Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book 01:65 หลักการทำงานของสมอง

E-Book 01:65 หลักการทำงานของสมอง

Published by ทน เลรามัญ, 2022-08-13 02:54:52

Description: E-Book 01:65 หลักการทำงานของสมอง

Search

Read the Text Version

หลกั การทำงานตามธรรมชาติ ของสมอง 12 ประการ Brain’s Natural Rules By Eric Jensen

1. ความมลี ักษณะเฉพาะ คอื กฎไม่ใชข่ อ้ ยกเว้น (Uniqueness is the rule,Not the Exception) สมองของคนเรานนั้ เปน็ สมองท่ีมีลกั ษณะเฉพาะตน เพราะมตี ัวแปรหลากหลายท้ังในทางพันธกุ รรม สงิ่ แวดล้อม เพศ พัฒนาการในแตล่ ะขน้ั อาหาร ประสบการณ์ทางสงั คม และความเครียดคือปจั จัย ตวั แปรทีส่ ำคญั ทีส่ ดุ ตวั แปรเหล่านเ้ี ปลย่ี นแปลง การกรองกระบวนการ และผลผลตขิ องสมอง สมองของเดก็ ก่อนวยั เรยี น และวยั รุน่ มีภาวะของ การเปลี่ยนแปลงทีส่ ูงมาก กฎข้อที่ หนึง่ เอกลกั ษณ์ ครยู อมรับในความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล เพราะสมองแต่ละคนมเี อกลักษณ์เฉพาะมีความ แตกตา่ งกนั

2. การพึง่ พารางวลั (Reward Dependency) สมองของคนเรานน้ั พัฒนาอย่างง่ายดายตอ่ การ พงึ่ พาความหลากหลายรูปแบบของรางวัล เรามงุ่ หาด้านบวก และหลกี เลี่ยงด้านลบ สมองของเรา มักเสพตดิ ( ทวี ี,การพนนั ,ยาเสพตดิ ,สารอดีนารีน ในร่างกาย ฯลฯ) รางวัลท่เี ราคาดการได้ แม้กระทั่ง รางวัลท่ีไมเ่ ป็นอันตรายต่อเรา สมองถกู ออกแบบ มาให้สนองตอบอยา่ งสูงทางชวี เคมี (Biochemical rewards) และพวกยาเสพตดิ ทง้ั หลาย กฎข้อที่ สอง ดดู ดี ีมีรางวลั ครใู ช้การเสรมิ แรงทางบวก เพราะสมอง พ่ึงพารางวลั มีความสขุ เม่ือไดร้ บั รางวลั และ หลกี เลี่ยงสถานการณ์เชงิ ลบ

3. ความสามารถในการรับรู้ และโอกาส (Susceptibility and Opportunity means we can and do take in both good and the bad) สมองของเรามชี ว่ งเวลาทไี่ วการเรยี นรู้ มเี วลาที่เสย่ี งใน การเรยี นรู้ทั้งสง่ิ ทด่ี แี ละไมด่ ใี นเวลาเดยี วกนั มากที่สุด ในชว่ งอายุ 0 – 5 ปี และชว่ งอายุ 12 – 17 ปี ยิง่ เยาวว์ ยั เท่าไหรเ่ รายงิ่ มคี วามรู้สกึ ไวตอ่ ความเจบ็ ปวด จากภายนอก ความเครยี ด และปัจจยั ลบอนื่ ๆ มากขนึ้ เทา่ นน้ั เซลลใ์ นร่างกายของเราท้ังหมดถา้ ไม่อยู่ในระยะ ของการเตบิ โตหรอื การปอ้ งกนั ตน กจ็ ะอยูใ่ นระยะเวลา ของการตดั ข้อมูลทงิ้ ไป กฎข้อที่ สาม ถามแลว้ จะรู้ ครเู ข้าใจพัฒนาการตามวยั ของนกั เรียน ชว่ งเวลาที่เป็นโอกาสทองในการเรยี นรเู้ รอื่ งต่างๆ สมองรับข้อมลู ไดท้ ้ังทีด่ ี และไม่ดคี นทย่ี ่งิ อายนุ อ้ ยจะ เปราะบางกบั เรื่องของความกระทบกระเทือนใจครู ตอ้ งจัดการเรียนรใู้ ห้เหมาะสมกับวยั

4. ข้อจำกัดของความตง้ั ใจ และปัจจัยนำเขา้ (Attentional and Input Limitations) สมองของเราถกู ออกแบบมาให้มขี อ้ จำกดั ของปรมิ าณ การเอาใจใส่ตอ่ สิ่งใหม่ ในสดั สว่ นต่อนาที ตอ่ ช่ัวโมง ตอ่ วัน เปน็ ความยากในการรกั ษาสมาธิในระยะเวลา ยาวนาน ปัจจยั นำเขา้ ทม่ี ากเกนิ ไปจะเกินกำลังท่สี มอง จะระลกึ ได้ รวมไปถงึ อารมณท์ พี่ รอ้ ม การเรยี นรู้เชงิ ลกึ ที่มคี ณุ ภาพและซบั ซอ้ นเป็นสง่ิ ท่ตี อ้ งใชเ้ วลานาน กฎขอ้ ที่ ส่ี มจี ำกดั ครูรจู้ กั การบรหิ ารจัดการความรทู้ ้งั ใน เชิงปรมิ าณ คุณภาพ และระยะเวลาท่เี หมาะสม เพราะสมองมขี ้อจำกัดของความตั้งใจ และการรับรู้ ขอ้ มลู การรับข้อมลู มากเกินไปไมเ่ ปน็ ผลดตี อ่ สมอง โดยเฉพาะข้อมูลที่มคี วามซับซ้อนสมองตอ้ งการเวลา ในการทำความเขา้ ใจ

5. สมองปรับตวั และเปล่ยี นแปลงอย่างต่อเนอ่ื ง (Brain is adaptive and constantly changing) สมองของเราไมม่ ลี ักษณะแข็งกระด้างตายตัว แตจ่ ะมกี าร ปรับเปลีย่ นอย่างสต่อเน่อื งในรปู แบบต่างๆมากมาย ข้นึ อยู่ กับว่าจะเปลยี่ นแปลง ในระดับมากน้อยเพียงไหน ระบบ โครงสรา้ งเซลล์ สารเคมี และระบบตา่ งๆ เปลย่ี นแปลงได้ เป็นส่งิ ทง่ี า่ ยต่อการเปลีย่ นแปลง การตอบสนองของสมองมี ผลจากสงิ่ แวดลอ้ ม เราสามารถสรา้ งผลกระทบให้เกดิ ข้นึ ต่อ สมองได้โดยผ่านการสร้างทกั ษะ การสร้างเส้นใยเชือ่ มโยง ประสาท การหลอ่ เลย้ี งหรือการกระตนุ้ ประสาท การออก กำลงั กาย และการบงั คับตนเอง กฎข้อท่ี หา้ ปรบั และเปลยี่ น ครใู ห้นักเรียนได้มสี ว่ นร่วม ลองผดิ ลองถูก มีการ เรยี นรู้เชิงลึก มีการสะทอ้ นกลบั และให้เวลาปรับปรงุ แกไ้ ข เพราะสมองปรับเปล่ยี นไดต้ ลอดเวลา ครูสามารถ ปรับเปล่ยี นสมองด้วยการทำกิจกรรม การฝึกทักษะ ฯลฯ

6. การรบั รอู้ ยา่ งหยาบเบื้องตน้ (Initial Rough Draft) สมองของเรานน้ั น้อยครง้ั นักที่ตดั สินอะไรเดด็ ขาดในครั้งแรกท่เี ดียว ตรงกัน ขา้ มสมองของเราจะทำโครงร่างคร่าวๆ หยาบๆ ออกมากอ่ นในการเรยี นรูใ้ หม่ๆ สมองแทบจะไมม่ ี การเรยี นรู้อย่างถูกต้องชดั เจนในการรบั รู้ครั้งแรก เรา สร้างการนำเสนอข้อมูลจากการรับรทู้ างสายตา และ จากการไดย้ ินไดฟ้ ังอยา่ งชว่ั คราว และจะพักเอาไว้ จนกว่าเราจะพบว่าส่ิงนั้นคุ้มคา่ กบั การเปล่ยี นใหเ้ ป็น ขอ้ มลู สดุ ทา้ ยเพอ่ื เกบ็ หรอื ทง้ิ ไปจากความทรงจำ กฎข้อที่ หก ตกแรกหยาบ ครเู ขา้ ใจวา่ การเรียนรู้สิง่ ใหมน่ ักเรยี นจะไม่ สามารถรบั รู้ได้อยา่ งละเอยี ดทงั้ หมดต้องใหเ้ วลาใน การเรียนร้ทู ่ีมากพอ ก่อนทีส่ มองจะบันทกึ เปน็ ความทรงจำในระยะยาว

7. สมองค้นหา และสรา้ งความหมาย (The Brain seeks and creates meaning) ความเข้าใจ การรบั รู้ ความรู้สึก และบทสรปุ ทุกคร้งั ทีเ่ ราเรยี นรู้ จะเกยี่ วโยงกบั ประสบการณเ์ ดมิ ของเรา ยิ่งสง่ิ น้ันมี ความหมายสำคญั ตอ่ เรามากเท่าไหร่ เรายิง่ มี ความตัง้ ใจมาก ซงึ่ จะมีอทิ ธิพลต่อการ เปลย่ี นแปลงของสมองเรามากขึ้นเท่านั้น กฎขอ้ ที่ เจด็ เนน้ ความหมาย ครูมีการจูงใจใหน้ ักเรียนสนใจและร่วม กจิ กรรมการเรียนรู้ เพราะสมองจะค้นหา ความหมายและเหน็ ความสำคัญกอ่ นท่จี ะ เรยี นรู้

8. สิง่ แวดล้อมมีผลต่อสมอง (Environments affect brains) หลกั ฐานทางวิทยาศาสตร์ระบุ ชดั เจนว่าสง่ิ แวดล้อมทั้งหลายไม่เพียงแต่มีอทิ ธพิ ล ต่อสมองโดยตรงเท่าน้ัน แต่ยังสามารถมอี ทิ ธพิ ลตอ่ พันธุกรรม(Gene) ด้วย ส่ิงแวดล้อมทางสงั คม ทาง กายภาพ ทางการศึกษา และทางวัฒนธรรม ล้วนมี ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของสมอง สงิ่ แวดลอ้ มมี ผลกระทบตอ่ การเขา้ ถึงเน้ือหาสาระ ระดับ ความเครยี ด แม้แตล่ กั ษณะแสดงออกของ พันธุกรรม ย่งิ ระยะเวลาทส่ี มองอยู่ในส่งิ แวดล้อม นานเท่าใดยิง่ ทำใหส้ มองปรับตัวใหเ้ ขา้ กบั ส่ิงแวด ดงั กล่าวมากเท่านั้น กฎขอ้ ที่ แปด สิ่งแวดล้อม ครสู นใจสร้างสิง่ แวดลอ้ มทดี่ ใี หแ้ ก่ นักเรยี น เพราะสิ่งแวดล้อมมผี ลต่อสมอง

9. การคาดการณ์ คือทกั ษะการเอาตวั รอดท่ี แข็งแกร่งทส่ี ุดของเรา (Prediction is our strongest survival skill) ความคดิ ลว่ งหน้าไม่ เพยี งแต่หลอ่ เลีย้ งการมชี วี ิตรอดของมนษุ ยเ์ รา เทา่ นน้ั แตม่ นั ยังเป็นเสมือนยุทธศาสตร์การจดั การ กับแรงกดดัน การคาดการณเ์ ปน็ สิ่งสำคัญทั้งใน ด้านการทำงานพนื้ ฐาน และความสำเร็จ เปน็ เรอื่ ง สำคญั ที่สมองตอ้ งใชต้ ดั สนิ ใจกระทำบางอย่างให้ สำเร็จ หรอื เปน็ ไปตามทคี่ าดการณไ์ ว้เพื่อความอยู่ รอด กฎขอ้ ท่ี เกา้ ราวกบั เห็น ครจู ดั การเรียนรทู้ ใี่ กล้เคียงกบั ประสบการณใ์ นชวี ติ จริงเพ่อื ใหน้ กั เรียน สามารถประยุกต์ใช้ความรแู้ กป้ ญั หาใน อนาคตได้

10. ความจำที่เปลี่ยนแปลงได้ (Malleable Memories) เราสามารถเรยี นรู้และเกบ็ การเรียนรู้ ของเราไว้ไดด้ ้วยวธิ ีการหลากหลาย ความจำเปน็ ผลของการเรียนรู้ และเปน็ พื้นฐานการคาดการณ์ การเอาชวี ิตรอด แต่บางครั้งถา้ ไมม่ ีการถอด บทเรยี นหรอื ถอดบทเรยี นได้ไม่ถูกตอ้ ง การเรยี นรู้ กอ็ าจจะผดิ พลาดไป ความจำจึงไม่ใชส่ ่ิงที่แนน่ อน แต่จะเปลี่ยนไดโ้ ดยอุบัติเหตหุ รือโดยตงั้ ใจ สมอง สามารถเรยี นรแู้ ละบนั ทกึ ข้อมูลได้หลากหลายทาง กฎขอ้ ที่ สบิ ตดิ ความจำ ครจู ดั การเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายเพือ่ ใหส้ มอง ของนักเรียนได้ถอดรหัสการเรยี นรไู้ ดห้ ลากหลาย ชอ่ งทางตามสไตลก์ ารเรยี นรู้ของตนเอง

11. การรบั รู้ (ไมใ่ ช่ความจริง) กลายเป็นประสบการณข์ อง เรา (Perception, not reality, becomes our experiences) สมองรบั รูค้ วามหมายหรือเรยี นรไู้ ด้จาก ความรูก้ ่อนหน้าน้ีของเราเปน็ องค์ประกอบสำคญั ในการ พิจารณาตัดสินสิ่งที่เราเห็น ไดย้ นิ ร้สู กึ ลิม้ รส และสมั ผสั จงจำไว้ว่าความสำคัญอย่ทู ่กี ารรับร้จู ากประสบการณข์ องเรา ไมใ่ ชอ่ ยู่ทภ่ี าพความจริงท่ีเราเห็น การรับรู้นี้ได้รับอทิ ธิพลของ ความรทู้ ่เี รามอี ยกู่ ่อนแลว้ ผลกั ดนั และเป็นตวั เชื่อมตอ่ ใหก้ บั ปัจจยั ตวั อื่น ๆ เมื่อเราเปล่ียนวิธีการรบั รู้ การมองโลกเราจะ เปล่ียนแปลงไป ประสบการณ์เดิมมอี ิทธพิ ลต่อการรับรู้ของ สมอง ทำใหก้ ารรบั รูค้ ลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจรงิ กฎข้อที่ สบิ เอ็ด เด็ดรับรู้ ครรู ู้ว่าประสบการณเ์ ดิมมีผลต่อการเรียนรู้ของ นักเรียน แต่ละคนมีประสบการณ์ทแี่ ตกต่างกัน การได้ แบง่ ปันความรู้ประสบการณซ์ ่ึงกันและกนั จะนำไปสู่ ความรู้ และความเข้าใจกันตามบริบทของแต่ละคน

12. การบูรณาการของสภาวะจติ ใจ ร่างกาย และอารมณ์ (Integrated mind, body, emotional states) ปรากฎการณ์ของการรวมเขา้ ด้วยกนั ของทัง้ ดา้ นเคมี และประสาท เช่น ความเครยี ด มี อิทธพิ ลต่อความต้ังใจ ความทรงจำ และการ เรียนร้ขู องเรา ความเครยี ด อารมณ์ ท่าทาง ความเชื่อ การเคลื่อนไหว และสตปิ ัญญา มผี ลต่อการเรยี นรทู้ กุ รูปแบบ กฎขอ้ ท่ี สบิ สอง มององค์รวม ครมู ีการปรบั สภาวะทางร่างกาย อารมณ์ จติ ใจเพื่อให้นกั เรียนอยใู่ นสภาวะ พรอ้ มเรยี น

Peg word technique หนง่ึ หลักการทำงานตามธรรมชาติ สอง ของสมอง 12 ประการ สาม ส่ี เอกลกั ษณ์ ห้า ดดู ดี ีมรี างวลั หก ถามแลว้ จะรู้ เจ็ด มจี ำกดั แปด ปรบั และเปลย่ี น เก้า ตกแรกหยาบ สิบ เนน้ ความหมาย สบิ เอ็ด ส่ิงแวดลอ้ ม สบิ สอง ราวกบั เห็น ตดิ ความจำ เดด็ รับรู้ มององคร์ วม Go ตารางขอ้ มลู Data Table

งาน TBM E-Book 01/65 หลกั การทำงานตามธรรมชาตขิ องสมอง 12 ประการ เรยี บเรียงขอ้ มลู โดย อาจารยศ์ กุ ลรัตน์ เลรามัญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook