยังไง 2 ผเู รยี นทั้งชั้น แสดงความคดิ เห็นตามหวั ขอ ที่ครู 3.ครูถามผูเรียนเราใชอ ะไรในการซอมรถยนต ซักถาม ขน้ั สอน ขน้ั สอน 1.ครูอธิบายหลักการทํางานของเครื่องยนต 4 จงั หวะ 1.ผเู รียนทงั้ ชน้ั ตงั้ ใจฟงการบรรยาย และจดบนั ทกึ และ 2 จงั หวะ เนอื้ หาจากคาํ บรรยายประกอบชุดแผนใส และผเู รียน 2.ครูใหผ ูเ รียนดูแผนใส แสดงลักษณะหลักการทํางาน มีความพรอมตอบขอซักถามเมื่อครูถาม ของเครื่องยนตพรอ มอธบิ ายหนา ที่ ของช้นิ สว น 2.ผูเ รียนทุกคนทาํ แบบฝก หัดทคี่ รูมอบหมาย 3. ครใู หผเู รียนดแู ผน ใส แสดงลักษณะหลักการทํางาน 3. ผูเรยี นเปล่ยี นกนั ตรวจแบบฝกหดั ของเครื่องยนต 2 จงั หวะพรอมอธิบายหนา ที่ ของ 4. ผูเรยี นออกมาอธบิ ายช่อื ไทย-อังกฤษ และ ชน้ิ สว น วธิ กี ารใชง าน และการเกบ็ รักษาเคร่อื งมอื ตา ง ๆ เปน 4. ครูใหผเู รียนดูแผนใส แสดงลกั ษณะของ รายบุคคล คารบ เู รเตอร และใหดูของจริงประกอบ พรอมอธิบาย หนาที่ และการใชงาน 5. ครใู หผ ูเรยี นดแู ผนใส แสดงลักษณะของของถัง น้ํามัน และใหดขู องจริงประกอบ พรอ มอธบิ ายหนาท่ี และการใชงาน 6. ครถู ามผเู รยี นเก่ียวกับชอ่ื ,หนาที่ และการใชงาน เครื่องมอื ทวั่ ไป 7. ครูใหผ ูเรยี นดูแผน ใส แสดงลกั ษณะของประแจชนดิ ตาง ๆ ที่ใชในงานชางยนต และใหดูของจริงประกอบ พรอมอธิบายชื่อไทย-องั กฤษ วิธีการใชงาน และการ บํารุงรักษา 8. ครูใหผ เู รียนดูแผน ใส แสดงลักษณะของดา มขนั ชนิดตา ง ๆ และใหดขู องจริงประกอบ พรอ มอธิบายช่อื ไทย-อังกฤษ วิธีการใชงาน และการบํารุงรักษา 10.ครเู ปดโอกาสใหผเู รยี นซักถามขอ สงสัย 11. ครูใหผ ูเรียนทุกคนทาํ แบบฝกหัด

31 12. ครเู ฉลยแบบฝก หดั 13. ครูใหผ ูเรียนออกมาอธิบายชอ่ื ไทย-อังกฤษ และวิธ การใชงาน และการเก็บรักษาเครื่องมือตาง ๆ เปน รายบุคคล ข้นั สรปุ ข้ันสรปุ 1.ครูสรปุ เน้อื หาเพมิ่ เตมิ ในสวนท่ีขาดใหครบ 1.ผเู รยี นทงั้ ชั้นชว ยกนั สรุปเนอื้ หา งานทมี่ อบหมายหรือกิจกรรม

32 1. ใหผ เู รียนทาํ แบบทดสอบ 2. ใหน ักศึกษาเตรียมตวั สอบเร่อื งเครอ่ื งมอื ชางยนต 3. ใหน กั ศึกษาไปศึกษาในเรอ่ื งเครอื่ งมอื ชางยนตใ นหวั ขอตอไป ส่ือการเรยี นการสอน 1. ใบความรเู ร่อื งหลักการทํางานของเครื่องยนต 4 จงั หวะ 2 จงั หวะ คารบ เู รเตอรแ ละถงั น้าํ มนั 2. แผน ใสภาพหลักการทํางานของเครื่องยนต 4 จงั หวะ 2 จังหวะ คารบูเรเตอรและถงั น้าํ มนั 3. เครื่องมือชางยนต 4. เคร่ืองยนตเล็กเบนซินของจรงิ การประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤติกรรมความสนใจใฝร ใู นการเรยี น 2. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย 3. การใหความรวมมือในการทํากิจกรรมระหวางเรียน 4. ผลคะแนนจากแบบทดสอบ 5. แบบฝก หดั

33 แบบทดสอบ คาํ สง่ั จงตอบคําถามตอไปนี้ใหถกู ตอง 1. ใหอธิบายหลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 4 จงั หวะ ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… 2. อธิบายหลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จงั หวะ แบบลิ้นลกู สูบ ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………….………………

34 เฉลยแบบทดสอบ 1. ใหอธิบายหลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 4 จงั หวะ ตอบ หลักการทาํ งานเคร่ืองยนตเ บนซิน 4 จงั หวะ มีดงั น้ี 1. จงั หวะดดู ( Suction Stroke) ลูกสบู เลอ่ื นลง ลน้ิ ไอดีเปดลน้ิ ไอเสยี เกิดสุญญากาศภายในกระบอกสบู ดูดไอดีเขา บรรจุในกระบอก สูบ จนลกู สบู เลื่อนลงถึงศนู ยตายลา ง ( Buttom Dead Centre = BDC) 2. จงั หวะอดั (Compression Stroke) เมอ่ื ลูกสูบเล่อื นลงจนสุดจงั หวะดดู ล้นิ ทั้งคจู ะปด ลกู สูบเล่ือนขนึ้ อัดไอดใี หม ีปรมิ าตรลดลงดวยอัตรา อดั ประมาณ 1 : 6 ถึง 1 : 10 ความดันประมาณ 6.0-10.0 กก./ซม.2 3. จงั หวะงาน (Combustion Stroke หรือ Power Stroke) กอนลูกสูบถงึ ศูนยต ายบนในจงั หวะอัดเลก็ นอย ประกายไฟจากหัวเทียนและจุดไอดใี หเผาไหม แกส เผาไหมรอ นประมาณ 1,600 – 2,200๐ ซ. หรือความดันประมาณ 40-60 กก. / ซม.2 ผลักดนั ลูกสูบใหหมุน เพลาขอ เหวย่ี ง 4. จังหวะคาย (Exhaust Stroke) ลิน้ ไอเสยี เปด ลูกสบู เลอ่ื นข้ึนขับไลไ อเสียออก จนกระท่งั ลกู สบู ขน้ึ เกอื บถงึ ศูนยต ายบนลนิ้ ไอดจี ะเร่ิม เปด เพอื่ เรม่ิ ตน จงั หวะดดู รอบตอไป 2. อธิบายหลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 แบบลิน้ ลกู สูบ ตอบ หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบลิน้ ลูกสูบ ลิ้นลูกสบู หมายถึง ลูกสูบทาํ หนา ท่ีเปด -ปด ชอ งไอดแี ละชอ งไอเสยี ดว ยสว นบนและสว นลา งของ ลูกสูบ ตําแหนงการบรรจุไอดีและคายไอเสียจึงคงที่ สมรรถนะของเครื่องยนตจะดีเฉพาะที่ความเร็วรอบสูง การทาํ งาน จงั หวะที่ 1 จงั หวะที่ 2 ชวงเกยจังหวะที่ 2 ไป 1 เหนือลูกสูบ อดั ไอดี สงกาํ ลัง คายและขับไลไอเสียเปน ชว งบรรจไุ อดี ใตลูกสบู ดูดไอดี เพม่ิ ความดนั ไอดี อดั ไอดีเขาบรรจใุ นกระบอกสบู

35 บันทึกหลงั การสอน ผลการใชแ ผนการสอน .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ผลการเรียนของนกั เรยี น .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook