Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book 02:65 Dara TBM 13:8:65

E-Book 02:65 Dara TBM 13:8:65

Published by ทน เลรามัญ, 2022-08-13 02:57:27

Description: E-Book 02:65 Dara TBM 13:8:65

Search

Read the Text Version

นวตั กรรม ทบี ีเอ็ม ดาราวิทยาลยั

Teaching with the Brain in Mind การเรียนรโู้ ดยใช้สมองเปน็ ฐาน คอื การจัดกจิ กรรม ให้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมอยา่ งมีเป้าหมาย โดยใชก้ ลยทุ ธ์ เชงิ วิทยาศาสตร์บนพื้นฐานหลกั การทำงานตาม ธรรมชาติของสมอง ครูตอ้ งเรยี นรูว้ า่ สมองเรยี นรู้ อย่างไร ถา้ ครจู ัดกจิ กรรมโดยไมส่ ามารถบอก หรือ อ้างหลักการตามธรรมชาตขิ องสมองได้กไ็ มถ่ อื ว่าได้ จัดกิจกรรมท่ีใช้สมองเป็นฐาน ทมี่ า : เอกสารการอบรม Teaching with the Brain in Mind and Impact Teaching 2551 หน้า 1 แปลโดย อาจารยม์ าลนิ ี คุปตรัตน์

Teaching with the Brain in Mind เปน็ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามแนวคิดพฒั นาการ และการเรยี นรบู้ นพืน้ ฐานความเปน็ ธรรมชาติของสมอง คอื การนำองคค์ วามรเู้ รอื่ งสมอง และธรรมชาติการ เรยี นรขู้ องสมองมาใช้ในการออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ ท้งั ในดา้ นการจัดกจิ กรรม การเสริมสรา้ งประสบการณ์ ตลอดจน การจดั สงิ่ แวดล้อม และกระบวนการอน่ื ๆ รว่ มกบั สอ่ื เพอ่ื การ เรยี นรู้ต่างๆ ทำให้เดก็ สนใจ เขา้ ใจ เรยี นรแู้ ละรับไว้ในความ ทรงจำระยะยาว ท้ังยงั สามารถนำสิ่งทเ่ี รยี นรมู้ าใช้ประโยชน์ ได้อย่างเหมาะสม เปน็ การสรา้ งศกั ยภาพสงู สุดในการเรียนรู้ ของมนุษย์ เน้นท่คี รตู ้องมคี วามตระหนกั ในเรอื่ งโครงสร้าง และ การทำงานของสมองในการเรียนร้ตู ง้ั แต่ การวางแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขณะจัดกจิ กรรม และหลงั จบกิจกรรม ทม่ี า : เอกสารการอบรม Dara TBM 2021 โดย อาจารยก์ รณุ า พนู ลาภยศ

ประวตั ิความเป็นมา Dara TBM โรงเรยี นดาราวิทยาลยั เรมิ่ จัดกจิ กรรมการ เรยี นรตู้ ามหลกั การทำงานตามธรรมชาติของ สมองในการเรยี นรู้ เร่ิมต้งั แต่ปกี ารศึกษา 2549 ในระดบั ปฐมวยั (อนุบาล 1 – 3) และระดบั ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 1 โดยดร.รัศมี แดงสุวรรณ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นในสมยั นัน้ หลังจากการ นำไปใช้แลว้ พบวา่ ในบรบิ ทของโรงเรียนดารา วิทยาลัย มแี นวการปฏิบตั กิ ารจดั กิจกรรมการ เรียนรทู้ สี่ ามารถพฒั นาทักษะการเรยี นร้ใู ห้กบั นกั เรียน ส่งผลให้นักเรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการ เรยี นสงู ข้ึน จึงไดร้ วบรวมพัฒนาเปน็ นวัตกรรม การเรยี นรู้ ทีบเี อม็ ดาราวทิ ยาลัย

นวัตกรรม ทบี ีเอ็ม ดาราวทิ ยาลยั (Dara TBM) หมายถึง นวัตกรรมการเรียนร้ขู อง โรงเรียนดาราวทิ ยาลัยที่เน้นการจดั กิจกรรมการ เรียนรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกบั การทำงานตามธรรมชาติ ของสมอง เป็นการจดั ลำดับกิจกรรมการเรยี นรูใ้ ห้ สมองสามารถเรยี นรู้ไดด้ ี และเป็นไปตามธรรมชาติ การทำงานของสมองมากที่สดุ เพอื่ ให้สมองไดเ้ รยี นรู้ ไดเ้ ต็มศกั ยภาพ และไดร้ ับการพฒั นาการเรยี นรู้ อย่างเหมาะสมกบั วัย ซ่ึงมกี ุญแจไปสู่หลกั การ ดังกลา่ วอยู่ 9 ประการ ดังน้ี

1. เพมิ่ พลังการรับรู้ (Affirmation for Celebration) เปน็ การใช้กจิ กรรมด้วยขน้ั ตอนง่ายๆ เพ่ือสรา้ งแรงจูงใจใน การเรยี นรู้ตามธรรมชาตขิ องสมอง โดยหลกี เลย่ี งสถานการณ์ เชงิ ลบ ช่วยเพม่ิ พลังทางใจ และทางกาย ซอ้ื ใจผู้เรยี นให้อยาก เรยี นรู้ ดว้ ยการทำกจิ กรรมท่ีสร้างสรรค์ มกี ารเปลี่ยนอริ ยิ าบ ช่วยใหร้ ่างกายหลั่งสารเคมที ่ที ำใหเ้ กิดอารมณ์ดีมคี วามพร้อม ทีจ่ ะเรยี นรู้ ตรงกับธรรมชาติสมองขอ้ ท่ีว่า สมองคน้ หา และสร้าง ความหมาย (Brain seeks and creates meaning) สมอง ตอ้ งการร้คู วามหมาย และเห็นความสำคัญกอ่ น แล้วจงึ ใหค้ วามสนใจ และต้ังใจมากขน้ึ

2. สู่หลากหลายกจิ กรรม (Variety) จดั กจิ กรรมหลายๆ รปู แบบเพอื่ เอื้อให้ผเู้ รยี นทีม่ วี ิธกี าร เรยี นรู้ทแี่ ตกตา่ งกนั มโี อกาสได้เขา้ ใจในเร่ืองๆ ตามความถนัด ความสามารถของตนเอง โดยหลกี เลยี่ งสถานการณท์ เี่ ป็นเชิง ลบ เพราะหลกั การ DaraTBM มีความเชื่อวา่ สมองจะเรียนรู้ ได้ดแี ละมปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด เมอ่ื กจิ กรรมเปิดโอกาสให้ สมองไดค้ ิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ไดท้ ำกิจกรรมอย่างหลากหลาย และท้าทาย กระตนุ้ ใหเ้ กดิ จนิ ตนาการ เกิดการถ่ายโอนขอ้ มูล เสริมสร้างกระบวนการคดิ โดยผสมผสานกิจกรรมตา่ งๆ อยา่ ง กลมกลนื และสอดคลอ้ งเชอ่ื มโยงกัน ตรงกับธรรมชาตสิ มองขอ้ ท่ีวา่ ?ความมีลกั ษณะเฉพาะ คอื กฎ ไม่ใช่ ข้อยกเวน้ (Uniqueness is the rule,Not the exception) สมองของแตล่ ะคนมี ลกั ษณะเฉพาะตน ท้ังนีเ้ ปน็ เพราะ ประสบการณช์ วี ติ ท่ีเปน็ ลกั ษณะเฉพาะ ? การพึง่ พารางวลั (Reward Dependency) สมองพัฒนาอย่างง่ายดาย ตอ่ ความหลากหลายรูปแบบของ รางวัล สมองจะตดิ รางวัลทคี่ าดการณไ์ ด้เหมอื นติดยาเสพติด

3. นำความคดิ (Frame) เปน็ กรอบความคดิ ทจี่ ะเออ้ื ใหส้ มองรทู้ ิศทางการจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้ มแี นวทาง สามารถคดิ ตาม ทำความเข้าใจ เรยี นรู้ การปฏบิ ตั ิ จนบรรลตุ ามจุดประสงค์ของแตล่ ะกจิ กรรม ความรูพ้ นื้ ฐานเป็นส่วนสำคญั ทท่ี ำให้แนวความคดิ และการ รับรู้ขอ้ มูลของแต่ละคนแตกตา่ งกัน ตรงกับธรรมชาตสิ มองขอ้ ที่ว่า การคาดการณ์ คอื ทักษะการ เอาตัวรอดทแ่ี ขง็ แกรง่ ทส่ี ดุ ของเรา (Prediction is our strongest survival skill) การคาดการณไ์ ด้เป็นทกั ษะท่ี แข็งแกรง่ ของสมองเพ่ือการอยรู่ อด

4. จติ จดจำ (Repetition & Practice) ใชห้ ลกั การฝึกทำซ้ำๆ และปฏบิ ัติบอ่ ยๆ โดยใชก้ จิ กรรม สรา้ งสรรค์ และหลากหลาย ในการสร้างความจำระยะส้ันและ ความจำระยะยาวโดยกอ่ นการทำซำ้ ตอ้ งผา่ นการฝกึ และแก้ไข ใหเ้ ข้าใจ และปฏิบตั ไิ ด้ถูกตอ้ งกอ่ น ตรงกับธรรมชาตสิ มองขอ้ ทวี่ า่ การรบั รอู้ ย่างหยาบเบือ้ งตน้ (Initial Rough Drafts) ในการเรยี นรสู้ ่ิงใหม่ครง้ั แรก สมองจะ รับรู้และจดจำอยา่ งคร่าวๆ ก่อน จดั ให้ทำกจิ กรรมซ้ำๆ สมอง จะเชอ่ื มโยงไปสู่ความรู้ และประสบการณใ์ หม่ ปรับ แก้ไข ให้ ถูกตอ้ งบันทึกเปน็ ความรู้ความจำทถ่ี าวร

5. คุณธรรมนำสือ่ สาร (Elaboration) เป็นการฝกึ สมองให้คดิ ประยุกต์สง่ิ ทีไ่ ดเ้ รียนรูแ้ ละนำไปใชใ้ น สถานการณต์ ่างๆ เพอื่ การสอ่ื สารและถา่ ยทอดอยา่ งเหมาะสม ตามศกั ยภาพโดยยดึ หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตรงกบั ธรรมชาตสิ มองขอ้ ที่วา่ การคาดการณ์ คอื ทักษะการ เอาตวั รอดทแ่ี ข็งแกรง่ ทส่ี ดุ ของเรา (Prediction is our strongest survival skill) การคาดการณ์ได้เปน็ ทกั ษะที่ แขง็ แกรง่ ของสมองเพ่อื การอยูร่ อด

6. บรหิ ารความจำ(Preview/Review/Revise) เนน้ จดั กิจกรรมทเี่ ออ้ื ตอ่ การจัดระบบการรบั รูภ้ ายใตก้ าร ทำงานตามธรรมชาตขิ องสมอง โดยจดั กิจกรรมใหส้ มองได้ เหน็ ภาพลว่ งหน้าบ้างกอ่ น จดั กจิ กรรมซำ้ มเี วลาใหส้ มอง ทบทวนเรือ่ งราวประสบการณเ์ ดมิ เพอื่ เชอ่ื มโยงไปสู่ความรู้ และประสบการณ์ใหม่ เนน้ ความสำคัญของการปรบั แกไ้ ข ข้อมูลความรใู้ หถ้ กู ตอ้ งกอ่ นทส่ี มองจะบันทกึ เปน็ ความรู้ ความจำทถี่ าวร สมองตอ้ งการเวลาในการจัดการกบั ความรู้ ซึ่งจะนำไปสกู่ ารเรยี นรทู้ ่ีสมบูรณแ์ ละยง่ั ยนื ตรงกบั ธรรมชาตสิ มองขอ้ ทวี่ า่ การรับรอู้ ยา่ งหยาบเบื้องตน้ (Initial Rough Drafts) ในการเรยี นรสู้ ิ่งใหม่ครั้งแรก สมองจะ รับรแู้ ละจดจำอย่างคร่าวๆ ก่อน แล้วจึงลืมหรอื บันทึกไว้ หรือแกไ้ ขขอ้ มลู สมองตอ้ งการเวลาในการรบั ข้อมูลทมี่ ีความ ซับซอ้ น มรี ายละเอยี ด

7. อศั จรรยส์ ่ิงแวดล้อม (Enriched Environment) โรงเรียนจัดสภาพแวดลอ้ มทีส่ นบั สนนุ นกั เรยี นให้เกิด คณุ ลกั ษณะดา้ นต่าง ๆ อันประกอบด้วย ความฉลาดทาง คุณธรรม ความฉลาดทางอารมณ์ ความฉลาดทางสตปิ ัญญา ความฉลาดทางสังคม ความฉลาดทางการแกป้ ัญหา ตรงกบั ธรรมชาตสิ มองขอ้ ทีว่ า่ สมองปรับตวั และเปลย่ี นแปลง อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (Brain is adaptive and constantly changing) สมองเปลย่ี นแปลงได้ และเปลีย่ นแปลงอยเู่ สมอ ตามสภาพแวดล้อม การรว่ มกิจกรรม การฝึกทกั ษะ สมองมี แนวโนม้ ทจ่ี ะปรบั ให้เข้ากับสภาพแวดลอ้ ม

8. พร้อมเสรมิ ปญั ญาพัฒนาสมอง (Skill Building Awareness) ตระหนกั ถงึ การจดั กจิ กรรม เพ่อื เสรมิ ปญั ญาพัฒนาสมอง ให้เกิดทกั ษะตา่ งๆ อยา่ งครอบคลุมและเหมาะสม ตรงกบั ธรรมชาตสิ มองขอ้ ทวี่ ่า การคาดการณ์ คอื ทกั ษะการเอาตวั รอดที่แขง็ แกร่งท่ีสุดของเรา (Prediction is our strongest survival skill) บางครงั้ สมองต้องตัดสนิ ใจทำ บางอย่างทนั ทใี ห้เปน็ ผลสำเรจ็ เปน็ ไปตามทคี่ าดไว้เพอ่ื ความ อยรู่ อด จงึ ตอ้ งฝกึ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถใชว้ ธิ กี ารตา่ งๆ อยา่ ง เหมาะสม

มององค์รวม (Integrated mind/body/emotions) เนน้ จดั กิจกรรมทเี่ ออื้ ใหน้ กั เรียนมคี วามพรอ้ มทง้ั ทางดา้ น รา่ งกาย อารมณ์ และจิตใจ เพอ่ื ให้สมองสามารถทำงานได้ ตามธรรมชาติ มีความสุขก่อให้เกดิ การเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างเต็มท่ี และมีประสิทธภิ าพ ตรงกับธรรมชาติสมองขอ้ ทว่ี ่า การบรู ณาการของสภาวะ จิตใจ ร่างกาย และอารมณ์ (Integrated mind, body, emotional states) สภาวะจิตใจ รา่ งกาย และอารมณ์ มีอทิ ธิพลตอ่ ความตง้ั ใจ ความจำ การเรยี นรู้ และพฤติกรรม เมอ่ื มีสภาวะใดเกดิ ขน้ึ ตอ่ เนอ่ื งนานๆ สกั ระยะหน่งึ จะเร่ิมคง ตวั และไมย่ อมทจ่ี ะเปลยี่ นแปลง

เพลง นวตั กรรม Dara TBM เนอ้ื ร้อง/ทำนอง โดย อาจารยอ์ นศุ ิษฐ์ เกตหอม นวัตกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้อง กับการทำงานของสมอง เพิม่ พลังการรับรู้ สูห่ ลากหลายกจิ กรรม นำความคดิ จิตจดจำ คณุ ธรรมนำสอื่ สาร บริหารความจำ อศั จรรย์สิ่งแวดลอ้ ม พร้อมเสรมิ ปัญญาพฒั นาสมอง มององค์รวม Teaching with the Brain in Mind.

งาน TBM E-Book 02/65 นวตั กรรม ทีบเี อ็ม ดาราวิทยาลยั Dara Teaching with the Brain in mind เรียบเรยี งขอ้ มูลโดย อาจารยก์ รุณา พนู ลาภยศ อาจารย์สุนันทา แดงเรอื น อาจารย์ศกุ ลรตั น์ เลรามญั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook