Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชั้นบรรยากาศ

ชั้นบรรยากาศ

Published by เกษร คําฟู, 2021-10-27 13:22:32

Description: ชั้นบรรยากาศ

Search

Read the Text Version

บรรยากาศ (Atmosphere)

ทดสอบก่อนเรยี น

ความหมาย ❑บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง อากาศที่ห่อหุ้มโลกอยู่โดยรอบ อยู่ สูงจากพ้ืนโลกขึน้ ไปประมาณ 800-1,000 km ย่ิงสูงข้ึน ความหนาแน่น ของอากาศจะย่ิงน้อยลง ถัดจากชั้นบรรยากาศไป ก็คือ อวกาศ ซ่ึงเป็น บริเวณท่ไี มม่ ีอากาศอยูเ่ ลย

ฝุน่ ละอองในอากาศ บรรยากาศ ช่วยปรับ ชั้นโทรโพสเฟียร์ อณุ หภมู ิ ทาให้ เกิดปรากฎการณท์ าง ความสาคญั ของ แก๊สโอโซนใน บรรยากาศ บรรยากาศชนั้ สต ลมฟ้าอากาศ ช่วยป้องกัน ราโทสเฟยี ร์ อันตราย

อากาศ ❑ อากาศ คือ สวนผสมของ แกสตาง ๆ และไอนา้ สวนใหญ ไดแก กาซ ไนโตรเจน และกาซออกซิเจน นอกน้ันเปนแกส อืน่ ๆ ท่มี ีอยเู ปน็ จานวนนอย ไอนา้ ในอากาศทา ใหเกิดปรากฏการณตางๆ ทางลมฟา อากาศ เชน ฝน พายุ ฟาแลบ ฟารอง อากาศ ทีไ่ มมีไอน้า เรียกวา อากาศแหง สวน อากาศทีม่ ี ไอน้าปนอยู เรียกวา อากาศชื้น

❑ ส่วนประกอบของอากาศ สว่ นประกอบอากาศ รอ้ ยละโดยปรมิ าตร กา๊ ซไนโตรเจน 78.08 กา๊ ซออกซิเจน 20.95 กา๊ ซอารก์ อน 0.93 ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ 0.03 ก๊าซอ่นื ๆ 0.01

❑ อากาศ บรเิ วณใกลผวิ พ้นื โลกจะเปนอากาศช้ืน มีไอน้ารอยละ 0-4 โดยมวล หมายความวา ถานําอากาศมวล 100 กรมั มาวิเคราะหจะมีไอนําอยู ไมเกนิ 4 กรัม ถา อากาศมมี วล 1 กิโลกรัม จะมีไอนาํ 40 กรมั ❑ ปริมาณไอน้าในอากาศ ทําใหปริมาณแกสไนโตรเจนและแกสออกซิเจนเปลี่ยนแปลง ไปจาก เดิมเล็กนอย ปริมาณไอนํา ฝุนละออง และปริมาณแกสตางๆ ท่ีเปนสวน ประกอบ ของอากาศ มีปริมาณแตกตางกันตาม เวลา สถานที่ เชน บริเวณทะเลทราย จะมปี รมิ าณไอนํานอย



การแบง่ ช้ันบรรยากาศ เกณฑ์ทีใ่ ชแ้ บ่งชั้นบรรยากาศ ดงั น้ี 1. การใช้อุณหภูมขิ องอากาศ 2. ใช้สมบัติแกส๊ หรอื สว่ นผสมของอากาศเป็นเกณฑ์ 3. การใช้สมบัติทางอตุ ินยิ มวิทยาเป็นเกณฑ์

1.ช้นั โทรโพสเฟยี ร์ 2.ชัน้ สตราโตสเฟียร์ 3.ชน้ั มีโซสเฟยี ร์ 4.ชั้นเทอรโ์ มสเฟียร์ 5.ชั้นเอกซ์โซสเฟยี ร์

โทรโพสเฟยร(Troposphere) เป็นช้นั บรรยากาศท่อี ยูต่ ิดกับพืน้ โลก มีระดบั ความสูงที่ 0-10 km ชั้นนอี้ ุณหภมู ิจะลดลงตามความสงู ดว้ ยอัตราเฉลย่ี 6-7 C้ /km เพราะแหล่งพลงั งานความรอ้ นของชั้นน้คี อื พ้ืนโลกท่ดี ูดซับความร้อนจาก ดวงอาทิตย์ ดังนนั้ ยิง่ อยสู่ ูงพลงั งานความร้อนจากพื้นจึงแผ่ไปด้วย(ยงิ่ สูงจึงยิ่งหนาว) ช้นั นเ้ี ป็นชน้ั บรรยากาศทีม่ สี ิง่ มชี ีวติ อาศยั อยู่ ปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ของอากาศ เชน่ ลม เมฆ หมอก หิมะ พายุ จะ เกดิ ชน้ั นี้

สตราโทสเฟยร(startosphere) ชน้ั นมี้ รี ะดับความสูงท่ี 10-50 km เป็นที่อยู่ของโอโซน ������������ ซึ่งทา้ หน้าที่ดูดซับรังสี UV ไมใ่ หล้ งไปยัง พ้ืนโลกมากเกนิ ไป เครื่องบนิ บินทช่ี ัน้ ความสงู นี้เพราะสภาพอากาศแปรปรวนนอ้ ย โอโซนดา้ นบนจะดดู ซับรงั สี UV ไว้มากกวา่ โอโซนดา้ นลา่ ง ทา้ ให้อณุ หภูมขิ องดา้ นบนสงู กว่าดา้ นลา่ ง ท้าใหอ้ ณุ หภูมขิ องชั้นนี้ เพิ่มขึ้นตามความสงู โอโซโนสเฟียร์

ช้นั มีโซสเฟยร(Mesophere) ช้นั นี้มีระดบั ความสงู ท่ี 50-80 km มวลอากาศเบามากและไมด่ ูดซบั ความร้อน ดงั นนั้ อุณหภมู ิของชนั้ นจ้ี ะเท่าทุกความสูง แตอ่ ทิ ธิพลของชั้นสตราโทสเฟยี รด์ ้านล่างท่ดี ดู ซับความร้อนเอาไวแ้ ผก่ ระจายความรอ้ นมาก ทา้ ให้บริเวณท่ีติดกับช้ันสตราโทสเฟียร์ จะอุณหภมุ สิ ูงกวา่ บรเิ วณอนื่ เล็กนอ้ ย อุกกาบาตที่หลดุ เข้ามาในวงโคจรโลกมนั ถูกเผา ในชนั้ นี้

ชนั้ เทอร์โมสเฟยร(thermosphere) ชั้นนมี้ ีระดับความสงู ที่ 80-600 km เป็นชนั้ ท่ีอากาศมีการแตกตัวเป็นไอออน สามารถสะทอ้ นคล่นื วทิ ยุความถีไ่ ม่สงู มาก เชน่ 540 kHz -18 MHz ซึ่งเป็น ประโยชนใ์ นการสอ่ื สารระยะทางไกล (วทิ ยุ AM) บรรยากาศในชัน้ น้ีจะร้อนมาก ประมาณ 500-1,000 ้C ไอโอโนสเฟียร(์ ionosphere

ชน้ั เอกซ์โซสเฟยร(exosphere) ช้ันนี้มรี ะดบั ความสูงเร่ิมตั้งแต่ 500 km เปน็ ชน้ั บรรยากาศชน้ั นอกสุด ไม่มขี อบเขตชัดเจน บรรยากาศของชั้นน้ีจะคอ่ ยๆกลืนไปกับอวกาศ มวลอากาศชัน้ นเ้ี บาบางมาก มแี กส๊ H และ He ในปริมาณเล็กน้อย





2.ใช้สมบัติแก๊สหรอื ส่วนผสมของอากาศเปน็ เกณฑ์ ❑ โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) อยู่สูงจากพืน้ ดนิ 0-10 กโิ ลเมตร ส่วนผสมบรรยากาศ ที่สา้ คญั คอื ไอนา้ ❑ โอโซโนสเฟยี ร์ (Ozonosphere) อยู่สูงจาก พื้นดิน 15-55 กโิ ลเมตร สว่ นผสม บรรยากาศท่ีส้าคัญคอื โอโซน (O3)

2.ใชส้ มบตั ิแก๊สหรอื ส่วนผสมของอากาศเปน็ เกณฑ์(ตอ่ ) ❑ ไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere) อยสู่ งู จากพ้นื ดนิ 80-600 กิโลเมตร ส่วนผสม บรรยากาศที่สา้ คัญคือ อากาศ แตกตัวเปน็ ไอออน (Ion) ❑ เอกโซสเฟยี ร์ (Exosphere) อยู่สูงจากพ้นื ดนิ 600 กโิ ลเมตรข้นึ ไป สว่ นผสม บรรยากาศที่สา้ คญั คอื ความหนาแนน่ ของอะตอมตา่ งๆ มคี ่านอ้ ยลง

3. การใชส้ มบัติทางอตุ ินยิ มวิทยาเป็นเกณฑ์ ❑ บรเิ วณท่มี ีอทิ ธิพลของความฝืด อยูใ่ นชว่ งจากบริเวณพนื้ ผิวโลกจนถงึ ระดบั ความสงู ประมาณ 2 กโิ ลเมตร การไหลเวยี นของมวลอากาศในบริเวณน้ีไดร้ บั อิทธิพลจากความฝืดและจากลักษณะของพืน้ ผวิ โลก ❑ โทรโพสเฟยี ร์ช้ันกลางและชนั้ บน อุณหภูมิ ในบรรยากาศชน้ั นี้จะลดลงอยา่ ง สมา่้ เสมอตามระดบั ความสูงทเ่ี พ่ิมข้นึ ในชั้นน้อี ทิ ธิพลจากความฝืดจะมีผลต่อ การไหลเวยี นของ มวลอากาศนอ้ ยลงมาก

3. การใชส้ มบัติทางอตุ ินยิ มวิทยาเป็นเกณฑ์ ❑ โทรโพพอส เป็นช้นั บรรยากาศทอ่ี ยู่ระหว่างโทรโพสเฟียรแ์ ละสตราโตสเฟยี ร์ บรรยากาศในชัน้ นีเ้ ปน็ เขตท่แี บง่ ช้ันทมี่ ไี อน้าและไมม่ ีไอน้า ❑ สตราโทสเฟียร์เป็นชั้นบรรยากาศที่มีลักษณะเหมอื นกบั สตราโตเฟียร์ทีแ่ บง่ โดย ใช้ อณุ หภมู เิ ป็นเกณฑ์ ❑ บรรยากาศชัน้ สูง เปน็ ชัน้ บรรยากาศท่อี ยเู่ หนอื สตราโตสเฟียรจ์ นถึงขอบนอกสดุ ของ บรรยากาศ

เพลง บรรยากาศ เหมอ่ มองท้องฟ้ากเ็ หน็ เมฆลอยคลอ้ ยไป เธอร้หู รอื ไม่ว่าชนั นันคอื โทรโฟสเฟียร์ มไี อนาํ เมฆหมอกพายุฝนชมุ่ ฉ่าํ เธออยูท่ ่ีไหนก็ต้องพบเจอบรรยากาศนี ชันทีส่ องก็คือ สตราโทสเฟยี ร์ นันเอง เครือ่ งบนิ เขาชอบบนิ บนนันอากาศมันไม่แปรปรวน เมื่อมโี ซเฟยี ร์มาพรอ้ มกบั แสงอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ย์ ให้รเู้ ลยวา่ เขาสง่ ดาวเทียมไปโคจรรอบๆโลกของเราอยู่นัน แลว้ ชนั ท่สี ี่เธอรบู้ ้างมยั ว่าชันนนั คือ เทอรโ์ มสเฟียร์ ให้เธอรู้อีกชนั ว่านนั คือ เอกโซเฟยี ร์

แบบฝึกหดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook