Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนสำเร็จรูป

แผนการสอนสำเร็จรูป

Published by surapolpnp, 2021-11-17 08:40:35

Description: แผนการสอนสำเร็จรูป

Keywords: แผนการสอน

Search

Read the Text Version

๑ แผนการสอนคณิตศาสตร์ ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2561 หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์มุง่ ใหเ้ ยาวชนทกุ คนไดเ้ รียนรู้คณติ ศาสตร์อย่างต่อเน่ืองตามศักยภาพ โดย กาหนดสาระหลกั ท่ีจาเปน็ สาหรบั ผู้เรยี นทกุ คนดังน้ี 1. จานวนและการดาเนินการ ความคิดรวบยอดและความร้สู ึกเชิงจานวนระบบจานวนจรงิ สมบัติ เกีย่ วกับจานวนจริง การดาเนินการของจานวน อตั ราสว่ น ร้อยละ การแกป้ ญั หาเก่ยี วกับจานวน และการใช้ จานวนในชีวติ จริง 2. การวัด ความยาว ระยะทาง นา้ หนกั พ้นื ท่ี ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบตา่ ง ๆ การดาดคะเนเกย่ี วกบั การวัด อัตราสว่ นตรโี กณมติ ิ การแก้ปญั หาเก่ียวกับการวดั และการนาความรู้เกี่ยวกับ การวัดไปใช้ในสถานการณ์ตา่ งๆ 3. เรขาคณติ รปู เรขาคณติ และสมบัติของรปู เรขาคณติ หนึ่งมิติ สองมิติ และ สามมิติ การนึกภาพ แบบจาลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณติ การแปลงทางเรขาคณิต (geometric transtormation) ในเร่ืองการเล่ือนขนาน (ranslation) การสะท้อน (reflection)และการหมนุ (rotation) หลกั การ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน มหี ลักการทสี่ าคัญ ดังนี้ ๑. เปน็ หลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มจี ุดหมายและมาตรฐานการเรียนรเู้ ปน็ เปา้ หมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหม้ คี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐานของความเป็นไทย ควบคู่กับความเป็นสากล ๒. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมคี ุณภาพ ๓. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาทีส่ นองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาให้ สอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถ่นิ ๔. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาทีม่ ีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้ ๕. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาท่เี นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ ๖. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาสาหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย ครอบคลมุ ทกุ กลุม่ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นให้เปน็ คนดี มีปญั ญา มคี วามสุข มีศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กาหนดเป็นจุดหมายเพื่อใหเ้ กดิ กับผูเ้ รียน เม่อื จบการศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน ดังน้ี ๑. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พงึ ประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มวี นิ ัยและปฏบิ ัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถือยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชีวิต ๓. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี มสี ขุ นิสยั และรักการออกกาลังกาย ๔. มีความรกั ชาติ มีจิตสานกึ ในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ ม่นั ในวถิ ชี ีวติ และ การปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ

๒ ๕. มจี ิตสานกึ ในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษ์และ พฒั นาสงิ่ แวดล้อม มจี ติ สาธารณะทีม่ งุ่ ทาประโยชนแ์ ละสร้างส่ิงทดี่ ีงามในสังคม และอยู่รว่ มกันในสงั คมอย่างมคี วามสุข สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน มงุ่ ให้ผเู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปน็ ความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใชภ้ าษา ถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลย่ี นข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคมรวมท้งั การเจรจาต่อรองเพ่ือขจดั และลด ปญั หาความขดั แย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรอื ไม่รับขอ้ มลู ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถกู ต้องตลอดจนการ เลอื กใช้วิธกี ารส่ือสารทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบทม่ี ตี อ่ ตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิด อยา่ ง สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพื่อนาไปสกู่ ารสรา้ งองคค์ วามรู้หรอื สารสนเทศ เพือ่ การตัดสนิ ใจเก่ยี วกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ทเี่ ผชญิ ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจ ความสมั พันธแ์ ละการเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรู้มาใชใ้ นการ ป้องกนั และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจทมี่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ ส่งิ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใชใ้ นการดาเนิน ชวี ิตประจาวัน การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทางาน และการอยูร่ ว่ มกันในสังคมดว้ ยการ สร้างเสริมความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแยง้ ต่างๆ อย่างเหมาะสม การ ปรบั ตวั ใหท้ ันกบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเลีย่ งพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ ที่สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่นื ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การ แก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เพ่อื ให้ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อน่ื ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซอื่ สัตย์สจุ ริต ๓. มีวนิ ัย ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ๖. มุ่งมน่ั ในการทางาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ

๓ สาระมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ช้ีวัด ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 สาระท่ี 1 จานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของ จานวนผลท่ีเกดิ ข้ึนจากการดาเนนิ การ สมบตั ิของการดาเนินการ และนาไปใช้ ค 1.1 ป.1/1 บอกจานวนของสิง่ ต่าง ๆ แสดงสงิ่ ต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขยี น ตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทยแสดงจานวนนับไมเ่ กนิ 100 และ 0 สาระท่ี 1 จานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค. 1.2 เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสัมพันธ์ ฟังกช์ ัน ลาดบั และอนุกรม และนาไปใช้ ค 1.2 ป.1/1 ระบุจานวนทีห่ ายไปในแบบรูปของจานวนทเี่ พมิ่ ข้ึนหรือลดลงทีละ 1 และทีละ 10 และระบุรปู ทห่ี ายไปในแบบรูปซา้ ของรูปเรขาคณิตและรปู อื่น ๆ ทส่ี มาชกิ ในแต่ละชุดที่ซา้ มี 2 รูป สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพืน้ ฐานเกยี่ วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวดั และ นาไปใช้ ค 2.1 ป.1/1 วัดและเปรียบเทยี บความยาวเป็นเซนตเิ มตร เปน็ เมตร สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค. 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ิของรูปเรขาคณติ ความสัมพนั ธ์ระหว่างรูป เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้ ค 2.2 ป.1/1 จาแนกรูปสามเหลี่ยม รปู ส่ีเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสีเ่ หลยี่ มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค. 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถิติในการแกป้ ัญหา ค 3.1 ป.1/1 ใชข้ ้อมลู จากแผนภูมริ ูปภาพในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา เม่ือกาหนดรปู 1 รปู แทน 1 หนว่ ย

๔ คาอธบิ ายรายวิชา ค11101 คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตรช์ ้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 เวลาเรียน 200 ชั่วโมง ศึกษาความรู้เก่ยี วกับเรือ่ งการนบั ทีละ 1 และทีละ 10 การอ่านและการเขียนตวั เลข ฮินดอู ารบิกตัวเลขไทยแสดงจานวน การแสดงจานวนนบั ไม่เกิน 20 ในรปู ความสมั พันธข์ องจานวน แบบส่วนยอ่ ย ส่วนรวม (Part – Whole Relationship) การบอกอันดบั ท่ี หลกั ค่าของเลขโดดใน แต่ละหลกั และการเขียนตวั เลขแสดงจานวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจานวนและการใช้ เครื่องหมาย =  > < การเรยี งลาดับจานวน ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ และความสมั พนั ธข์ องการบวกและการลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปญั หาการลบ และการสรา้ งโจทยป์ ญั หา พร้อมท้ังหาคาตอบ แบบรูปของจานวนทีเ่ พม่ิ ข้ึนหรือ ลดลงทีละ 1 และทลี ะ 10 แบบรปู ซา้ ของจานวน รูปเรขาคณติ และรูปอนื่ ๆ การวัดความยาวโดยใช้ หน่วยท่ไี ม่ใช่หนว่ ยมาตรฐาน การวดั ความยาวเปน็ เซนตเิ มตร เป็นเมตร การเปรียบเทยี บความยาว เปน็ เซนติเมตร เปน็ เมตร การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก การลบเกยี่ วกบั ความยาวท่ีมหี น่วยเป็น เซนติเมตร เปน็ เมตร การวัดน้าหนักโดยใชห้ นว่ ยทีไ่ ม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวดั นา้ หนกั เป็น กโิ ลกรัม เปน็ ขีด การเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรมั เปน็ ขีด การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก การลบ เกี่ยวกับนา้ หนกั ที่มีหน่วยเปน็ กิโลกรัม เปน็ ขีด ลกั ษณะของทรงสเ่ี หลี่ยมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ลกั ษณะของรูปสามเหล่ยี ม รปู สเ่ี หลี่ยม วงกลม และวงรี การอ่านแผนภมู ิรปู ภาพ โดยจดั ประสบการณ์ กิจกรรม หรอื โจทย์ปัญหาท่ีส่งเสรมิ การพัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ในการคดิ คานวณ การแกป้ ัญหา การเชื่อมโยง การให้เหตผุ ล การคดิ สรา้ งสรรค์ การ สอ่ื สารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เพื่อใหเ้ กดิ ความร้คู วามเขา้ ใจ ความคดิ รวบยอด ใฝ่รใู้ ฝเ่ รยี น มีระเบียบวนิ ยั ม่งุ มน่ั ในการ ทางานอย่างมรี ะบบ ประหยัด ซอื่ สตั ย์ มีวจิ ารณญาณ รจู้ กั นาความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดารงชวี ิตได้ อย่างพอเพยี ง รวมท้ังมเี จตคติที่ดตี อ่ คณิตศาสตร์ รหัสตัวชี้วัด ค 1.1 ป1/1 มาตรฐาน ค 1.1 ค 1.2 ป.1/1 มาตรฐาน ค 1.2 ค 2.1 ป.1/1 มาตรฐาน ค 2.1 ค 2.2 ป.1/1 มาตรฐาน ค 2.2 ค 3.1 ป.1/1 มาตรฐาน ค 3.1 รวมทั้งสิ้น 5 ตัวชี้วัด

๕ โครงสรา้ งรายวชิ า ค11101 คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 เวลาเรยี น 200 ชัว่ โมง ครูผู้สอน นายสรุ พล คอนหาว หน่วยที่ ชอื่ หน่วยการ มาตรฐาน สาระสาคญั เวลา สัดส่วน เรยี นรู้ การเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน ค 1.1 ป.1/1 (70%) 1 จานวนนับ 1 ถงึ 100 - การนับทีละ 1 และทีละ 10 100 ค 1.2 ป.1/1 - การอา่ นและการเขียนตัวเลขฮนิ ดู 36 และ 0 ค 2.1 ป.1/1 15 อารบิก ตวั เลขไทยแสดงจานวน 30 5 2 แบบรูป ค 2.1 ป.1/2 - การแสดงจานวนนับไมเ่ กนิ 20 ใน 30 10 3 ความยาว รูปความสมั พันธ์ของจานวนแบบ 10 4 นา้ หนัก สว่ นย่อย – ส่วนรวม (Part – Whole Relationship) - การบอกอันดบั ที่ - หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขยี นตัวเลขแสดงจานวนใน รปู กระจาย - การเปรียบเทยี บจานวนและการใช้ เครอ่ื งหมาย =  > < - การเรียงลาดับจานวน - แบบรูปของจานวนท่เี พิ่มขึ้นหรือ ลดลงทลี ะ 1 และทีละ 10 - แบบรูปซา้ ของจานวน รปู เรขาคณติ และรปู อ่ืน ๆ - การวดั ความยาวโดยใชห้ นว่ ยท่ไี มใ่ ช่ หน่วยมาตรฐาน - การวัดความยาวเป็นเซนตเิ มตร เป็นเมตร - การเปรียบเทยี บความยาว เป็นเซนตเิ มตร เปน็ เมตร - การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก การลบ เกย่ี วกบั ความยาวที่มีหน่วย เปน็ เซนติเมตร เปน็ เมตร - การวัดน้าหนกั โดยใช้หนว่ ยท่ีไม่ใช่ หนว่ ยมาตรฐาน

๖ หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา สดั สว่ น เรยี นรู้ การเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั (ชว่ั โมง) คะแนน (70%) 5 รปู เรขาคณิตสองมิติ ค 2.2 ป.1/1 - การวัดนา้ หนกั เป็นกิโลกรัม เปน็ ขีด 15 ค 3.1 ป.1/1 - การเปรียบเทียบนา้ หนักเปน็ กิโลกรัม 10 5 และรปู เรขาคณติ สาม มติ ิ เปน็ ขดี 4 - การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก การลบ 6 การนาเสนอขอ้ มลู เกี่ยวกับนา้ หนักทม่ี ีหน่วยเป็นกโิ ลกรมั เป็นขดี - ลกั ษณะของรปู สามเหลี่ยม รูปสเี่ หลี่ยม วงกลม และวงรี - ลกั ษณะของทรงสีเ่ หลย่ี มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย - การอ่านแผนภูมริ ปู ภาพ รวมคะแนนระหว่างเรียน 70 คะแนนทดสอบปลายปี 30 100 รวมคะแนนท้งั ปี

๗ โครงสรา้ งรายวชิ า ค11101 คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลาเรยี น 200 ช่วั โมง ครูผูส้ อน นายสรุ พล คอนหาว หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วธิ สี อน/ ทักษะการคดิ เวลา กระบวนการจดั การ (ชัว่ โมง) หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ 1. การนบั ทีละ 1 และ ๑. ทักษะการรวบรวมข้อมลู จานวนนับ 1 ถึง ทลี ะ 10 เรยี นรู้ ๒. ทกั ษะการวเิ คราะห์ 20 100 และ 0 -วธิ สี อนตามรูปแบบ ๓. ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ 15 ๒. การอ่านและการ DLTV ๑. ทักษะการอา่ น เขยี นตวั เลขฮนิ ดู ๒. ทักษะการวิเคราะห์ 15 อารบิก ตวั เลขไทย -วิธีสอนตามรปู แบบ ๓. ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ แสดงจานวน DLTV 10 ๓.การแสดงจานวนนบั ๑. ทักษะการวเิ คราะห์ 15 ไม่เกนิ 20 ในรูป -วธิ ีสอนตามปู แบบ ๒. ทกั ษะการเชอ่ื มโยง 15 ความสัมพันธ์ของ DLTV ๓.ทักษะการนาความรู้ไปใช้ 10 จานวนแบบส่วนยอ่ ย – ส่วนรวม (Part – -วิธสี อนตามูปแบบ ๑. ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู Whole DLTV ๒. ทักษะการวเิ คราะห์ Relationship) ๓. ทักษะการนาความรู้ไปใช้ 4. การบอกอันดบั ที่ -วิธสี อนตามูปแบบ ๑. ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล DLTV ๒. ทกั ษะการวเิ คราะห์ 5. หลกั ค่าของเลข ๓. ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ โดดในแตล่ ะหลัก และ -วิธีสอนตามปู แบบ การเขยี นตวั เลขแสดง DLTV ๑. ทักษะการวิเคราะห์ จานวนในรูปกระจาย ๒. ทกั ษะการเช่ือมโยง 6. การเปรยี บเทียบ -วิธสี อนตามปู แบบ ๓.ทักษะการนาความรู้ไปใช้ จานวนและการใช้ DLTV ๑. ทักษะการรวบรวมข้อมูล เครื่องหมาย =  > < ๒. ทักษะการวิเคราะห์ 7. การเรียงลาดับ 3. ทักษะการเช่อื มโยง จานวน 4. ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้

๘ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ 1. แบบรูปของจำนวน -วิธสี อนตามรูปแบบ ๑. ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู 8 แบบรูป ทเ่ี พ่มิ ขนึ้ หรอื ลดลงที DLTV ๒. ทักษะการวเิ คราะห์ 6 ละ 1 และทีละ 10 ๓. ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ ๑ -วิธีสอนตามรูปแบบ เวลา ๒. แบบรปู ซำ้ ของ DLTV ๑. ทักษะการวิเคราะห์ (ชว่ั โมง) จำนวน รปู เรขำคณติ ๒. ทักษะการเชอื่ มโยง 9 ๓. ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้ 8 และรูปอน่ื ๆ 7 สอบกลางภาค 6 หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ วิธสี อน/กระบวนการ ทกั ษะการคิด จดั การเรียนรู้ 9 8 ๑. การวัดความยาว -วิธสี อนตำมรปู แบบ ๑. ทักษะกำรรวบรวมขอ้ มลู DLTV ๒. ทกั ษะกำรวเิ ครำะห์ โดยใชห้ น่วยที่ไมใ่ ช่ ๓. ทกั ษะกำรนำควำมรู้ไปใช้ หน่วยมาตรฐาน ๑. ทกั ษะกำรรวบรวมขอ้ มูล ๒. ทักษะกำรวเิ ครำะห์ ๒. การวดั ความยาว -วิธสี อนตำมรูปแบบ ๓. ทักษะกำรนำควำมรู้ไปใช้ DLTV ๑. ทักษะกำรรวบรวมข้อมลู เปน็ เซนตเิ มตร ๒. ทักษะกำรวเิ ครำะห์ -วธิ ีสอนตำมรูปแบบ 3. ทักษะการเช่ือมโยง หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๓ เป็นเมตร DLTV 4. ทักษะกำรนำควำมรู้ไปใช้ ๑. ทักษะกำรรวบรวมข้อมลู ความยาว ๓. การเปรยี บเทียบ ๒. ทกั ษะกำรวเิ ครำะห์ ๓. ทักษะกำรนำควำมรู้ไปใช้ ความยาว ๑. ทักษะกำรรวบรวมขอ้ มูล เปน็ เซนติเมตร เป็น ๒. ทกั ษะกำรวเิ ครำะห์ ๓. ทกั ษะกำรนำควำมรู้ไปใช้ เมตร ๑. ทักษะกำรรวบรวมขอ้ มูล ๒. ทกั ษะกำรวิเครำะห์ 4. การแก้โจทย์ปญั หา -วธิ สี อนตำมรูปแบบ ๓. ทักษะกำรนำควำมรู้ไปใช้ การบวก การลบ DLTV เก่ยี วกบั ความยาวที่มี หน่วยเปน็ เซนตเิ มตร เปน็ เมตร ๑. กำรวัดน้ำหนกั โดย -วธิ สี อนตำมรปู แบบ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๔ ใชห้ น่วยท่ไี มใ่ ชห่ นว่ ย DLTV น้าหนกั มำตรฐำน ๒. กำรวัดน้ำหนักเปน็ -วิธีสอนตำมรปู แบบ กโิ ลกรมั เปน็ ขดี DLTV

๓. กำรเปรียบเทยี บ -วิธีสอนตำมรูปแบบ ๑. ทักษะกำรรวบรวมข้อมูล ๙ นำ้ หนกั เปน็ กิโลกรมั DLTV ๒. ทักษะกำรวิเครำะห์ 7 เปน็ ขดี 3. ทักษะการเชอ่ื มโยง 4. ทักษะกำรนำควำมรไู้ ปใช้ 6 ๔. กำรแกโ้ จทยป์ ัญหำ -วิธสี อนตำมรปู แบบ ๑. ทักษะกำรรวบรวมข้อมูล ๒. ทักษะกำรวเิ ครำะห์ 8 กำรบวก กำรลบ DLTV 3. ทักษะกำรนำควำมรไู้ ปใช้ 7 เก่ียวกบั นำ้ หนักที่มี ๑. ทักษะกำรรวบรวมข้อมลู 9 ๒. ทักษะกำรวิเครำะห์ ๑ หนว่ ยเป็นกโิ ลกรัม 3. ทักษะการนาความรู้ไปใช้ ๒๐0 เปน็ ขดี ๑. ทักษะกำรรวบรวมข้อมลู ๒. ทักษะกำรวเิ ครำะห์ ๑. ลกั ษณะของรูป วธิ สี อนตำมรปู แบบ 3. ทักษะการนาความรู้ไปใช้ สำมเหลีย่ ม รปู สเี่ หลย่ี ม DLTV ๑. ทักษะกำรรวบรวมข้อมูล ๒. ทักษะกำรวเิ ครำะห์ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 วงกลม และวงรี 3. ทักษะกำรนำควำมรูไ้ ปใช้ รปู เรขาคณิตสองมติ ิ และรูปเรขาคณิต 2. ลักษณะของทรง วิธสี อนตำมรูปแบบ สามมิติ ส่เี หลี่ยมมุมฉาก ทรง DLTV กลม ทรงกระบอก กรวย ๑. กำรอำ่ นแผนภูมิ วิธสี อนตำมรปู แบบ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 6 รูปภำพ DLTV สอบปลายภาค รวม

๑๐ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรือ่ งจานวนนับ 1-100 และ 0 เวลา 100 ช่ัวโมง เร่ือง กาจานวนนับ 1 เวลา 10 ช่วั โมง มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วัด มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลทเี่ กดิ ขึน้ จากการดาเนิน การ สมบตั ิของการดาเนิน การ และนาไปใช้ ตัวช้ีวัด ค 1 .1 ป.1/1 บอกจานวน ของสิง่ ต่าง ๆ แสดงสิง่ ต่าง ๆ ตามจานวน ที่กาหนด อ่านและ เขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทยแสดงจานวน นับ ไม่เกนิ 100 และ 0 สาระสาคญั ตัวเลข 1 เป็นสญั ลกั ษณใ์ ชแ้ ทนจานวนสงิ่ ของที่มจี านวนเทา่ กับหนง่ึ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) 1. เม่ือกาหนดสิ่งของหรือภาพที่มจี านวนหนึ่งใหส้ ามารถบอกจานวนไดถ้ ูกต้อง 2. สามารถอธิบายความหมายของตัวเลข 1 ได้ ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) 1. ใชว้ ิธกี ารทห่ี ลากหลายแกป้ ญั หา 2. ใชค้ วามรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแกป้ ัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม 3. ให้เหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ และสรุปผลไดอ้ ย่างเหมาะสม ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) ทางานเป็นระเบยี บเรียบร้อย รอบคอบ และมีความเช่อื ม่ันในตนเอง สาระการเรียนรู้ 1. จานวนหนง่ึ และตัวเลข 1 2. การบอกจานวน การอา่ นและการเขียนตัวหนงั สอื ตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทยแทนจานวน กระบวนการจดั การเรียนรู้ 1. ครูใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 2. ครยู กหนงั สอื ให้นกั เรียนดู 1 เลม่ บอกนักเรียนวา่ มหี นังสือ 1 เลม่ และให้นักเรยี นพูดตาม “หนงั สือ 1 เล่ม” จากน้ันเปลี่ยนเป็นสง่ิ ของอยา่ งอน่ื 3. ครูให้นักเรยี นยกสมุด 1 เล่ม พร้อมท้งั ใหบ้ อกวา่ “สมุด 1 เล่ม” จากนน้ั ให้นักเรียนเปลยี่ น เป็นส่งิ ของอยา่ งอื่น เช่น ดินสอ นิว้ มอื พร้อมทัง้ บอกว่า ดนิ สอ 1 แทง่ หรือนิ้วมือ 1 น้วิ และให้บอกจานวน ของส่ิงของน้นั ๆ วา่ มีจานวน 1 4. ครแู บง่ นกั เรยี นเป็น 2 กลมุ่ เพอ่ื ฝึกการถามและการตอบโดยใหน้ ักเรยี นบอกสิง่ ของภายใน ห้องเรียนทีม่ จี านวนเท่ากับหนึง่ โดยผลดั กันให้เวลา 10 นาที เชน่ กลุ่มท่ี 1: แสดงจานวนดินสอ 1 แท่ง กลมุ่ ท่ี 2: ชว่ ยกันคดิ และบอกว่า จานวน 1

๑๑ 5. นกั เรยี นชว่ ยกันช้บี อกจานวน 1 โดยดจู ากบัตรภาพแสดงสิ่งของตา่ งๆ เชน่ บัตรภาพรถยนต์ 6. บตั รภาพสัตว์ บัตรภาพผลไม้ หรือให้ดจู ากของจรงิ ทใ่ี กลต้ วั เชน่ ดนิ สอ ไมบ้ รรทดั ยางลบ เปน็ ต้น นักเรยี นปฏิบตั ติ ามคาสัง่ ครู เช่น ให้ชนู ิ้วมอื ตบมอื จับของจริง ชภู าพและสิ่งของอ่ืนๆ ที่มจี านวนเทา่ กบั หน่งึ และพูดออกเสยี งจานวนประกอบ 7. ครูนาภาพสิ่งของหลายสิง่ ท่ีมีจานวนเท่ากับหนึง่ มาให้นักเรียนบอกจานวนส่งิ ของเหลา่ นั้น 8. ครแู บ่งนกั เรียนกลุ่มละ 3 คน ออกมาเขียนภาพ ตัวเลข และคาอา่ นลงในกระดาษที่ครูแจกให้ กลุม่ ละ 1 แผน่ แขง่ ขันกัน 9. ครูอธบิ ายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจว่า “หน่ึง” เขยี นสัญลกั ษณแ์ ทนได้ “1” แลว้ เขียนตัวเลข 1 10. นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายสรุปวา่ “ตวั เลข” ใชแ้ ทนจานวนสิง่ ของตา่ งๆ และตวั เลข 1 ใชแ้ ทน สง่ิ ของหนึ่งส่ิงให้นักเรยี นอา่ นแล้วจดลงในสมุดว่า “ตวั เลข 1 คือสญั ลกั ษณ์แทนสิ่งของที่มีจานวนเทา่ กับหน่ึง” 11. นกั เรียนอธิบายแสดงความคิดเห็นถึงประโยชน์ที่ไดร้ บั จากการเรียนเรือ่ งจานวนหนงึ่ ในการ เรียนและการนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน เช่น การนับ การเขียน การบอกจานวนกับผูอ้ ่ืน 12. ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบเสริมเสริมทกั ษะ ส่ือการเรียนและแหลง่ เรยี นรู้ เครือ่ งมอื เกณฑ์ แบบฝึกเสริมทักษะ ใบงำน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น สังเกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนรำยบุคคล ร้อยละ ๖๐ อนิ เตอร์เน็ต การวดั และประเมินผล แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 3 ผา่ นเกณฑ์ วธิ กี าร ตรวจกิจกรรมชุดใบงำน ระดบั คุณภาพ สงั เกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล 3 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตควำมมีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมนั่ ในกำร ทำงำน อัตราสว่ นคะแนน = ๗๐ : ๓๐ คะแนนเก็บระหวำ่ งภำค : คะแนนปลำยภำค = ๗๐ : ๒๐ : ๑๐ K : P: A รวม ๑๐๐ คะแนน คะแนนเก็บกอ่ นสอบกลำงภำค = ๓๐ คะแนน สอบกลำงภำค = ๒๐ คะแนน คะแนนเก็บก่อนสอบปลำยภำค = ๒๐ คะแนน สอบปลำยภำค = ๓๐ คะแนน รวม = ๑๐๐ คะแนน

๑๒ ความเห็นของผบู้ ังคบั บัญชา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ)……….…………………..………………………… ( นางชญานท์ พิ ย์ โสขา ) ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นหว้ ยเปลวเงอื ก บนั ทึกผลหลังสอน 1. ผลการสอน ………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… ……………………………………..…………………………………………………………….……………………………………………………. 2. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………….…….…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………. 3. แนวทางแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (ลงช่อื )………….………………………….……… ( นายสรุ พล คอนหาว ) ครูผู้สอน

๑๓ ภาพผนวก ใบความรู้ จานวนหนึ่ง รูปที่กำหนดใหม้ ีอยู่ หน่ึง จำนวน เขียนแทนดว้ ยตวั เลขอำ รบิก และตวั เลขไทยไดด้ งั น้ี ตวั เลขอำรบิก 1 ตวั เลขไทย ๑ ตวั หนงั สือ หน่ึง ปลำ หนึ่ง ตวั ววั 1 ตวั กระต่ำย ๑ ตวั

แบบฝึ กเสริมทกั ษะท่ี 1 ๑๔ ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทบั ลงบนรูปที่แสดงจานวนหนึ่ง 2 ตวั อย่าง 2 1. ก ข 2. ค ก ข 3. ค 2 ก ข 2 4. ค กข ค

5. ข ๑๕ ข ก 2 6. ค ข ข 2 ก 2 7. ค 2 ก 8. ค ก ค

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะท่ี 1 ๑๖ ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทบั ลงบนรูปท่ีแสดงจานวนหน่ึง 2 ตวั อย่าง 2 1. ก ข 2. ค ก ข 3. ค 2 ก ข 2 4. ค กข ค

5. ข ๑๗ ข ก 2 6. ค ข ข 2 ก 2 7. ค 2 ก 8. ค ก ค

๑๘ แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2 กิจกรรมท่ี 1 ให้สังเกตการเขยี นตัวเลขแทนจานวน “หนึ่ง” ตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย กจิ กรรมที่ 2 ใหน้ ักเรยี นฝกึ เขียนตวั เลข 1, ๑ และตัวหนังสือ “หน่งึ ” ตามรอยประ เฉลย อยู่ในดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน

๑๙ แบบทดสอบกอ่ นเรียน คำชีแ้ จง ให้เขยี นเคร่ืองหมำย X ทับตัวอกั ษรหนำ้ คำตอบท่ีถูกตอ้ ง 1. ขอ้ ใดแสดงจำนวนห้ำ ก. ข. ค. 2. เขยี นแทนด้วยเลขใด ก. 2 ข. 3 ค. 4 3. ตัวเลขที่อยู่ระหว่ำง 3 กับ 5 ก. 2 ข. 3 ค. 4 4. ๓ อำ่ นว่ำอยำ่ งไร ก. สอง ข. สำม ค. ส่ี 5. ขอ้ ใดถกู ต้อง ก. 2 = 3 ข. 4 = ๔ ค. ๔ = ๕ 6. ข้อใดไมถ่ กู ต้อง ก. 0 = ๑ ข. 3 = ค. 5 = ๕ 7. ๓ ตรงกับข้อใด ก. ข. ค .

๒๐ 8. ศูนย์ ตรงข้อใด ข. 0 = ๐ ค. ก. 9. มคี ่ำเท่ำไร ก. 5 = ๕ ข. 4 = ๔ ค. 3 = ๓ 10. 1 , 5, 0 ขอ้ ใดถูกตอ้ งที่สุด ก. ๑ , หำ้ , 0 ข. หน่งึ , 0, ๔ ค. ๑, สอง, 5 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 1. ข 2. ข 3. ค 4. ข 5. ข 6. ก 7. ข 8. ข 9. ก 10.ก

๒๑ สงั เกตพฤติกรรมกำรเรียนรำยบุคคลีมควำม กระตือรือร้น ลำ กำรตอบคำถำม ดับ ช่อื – สกลุ ใน ั้ชนเรียน ที่ ีมควำมซื่อ ัสตย์ 321321321 ุสจริต 1 รวม 2 คุณภำพ 3 ่ผำน/ไ ่มผ่ำน 4 5 เกณฑ์กำรประเมิน 3 เกณฑ์กำรให้คะแนน 1 ประเดน็ กำรประเมิน นกั เรียนมีส่วนร่วมใน 2 นกั เรียนไม่มสี ว่ นรว่ ม การทากิจกรรมในชน้ั ในกจิ กรรมในชัน้ เรียน มคี วามกระตือรือร้น เรียนทุกคร้งั อย่าง นกั เรียนมีส่วนร่วมในการ เลย สม่าเสมอ ทากจิ กรรมในชน้ั เรยี น การตอบคาถามในชั้นเรยี น นกั เรยี นตอบคาถามใน เป็นบางครง้ั นักเรยี นตอบคาถามใน ชน้ั เรียนไดถ้ ูกต้องและ ชนั้ เรยี นไมถ่ ูกต้อง มคี วามซ่ือสตั ย์สุจรติ ชดั เจน นกั เรียนตอบคาถามใน นักเรียนทาแบบฝึกหดั ชัน้ เรยี นไดถ้ กู ต้อง นักเรียนลอก ด้วยตนเองไม่ลอก แบบฝกึ หัดเพ่ือน แบบฝึกหัดเพ่ือน นักเรียนทาแบบฝึกหัด ทงั้ หมด ท้ังหมด ด้วยตนเองและลอก แบบฝกึ หัดเพื่อน บางสว่ น

๒๒ เกณฑ์กำรตดั สินคณุ ภำพ ระดับคุณภาพ ดมี าก ได้ 7 - 9 คะแนน ระดับคณุ ภาพ ดี ได้ 4 – 6 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ ได้ 1 - 3 คะแนน สรุปผลกำรประเมิน นกั เรียนผา่ นเกณฑท์ ั้งหมด…………… คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. นักเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ทั้งหมด…………… คน คิดเปน็ ร้อยละ…………… ลงชือ่ ……………………………………..ผปู้ ระเมนิ (นายสรุ พล คอนหาว) แบบสังเกตคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ีม ิวนัย ใ ่ฝเรียนรู้ ลำ ุ่มง ั่มนในกำร ดบั ชื่อ – สกลุ ทำงำน ท่ี รวม 32 1 3 2 1 3 2 1คุณภำพ 1 ผ่ำน/ไ ่มผ่ำน 2 3 4 5

๒๓ เกณฑก์ ำรประเมนิ 3 เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน 1 ประเด็นกำรประเมิน นักเรยี นตง้ั ใจเรียน ไม่ 2 พดู คุยกันและไม่หยอก นักเรยี นตัง้ ใจเรยี น มวี ินยั ล้อกนั ในขณะทค่ี รู นักเรยี นต้ังใจเรยี น พดู คยุ กนั และหยอกล้อ กาลังทาการสอน พูดคุยกนั และหยอกล้อ กนั ในขณะท่ีครกู าลงั ใฝเ่ รียนรู้ ตลอดเวลา กนั ในขณะท่ีครูกาลังทา ทาการสอน ม่งุ มัน่ ในการทางาน นักเรียนมกี ารซักถาม การสอนบางคร้ัง ในเรอื่ งท่ีสงสัยและ นักเรยี นมีการซกั ถาม สามารถตอบคาถามได้ นักเรียนมีการซักถามใน ในเรือ่ งทส่ี งสัยและ ทง้ั หมด เรือ่ งที่สงสัยและสามารถ สามารถตอบคาถามได้ นักเรยี นตง้ั ใจเรียนและ ตอบคาถามได้บางสว่ น คอ่ นข้างนอ้ ย ทาแบบฝึกหดั ส่ง นักเรียนไม่ต้ังใจเรยี น ทันเวลาทกี่ าหนด นกั เรียนตงั้ ใจเรียนและ และทาแบบฝกึ หดั ไม่ ทาแบบฝกึ หัดส่งหลงั เสรจ็ ทันเวลา เวลาทก่ี าหนด เกณฑก์ ำรตัดสินคุณภำพ ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ได้ 7 - 9 คะแนน ระดบั คุณภาพ ดี ได้ 4 – 6 คะแนน ระดบั คุณภาพ พอใช้ ได้ 1 - 3 คะแนน สรุปผลกำรประเมิน นกั เรยี นผ่านเกณฑ์ท้งั หมด…………… คน คิดเป็นรอ้ ยละ……………. นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ท้ังหมด…………… คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………… ลงช่ือ……………………………………..ผูป้ ระเมนิ (นายสุรพล คอนหาว)

๒๔ แบบประเมินแบบฝกึ หัด ชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี 1 หน่วยกำรเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง เรอื่ งจานวนนับ 1-100 และ 0 พฤติกรรม/ทักษะกระบวนกำร ลำ แสดง คำตอบ ทำงำน รวม ผ่ำน/ไม่ คุณภำพ ดบั ช่ือ – สกลุ แนวคดิ ถกู ตอ้ ง เปน็ ผำ่ น ท่ี วธิ ีกำรหำ ระเบียบ คำตอบได้ 2 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 5 1 2 3 4 5 เกณฑก์ ำรประเมิน ประเดน็ กำรประเมิน กำรประเมนิ พฤติกรรม คะแนน 2 แสดงแนวคดิ วธิ กี ารหาคาตอบไดถ้ ูกต้อง ครบถ้วน 1 0 แสดงแนวคดิ วธิ กี ำรหำคำตอบได้ แสดงแนวคดิ วิธีการหาคาตอบไดถ้ ูกตอ้ ง ไม่ครบถว้ น 1 0 แสดงแนวคดิ วิธีการหาคาตอบได้ไมถ่ ูกต้อง 2 1 คำตอบถกู ตอ้ ง คาตอบถกู ต้อง 0 คาตอบไม่ถูกต้อง 5 ทางานเรยี บรอ้ ยดีมาก มีระเบียบ ทำงำนเปน็ ระเบียบ ทางานเรียบรอ้ ยดี มีระเบยี บ ทางานไม่เรียบรอ้ ย ไม่มีระเบียบ รวม

๒๕ คณุ ภำพกำรตัดสิน คะแนน 4 – 5 ระดับ ดีมาก คะแนน 2 – 3 ระดับ ดี คะแนน 0 – 1 ระดบั พอใช้ เกณฑ์กำรตดั สนิ กำรผำ่ น/ไมผ่ ่ำน คะแนน 3 – 5 = ผา่ น คะแนน 0 – 2 = ไมผ่ ่าน สรุปผลกำรประเมนิ นักเรยี นผ่านเกณฑท์ ั้งหมด…………… คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. นกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ท้งั หมด…………… คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………… ลงช่อื ……………………………………..ผ้บู นั ทกึ (นายสรุ พล คอนหาว)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook