Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ICID-Book_No.2_Final_10June2020_ISBN

ICID-Book_No.2_Final_10June2020_ISBN

Published by pichit_khumsap, 2020-06-12 00:35:33

Description: ICID-Book_No.2_Final_10June2020_ISBN

Search

Read the Text Version

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง 5.3.2 การสร้างแบบจา้ ลองฝน–นา้ ทา่ (Rainfall–Runoff Modelling) แบบจ้าลองอุทกวิทยาไม่คงที่ (Hydrological Unsteady Model) แบบกึ่งกระจายตัว (Semi– Distributed) และแบบลัมพ์ (Lumped) ถูกใช้ในกระบวนการน้าฝน–น้าท่าในลุ่มน้าในชนบท ท่ีซึ่งไม่มี อาคารควบคุมท่ีมนุษย์สร้างขึนในขณะที่เกิดน้าท่วม และลุ่มน้าในชนบทนันมีผลที่สามารถคาดคะเนได้ แบบจ้าลองเหล่านอี าจน้าไปใชใ้ นพืนที่ส่วนใหญ่ทมี่ ีข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือ และท่ีเหนือสิ่งอ่ืนใดเฉพาะในพืนท่ีท่ี กจิ กรรมต่าง ๆ ของมนษุ ย์มีบทบาทน้อยมาพิจารณา พารามิเตอร์บางตัวแบบจ้าลองประเภทลัมพ์ (Lumped Model) ซึ่งขึนอยู่กับคุณสมบัติทาง กายภาพนันอาจเปล่ียนแปลงค่าได้ตามผลของกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ถึงแม้ว่าความถูกต้องของการ พย า กร ณ์ข อง พฤ ติ ก ร ร มลุ่ มน้ า ห ลั ง จ า กที่ ได้ มี ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง จ ะ ล ด ล ง ต่้ า กว่ า เ มื่อ เ ป รี ย บ เ ทีย บ กั บ แบบจ้าลองอุทกพลศาสตร์ต่าง ๆ ก็ตาม แบบจ้าลองประเภทลัมพต์ ้องมกี ารสอบเทียบและตรวจพิสูจน์ผล อย่างรอบคอบ แบบจา้ ลองต่าง ๆ ต้องการข้อมูลน้าเข้าน้อย แต่ต้องมขี ้อมูลส้าหรับการสอบเทยี บและการ ตรวจพิสูจน์แบบจ้าลองจ้านวนมาก แบบจ้าลองประเภทลัมพ์ให้ค่าผลลัพธ์เฉพาะที่หน้าตัดล้าน้าที่ได้ ก้าหนดไวก้ ่อนแลว้ ซ่ึงเป็นท่ีซง่ึ มีข้อมลู ท่ีจะใช้ในการสอบเทยี บอยพู่ ร้อม (เช่น ระดับนา้ ความเรว็ กระแสน้า อัตราการไหลของน้า ซงึ่ ข้อมลู ทงั หมดเป็นฟังก์ชนั กบั เวลา) แบบจ้าลองประเภทกระจายตัว (Distributed Model) โดยทั่วไปแล้วจะแสดงให้เห็นถึงความผัน แปรของพารามเิ ตอร์ต่าง ๆ ทัว่ ทังลุ่มน้า คา่ ของตวั แปรทแ่ี สดงสถานะ (State Variables) และพารามเิ ตอร์ ต่าง ๆ จะถูกประเมินโดยอาศัยเครื่องมือ GIS มาช่วย (ด้วยการประยุกต์ใช้หลักการวิเคราะห์กริด (Grid Analysis)) แต่ละตารางกริดสี่เหลี่ยมของแบบจ้าลองจะมีค่าซึ่งได้จากหลักการวิเคราะห์กริด (Grid Analysis Procedure) แบบจา้ ลองประเภทกระจายตัวนา้ มาใช้ก็ตอ่ เม่ือ  พารามเิ ตอรท์ างอทุ กวิทยาและภมู ิอากาศผนั แปรอยา่ งมากในพืนท่ลี ุ่มนา้  ลักษณะภูมศิ าสตร์และสภาพภมู ิประเทศของพนื ท่ลี ุ่มน้าผันแปรอย่างมาก  กจิ กรรมของมนุษย์สง่ ผลกระทบในพนื ท่ลี ุ่มนา้  กระบวนการไหลของน้าในชันใต้ผิวดิน ( Subsurface Processes) มีความส้าคัญต่อ องคป์ ระกอบของการเก็บกักน้าและนา้ ท่าท่ไี หลเรว็ /ช้า 5.3.3 การสรา้ งแบบจา้ ลองชลศาสตร์ (อุทกพลศาสตร์) (Hydraulic (Hydrodynamic) Modelling) แบบจา้ ลองอุทกพลศาสตร์แบบดเี ทอรม์ ินิสติก (Deterministic Hydrodynamic Model) เหมาะ อย่างมากกับการสร้างแบบจ้าลองล้าน้าและอ่างเก็บน้า (Stream and Reservoir Modelling) และยิ่ง เหมาะสมอย่างมากกับการสร้างแบบจ้าลองการไหลบ่าบนผิวดิน ( Overland Flow Modelling) แบบจ้าลองเหล่านีมีความส้าคัญอย่างมากในการประเมินผลกระทบจากกิจกรรมมนุษย์ที่อยู่ใกล้กับระบบ แม่น้า หรือระบบระบายน้า แบบจ้าลองอุทกพลศาสตร์ต่าง ๆ มีประโยชน์ในการเปรียบเทียบการ 5–7

แพร่กระจายตัวของคลื่นน้าท่วมภายใต้เง่ือนไขของพืนที่ลุ่มน้าท่ีแตกต่างกัน การเปรียบเทียบจะถูก บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ประเมินถึงลักษณะส้าคัญต่าง ๆ (เช่น Q–อัตราการไหลของน้า (Discharge), D–ความลึก (Depth), H– ระดับน้า (Water Level), V–ความเร็วน้า (Velocity), Sq–อัตราการเคล่ือนท่ีของตะกอน (Sediment Transport Data)) การขยายความลกึ และ/หรอื ความกว้างของช่องทางนา้ (Deepening and/or Widening of the Channel) การตัดแนวโค้ง (Bend Cutting) การขยายความกว้างหรือการลดขนาดของพืนท่ีราบน้าท่วม ทางด้านข้าง (Widening/Constriction of Lateral Floodplain) การท้าให้มีความจุ (พืนท่ีเก็บกัก) ส้าหรับเก็บกักน้า (Storage Area/Retention Area) ได้ถูกน้าเสนอด้วยวิธีการเปล่ียนขนาดหน้าตัดล้าน้า การปรับปรงุ ความขรขุ ระของทางน้าและการผนั นา้ ผลกระทบในภาพรวมทังหมดของการเปลยี่ นแปลงต่าง ๆ เหลา่ นจี ะเห็นได้ชดั เจนจากการศึกษาเปรียบเทียบ (Comparative Study) (เปรยี บเทียบลักษณะส้าคัญ ต่าง ๆ ของสถานการณ์ปจั จุบันและการเปล่ียนแปลงคาดการณ์) แบบจ้าลองอุทกพลศาสตร์จ้าเป็นต้องท้า การปรับเทียบ (Calibration) และการตรวจพิสูจน์ความถูกต้อง (Verification) แบบจ้าลองเหล่านีแสดง กลุ่มของผลลัพธท์ โี่ หมดการคา้ นวณต่าง ๆ (โครงสร้างและ/หรอื หนา้ ตัดล้านา้ ต่าง ๆ) ในช่วงเริ่มแรกการสร้างแบบจ้าลองอาจเปน็ ลกั ษณะแบบ 1 มิติ โดยขันแรกจะสมมตุ ิให้กระแสน้า ตังฉากกับหนา้ ตัดของชอ่ งทางนา้ ท่ีจุดใด ๆ ของแม่น้า ตราบใดท่นี ้ายังไม่ไหลข้ามเข้าท่วมพืนท่ีราบน้าท่วม ถึง แบบจ้าลองเหล่านันยังคงแสดงถึงลักษณะจริงได้เป็นอย่างดี แต่จะไม่เป็นจริงเช่นนีเม่ือน้าเอ่อล้นข้าม ตล่ิงของช่องทางของแม่น้า อย่างไรก็ตาม ในบางกรณีอาจใส่ข้อมูลสภาพการไหลของน้าจากภายใน (Internal Flow Condition) เข้าไป ซึ่งท้าให้เป็นไปได้ที่จะจ้าลองปรากฏการณ์การเกิดน้าท่วมนีด้วย แบบจ้าลอง 1 มิติ1 กรณีดังกล่าวเกิดขึนได้หากพืนที่ราบได้กลายเป็นเหมือนอ่างเก็บน้า ณ จุดใดจุดหน่ึง โดยมีสภาวะการไหลเช่ือมต่อกับแม่น้ารอบ ๆ ด้าน ดังนัน เมื่อแม่น้าไหลล้นเข้ามาในท่ีราบดังกล่าว ทิศ ทางการไหลจะไม่ได้ขนานไปกับการไหลของแม่น้าอีกต่อไป ด้วยเหตนุ ี จึงไม่สามารถใช้แบบจ้าลองแบบ 1 มิติอย่างน่าไว้ใจได้ แบบจ้าลองแบบ 2 มิติ จึงถูกน้ามาใช้มากกว่าโดยน้าองค์ประกอบการไหลทัง 2 แนว ของกระแสน้ามาพิจารณา : ในแนวขนานและแนวตงั ฉากกับชอ่ งทางน้า แบบจ้าลองแบบ 1 มิติ โดยทั่วไปแล้วจะขึนอยู่กับสมการ Saint Venant อนุพันธ์ย่อยอันดับท่ี 2 (Second Order Partial Derivative) การใช้งานแบบจ้าลองต้องการกระบวนการทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ ที่แม้จะเป็นที่เข้าใจกันดีในปัจจุบัน แต่ก็ยังมีความซับซ้อนอยู่บ้าง ด้วยเหตุผลนี ในบางครังสมการต่าง ๆ จึงถูกท้าให้ง่ายขึนด้วยการก้าจัดเทอมที่พิจารณาว่ามีความส้าคัญน้อย ซ่ึงการกระท้าดังกล่าวได้น้ามาซ่ึง ข้อผิดพลาดและความคลาดเคล่ือนระหว่างข้อมูลตรวจวัด (Observed Data) และข้อมูลจากแบบจ้าลอง (Model Data) ในขณะท่ีสมการไหลต่อเนื่องและหลักทฤษฎีการอนุรักษ์โมเมนตัม ซึ่งเป็นสมการพืนฐานของ สมการ Saint Venant ยังต้องท้าเป็นแบบจ้าลองแบบ 2 มิติ การประยกุ ตใ์ ช้สมการดงั กลา่ วกบั แบบจ้าลอง มกั มีความยุง่ ยากกว่ามาก ด้วยเหตผุ ลนี โดยทั่วไปจึงน้าระบบที่เรียกว่า “ระบบเซลล์ (Cell System)” มา 1 หรือโดยชุดแบบจา้ ลอง 1 มิตทิ ที่ า้ งานแบบขนานกันไป 5–8

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ใช้ในพืนที่ศึกษา เช่น เม่ือแม่น้าและตลิ่งแม่น้าถูกแบ่งย่อยออกเป็นเซลล์ท่ีเชื่อมโยงทางชลศาสตร์กับอีก เซลล์โดยฝาย (Weir) ท่อลอด (Culvert) หรือสภาพการไหลในแม่น้า (River Flow Type Conditions) หรือการรวมกันแบบใดแบบหนึ่งของทังสาม ระดับน้าในเซลล์ถูกพิจารณาว่าเทา่ กัน ถึงแม้วา่ โดยธรรมชาติ แล้วมีความแตกต่างกันระหว่างเซลล์ก็ตาม ผลลัพธ์ก็คือกลุ่มสมการซ่ึงมตี ัวที่ไม่ทราบค่าเป็นค่าระดับเซลล์ (Cell Level) ไม่ว่าจะน้าแบบจ้าลองประเภทใดมาใช้ (แบบ 1 มิติ หรือแบบ 2 มิติ ก็ตาม) เราต้องไม่ละเลย ข้อเท็จจริงท่ีว่า ไม่มีปรากฏการณ์ทางธรรมชาติใดท่ีสามารถท้าความเข้าใจหรือเป็นตัวแทนได้โดย ปราศจากลักษณะของการย่อเอาเฉพาะใจความสา้ คัญ (Sort of Abstraction) เช่น ด้วยการน้าโครงสร้าง อย่างง่ายมาใช้แทนโครงสร้างท่ีเป็นจริงของปรากฏการณ์นัน และน่ีมักเป็นท่ีมาของข้อผิดพลาดในการ สรา้ งแบบจ้าลอง ยง่ิ ไปกวา่ นัน ยังมอี ีกหลายปญั หาท่คี าดวา่ จะเกิดขนึ ในการแก้ปญั หาทางคณติ ศาสตรด์ ้วย สมการ เช่น บอ่ ยครังทีม่ ีการแทนทสี่ มการในแบบจ้าลองด้วยสมการทง่ี ่ายกว่าซ่งึ ทา้ ให้เกิดข้อผิดพลาดมาก ยิง่ ขึน รวมทังความถูกต้องของพารามิเตอร์ต่าง ๆ ทไ่ี ดน้ ้าเข้าซ่งึ ผ้ใู ชแ้ บบจ้าลองไม่สามารถประเมินได้ทา้ ให้ เกดิ ความผิดพลาดขึน ในประเด็นดังกล่าวนี พารามิเตอร์ท่ีขัดแย้งกัน (Conflictive Parameter) ส่วนใหญ่แล้วคือ ค่า สัมประสิทธ์ิความขรุขระ (Hydraulic Roughness) ถึงแม้ว่าหนังสือคุณภาพดีเย่ียมหลาย ๆ เล่มเก่ียวกับ ชลศาสตร์จะให้ข้อมูลที่มีรายละเอียดของค่าสัมประสิทธ์ินีค่อนข้างมากส้าหรับสภาพภูมิประเทศท่ีมี ลักษณะความแตกต่างกนั แตก่ เ็ ป็นการง่ายมากที่จะเลือกค่าทีน่ า้ มาใชผ้ ิดพลาด ดว้ ยเหตุนี ในบางโอกาสจึง มคี วามพยายามทจี่ ะให้ไดม้ าซึ่งตวั เลขดงั กลา่ วด้วยการตรวจวดั จรงิ ในภาคสนามในแมน่ ้าโดยตรง อย่างไรก็ดี แม้กระทั่งตอนนี ปัญหายังคงอยู่พร้อมกับผลที่ตามมา เน่ืองจากสัมประสิทธิ์ความ ขรุขระของบริเวณตล่ิงที่ถูกน้าท่วมมีค่าไม่เท่ากันกับค่าสัมประสิทธ์ิของช่องทางน้า และที่แย่กว่านัน อาจจะเปล่ียนแปลงตามค่าระดับน้าที่เพ่ิมขึน และกลายเป็นตัวแปรท่ีขึนอยู่กับข้อมูลน้าท่วมท่ีน้าเข้าใน แบบจา้ ลอง (ดูกล่องข้อความ 5–1) อกี หนึ่งพารามเิ ตอร์ในพนื ที่ราบน้าท่วมถึงซึ่งส่งผลตอ่ ความขรุขระ คือ ระยะของการเจริญเติบโตของพืชในช่วงเวลาที่เกิดน้าท่วม (State of Vegetation) ค่าของพารามิเตอร์นี (ส้าหรับพืช ต้นไม้ พุ่มไม้หรือต้นไม้ใหญ่ชนิดใด ๆ) อาจผันแปรตามฤดูกาลและตลอดทังปีเมื่อไม่ได้มี มาตรการมาใช้ด้าเนนิ การ กล่องข้อความ 5–1 การศกึ ษาในเรื่องของแมน่ ้าทจ่ี า้ เปน็ และเกีย่ วข้องกบั การสรา้ งแบบจ้าลองอุทกพลศาสตร์ (River Studies Required in Relation to Hydrodynamic Modelling) พืนที่ราบน้าท่วมถึงด้านข้าง (Lateral Flood Plain) บ่อยครังมักมีขนาดความกว้างเป็นหลายเท่าของ ช่องทางของแม่น้าหลัก แต่มักจะสามารถล้าเลียงน้าได้ไม่มากกว่า 10–30% ของอัตราการไหลของน้า ท่วมทังหมด สาเหตุเกิดจากความขรุขระทางชลศาสตร์ (Hydraulic Roughness) สูงขึนจากปัจจัยของ พืชพันธ์ุในพืนที่ราบน้าท่วมถึงและส่ิงที่กีดขวางอื่น ๆ การเปล่ียนแปลงความกว้างที่ผิดปกติ คันกันน้า ในช่วงฤดแู ลง้ เป็นตน้ ท่ีชว่ ยเพิม่ ความต้านทานการไหลในพืนทีร่ าบนา้ ท่วมถึงอีกด้วย 5–9

การรู้ข้อมูลท่ีถูกต้องเกี่ยวกับความขรุขระทางชลศาสตร์ของช่องทางของแม่น้าและพืนท่ีราบน้าท่วมถึง บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ด้านข้างมีความส้าคัญในการได้มาของค่าระดับน้าตัวแทนที่น่าเช่ือถือได้ ความเร็วของกระแสน้าท่ี สัมพันธ์กันและการกระจายตัวของอัตราการไหลของน้า ซ่ึงต้องการความสัมพันธ์ระหว่างความขรุขระ (Roughness) กับองค์ประกอบของความขรุขระ (Roughness Elements) ท่ีสามารถประมาณค่านอก ชว่ งได้ มีความแตกต่างระหว่างความขรุขระของช่องทางของแม่น้าและในพืนท่ีราบน้าท่วมถึง ส้าหรับใน ช่องทางของแม่น้าพบว่า รปู สัณฐานของแม่น้ามบี ทบาทส้าคัญตอ่ คา่ ความขรุขระทพี่ บ ในขณะทีใ่ นพนื ที่ ราบนา้ ทว่ มถึงพชื พันธ์ุมีความสา้ คัญตอ่ ความขรขุ ระ การศึกษาเพ่ิมเติมถือได้ว่ามีความจ้าเป็นเก่ียวกับแรงเฉือนที่เกิดขึนตามแนวรอยต่อระหว่างช่องทางน้า และพืนท่ีราบน้าท่วมถึงซ่ึงท้าให้เกิดการไหลแบบปั่นป่วนรุนแรง การแยกของน้าวน ( Eddy Separation) ดังนัน ท้าให้เกิดการถ่ายเทและสูญเสียพลังงาน การส้ารวจภาคสนามและข้อพิจารณา ทางทฤษฎียนื ยันวา่ มีความลาดชันตามขวางในแม่น้าอยู่ ซงึ่ นี่ทา้ ให้เกดิ กระแสนา้ ตามขวางทีช่ ว่ ยเพ่ิมแรง ตา้ นทานทางชลศาสตร์ ความแตกต่างของเส้นแนวการไหลของกระแสน้าเฉล่ีย (Mean Flow Current Line) และเส้นแนวการไหลของกระแสน้าท่วม (Flood Flow Current Lines) มีผลกระทบทค่ี ล้ายคลึง กัน ในขณะทเ่ี ส้นแนวการไหลของกระเสน้าเฉล่ียส่วนใหญ่แกวง่ ไปมาระหว่างตลงิ่ แม่น้า แต่เส้นแนวการ ไหลของกระแสน้าท่วมขึนอยู่การวางแนวคันกันน้าท่วมในแนวราบ ซ่ึงนี่หมายถึงมวลน้าท่ีเคล่ือนตัวลง มาในแม่น้าหลักตัดผ่านกับการไหลในพืนท่ีราบน้าท่วมถึงซ้าไปซ้ามา ด้วยเหตุนี จึงเป็นการเพิ่มการ สญู เสีย ปัจจัยท่ีเป็นอุปสรรคก็คือ กระบวนการกัดเซาะ/การตกตะกอนที่เกิดขึนในแม่น้าต่าง ๆ ทังหมด แต่ยิ่งรุนแรงกว่าในช่วงเกิดน้าท่วม เม่ืออัตราการไหลของน้าเพ่ิมสูงขึนในช่วงแรกกระบวนการเกิดน้าท่วม ท้าให้ความสามารถในการกัดกร่อนก็เพิ่มสูงขึนและก่อให้เกิดการกัดเซาะ เมื่ออัตราการไหลของน้าลดลง การตกตะกอนจะเกิดขึน ซึ่งปัจจัยทังหมดเหลา่ นีสง่ ผลกระทบต่อสัมประสิทธ์ิความขรุขระและท่ีชัดเจนคือ หน้าตัดตามขวางของแม่น้า และอาจจะเปล่ียนแปลงผลลัพธ์ไปในขอบเขตที่ถกเถียงกัน ยังอาจจะจัดแบ่ง ประเภทของแบบจ้าลองบนพืนฐานท่ีว่าได้น้าค่าการกัดเซาะและการตกตะกอนและการเคล่ือนตัวของ ตะกอนมาค้านวณด้วยหรือไม่ เพ่ือหลีกเล่ียงการสร้างแบบจ้าลองและใช้งานแบบจ้าลองที่มีความซับซ้อน เกนิ ไป จึงมกั ใชแ้ บบจา้ ลองท้องน้าคงที่ (Fixed Bed Model) หากค้านึงลักษณะทางชลศาสตร์ (Hydraulic Regime) แบบจ้าลองอาจจัดแบ่งตามลักษณะของ หลักเกณฑ์คงท่ี (Permanent Regime) หรือหลักเกณฑ์ท่ีปรับเปลี่ยนได้ (Transitional Regime) โดยท่ัวไปแล้ว วัตถุประสงค์ต่าง ๆ ในการสร้างแบบจ้าลองมักต้องการแบบจ้าลองท่ีสามารถปรับเปล่ียน หลักเกณฑ์ได้ (Transitional Regime Model) ซึ่งมีความจ้าเป็นอย่างย่ิงในการศึกษาถึงน้าท่วมฉับพลัน เช่น น้าท่วมที่เกิดจากการวิบัติของเข่ือน (ดูหัวข้อย่อย 5.5.1) แต่ยังรวมถึงแต่ละช่วงเวลาที่รูปร่างของ ไฮโดรกราฟน้าท่วมเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยส้าคัญ เน่ืองจากการไหลของน้าผ่านช่วงแม่น้าช่วงใดช่วงหน่ึง หรือเนื่องจากการไหลของน้าท่ีขนานหรือตัดผ่านพืนท่ีราบน้าท่วมถึงด้านข้าง แบบจ้าลองที่มีหลักเกณฑ์ คงท่ีและทา้ ให้ง่ายลงถูกน้ามาใช้อนมุ านถึงสมั ประสิทธ์ิความขรุขระของชว่ งหนึ่งของแมน่ ้าจากข้อมูลดิบ ซ่ึง 5–10

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ทราบค่าโค้งอัตราการไหลของน้า (Discharge Rating Curve) จากการอ่านค่าที่เวลาต่าง ๆ ในช่วงท่ีการ ไหลของน้ามลี ักษณะทางชลศาสตร์คงที่ (Permanent Regime) ข้อสรุปที่ได้จากท่ีกล่าวมาข้างต้นคือ การใช้งานแบบจ้าลองเก่ียวข้องกับปัญหาท่ีหลากหลาย ดังนัน ความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้จึงขึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ไม่ว่าในเหตุการณ์ใด ๆ ก็ตาม แบบจ้าลอง ควรถูกเรียกใช้งานโดยบุคลากรเช่ียวชาญเฉพาะทางเท่านัน อย่างไรก็ดี มีกฎที่แนะน้าไว้ข้อหน่ึงคือ ความคลาดเคล่ือนของระดับน้าที่ได้จากแบบจ้าลองไม่ควรมากกว่ากว่าประมาณ 0.5 เมตร หรือค้าท่ีใช้ ในทางปฏบิ ตั ิคอื อย่างมากทส่ี ุดเทา่ กบั ความหนาของกระสอบทราย 5.3.4 แบบจ้าลองระบบ (Simulation Models) แบบจ้าลองระบบ (Simulation Models) (เชิงแนวคิดหรือกล่องด้า) ตามที่ระบุหัวข้อไว้ข้างต้น เช่ือมโยงพารามิเตอร์น้าท่วมท่ีได้คัดเลือกหนึ่งตัวหรือมากกว่านัน ซ่ึงได้มาจากอนุกรมน้าท่วม (Flood Series) หรือปริมาณน้าท่วม (Flood Flow) (ตามท่ีได้อธิบายพารามิเตอร์ต่าง ๆ ไว้ในบทท่ี 1) กับ รายละเอียดอ่ืน ๆ ท่ีสนใจ (เช่น พืนท่ีน้านอง (Inundated Area) หรือความเสียหายจากน้าท่วม (Flood Damage) อย่างไรก็ดี แบบจ้าลองระบบยังช่วยท้าให้สามารถเปรียบเทียบผลจากนโยบายการปฏิบัติงาน เพื่อเกบ็ กักน้าในแบบต่าง ๆ ได้ และยังนา้ มาใชใ้ นระบบท่ีซับซอ้ นซงึ่ เก่ยี วขอ้ งกับความสัมพันธ์ระหว่างการ เก็บกักน้าและแม่น้า โดยมีวัตถุประสงค์ในการด้าเนินงานต่าง ๆ ประกอบด้วย การจัดหาน้าการประปา การปอ้ งกนั น้าท่วม การผลิตไฟฟา้ พลังนา้ วตั ถปุ ระสงค์ทางด้านสิง่ แวดล้อมและอนื่ ๆ เราสามารถสร้างโค้งความน่าจะเป็นแบบมากกว่า (Exceedance Curve) ของปริมาณน้าท่ีมีอยู่ เพ่ือวัตถปุ ระสงค์ต่าง ๆ และสามารถสร้างเกณฑ์การปฏิบัติการอ่างเก็บน้า (Reservoir Operating Rules) อย่างมีประสิทธิภาพได้ด้วยการจ้าลองพารามิเตอร์ทเ่ี ลือกบางตัวของสภาพน้าท่วมจ้านวนมาก (และ/หรือ โดยทั่วไป : การไหลของนา้ ท่วม) (Flood Flow) 5.4 ขอ้ มูล : ความตอ้ งการและปญั หา (Data : Requirements and Problems) 5.4.1 ทว่ั ไป (General) การมีอยู่ของข้อมูล (Data Availability) ในพืนที่ลุ่มน้าเป็นข้อจ้ากัดที่มีความส้าคัญมากท่ีสุดใน การประยุกต์ใช้แบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์ในวงกว้าง เนื่องจากพฤติกรรมของลุ่มแม่น้าภายใต้สภาพของ การเกิดน้าท่วมสะทอ้ นให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกดิ ขึนทังหมดในช่วงระยะเวลาท่ีผา่ นมาในพืนที่ลมุ่ น้า โครงข่ายการติดตามทมี่ ีอยใู่ นลมุ่ น้าสามารถให้ข้อมูลที่ส้าคัญในเรื่องขนาด (Extent) ของการเปลื่ยนแปลง ของฟังก์ชันการตอบสนอง (Response Function) ของลุ่มน้าต่อปัจจัยฝนได้เปล่ียนแปลงไปในช่วง ระยะเวลาหนึ่ง แนวโน้มของอนุกรมเวลาของตัวแปรท่ีศึกษาอาจจะชีให้เห็นผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงบางอยา่ งท่ีเกิดขนึ ในล่มุ น้า แต่ข้อมูลตรวจวัดมคี วามส้าคญั มากกว่าในการปรับเทียบและการ ตรวจพิสูจน์แบบจ้าลอง แบบจ้าลองท่ีได้ปรับเทียบแล้วสามารถท้างานได้ดีกว่าในการเปรียบเทียบ พฤติกรรมของลุ่มน้า เนื่องจากผู้ใช้งานสามารถโหลดแบบจ้าลองท่ีเง่ือนไขการโหลดใด ๆ ก็ได้ โดยการใช้ งานไม่ได้ขนึ อยู่กบั เหตุการณ์ทีบ่ นั ทึกไวใ้ นอดีตเพียงอย่างเดยี ว 5–11

โค้งอัตราการไหลของน้า (Discharge Rating Curve) ท่ีสถานีตรวจวัดให้ตัวแปลงค่าข้อมูลที่ บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง สา้ คญั ทส่ี ุดบางอย่างเพอื่ ใช้ในการประเมินน้าท่วม (Flood Evaluation) โค้งอัตราการไหลของน้า (Rating Curve) บ่อยครังได้มาจากวิธีการดังเดิมมาก และตัวแปลงค่าข้อมูลนีอาจให้ข้อมูลที่ผิดทังหมดในการ ประเมินน้าท่วม ในหลาย ๆ กรณี ส่วนบนของโค้งอัตราการไหลมักจะมาจากการประมาณค่า (Extrapolation) โดยการตดั สนิ ใจที่เหมาะสมของวิศวกร ด้วยเหตผุ ลนี จงึ ได้แนะน้าให้ใช้แบบจ้าลองอุทก พลศาสตร์แบบ 1 มิติ และแบบ 2 มิติ เพ่ือสร้างโค้งอัตราการไหลของน้าท่ีหน้าตัดล้าน้าใด ๆ ที่มีลักษณะ ซับซ้อนภายใต้สภาพการไหลของน้าแบบไม่คงท่ี (Unsteady Flow Condition) Ingeduldova และคณะ ในปี ค.ศ. 1999 (Ingeduldova et al., 1999) ได้น้าเสนอถึงการศึกษาอย่างละเอียดในพืนที่ที่มีสถานี ตรวจวดั น้า Tynisti nad Orlici ของแมน่ ้า Orlici การศึกษาไดช้ ่วยในการประเมินโค้งอัตราการไหลของน้า ที่มีอยู่และด้าเนินการท้าข้อเสนอโครงการเพ่ือการปรับปรุงแม่น้าและพืนท่ีราบน้าท่วมถึง (River and Floodplain Improvement) เพือ่ ใหไ้ ด้มาซงึ่ โคง้ อัตราการไหลของนา้ ทม่ี คี วามถูกต้องมากกวา่ และมีความ เหมาะสมแม้ว่าจะอยใู่ นสภาวะการเกิดน้าทว่ มสงู โดยทั่วไปแล้ว เป็นส่ิงที่ค่อนข้างยากท่ีจะก้าหนดอย่างแน่ชัดลงไปถึงข้อมูลน้าเข้าที่ต้องการใช้ใน แบบจ้าลอง แบบจ้าลองมีหลากหลายรูปแบบและหลากหลายวัตถุประสงค์ในการน้าไปใช้ ซ่ึงท้าให้ยาก มากท่ีจะวางหลักเกณฑ์ท่ัวไปให้ครอบคลุมทุกสถานการณ์ ในเหตุการณ์ใด ๆ มีประเด็นท่ีคิดได้เป็นอย่าง แรกในเรื่องนี คือ “การใช้ข้อมูลน้าเข้าจ้านวนมากอาจให้ผลดีกว่า” แต่ก็ไม่ควรลืมประโยคที่ว่า “ใส่ขยะ เข้าไป ผลลัพธ์ก็เป็นขยะออกมา (Garbage In–Garbage Out)” ด้วย ผู้พัฒนาแบบจ้าลอง (Modeller) มักได้รับค้าแนะน้าที่ดีอยู่บ่อยครังเพื่อให้ต้องการข้อมูลน้าเข้าท่ีเป็นตัวแทนและมีความน่าเชื่อถือเท่านัน แม้ว่าจะท้าให้ได้จ้านวนข้อมูลน้อยลงก็ตาม ย่ิงไปกว่านัน ควรพยายามสร้างความเชื่อมั่นว่า ข้อมูลท่ีใช้ใน แบบจา้ ลองมีสดั ส่วนที่เหมาะสม และถือวา่ เปน็ เรือ่ งที่ไม่สมเหตสุ มผล ถา้ หากแบบจ้าลองที่พัฒนาขนึ โดยมี วัตถุประสงค์ท่ีจะศึกษาแม่น้าที่มีความยาว 100 กิโลเมตร โดยน้าเข้าข้อมูลหน้าตัดล้าน้าทุก ๆ ช่วง 20 เมตร ซ่ึงทจ่ี รงิ แลว้ ชว่ งระยะห่าง 1,000 เมตร กน็ ่าจะเพียงพอและให้ความถกู ตอ้ งในระดบั เดยี วกัน โดยข้อเท็จจริงแล้ว ค้าถามที่ส้าคัญที่สุดซ่ึงควรระบุเม่ือท้าการก้าหนดจ้านวนข้อมูลและคุณภาพ ของขอ้ มูลที่น้าเข้าในแบบจา้ ลองก็คอื วตั ถุประสงค์ทตี่ ้องการบรรลุผล การศึกษาถึงการเกดิ น้าทว่ มในพืนท่ี ป้องกันด้วยคันกันน้าแห่งหน่ึงจากเหตุการณ์วิบัติของเขื่อน กับการศึกษาเร่ืองของการเกิดน้าท่วมซ่ึงมี สาเหตจุ ากฝนที่ตกท่ัวทงั พืนท่ีบรเิ วณกว้างนนั มีแนวคิดที่แตกตา่ งกันทีต่ ้องการวธิ ีการแกไ้ ขตา่ งกัน ในแบบ แรกต้องการข้อมูลท่ีมีความแม่นย้าและเท่ียงตรง (โดยเฉพาะอย่างย่ิงเม่ือชีวิตของมนุษย์อยู่ในภาวะเส่ียง) ย่ิงไปกว่านัน ในเหตุการณ์วิบัติของเข่ือน ข้อมูลสภาพภูมิประเทศที่มีความละเอียดและถูกต้อง แม้แต่ บริเวณนอกช่องทางน้าหลัก และลักษณะดิน เป็นสิ่งจ้าเป็นมากกว่าข้อมูลการเกิดน้าท่วมที่ผ่านมาอย่าง มาก ในทางกลับกันการส้ารวจ(ศึกษา)การเกิดเหตุการณ์น้าท่วมในพืนที่กว้าง ๆ ข้อมูลน้าท่วมในอดีตเป็น สง่ิ จ้าเปน็ อยา่ งยิง่ 5.4.2 แบบจ้าลองฝน–น้าท่า (Rainfall–Runoff Model) แบบจ้าลองเชิงแนวคิด (Conceptual Model) เหล่านี (แบบจ้าลองลัมพ์ (Lump Model)) พยายามที่จะอธิบายวัฏจักรอุทกวิทยากับกระบวนการต่าง ๆ ท่ีสัมพันธ์กันทังหมด ฝนที่ตกในพืนท่ีลุ่มน้า 5–12

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง (รวมทังหิมะปกคลุมหากมี) ถูกแบ่งออกเป็นการระเหยและน้าท่า ซึ่งสามารถจัดแบ่งต่อออกเป็นส่วนของ น้าท่าท่ีไหลเร็ว (Fast Runoff Component) น้าในชันใต้ผิวดินท่ีไหลด้วยความเร็วปานกลาง (Medium Speed Interflow) และการซึมของน้า (Infiltration) ซึ่งช่วยเติมปริมาณน้าใต้ดินและท้าให้เกิดปริมาณ การไหลฐาน (Base Flow) แบบจ้าลองฝน–น้าท่าเชิงแนวคิดประเภทลัมพ์จ้าลองกระบวนการต่าง ๆ บน พนื ฐานของข้อมูลฝนในพืนที่ลุ่มน้า อุณหภูมิอากาศ และการระเหยของน้าท่ีอาจเกิดขึนได้ แบบจ้าลองจะ ใช้แหลง่ เก็บกักที่แยกออกจากกันระหว่างปริมาณน้าจากหิมะปกคลุม น้าผิวดิน น้าจากโซนรากพืชและน้า ใต้ดินในระหว่างการจ้าลองกระบวนการทางอทุ กวิทยา ข้อมูลท่ีต้องการส้าหรับแบบจ้าลองประเภทลมั พ์มี ดงั นี  ข้อมูลเชงิ พรรณนาเบืองตน้  ลักษณะพืนฐานของลุม่ น้า  สภาพขอบเขต  ขอ้ มูลฝนรายวนั –รายชั่วโมง  อุณหภมู ขิ องอากาศเฉลี่ยรายวนั ในโซนชนั ระดบั ความสงู  ขอ้ มลู การระเหยรายวันหรอื รายสบิ วนั ทอ่ี าจเกดิ ขนึ  ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่โหนดบริเวณขอบเขตทางด้านท้ายน้า (ด้านท้ายสุดของแบบจ้าลองท่ีสร้าง ขึน) ในรปู แบบของอนุกรมเวลาของตัวแปร (เชน่ Q = Q(t))  อนกุ รมเวลาสา้ หรับการปรับเทยี บและการตรวจพิสจู นแ์ บบจ้าลอง  อนุกรมเวลาของตวั แปรท่เี กย่ี วข้องในขอบเขตพนื ทีข่ องแบบจ้าลอง แบบจ้าลองประเภทลัมพ์หรือแบบจ้าลองเชิงแนวคิดอาจให้ผลลัพธ์ที่ดี อย่างไรก็ดี แบบจ้าลองนี ต้องการข้อมูลอนุกรมเวลาที่ค่อนข้างยาวในการปรับเทียบแบบจ้าลอง ซ่ึงจ้าเป็นต้องมีข้อมูลท่ีระยะเวลา ตอ่ เนื่อง 1 ปี ท่ีชว่ งเวลาตังแต่ 1 วนั ไปจนถงึ 3 ชั่วโมง ในการปรับเทยี บ และยังต้องมีข้อมูลอีกหนง่ึ ชดุ ใน ช่วงเวลาอ่ืนเพ่ือใชใ้ นการตรวจพสิ จู น์แบบจ้าลอง การจ้าลองระบบ (Simulation) ท้าได้ค่อนข้างเร็ว แต่จะให้ค่าข้อมูลผลลัพธ์ได้แต่เพียงท่ีหน้าตัด ปิด (สุดท้าย) ของพืนที่ลุ่มน้า ผลลัพธ์ของแบบจ้าลองลัมพ์ยังให้รายละเอียดของขอบเขตบน (Upper Boundary) ของแบบจ้าลองอุทกพลศาสตร์ และยังสามารถให้ค่าอัตราการไหลของนา้ ในพืนท่ีลุ่มน้าท่ีไม่มี สถานีตรวจวัดในชว่ งตอนกลางของแม่น้า ปัญหาที่สังเกตได้อยู่บ่อยครังเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์เพื่อใช้ในแบบจ้าลอง สภาพการไหลไม่คงท่เี ชิงแนวคิดในรูปแบบลัมพ์ ไดแ้ ก่  สถานีตรวจวัดน้าฝนมีเฉพาะผลรวมรายวันของข้อมูลฝนเท่านัน และยังมีสถานีตรวจวดั น้าฝน ไมเ่ พยี งพอครอบคลมุ ทังลุ่มน้า  ข้อมูลชุดของการระเหยของน้าท่ีอาจเกิดขึนมีอยู่ค่อนข้างน้อย ด้วยเหตุนี สูตรการค้านวณ ต่าง ๆ ทขี่ ึนอยู่กับอุณหภูมแิ ละพารามเิ ตอร์ท่เี กี่ยวข้องอ่ืน ๆ ซ่ึงถกู น้ามาใชแ้ ทนมีความถกู ต้อง นอ้ ยกว่า 5–13

 ความถูกต้องของโค้งอัตราการไหลของน้า (Discharge Rating Curve) ที่หน้าตัดล้าน้าเปิด บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง และขอ้ มลู ชุดของหน้าตัดล้าน้านีผันแปรแตกตา่ งกนั มาก  ข้อมูลปรับเทียบแบบจ้าลองภายในพืนที่ทสี่ นใจมีระดับความถูกต้องแตกต่างกัน และบ่อยครัง มีความคลาดเคลื่อนอยา่ งมาก 5.4.3 แบบจา้ ลองชลศาสตร์ (อทุ กพลศาสตร์) (Hydraulic (Hydrodynamic) Models) 5.4.3.1 ขอ้ อภปิ รายทัว่ ไป (General Discussion) ข้อมูลท่ีใช้ในการสร้างแบบจ้าลองสามารถจัดแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ (1) ข้อมูลสภาพภูมิ ประเทศ (Topographic Data) และขอ้ มูลทางอุทกวิทยา/ชลศาสตร์ (Hydrological/Hydraulic Data) ในทางกลับกัน ข้อมูลสภาพภูมิประเทศ (Topographic Data) สามารถจัดแบ่งย่อยทาง แนวคิดออกเป็น 2 ประเภทคือ (1) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) และ (2) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Qualitative Data) แบบแรกหมายถึงรายละเอียดของแม่น้าและลักษณะก้าหนดที่ประกอบด้วย แม่น้า สาขา คันกันน้าทว่ มทม่ี ีอยู่ สะพานลอยข้ามถนนหรือทางรถไฟ พนื ที่สงู พืนที่ลุ่ม และเขตน้าท่วม ฯลฯ ซึ่ง ข้อมูลเหล่านีช่วยให้เข้าใจถึงลักษณะของแม่น้าและเป็นพืนฐานในการก้าหนดระดับของรายละเอียดของ ข้อมลู สภาพภูมปิ ระเทศเชงิ ปริมาณ (Quantitative Topographic Data) ขอ้ มลู สภาพภมู ิประเทศเชิงปรมิ าณ (Quantitative Topographic Data) หมายถึง หน้า ตัดตามแนวยาวของแม่น้าตามแนวตลิ่งและคันกันน้า และหน้าตัดขวางของช่องทางน้าและขอบเขตของ เขตพืนท่ีน้าท่วม ข้อมูลดังกล่าวนีได้มาจากแผนท่ีท่ัวไป หรือรวบรวมมาจากการส้ารวจสภาพภูมิประเทศ ด้วยหน่วยส้ารวจอิสระ หน้าตัดตามแนวยาวควรต้องสามารถแสดงทังเส้นที่จ้ากัดขอบเขตของระดับน้า ปกติและเขตน้าท่วมทังสองเส้น ข้อมูลเหล่านีควรรวบรวมไม่แต่เพียงจากแม่น้าสายหลักเท่านัน แต่ควร ครอบคลุมแม่นา้ สาขาในพืนทีส่ ้ารวจ หน้าตัดล้าน้าตามแนวขวางโดยทั่วไปแล้วมักส้ารวจท่ีระยะห่างระหว่างจุดตรวจวัดเป็น ช่วงเท่า ๆ กันมากหรือน้อยก็ได้ ยกเว้นกรณีต้องการข้อมูลท่ีจดุ ตรวจวัดพิเศษหรือในพนื ที่ทรี่ ะบุ ระยะหา่ ง เฉล่ียขึนอยู่กับความแม่นย้าที่ต้องการและความลาดชันของพืนที่ราบหุบเขา ส่วนใหญ่แล้ว หน้าตัดของ พนื ทเ่ี ขตน้าท่วมจะตรวจวัดทีร่ ะยะหา่ งตังแต่ 1–10 กโิ ลเมตร และที่หน้าตดั ท่ีจ้ากัดสว่ นของช่องทางนา้ ซ่ึง จะมีการไหลล้นเปน็ ปกติ จะทา้ การตรวจวัดทร่ี ะยะหา่ งตังแต่ 200–5,000 เมตร การผสมผสานกันของหน้าตัดตามแนวยาวและตามแนวขวางอาจไม่เพียงพอ อย่างไรก็ ตาม ส้าหรับการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับแบบจ้าลองแบบ 2 มิติ ซ่ึงลักษณะภูมิประเทศถูกแบ่งออกเป็นกริด เซลล์โดยมีเจตนาและวัตถุประสงค์ในการค้านวณ โดยแต่ละกริดเซลล์มีความสัมพันธ์ระหว่างกันทางชล ศาสตร์ด้วยโครงสร้างฝาย ท่อลอด หรือการจ้าลองระบบแม่น้า จริง ๆ แล้วเซลล์เหล่านีไม่ได้มีอยู่จริงแต่ เป็นการจ้าลองปรากฏการณ์นีลงในแผนที่โดยใช้สเกลที่เหมาะสมส้าหรับข้อก้าหนดที่ต้องการ พูดกัน โดยทว่ั ไปได้ว่า เสน้ ชนั ความสูงควรมรี ะยะห่างระหว่างกนั ประมาณ 1 เมตร เพ่ือใชใ้ นการค้านวณระดับน้า 5–14

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ที่มีความถูกต้องในช่วง 50 เซนติเมตร ซึ่งน้ามาสู่การใช้แผนท่ีที่มีมาตราส่วนประมาณ 1 : 10,0002 (ทังนี ขึนอยู่กับความลาดในพืนที่) อย่างไรก็ดี ประสบการณ์แสดงให้เห็นว่า แผนที่ท่ีมีมาตราส่วนขนาดเล็กก็ สามารถน้ามาใช้งานในแบบจ้าลองเหล่านีได้อย่างประสบผลส้าเร็จ หากเพ่ิมเติมด้วยการส้ารวจสภาพภูมิ ประเทศทีจ่ ดุ เฉพาะต่าง ๆ เส้นโค้งความสูง/ปริมาณ (Height/Volume Curve) ของน้าทั่วทังพืนที่ราบซึ่งเป็นตัว แปรพืนฐานในแบบจ้าลองระบบจะถูกอนุมานจากข้อมูลท่ีได้กล่าวข้างต้น ในประเด็นนีต้าแหน่งและ รายละเอียดของงานโครงสร้างทส่ี า้ คัญท่ีส่งผลตอ่ การไหลของกระแสนา้ เช่น สะพาน ฝาย ทอ่ ลอด และอ่ืน ๆ เพ่ือก้าหนดลักษณะทางชลศาสตร์ของโครงสร้างเหล่านัน และใส่รายละเอยี ดของการท้างานของอาคาร เหล่านันในแบบจา้ ลอง ข้อมูลทางอุทกวิทยา/ชลศาสตร์ (Hydrological/Hydraulic Data) อาจแบ่งได้เป็นหนึ่ง หรือสองกลุ่ม ในทางหน่ึงส่วนใหญ่จะก้าหนดเป็นข้อมูลสภาพขอบเขต (Boundary Condition Data) และอีกกลุ่มหนึ่งเป็นข้อมูลอัตราการไหลและความลึกของน้า (Discharge and Depth Data) ซึ่งโดยส่วน ใหญ่แล้วถกู นา้ ใชห้ าค่าสัมประสิทธ์คิ วามขรุขระในแบบจ้าลองทางอ้อมและใช้ในการปรับเทียบแบบจ้าลอง ข้อมูลเส้นระดับความลึกและอัตราการไหลของน้าเป็นส่ิงจ้าเป็นเพื่อให้แบบจ้าลองสามารถท้างานได้ โดย ควรมขี ้อมูลของล้าน้าสาขามาใช้รว่ มด้วย สัมประสิทธ์ิความขรขุ ระสามารถหาค่าไดห้ ากมเี ส้นโคง้ อัตราการ ไหลของน้า (Discharge Rating Curve) ที่จุดท่ีเป็นไปได้ทังหมดตามแนวยาวของช่องทางน้าหลัก3 ในบาง ประเทศอาจจ้าเป็นที่จะต้องท้าการส้ารวจสภาพภูมิประเทศเป็นการเฉพาะเพื่ออ้างอิงสถานีต่าง ๆ กับ จุดเริ่มต้นร่วม ย่ิงไปกว่านัน การเกิดการกัดเซาะหรือการตกตะกอนตรงจุดหน้าตัดล้าน้าใด ๆ หลังจาก เวลาท่ีได้สร้างเส้นโค้งอัตราการไหลของน้า (Discharge Rating Curve) ควรได้รับการตรวจสอบเพื่อขจัด ความคลาดเคล่ือนทเ่ี ป็นไปได้ ข้อมูลทางชลศาสตร์เปน็ สิ่งสา้ คญั ในการปรับเทยี บแบบจา้ ลอง สิง่ ที่นักพัฒนาแบบจา้ ลอง ต้องการในอุดมคติก็คือ อนุกรมของตัวเลขความลึกน้าในช่องทางน้าสายหลักในระหว่างกระบวนการเกิด น้าท่วมทังหมด ตรงจุดท่ีใกล้พอทีใ่ หข้ ้อสรุปเกี่ยวกับความเร็วของคล่ืนนา้ ทว่ ม รวมทังการอา่ นค่าอัตราการ ไหลของน้าที่แน่นอนในช่วงแมน่ ้าต่าง ๆ (ดูตวั อย่างในหวั ขอ้ ย่อย 5.5.3) ในทางตรงข้าม อนุกรมเวลาระยะ ยาวในอดีตของข้อมูลอัตราการไหลของนา้ สูงสุดไม่มีประโยชน์ในการปรับเทียบแบบจ้าลอง เน่ืองจากส่ิงท่ี นักพัฒนาแบบจ้าลองต้องการคือข้อมูลในรายละเอียดของน้าท่วมในครังนันโดยเฉพาะ อนุกรมเวลาระยะ ยาวในอดตี ของข้อมูลความลึกน้าหรืออัตราการไหลของนา้ เป็นส่ิงมีคา่ ทางสถิตอิ ยา่ งไม่ต้องสงสัย แต่ข้อมูล เหลา่ นีใช้งานค่อนขา้ งน้อยในการสร้างแบบจ้าลองประเภทนี เน่ืองจากอัตราการไหลของน้าในช่องทางน้าสายหลักและความเร็วของกระแสน้า โดยทั่วไปแล้วมีลักษณะแตกต่างอย่างมากกับค่าที่เกิดขึนในพืนที่ราบน้าท่วมถึง นักพัฒนาแบบจ้าลองจึง 2 ค่าที่เสนอแนะนีบง่ บอกถึงสภาพภูมปิ ระเทศท่ีมีลกั ษณะเป็นภูเขามากหรือน้อย ในพนื ที่ราบลุ่มต้า่ ตามแม่นา้ ยกตัวอยา่ ง เช่น ท่ีพบไดใ้ นประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ ใครๆ ใชค้ า่ ระดบั ทมี่ ีความถกู ตอ้ ง ±0.10 เมตร และ แผนทีภ่ ูมิประเทศ 1 : 5,000 3 ดกู ลอ่ งข้อความ 5–1 5–15

ต้องการข้อมูลอัตราการไหลของน้าและทิศทางของกระแสน้าท่ีมีการตรวจวัดอยู่บ่อยครังเพ่ือน้ามาใช้ บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง กา้ หนดกระบวนการของการเกิดนา้ ท่วม 5.4.3.2 ขอ้ กา้ หนดเฉพาะและปญั หาท่ีเกี่ยวข้อง (Specific Requirements and Related Problems) แบบจ้าลองทางชลศาสตร์ (อุทกพลศาสตร์) ส้าหรับใช้ในการจ้าลองสภาพการไหลแบบ ไม่คงท่ีตอ้ งการขอ้ มลู ในกล่มุ ต่อไปนีเพื่อใชก้ า้ หนดรูปแบบของแบบจา้ ลอง :  ข้อมลู รายละเอียดพืนฐาน (Basic Descriptive Data)  หน้าตัดตามแนวขวางช่วงแม่น้า (บ่งบอกถึงพืนที่ระหว่างหน้าตัดตามแนวขวาง); ข้อมูลได้มาจากการส้ารวจหรือด้วยวิธีอัลตราซาวด์ (Ultrasound Method); ข้อมูลประกอบด้วยรายละเอียดความขรุขระทางชลศาสตร์ของท้องน้าและตลิ่ง แม่น้า; รายละเอียดของส่ิงกีดขวางและลักษณะเฉพาะอ่ืน ๆ (วิธีการส้ารวจ ระยะไกล (Remote Sensing Method) ไม่สามารถให้รายละเอียดของข้อมูล เหลา่ นี)  โครงสร้างในช่องทางแม่น้า (ฝาย เขื่อน ท่อลอด สะพาน) ท่ีมีรายละเอียดและ ลกั ษณะของการปฏบิ ัติการ  ข้อมูลพืนที่ราบน้าท่วมถึง (Floodplain Data) ในรูปแบบของหน้าตัดตามแนว ขวางหรือ DMT (โครงสร้างในพืนท่ีราบน้าท่วมถึง เช่น ถนน ทางรถไฟ คันดิน อาคาร รัว รายละเอียดของพนื ที่ราบน้าท่วมถงึ –หน้าตัดตามแนวขวางในพืนที่ราบ น้าท่วมถึงส้าหรับใช้เป็นชอ่ งทางน้า)  รายละเอียดของโครงข่ายแม่น้า (River Network Description) ในลักษณะของ พกิ ัด  แผนท่กี ารใช้ทด่ี นิ (Land Use Map)  แผนท่ีทว่ั ไป (General Mapping) ที่มขี อ้ มลู ทเ่ี ก่ยี วข้อง  แผนทภี่ ูมิหลัง (Background Mapping)  สภาพขอบเขต (Boundary Conditions)  ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องในบริเวณขอบเขตทางด้านท้ายน้า (ตอนล่างหรือจุดสินสุดของ แบบจ้าลองท่ีสร้างขึน) โหนดต่าง ๆ ในรูปของอนุกรมเวลาของตัวแปรต่าง ๆ (เชน่ H = H(t)) ;  ข้อมูลเก่ียวกับขอบเขตทางด้านเหนือน้า (ตอนบนของแบบจ้าลองที่สร้างขึน) โหมดตา่ ง ๆ ในรปู ของอนกุ รมเวลาของตัวแปรหน่ึง ๆ (เชน่ Q = Q(t))  อนกุ รมเวลาสา้ หรับการปรบั เทียบและการตรวจพิสจู น์ (Time Series for Calibration and Verification)  อนกุ รมของตวั แปรทีเ่ กย่ี วข้องตา่ ง ๆ ตรงขอบเขตของแบบจา้ ลอง 5–16

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง  ข้อมูลที่เป็นไปได้ทังหมดเกี่ยวกับตัวแปรต่าง ๆ ในแบบจ้าลอง (ระดับน้า อัตรา ไหลของน้า ความเร็วนา้ ทตี่ า้ แหน่งต่าง ๆ) ขอ้ มลู ควรครอบคลุมชว่ งเวลาของการ ปรบั เทียบทม่ี ลี กั ษณะกลมกลนื เท่าที่จะเป็นไปได้ ข้อมลู ทไี่ ดอ้ ธบิ ายไว้ข้างต้นบ่อยครังจะมีอยู่แต่ความถูกต้องและความกลมกลนื ของข้อมูล อาจเป็นปัญหาได้ ปัญหาท่ีสังเกตได้บ่อยครังมักเกิดขึนจากการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ใน แบบจ้าลองอทุ กพลศาสตร์ดังนี  ข้อมูลที่หน้าตัดตามแนวขวางต้องได้รับการส้ารวจเพ่ือใช้ในวัตถุประสงค์ท่ี แตกต่างกันซึ่งอาจผันแปรในแง่ของความถูกต้องและยุคสมัย และข้อมูล บางอยา่ งอาจจะไมเ่ คยตรวจพิสูจนค์ วามถกู ต้องมาก่อน  แผนท่ีต่าง ๆ อาจไม่เหมาะสมส้าหรับการพัฒนาแบบจ้าลอง เน่ืองจากบ่อยครังที่ ความถกู ตอ้ งของระดับความสงู และระยะห่างอาจไม่เพยี งพอ  เส้นโค้งอัตราการไหลของน้า (Rating Curve) ที่สถานีตรวจวัดอาจไม่ถูกต้อง ในช่วงเกณฑ์การไหลของน้าส่วนบน (Upper Regime of Flow) เน่ืองจากการ ประมาณการนอกชว่ ง (Extrapolation) อยา่ งงา่ ย  การปรับปรุงโครงสร้างทางชลศาสตร์และแม่น้า (Hydraulic Structures and River Improvement) ไม่ได้ด้าเนินการตามข้อก้าหนดในการออกแบบ และ แบบก่อสร้างแต่ก็มีอยู่ในรูปของแฟ้มเอกสารและถือเป็นแบบที่ได้ก่อสร้างจริง (As Built Situation)  แม้แต่วิธีการส้ารวจระยะไกลด้วยภาพถ่ายทางอากาศขันสูงมาก ก็ยังเกิดความ ผิดพลาดได้  ไมม่ ขี อ้ มูลเกยี่ วกับปรากฏการณก์ ารเคลื่อนตวั ของตะกอน  ข้อมูลปริมาณน้าไหลเข้า (Inflow) จากหุบเขาด้านข้าง (แม่น้าสาขา) และ ปริมาณนา้ ใต้ผวิ ดนิ (Interflow) ไมไ่ ดถ้ กู บันทึกไว้เลย  การรวบรวมข้อมูลและการตรวจวัดเป็นการเพ่ิมคา่ ใช้จา่ ยของโครงการและท้าให้ การปรับเทียบแบบจ้าลองการทดสอบและการเผยแพร่แบบจ้าลองท้าไดช้ า้ ลง  ข้อมูลปรับเทียบท่ีจัดท้าเป็นการเฉพาะ (Ad–hoc Calibration Data) ในพืนท่ีที่ สนใจอาจมรี ะดบั ของความถูกตอ้ งแตกต่างจากสถานตี รวจสอบหลัก (Backbone Monitoring Stations) และอาจมีความคลาดเคล่อื นสงู Weiman และ Mein ในปี ศ.ศ. 1999 ได้แบ่งแหล่งท่ีมาของความคลาดเคลื่อนออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี  การมอี ยู่อย่างจา้ กดั ของขอ้ มลู พนื ฐาน  ขอ้ สมมุตฐิ านท่ีงา่ ยไปในขนั ตอนการศึกษา 5–17

 แบบจ้าลองแบบงา่ ยที่ใชเ้ ป็นตัวแทนของลุ่มน้า บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง  ขอ้ มลู ออกแบบสา้ หรบั พารามเิ ตอรข์ องแบบจา้ ลองไม่พอเพยี ง  ความเช่ียวชาญของนกั พฒั นาแบบจา้ ลองมีไม่เพยี งพอ นอกเหนือจากอุปสรรคเหล่านี ความไม่แน่นอนในระดับสูงเป็นสภาพท่ีเป็นจริง และ สะท้อนถึงปฏิสัมพันธ์ท่ีซับซ้อนของปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเกิดน้าท่วม ในแนวทางการบริหาร จัดการน้าท่วมบนพืนฐานความเสี่ยง (Risk–Based Flood Management Approach) Weiman และ Mein ได้อา้ งวา่ ความไม่แน่นอนในระดับกลางจะไมส่ ่งผลกระทบร้ายแรงหากมาตรฐานของการออกแบบที่ พัฒนาขึนมีลักษณะใกล้เคียงกับการป้องกันท่ีเหมาะสมท่ีสุดในทางเศรษฐศาสตร์ อย่างไรก็ดี เมื่อเส้นโค้ง ต้นทุน (Cost Curve) มีลักษณะชัน (ที่ระดับเกณฑ์ (Threshold Level)) การตัดสินใจมักอ่อนไหวต่อ ความคลาดเคลอื่ นในการประเมนิ ความเสี่ยงหรอื ขนาดของน้าท่วม 5.5 เหตุการณป์ ระวตั ศิ าสตร์ (Case Histories) เพื่อท่ีจะแสดงให้เห็นถึงความส้าคัญของการสร้างแบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์อุทกพลศาสตร์ใน การบริหารจัดการนา้ ท่วมเหตกุ ารณป์ ระวตั ศิ าสตร์ต่าง ๆ ถกู น้าเสนอดงั ตอ่ ไปนี 5.5.1 สเปน : การปรบั เทียบคลน่ื จาการพงั ทลายของเข่ือน (Spain : Calibration of Dambreak Wave)4 การปรับเทียบแบบจ้าลองของปริมาณน้าสูงสุด (Extreme Flow) ในเหตุการณ์ต่าง ๆ ส่วนใหญ่ นับเป็นปัญหาหน่ึงเน่ืองจากข้อมูลในอดีตท่ีมีอยู่โดยปกติแล้วจะบ่งบอกถึงช่วงอัตราการไหลของน้าท่ีมี ขนาดเล็กกว่าท่ีคาดการณ์ ซ่ึงหมายถึงแบบจ้าลองต่าง ๆ สามารถปรับเทียบได้เพียงค่าอัตราการไหลของ น้าทีมีค่าน้อย และในท่ีสุดการใช้งานจะอาศัยหลักการประมาณการนอกช่วง (Extrapolation) เกือบ ตลอดเวลา อย่างไรก็ดี มีกรณีตัวอย่างซึ่งโชคดีไม่ใช่กรณีเช่นนันหนึ่งตัวอย่างก็คือ เหตุการณ์น้าท่วมใน Ju’car ประเทศสเปนที่ศึกษาไว้โดยใช้แบบจ้าลองกริดเซลล์แบบ 2 มิติ Gisplana (Gisplana Two Dimensional Cell Model) โดยศูนย์การศึกษาอุทกศาสตร์ (Centre of Hydrographic Studies) ใน กรงุ มาดริด แบบจ้าลองนีถูกสร้างขึนและใช้ในการศึกษาถึงผลกระทบของการวบิ ัติของเขื่อน Tous ในปี ค.ศ. 1982 ซึ่งไม่เพียงแต่ได้สร้างความเสียหายอันมหาศาลกับพืนท่ีเกษตรกรรม ชุมชน และโครงสร้างพืนฐาน ตา่ ง ๆ แตย่ ังรวมถึงความสูญเสียที่มากกว่าจากโศกนาฏกรรมอันเนอ่ื งจากการสูญเสียชวี ิตของมนุษย์ อัตรา การไหลของน้าสูงสุดที่ค้านวณได้จากแบบจ้าลองเท่ากับ 12,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที แบบจ้าลองถูก ปรับเทยี บโดยใช้ข้อมูลที่ตรวจวดั ในบางพืนที่ระหว่างท่ีเกิดเหตุการณ์น้าท่วม ซ่ึงส่วนใหญ่ประกอบด้วย (a) ระดับน้าสูงสุดท่ีท่วมถึง และบางครังยังรวมถึงเวลาที่เกี่ยวข้อง (b) ระดับน้าที่ตรวจวัดท่ีเวลาต่าง ๆ (c) อัตราการไหลของนา้ สงู สดุ ที่ค้านวณในชว่ งแม่น้าบางช่วงโดยเฉพาะ 4 ที่มา : ผลงานท่ีจัดท้าโดย Prof. Jose Jiria Montanes, Spain for WG–CAFM 5–18

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง แบบจ้าลองถูกน้ามาใช้อีกครังในการศึกษาอีกเหตุการณ์น้าท่วมในปี ค.ศ. 1987 ซึ่งเกิดขึนจาก สภาพอากาศอันเลวร้าย ค่าอัตราการไหลของน้าสูงสุดระหว่างเหตุการณ์น้าท่วมนีที่ค้านวณได้เท่ากับ 5,200 ลกู บาศกเ์ มตรต่อวินาที ซ่ึงนอ้ ยกวา่ เหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขนึ ก่อนหนา้ นีค่อนข้างมากเน่ืองจากแบบจ้าลอง สามารถใช้ในการศึกษาเหตุการณ์น้าทว่ มในปี ค.ศ. 1987 ได้จงึ เป็นโอกาสที่ดเี ย่ียมทจี่ ะปรบั ค่าพารามิเตอร์ ตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ นการปรบั เทียบครงั แรกให้ดขี นึ ซง่ึ พบว่าแบบจา้ ลองสามารถนา้ มาใช้ปฏบิ ตั กิ ารเปน็ ท่ีนา่ พอใจ และยังสามารถน้ามาใช้ศึกษาถึงอัตราการไหลของน้าในช่วงทางน้าที่มีลักษณะคดเคียวของแม่น้าที่ไหล ขนาบ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลตรวจวัดและผลลัพธ์จากแบบจ้าลองให้ผลเป็นที่น่าพอใจ ดังนัน แบบจา้ ลองนสี ามารถใช้งานได้ส้าหรบั เหตุการณ์นา้ ทว่ มที่มีอัตราการไหลของนา้ สูงสดุ ถึง 12,000 ลกุ บาศก์ เมตรตอ่ วินาที ซ่งึ ให้ผลลัพธ์ทางชลศาสตรท์ แ่ี ตกต่างกัน เช่น ระดับน้า และความเร็วของกระแสน้า และยัง สามารถท้านายเขตพืนที่น้าทว่ มท่เี ป็นไปไดใ้ นแต่ละเหตกุ ารณ์ ความเร็วของคล่ืนนา้ ท่วมและความต้องการ ในพนื ท่ใี นระบบการเตือนภัยนา้ ท่วมอัตโนมตั ิ (Automatic Flood Warning System) และองคก์ รส้าหรับ ความชว่ ยเหลือฉกุ เฉนิ 5.5.2 แอฟรกิ าใต้ : การประเมนิ ความเสียหายจากนา้ ท่วมโดยอาศัยวธิ กี ารใชแ้ บบจ้าลอง (South Africa : Flood Damage Assessment by Means of Models)5 แบบจ้าลองการประเมินความเสียหายจากน้าท่วม/การจ้าลองความเสียหายจากน้าท่วม (Flood Damage Assessment/Simulation Model) 2 ประเภท ถูกพัฒนาขึนในระหว่างท้าการวิจัยในประเทศ แอฟริกาใต้เม่ือเร็ว ๆ นี FLODSIM ถูกพัฒนาขึนส้าหรับใช้ในพืนท่ีชลประทานและ TEWA ส้าหรับใช้ใน พืนที่เมือง วัตถุประสงค์ของแบบจ้าลองเหล่านีก็เพื่อจ้าลองความเสียหายจากน้าท่วมที่โอกาสของการเกิด น้าท่วมท่ีเป็นไปได้แตกต่างกันในพืนท่ีราบน้าท่วมถึงต่าง ๆ เพ่ือหาค่าความเสียหายรายปีเฉล่ีย (Mean Annual Damage, MAD) และหาค่าผลประโยชน์จากมาตรการควบคุมความเสียหายจากน้าท่วมต่าง ๆ แบบจ้าลองเหล่านีเป็นสิ่งจ้าเป็นในการด้าเนินการตามนโยบายการบริหารจัดการภัยพิบัติน้าท่วมใหม่ (New Flood Disaster Management Policy) ของประเทศแอฟริกาใต้ ลักษณะท่ีส้าคัญของนโยบาย ใหม่คือ การบริหารจัดการภัยพิบัติอย่างต่อเน่ือง เช่น การท้างานเชิงรุกในการเตรียมการ การท้างานใน ระยะตอบโต้ และในระยะหลังเกิดภัยพิบัติ กรอบวิธีการศึกษาที่สรุปไว้ในรูปที่ 5–1 แสดงให้เห็นถึงการ ประยุกต์ใช้ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจจากความเสียหายจากน้าท่วม (Flood Damage Decision Support Aids) นีในกระบวนการบริหารจัดการภัยพิบัติแบบต่อเนื่อง รายละเอียดของแบบจ้าลองได้ถูก นา้ เสนอใหส้ อดคลอ้ งตามกรอบในรปู ที่ 5–1 5 ท่มี า : ผลงานท่จี ัดทา้ โดย Prof.M.F. Viljoen for WG–CAFM 5–19

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รูปที่ 5–1 ระบบการบรหิ ารจัดการภยั พบิ ตั ินา้ ทว่ มแบบต่อเน่ือง (Continuous Flood Disaster Management System) 5–20

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รปู ที่ 5–2 การจา้ ลอง FLODSIM (A Typical FLODSIM Simulation) ส่ิงท่ีจ้าเป็นต้องมีส้าหรับการเตรียมการเชิงรุกเพ่ือรับมือกับภัยนัน มันเป็นสิ่งท่ีต้องคิดไว้ก่อนเลย ว่า ฐานข้อมูลต่างๆและแบบจ้าลองควรได้รับการติดตังไว้แล้วท่ีระดับจังหวัดและระดับรัฐบาลท้องถ่ิน ฐานข้อมูล (Database) ได้แก่ เส้นชันระดับความสูง (Contour Lines) จุดบอกค่าระดับความสูง (Spot– Height) รูปแบบการใช้ท่ีดิน (Land Use Pattern) โครงสร้างพืนฐาน (Infrastructure) ข้อมูลทางอุทก วิทยาและชลศาสตร์ (Hydrological and Hydraulic Data) รวมทังข้อมูลทางด้านเศรษฐศาสตร์ 5–21

(Economic Data) ที่จ้าเป็นต้องรวบรวมและจัดเกบ็ ในรูปแบบ GIS ฐานข้อมูลเหลา่ นี จะถกู ผนวกเขา้ กับ บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง แบบจ้าลองระบบ FLODSIM และ TEWA ทงั สอง รายละเอยี ดของ FLODSIM6 ได้อธิบายไว้ด้านล่างดงั นี กระบวนการจ้าลองความเสียหายจากน้าท่วม ( Flood Damage Simulation Process– FLODSIM) ตัวอย่างบนพืนฐาน GIS ดังแสดงแผนภาพในรูปที่ 5–2 จากจุดเร่ิมต้นฐานข้อมูลต่าง ๆ จะถูก พัฒนาขึน หลังจากได้สร้างระบบฐานข้อมูลเหล่านีแล้ว กระบวนการบูรณาการและการสร้างแบบจ้าลอง (Integration and Modelling Process) จะเร่ิมต้นขึน (ดูจุด Commencement ในแผนผัง) เส้นประใน รปู ที่ 5–2 แสดงถึงฐานขอ้ มูลบางอย่างจะต้องคัดเลอื กจากคลังข้อมูล (Data Bank) ในขณะทีเ่ ส้นทึบแสดง ถึงตัวแปรน้าเข้าต่าง ๆ ในแบบจ้าลอง FLODSIM แบบจ้าลองความสูงเชิงเลข (Digital Terrain Model, DTM) เป็นสิง่ จ้าเป็นส้าหรบั ใชใ้ นแบบจา้ ลอง FLODSIM และสามารถสร้างไดห้ ลากหลายวิธี หลังจาก DTM ท่ีเหมาะสมได้ถูกสร้างขึน ฟังก์ชันการสูญเสีย (Loss Function) จะถูกคัดเลือก จากคลังข้อมูลเพื่อก้าหนดค่าความเสียหายท่ีเกิดขึนจากเหตุการณ์น้าท่วมซ่ึงประกอบด้วยฟังก์ชันการ สูญเสียส้าหรับไร่องุ่น พืชหมุนเวียน ผักกาด และอ้อย รวมทังโครงสร้างพืนฐาน เช่น ถนน สะพาน และ ทางรถไฟ ฯลฯ ขนั ตอนถัดไปเป็นการพัฒนาฐานข้อมูลสภาพภูมิประเทศซ่ึงประกอบด้วยรูปแบบการใช้ที่ดนิ เส้น ชันระดับความสูง จุดบอกค่าระดับความสูง ต้าแหน่งและความสูงของคันกันน้า และต้าแหนง่ และความสูง ของอาคารในพืนท่ีตรวจสอบ การใช้แนวทางการส้ารวจในพืนท่ีหรือการส้ารวจระยะไกล (In Situ or Remote Sensing Approach) ทา้ ให้กา้ หนดรปู แบบการใช้ท่ีดนิ ได้ แนวทางการสา้ รวจข้อมลู ในพืนที่ (In– Situ Approach) หมายถึง การสา้ รวจท่ีซ่งึ นกั วจิ ยั ตอ้ งลงสมั ผัสพนื ทีเ่ พอ่ื เก็บรวบรวมข้อมลู ในทางตรงขา้ ม แนวทางการส้ารวจระยะไกล (Remote Sensing Approach) หมายถึง การส้ารวจซึ่งเคร่ืองมือวัด (sensor) ไม่ได้สัมผัสกับข้อมูลโดยตรง ในกรณีนีข้อมูลได้มาโดยวิธีใช้เซนเซอร์ที่ติดตังบนเครื่องบินหรือ ดาวเทยี ม เส้นชันระดับความสงู และจุดบอกค่าระดบั ความสูงเปน็ ข้อมลู ทส่ี า้ คัญในการสร้าง DTMs เพ่ือที่จะสามารถใช้ FLODSIM ในการวางแผนน้าทว่ มให้มีประสทิ ธิภาพในพนื ทเ่ี สี่ยงภัยน้าทว่ มใน ประเทศแอฟริกาใต้ ทังแบบจ้าลองน้าท่วม (Flood Simulation Model) และเทคนิคทางด้าน GIS (GIS Technique) จึงมีความจ้าเป็น เพื่อให้บรรลุผลส้าเร็จนี จึงต้องสร้างอินเตอร์เฟซที่เหมาะสมขึนระหว่าง MIKE 117 กับ FLODSIM ขึน ดังนนั โมดูล (Module) พเิ ศษอนั หน่งึ จึงถูกเพม่ิ เขา้ ไปใน FLODSIM ในแบบ ท่สี ามารถได้รับข้อมลู ทางชลศาสตร์จาก MIKE 11 ตามสถานการณ์สมมตุ เิ ฉพาะท่สี ร้างมาจาก FLODSIM หลังจากพัฒนาฐานข้อมูลสภาพภูมิประเทศ (Topographical Database) แล้วฐานข้อมูลทาง เศรษฐศาสตร์ (Economic Database) จะถูกคัดเลือก ซ่ึงประกอบด้วยงบประมาณขององค์กร (Enterprise Budget) ตัวคูณทางเศรษฐศาสตร์ (Multiplier) (ในระดับภูมิภาคและระดับชาติ) ราคาเงา (Shadow Price) และอัตราการจ้างงาน (Employment Rate) ข้อมูลงบประมาณขององค์กรถูกน้ามาใช้ ค้านวณหาความเสียหายจากน้าท่วมทางตรงทังหมด (Total Direct Flood Damage) เม่ือทราบความ 6 รายละเอียดของ FLODSIM ไดม้ าจาก DU Plessis et al. (1999) 7 MIKE 11 เป็นชือ่ ของแบบจ้าลองอุทกพลศาสตรท์ ่เี ปน็ ท่ีรู้จักกนั ดี 5–22

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง เสียหายจากน้าท่วมทางตรงทังหมดแล้ว มีความเป็นไปได้ท่ีจะค้านวณผลกระทบรอง (Secondary Impact) จากนา้ ทว่ มโดยใชต้ วั คณู ทางเศรษฐศาสตร์ท่เี หมาะสม เม่ือได้ก้าหนดฐานข้อมูลในแบบจ้าลอง FLODSIM แล้วมีความเป็นไปได้ที่จะสังเคราะห์ สถานการณส์ มมุติต่าง ๆ ด้วยการจัดการกบั ขอ้ มลู สภาพภมู ิประเทศ ข้อมลู ทางอุทกวิทยา ข้อมูลชลศาสตร์ และข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์ หลงั จากนนั ท้าการค้านวณความเสยี หายจากนา้ ท่วมทสี่ ถานการณ์สมมตุ ิใด ๆ จากมุมมองในระดบั ท้องถิ่น ระดับภูมิภาค และระดับชาติ โดยสามารถแสดงผลของสถานการณ์สมมุติบน หน้าจอหรือบนแผนที่กไ็ ด้ แผนท่ีมคี วามสา้ คัญต่อการวางแผนในพนื ท่ีราบน้าท่วมถงึ และควรระบุถึงความ ลกึ และชว่ งเวลาของการเกิดน้าทว่ ม รวมทังเสน้ แนวนา้ ทว่ มและพนื ท่นี ้าทว่ ม มาตรการควบคุมน้าท่วมทังแบบใช้ส่ิงก่อสร้างและไม่ใช้ส่ิงก่อสร้างจะสามารถถูกประเมินอย่าง เหมาะสมได้เพียง ในกรอบการวิเคราะห์ต้นทุน–ผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis) หากทราบค่า MAD8 โดยปกติแล้วแบบจ้าลองความเสียหายจากน้าท่วม (Flood Damage Modelling) จะท้าการ คา้ นวณเฉพาะสา้ หรบั มาตรการควบคุมนา้ ท่วมแบบใชส้ ิง่ กอ่ สร้างและแบบไมใ่ ชส้ ง่ิ ก่อสรา้ ง ซึง่ สิ่งนีน้ามาซ่ึง ความเสียหายจากน้าท่วมที่เพิ่มขึนและการใช้ประโยชน์ในพืนท่ีราบน้าท่วมถึงท่ีไม่เหมาะสม ประเด็น เพ่ิมเติมอื่น ๆ ควรต้องน้ามาพิจารณาด้วยเช่นกัน เพื่อท่ีเจ้าหน้าท่ีส่วนท้องถ่ินของพืนที่นันสามารถท่ีจะ ก้าหนดแผนการบริหารจัดการน้าท่วมอย่างยั่งยืนได้ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์นีแนวทางแบบองค์รวม (Holistic Approach) ในการบริหารจัดการพืนท่ีลุ่มน้าแบบบูรณาการซึ่งได้อธิบายไว้ใน Du Plessis et al. (1999) จึงมีความส้าคญั 5.5.3 โมร็อกโก : การสร้างแบบจา้ ลองการเกิดน้าทว่ มในระยะแรกของพืนท่ี Rharb (ปี ค.ศ. 1972) (Morocco : Early (1972) Modelling of the Flooding of the Rharb Plain)9 การสร้างแบบจา้ ลองในสถานการณน์ ีชว่ ยเพ่มิ ความรู้ความเข้าใจถงึ ปรากฏการณก์ ารเกิดนา้ ทว่ มท่ี มีความซับซ้อน การประเมินผลกระทบจากมาตรการควบคุมน้าท่วมต่าง ๆ และการประมาณการความ เสยี หายทางการเกษตร แบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์ซ่ึงน้ามาใช้ในการศึกษาถึงการแพร่กระจายตัวของน้าท่วมใน Oued Sebou และการเกิดน้าท่วมในพืนท่ีราบ Rharb ครอบคลุมพืนที่ Oued Sebou จากบริเวณปากแม่น้าที่ Mehdia ถึงสถานีตรวจวัดน้าที่Azibes Soltane (ระยะทางประมาณ 305 กิโลเมตร) และ Oued Ouerrha จากจุดบรรจบกับ Sebou ถึงสถานีตรวจวัดน้าท่ี M’Jara (ระยะทางประมาณ 102 กิโลเมตร) นอกจากนีเขตท่ีอาจถูกนา้ ท่วมไดใ้ นพนื ที่ราบถกู นา้ เข้าในแบบจา้ ลองดว้ ย 8 ในหลักการแล้ว CBA ควรสร้างขึนเป็นส่วนหนึ่งของกรอบการวิเคราะห์การตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ (Multiple Criteria Decision Analysis–MCDA) ที่มีเนือหาครอบคลุมเพื่อเพ่ิมความสามารถในการประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติจาก ผลการวเิ คราะหน์ ี 9 ที่มา : NEDECO (1975) 5–23

แผนผังของแม่น้าและพืนท่ีราบแสดงในรูปที่ 5–3 ความยาวของสาขาของแม่น้าต่าง ๆ อยู่ในช่วง บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง 5–10 กิโลเมตร แม่น้าสาขาของ Sebou และ Ouerrha จะถูกก้าหนดลักษณะโดยอาศัยค่าอัตราการไหล ของน้าจากภายนอก (External Discharge) ซึ่งเพ่ิมเข้ามาตรงโหนดที่ใกล้ที่สุด มีความเป็นไปได้ที่จะ จ้าลองการเกิดน้าท่วมด้วยการเพิ่มจา้ นวนฝายด้านข้างที่จดุ ส้าคญั ทเี่ กิดการไหลลน้ ของน้าโดยมีสันของฝาย อยู่บนระดบั เดยี วกบั สนั ของตลงิ่ แมน่ า้ ในแผนผังนีสภาพภูมิประเทศของพืนที่ราบมีความส้าคัญยิ่ง เม่ือเป็นไปได้ขอบเขตระหว่างโหนด ต่าง ๆ จะถูกเลือกตามความยาวของคันกันน้า หรือระดับพืนดินตามธรรมชาติ เพ่ือที่ให้สามารถ ก้าหนดการเชื่อมต่อเป็นสายของโหนดต่าง ๆ เป็นลักษณะของช่องทางน้า10 โดยธรรมชาติแล้วมีความ เป็นไปได้ที่อัตราการไหลของน้าจะมีการแลกเปล่ียนทางด้านข้างระหว่างสายของโหนด การเช่ือมโยง ระหวา่ งโหนดจะถกู ก้าหนดจากสาขาต่าง ๆ ของแมน่ ้า รูปท่ี 5–3 แผนผังโหนดและแม่น้าสาขาในแบบจ้าลองทางคณติ ศาสตร์ของการเกดิ นา้ ท่วมในพืนท่รี าบ Rharb ประเทศโมร็อกโก ในส่วนของผลลัพธ์ แบบจ้าลองจะให้ค่าระดับน้าและอัตราการไหลของน้าที่ต้าแหน่งต่าง ๆ จา้ นวนมากในพนื ทร่ี าบและตามความยาวของแมน่ ้า แบบจ้าลองถูกพัฒนาขึนมาในหลายระยะ ในแต่ละระยะแบบจ้าลองจะถูกปรับเทียบโดยอาศัย ข้อมูลท่ีมีอยู่ โดยระยะแรกประกอบด้วยการพัฒนาแบบจ้าลองของช่องทางของแม่น้า Sebou และ Ouerrha ระหวา่ งปากแมน่ ้า Sebou ท่ี Mehdia และสถานตี รวจวัด Azibes Soltane ของแม่น้า Sebou และสถานีตรวจวดั M’Jara ของแมน่ า้ Ouerrha 10 โดยข้อเท็จจริงแล้ว คนทั่วไปอาจจะพูดถึงแบบจ้าลองเชิงเส้นแบบพหูคูณ (Multi–Linear Model) ตามที่ก้าหนดไว้ใน หวั ข้อ 1.4 5–24

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง พืนที่น้าท่วม (Floodable Area) ในบรเิ วณท่ีราบถูกจัดแบ่งออกเป็นโหนดจ้านวนหน่ึง พืนที่ที่แร เงาไว้ (Hatched Region) จะไม่เคยถูกน้าท่วม การปรับเทียบแผนผังระบบแม่น้ามีความส้าคัญอย่างยิ่ง เพ่ือตรวจสอบทางเลือกของหน้าตัดล้าน้าตามแนวขวางต่าง ๆ ซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ละช่วงของแม่น้า นอกจากนียังไม่ทราบค่าความผันแปรของความขรุขระท้องน้าระหว่างปากแม่น้าและขอบเขตของ แบบจ้าลองทางด้านเหนือน้าของจุดบรรจบ ด้วยเหตุนี การทดสอบการใช้งานของแบบจ้าลองด้วยการ สังเกตการณ์จงึ เป็นส่ิงทีค่ วรทา้ โดยควรเป็นสถานการณ์ที่ไม่มกี ารไหลล้นของนา้ (อย่างแท้จริง) เพอื่ ใหเ้ ห็น ภาพที่ถูกต้องของแม่น้าน่ันเอง ส้าหรับการปรับเทียบนี สามารถใช้ข้อมูลท่ีท้าการตรวจวัดจากคล่ืนน้าท่วมช่วงวันท่ี 20–25 มกราคม ค.ศ. 1971 ค่าอัตราการไหลของน้าสูงสุดทางดา้ นท้ายของจุดบรรจบมีคา่ เท่ากับ 1,600 ลกู บาศก์ เมตรต่อวินาที ซ่ึงหมายถึงจะไม่มีการไหลลน้ ข้ามคนั เลย ส้าหรับการค้านวณต่าง ๆ นนั ดว้ ยการเปลี่ยนค่า ของพารามเิ ตอร์ทีใ่ ช้ คา่ ของระดบั ทีค่ ้านวณไดจ้ ะถูกน้ามาเปรียบเทยี บกบั ค่าทีต่ รวจวดั ได้จริง หลังจากได้ท้าการปรับเทียบแบบจ้าลองระยะแรกซ่ึงให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจแล้ว แบบจ้าลอง แม่น้า (River Model) จะถูกขยายออกไปโดยการเพ่ิมจุดท่ีมีการไหลล้นข้าม (รูปที่ 5–4) แบบจ้าลองใน ลกั ษณะแบบจ้ากัด (Limited Model) (ระยะท่ีสอง) นีจะให้ข้อมูลระดับน้าและอัตราการไหลของนา้ ท่ีช่วง แม่น้า Ouerrha และ Sebou ทางด้านเหนือน้าของ Sidi Allal Tazi จ้านวนหลายหน้าตัด รวมทังอัตรา การไหลล้นของน้าและปรมิ าณนา้ ที่ไหลล้นท่ีจุดต่าง ๆ ทีม่ กี ารไหลลน้ ในท้ายที่สดุ สา้ หรับระยะทสี่ าม แบบจ้าลองไดถ้ ูกพฒั นาแลว้ เสร็จโดยการขยายพนื ทใี่ ห้ครอบคลุม พืนท่ีราบทังหมดและเพิ่มจุดท่ีมีการไหลล้นของน้าทางด้านท้ายของ Sidi Allal Tazi ซ่ึงในแบบจ้าลองนี นา้ จะถูกระบายออกจากพืนท่ีราบไม่เพยี งแตจ่ ะผ่านทางบรเิ วณปากแม่น้า Sebou แต่ยังรวมถงึ ท่ี Moulay Bou Selham โดยผา่ นทางคลอง Nador ทางตอนเหนือของพนื ทรี่ าบ Rharb รปู ที่ 5–4 แม่น้า Sebou ตอนล่างและจุดท่ีมีการไหลล้นตลิ่ง (ทรี่ าบ Rharb ประเทศโมรอ็ กโก) ส้าหรับแบบจ้าลองระยะที่สองและระยะที่สาม เหตุการณ์น้าท่วมในอดีต 4 เหตุการณ์ซ่ึงมีขนาด เพิ่มสูงขึน (ได้แก่ เหตุการณ์ท่ีเกิดขึนในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1965/เมษายน ค.ศ. 1971/มกราคม ค.ศ. 5–25

1963 และมกราคม ค.ศ. 1970) ถูกน้ามาใช้จา้ ลอง โดยท้าการค้านวณทรี่ ะดับน้าทะเลคงท่ี ซงึ่ มคี ่าเท่ากับ บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ศูนย์ NGM (ระดับอ้างอิงทั่วไปในประเทศโมร็อกโก) ผลกระทบของการขึนลงของระดับน้าทะเลถูก ตรวจสอบแยกตา่ งหากสา้ หรบั ส่วนของเหตุการณน์ ้าทว่ มในปี ค.ศ. 1970 โดยทั่วไปแล้ว ควรตังข้อสังเกตเพ่ือให้เกิดความกระจ่างยิ่งขึนว่า การท้าให้แบบจ้าลองง่ายขึนอัน เนอ่ื งมาจากการใช้แผนผังเทา่ ท่ีจ้าเป็นส่งผลกระทบน้อยกว่าความไม่แน่นอนของข้อมูลคอ่ นขา้ งมาก ความ น่าเชอื่ ถอื ของระดับน้าสูงสดุ ซึง่ ค้านวณแบบจ้าลองคณิตศาสตร์ถกู กา้ หนดจากค่าความแม่นย้าของค่าระดับ น้าต่้าสุดของตลิ่งตรงจุดท่ีมีการไหลล้นของน้า ถึงแม้ว่าในประเด็นนีข้อมูลท่ีแน่นอนอาจไม่ทราบค่า แต่ คาดว่าสถานการณ์ท่ีเกิดน้าท่วมในพืนที่ราบ ความแตกต่างระหว่างระดับน้าสูงสุดในแม่น้าซึ่งเกิดขึนจริง และท่คี ้านวณได้จากแบบจ้าลองทางคณิตศาสตรจ์ ะไมเ่ กิน 0.30 เมตร ในขันตอนของการค้านวณในแบบจ้าลองในพืนท่ีราบ พืนที่น้าท่วมถูกหาค่าออกมาโดยเป็น ฟงั ช่ันกข์ องเวลาในแต่ละส่วนยอ่ ย ๆ ในพืนที่ราบ (ท่ีเรยี กว่าส่วนทางชลศาสตร)์ บนพืนฐานของการศึกษา ทางการเกษตร มีความเป็นไปได้ที่จะค้านวณความเสียหายทางการเกษตรของส่วนพืนที่ย่อย ๆ นี โดย ขึนอยู่กับช่วงเวลาของการเกิดน้าท่วม ด้วยข้อมูลเหล่านีและช่วงเวลาของการเกิดน้าท่วมที่ค้านวณในแต่ ละส่วนพืนที่ ท้าให้สามารถประมาณการคา่ ความเสียหายทางการเกษตรของพืชรายปีของแต่ละเหตุการณ์ น้าท่วมทัง 4 เหตุการณ์ได้ โดยได้ท้าการค้านวณในสถานการณ์ปัจจุบันและสถานการณ์ทางการเกษตรใน อนาคตอีก 3 เหตกุ ารณ์ ซ่งึ เกิดขนึ ในปี ค.ศ. 1976, 1987 และ 1999 โดยการใช้วิธีสหสัมพันธ์ (Correlation) เราอาจจะสร้างเส้นโค้งโอกาสความน่าจะเป็นแบบ มากกว่า (Exceedance Curve) โดยการใช้ผลจากการจ้าลองเหตุการณ์น้าท่วมในอดีต 4 เหตุการณ์ โดยรวมผลของน้าท่วมในอดีตที่รู้ทังหมด (39 ครัง) ส้าหรับปริมาณน้าที่ล้นตลิ่ง (ค้างอยู่) ส้าหรับแผน ป้องกันน้าท่วมต่าง ๆ และต่อมาก็สามารถค้านวณค่าผลประโยชน์ต่อต้นทุนของแผนป้องกันน้าท่วมทุก โครงการได้ (ตามท่ไี ด้แสดงไว้ในบทท่ี 3) 5.5.4 การจัดท้าแผนทเี่ สย่ี งภัยนา้ ทว่ มในประเทศองั กฤษและเวลส์ (Flood Risk Mapping in England and Wales)11 5.5.4.1 ที่มา (Background) มีความแน่ชัดในตัวมันเองว่าหากต้องการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพจ้าเป็นต้อง ทราบและท้าการประมาณค่าความเสี่ยงจากน้าท่วม วิธีหนึ่งของการแสดงให้เห็นภาพของความเสี่ยงที่ถูก น้ามาใช้อย่างแพร่หลายคือ การจัดท้าแผนที่เส่ียงภัยน้าท่วม (Flood Risk Mapping) อย่างไรก็ดี วิธีท่ีใช้ และรายละเอียดท่ีเก่ียวข้องในการจัดท้าแผนที่ผันแปรอย่างมาก เทคนิคท่ัวไปท่ีนิยมน้ามาใช้ในอดีตมาก ที่สุดนัน มีเพียงการลงในแผนที่แสดงขนาดของเหตุการณ์น้าท่วมที่เกิดขึนจริง เมื่อเหตุการณ์น้าท่วมใหญ่ ไดถ้ ูกบนั ทึกค่าไวเ้ ป็นอย่างดี นจ่ี ะเป็นหลกั ฐานอันทรงพลังของความเสี่ยงนา้ ท่วม อย่างไรก็ตาม ในหลาย ๆ 11 ทม่ี า : Borrows (2001) 5–26

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ตัวอย่างแนวทางนมี ีข้อจา้ กัดในการน้าไปใช้งานเนือ่ งจากขอ้ มูลท่ีบันทึกไวบ้ อ่ ยครงั มีคณุ ภาพไม่แนน่ อนของ และรอบการเกดิ ซา้ ของเหตกุ ารณ์ก็ตอ้ งถูกนา้ มาตีความกันอยู่บอ่ ยครงั การจัดท้าแผนท่ีน้าท่วมตอบสนองวัตถุประสงค์ 2 ข้อหลักทังเพื่อแจ้งให้ทราบถึงการ ตัดสินใจวางแผนการใช้ที่ดินและกิจกรรมการด้าเนินงานต่าง ๆ เช่น การเตือนภัยน้าท่วม ความต้องการ พืนที่สา้ หรับใชใ้ นการพัฒนาเป็นลกั ษณะหน่งึ ของสังคมมนุษย์มาตังแต่โบราณกาล ในยโุ รปมคี วามต้องการ เหล่านันอย่างมากจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ความดึงดูดใจในพืนท่ีท่ีอยู่ติดกับแม่น้าท้าให้พืนที่ราบน้าท่วมถึง หลาย ๆ แห่งถูกครอบครองด้วยบ้านและธุรกจิ ต่าง ๆ ทมี่ ีความเส่ยี งจากการเกดิ น้าท่วม ความหลากหลายของวัตถุประสงคบ์ ่งบอกถึงความท้าทายทสี่ ้าคัญอย่างหน่ึงในการจดั ท้า แผนท่ีเส่ียงภยั น้าท่วม ในแงม่ ุมหนึ่ง ผวู้ างแผนตอ้ งการเส้นทม่ี ีความชัดเจนบนพนื ทด่ี ินเพอื่ ท้าการตดั สินใจ อย่างมั่นใจว่าการพัฒนาควรด้าเนินการต่อไปหรือไม่ ในพืนท่ีที่มีโอกาสเสี่ยงท่ีจะเกิดน้าท่วม ในอีกแง่มุม หน่ึง นักอุทกวิทยาตระหนกั ดีวา่ อาจเปน็ ไปไม่ได้ท่ีจะท้าให้เกิดความแม่นย้าอย่างสมบูรณ์ และระดับความ ถูกต้องท่ีสูงยังเก่ียวข้องกับค่าใช้จ่ายจ้านวนมาก การออกประกาศเตือนภัยน้าท่วมเก่ียวพันกับการระบุ ผลกระทบของการเกิดน้าท่วมในพืนท่ีเป็นบริเวณกว้าง ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นพืนที่ที่ได้รับผลกระทบอยู่ก่อน แล้ว แต่ยังรวมถึงขนาดของการหยุดชะงักของการบรกิ ารขนส่งและสาธารณปู โภค อุปสรรคอีกอย่างหนึ่งก็คือ ชุดข้อมูลที่ดีอาจยากท่ีจะได้มา เว้นแต่ในแม่น้าบางสาย และ เป็นเร่ืองยากทจ่ี ะมีข้อมูลย้อนหลังมากกว่า 100 ปี ข้อมูลทมี่ ีความแม่นย้าซึ่งได้บนั ทึกค่าไว้เกิน 40 ปี เป็น เร่ืองท่ีไมป่ กติในประเทศสหราชอาณาจักร (UK) สง่ ผลให้ลักษณะของผลของสถานการณ์ที่รุนแรงซ่ึงมีรอบ การเกิดซ้าในทางสถิติเท่ากับหรือมากกว่า 100 ปี หรือมีโอกาสเกิด 1% ในหนึ่งปี จะต้องได้มาจากข้อมูล สังเคราะห์ (Synthetic Data) เพ่ือให้มีความเช่ือม่ันต่อข้อมูลเหล่านีพอสมควร รวมทังในแบบจ้าลองน้า ท่วมก็อาศัยข้อมูลเหล่านีเป็นหลัก ข้อมูลเหตุการณ์จริงบางเหตุการณ์ที่ได้บันทึกไว้จึงมีความส้าคัญในการ ปรับเทียบแบบจ้าลอง อุปสรรคที่อาจเกิดขึนได้เพิ่มเติมคือ ความต้องการการส้ารวจภาคพืนดินท่ีมีความ แม่นย้า รวมทังการแสดงขอบเขตของทรัพย์สิน หากต้องการให้ท้านายผลเสียหายจากระดับน้าท่วมได้ แนน่ อน 5.5.4.2 สถานภาพปจั จบุ ัน (The Present Position) ในประเทศสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1993 หนว่ ยงานด้านส่งิ แวดล้อม (Environment Agency) ได้ริเริ่มแนวทางแบบมีโครงสร้าง (Structured Approach) ในการจัดท้าแผนที่เส่ียงภัยน้าท่วม เพื่อสนองตอบต่อรัฐบาลที่มุ่งยับยังการพัฒนาในพืนท่ีเส่ียงภัยน้าท่วม โดยให้ความสนใจกับพืนท่ีที่ได้รับ การพัฒนาแล้วและพืนที่เมือง หรือพืนท่ีท่ีรับรู้กันดีว่าอยู่ภายใต้แรงกดดันให้พัฒนา เป็นที่รับรู้กันว่า มาตรฐานของการส้ารวจภาคพืนดินและการสร้างแบบจ้าลองน้าท่วมจ้าเป็นต้องมีความ ถูกต้องเที่ยงตรง เพียงพอท่ีจะเป็นพืนฐานในการปฏิเสธแผนการพัฒนาบนพืนที่ดินที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดน้าท่วมของ หน่วยงานวางแผนตา่ ง ๆ ได้ 5–27

รายละเอียดที่เกี่ยวข้องท้าให้กระบวนการเกิดขึนได้ค่อนข้างช้าอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง เนื่องจากพืนที่ทังหมดในอังกฤษและเวลล์จ้าเป็นต้องได้รับการพิจารณาให้ครอบคลุม เหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ี เกิดขึนมาระหว่างเทศกาลอีสเตอร์ในปี ค.ศ. 1998 (Easter 1998) เมื่อเกิดน้าท่วมส้าคัญในพืนที่หลาย ๆ สว่ นของประเทศ ผลลัพธ์ก็คือ การตัดสินใจท่จี ะจดั ท้าแผนทเี่ สี่ยงภัยน้าทว่ มโดยใชว้ ิธีทห่ี ยาบกว่าเพอ่ื ส่งให้ เจ้าหน้าท่ีในหน่วยงานวางแผนระดับท้องถ่ินก่อน หลังจากนันแผนที่ที่แสดงเขตน้าท่วมนี (Indicative Flood Map) ได้เผยแพร่ออกสู่สาธารณชนโดยแสดงถึงรูปร่างของน้าท่วมจากแม่น้าในรอบ 1 ใน 100 ปี โดยไม่ได้แสดงว่ามีระบบป้องกันน้าท่วมอยู่หรือไม่ พอถึงปี ค.ศ. 2000 ข้อมูลนีก็สามารถดูได้จาก อนิ เทอร์เนต็ และเปน็ สงิ่ ท่สี าธารณชนเหน็ ประโยชน์มาก หลังจากนันไดม้ ีงานปรับแก้แผนท่ีเหลา่ นีด้วยการ ก้าจัดความผิดปกติออกโดยการอ้างอิงกับค่าท่ีได้บันทึกไว้ และด้วยความรู้ความเช่ียวชาญเฉพาะตัวของ เจ้าหน้าทีท่ ีม่ ีประสบการณ์ 5.5.4.3 หนทางขา้ งหนา้ (The Way Ahead) เมื่อพิจารณาจากบันทึกแนะน้าในประเด็นด้านการวางแผนและนโยบาย 25 (Planning and Policy Guidance Note 25) พบว่า มีความกดดันทังจากเจ้าหน้าที่วางผังเมืองและนักพัฒนาในการ สร้างความเชื่อมั่นเพิ่มขึนต่อขอบเขตของน้าท่วมรอบ 1 ใน 100 ปี และความสามารถในการป้องกันของ ระบบป้องกนั น้าท่วมในพืนที่ท่ีมีระบบอยู่ นอกจากนี ยังจา้ เปน็ ท่ีต้องมีวธิ ีการท่ีเป็นทยี่ อมรับเพอ่ื สงั เคราะห์ แนวทางปอ้ งกนั สา้ หรบั เหตุการณ์ที่มรี อบการเกิดซ้า 1 ใน 1,000 ปี ในปจั จุบันแม่น้าในแถบหุบเขาทังหมดในอังกฤษและเวลล์ปรากฏอยใู่ นแผนท่ีเสยี่ งภัยน้า ท่วม (ดังแสดงในรูปที่ 5–5) ตามมาตรฐานที่สอดคล้องกัน และประชาชนท่ัวไปสามารถเข้าถึงได้ นอกจากนี ในหลายพืนทท่ี ี่อยู่ภายใตค้ วามกดดันจากการพัฒนายังได้จัดเตรียมแผนที่ท่ีมีรายละเอยี ดสูงอัน เนื่องมาจากการสร้างแบบจ้าลองน้าท่วมท่ีสมบูรณ์ขึน อย่างไรก็ดี นี่ไม่ใช่งานสุดท้าย มีแผนงานในการ ปรับแก้อย่างต่อเน่ืองเข้ามา ควบคู่ไปกับการได้รับแผนที่ที่แสดงขนาดของเหตุการณ์รุนแรง ภาพที่แสดง รายละเอียดของความเส่ียงเพ่ิมเติมจ้าเป็นต้องได้รับพัฒนาขึนมาโดยการค้านวณและแสดงค่าความลึกน้า และระบุเส้นทางการไหลของน้า และความเร็วของน้าทั่วทังพืนท่ีราบน้าท่วมถึง และพร้อมกับเร่ืองนียัง จ้าเป็นที่จะต้องมีข้อมูลท่ีมีรายละเอียดเพ่ิมเติมท่ีเก่ียวข้องชุมชนท่ีมีความเสี่ยง ยกตัวอย่างเช่น ห้องใต้ดิน หรือบังกะโลทีมีอยู่ อาคารที่อยู่อาศยั ของกลุ่มทางสังคมท่ีอ่อนแอ หรือการปรากฏตัวของกลุ่มชาติพันธ์ซ่ึง ใช้ภาษาองั กฤษเป็นภาษาทสี่ อง 5–28

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รูปที่ 5–5 แผนที่น้าท่วม East Gwent และการวางแผนท่ีน้าท่วม (UK) 5.5.5 การสรา้ งแบบจา้ ลอง 2 มิติ ของเหตกุ ารณน์ ้าท่วมในพืนท่โี พลเดอรต์ ามแนวแมน่ ้าใน ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ (Two–Dimensional Modelling of a Flooding Event in a Riverine Polder Area in the Netherlands) รูปที่ 5–6 แสดงความลึกของน้านองที่ค้านวณได้ในพืนที่โพลเดอร์ทางตอนกลางของประเทศ เนเธอร์แลนด์หลักจากเกิดการพังทลายของคันกันน้าตามแนวแม่น้า Waal (จุดสีแดง) มาแล้ว 24 ช่ัวโมง ความลึกน้าแสดงด้านขวามือของรูป (ในหน่วยเมตร) ซ่ึงท้าการค้านวณด้วยโปรแกรมส้าเร็จรูป Delft 1D2D ที่ใชจ้ า้ ลองสภาพน้านองท่ถี ูกพัฒนาขึนโดย Delft Hydraulics12 รปู ท่ี 5–6 การสรา้ งแบบจ้าลอง 2 มิติ ของการเกดิ น้าทว่ มในประเทศเนเธอร์แลนด์ 12 ทีม่ า : Province of Noord–Brabant, The Netherlands 5–29

5.5.6 การสรา้ งแบบจ้าลองสา้ หรับใชเ้ ปน็ เครื่องมือในการอพยพและการบรรเทาภยั พบิ ัติ บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง (พนื ท่ชี ายแดนประเทศเยอรมนั –เนเธอรแ์ ลนด)์ (Modelling as a Tool for Evacuation and Disaster Relief (Border Area Germany–The Netherlands))13 ระหว่างเหตุการณ์นา้ ท่วมในแม่น้า Rhine ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1995 ความเสี่ยงของการเกิด น้าท่วมในพืนท่ีโพลเดอร์ตามแนวแม่น้าในประเทศเนเธอร์แลนด์ถือว่าสูง ดังนัน ได้มีการตัดสินใจท่ีจะ อพยพผู้อยู่อาศัยและสัตว์เลียงออกจากพืนที่เสี่ยงภัยน้าท่วมขนาดใหญ่ในช่วงเวลาสัน ๆ ซึ่งเร่ืองนีได้ กลายเป็นปฏิบตั ิการครงั ใหญม่ าก พร้อมทงั ผลท่ตี ามมาต่าง ๆ อีกมากมาย ในท้ายท่ีสุด ไม่มีการพังทลายของคันกันน้าเกิดขึนท่ีจะก่อให้เกิดน้าท่วมตามมา อย่างไรก็ดี ยังคง รู้สกึ ได้ว่าควรต้องทราบผลท่ีจะตามมาจากการเกิดนา้ ทว่ มให้มากกวา่ นี มาตรการที่เป็นไปได้ทีค่ วรน้ามาใช้ ก่อนเหตุการณ์น้าท่วมสูง และสุดท้ายควรรู้ว่าข้อมูลประเภทไหนที่ผู้ตัดสินใจต้องการในเวลาวิกฤตเพ่ือ น้ามาใช้ในการตัดสินใจที่ถูกต้องทันเวลา ด้วยเหตุผลนี ท้าให้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในระดับภมู ิภาค ถูกพัฒนาขึนมาภายใต้บริบทของโครงการท่ีมีช่ือว่า Pold Evac ท่ีมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการ อพยพ (Evacuation Management) และมาตรการฉุกเฉนิ อื่น ๆ ทีม่ ีความจา้ เป็นในกรณีคนั กนั น้าแตก พนื ที่โครงการทีเ่ กย่ี วข้องเป็นพนื ที่โพลเดอรค์ รอบคลุมเมือง หมู่บ้าน และนคิ มอตุ สาหกรรมต่าง ๆ ที่ตังอยู่ในบริเวณพืนท่ีชายแดนของประเทศเยอรมันและเนเธอร์แลนด์ ระหว่างแม่น้า Maas, Rhine และ Waal (อันหลังเป็นสาขาหลักของแม่น้า Rhine ในประเทศเนเธอร์แลนด์/สถานการณ์สมมุติต่าง ๆ ได้รับ การศึกษาซ่ึงประกอบด้วย การพังทลายของคันกันน้าที่จุดต่าง ๆ กัน 17 จุด โดยในแต่ละจุดศึกษาถึง สถานการณ์ของการพังทลาย 4 สถานการณ์ท่ีแตกต่างกัน (เช่น ค่าพารามิเตอร์การเกิดน้าทว่ มต่าง ๆ) ซ่ึง ทา้ ให้สถานการณส์ มมุติมีจ้านวนทังสนิ 68 สถานการณ์ โครงการนีรเิ ริ่มโดย Nijmegen Regional Fire Brigade ที่มีหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบในการดับเพลิงและ การบริหารจัดการภัยพิบัติ ในพืนท่ีบางส่วนของโครงการในประเทศเนเธอร์แลนด์ โครงการเร่ิมในปี ค.ศ. 1997 และแล้วเสร็จก่อนปี ค.ศ. 2002 การสร้างแบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์สา้ หรับโครงการถูกพฒั นาขึน โดยอาศัยโปรแกรมซอฟตแ์ วร์ท่ีมีชอื่ ว่า “DamSim” (Damage Simulator) วัตถุประสงค์ของโครงการและการสร้างแบบจ้าลองโดยพืนฐานและประกอบด้วยองค์ประกอบ ต่าง ๆ ดงั นี  งานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้องกับประเภทของข้อมูลสารสนเทศส้าหรบั ใชใ้ นระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ในกรณที ี่คันกนั นา้ ขาดและเกิดนา้ ทว่ มตามมา 13 เนือหาในหัวขอ้ ย่อยนรี วบรวมมาจากการสนับสนนุ ขอ้ มูลโดย Mr. G. G. vande Mevlen ทป่ี รึกษาด้านสารสนเทศทาง ภูมิศาสตรแ์ ละสิ่งแวดลอ้ ม รายละเอียดเพ่มิ เติมเกี่ยวกับโครงการได้อธบิ ายไว้ในภาคผนวก B 5–30

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง  รายการท่ีครอบคลุมและต่อมาคือการน้าเข้าข้อมูลที่ครอบคลุมถึงสภาพภูมิประเทศ การใช้ ทีด่ นิ โครงข่ายถนน แผนทแี่ ปลงกรรมสทิ ธ์ิ (Cadastral Maps) อาคารตา่ ง ๆ และสิง่ ต่าง ๆ ท่ี เกยี่ วข้องกบั นา้ ท่วม  ขนาด (พืนท่ี ความลึก) และการเคล่ือนตัวของน้าท่วมท่ีขึนอยู่กับเวลาในกรณีท่ีเกิดการ พังทลายของคันกันน้าซ่ึงก่อให้เกิดน้าท่วมใหญ่ (อัตราการไหลของน้าสูงสุด : Meuse 3,650 ลกู บาศก์เมตรตอ่ วินาที14 Rhine 15,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที)  ผลกระทบของมาตรการลดความเสียหายด้วยวิธีมาตรการด้านการวางแผน ( Planning Measures)  การวิเคราะห์กระบวนการอพยพซึ่งสัมพันธ์กับการเคล่ือนตัวของน้าท่วมและความสามารถใน การรองรับไดข้ องโครงขา่ ยถนน  การศึกษาถึงอันตรายที่อาจเกิดขึนได้จากโรงงานเคมีและสารเคมีในช่วงเกิดเหตุการณ์น้าท่วม รวมทงั การจา้ ลองเหตุการณ์ภัยพบิ ัตติ ่าง ๆ เช่น การระเบดิ และการปลดปล่อยสารพษิ  การศกึ ษาถึงวิธีท่ีจะพฒั นาการตระหนกั รูถ้ ึงภัยนา้ ท่วมของสาธารณชนในประเด็นปัญหาตา่ ง ๆ ซ่ึงได้ศกึ ษาไวโ้ ดย PoldEvac 5.6 วธิ กี าร (Methodology) ภายใต้บริบทของการศึกษาแผนการป้องกันน้าท่วม (Flood Protection Schemes) ตัวเลขของ การสรา้ งแบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์ในระเบียบวธิ ีโดยรวมมีดังต่อไปนี  การรวบรวมขอ้ มูลและการตรวจพสิ จู น์ – การก้าหนดชนดิ ของผลลพั ธ์ท่แี บบจา้ ลองต้องให้ – รปู แบบความต้องการต่าง ๆ ของแบบจ้าลอง – ทกั ษะความรูเ้ กย่ี วกับชลศาสตรข์ องระบบแมน่ า้ ที่จะท้าการจ้าลอง – ขอ้ มูลสภาพภูมปิ ระเทศและขอ้ มูลระดบั ก้นทอ้ งนา้ (Bathymetric Data) ท่ีได้แปลงใหอ้ ยู่ ในรปู DTM (Digital Terrain Model) – ข้อจ้ากัดของแส้นทางลา้ เลยี งนา้ และเส้นขอบเขตระหวา่ งพืนทีล่ ้าเลียงน้า และพืนท่ีเก็บกัก น้า (โดยเฉพาะอย่างยงิ่ กา้ หนดโดยใชแ้ บบจา้ ลอง 2 มติ ใิ นพืนท)ี่  การสร้างระบบแผนผังของลมุ่ นา้ และขอ้ เสนอการสรา้ งแบบจ้าลอง  การปรบั เทยี บและการตรวจพสิ จู น์แบบจ้าลองบนพืนฐานของสถานการณป์ ัจจุบนั  ข้อเสนอเชิงหลกั การ (Conceptual Proposal) ของแผนการป้องกัน/การควบคมุ น้าท่วมด้วย สง่ิ กอ่ สร้างท่ีเป็นไปได้ (Feasible Structural Flood Protection/Control Schemes)  การประเมินผลกระทบของแนวคิดท่ีได้เสนอโดยพิจารณาข้อพิจารณาทางด้านเศรษฐศาสตร์ โดยใชแ้ บบจ้าลองเท่าทเ่ี ปน็ ไปได้และเหมาะสม 14 ดูตารางท่ี 4–1 5–31

 การตัดสินใจภายใต้การผสมผสานมาตรการป้องกันน้าท่วมด้วยส่ิงก่อสร้างต่าง ๆ ท่ีดีที่สุดท่ี บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง เป็นไปได้ตามที่ได้ตรวจพิสูจน์ในแบบจ้าลอง (ครอบคลุมลักษณะต่าง ๆ ของมาตรการ ผสมผสาน) โดยใชน้ า้ ทว่ มออกแบบหรอื อัตราการไหลของนา้ ออกแบบ รปู ที่ 5–7 การไม่ด้าเนนิ งาน (Non–Operation) หรอื ความเสยี หายท่ปี ระตูของประตเู รือสญั จรของ คลองสง่ น้า (Maas & Waal Canal) ซ่ึงทา้ ใหเ้ กิดน้านองตามมาในบรเิ วณท่ลี ่มุ ตา้่ Nijmegan (ทางตะวันออกของคลอง) และนา้ ทว่ มในพนื ทโี่ พลเดอร์ Maas & Waal ทเ่ี มือง Beuningen, Wijchen และ Heumen ระหวา่ งชว่ งเวลาตามที่ได้ระบุ 5.7 ข้อสรุปและค้าแนะนา้ (Conclusions and Recommendations) ในบทนีได้แสดงรายละเอียดทั่วไปของการใช้แบบจ้าลองอุทกพลศาสตร์ในการบริหารจัดการน้า ท่วมและได้ให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้แบบจ้าลองดีเทอร์มินิสติกต่าง ๆ ที่มี พารามิเตอร์ทางกายภาพเปน็ หลักส้าหรบั ใช้ในการวเิ คราะหเ์ หตุการณ์น้าท่วมในภมู ภิ าค/หรือทว่ั โลก เป็นท่ีแน่ชัดเครื่องมือในการจ้าลองระบบ (Simulation Tool) และแบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) ไม่ใช่เป้าประสงค์ แต่มันคือกระบวนการของแนวคิดใหม่ ๆ ของกลยุทธ์ในการ ป้องกันน้าท่วม (Flood Control Strategy) ต่าง ๆ การจ้าลองระบบ (Simulation) นับเป็นตัวช่วย สนับสนุนอย่างดีเยี่ยมแก่ผู้ตัดสินใจ แบบจ้าลองดีเทอร์มินิสติกเท่านันที่ช่วยให้สามารถประเมินการ วิเคราะห์ต้นทุน–ผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis) ท่ีมีความซับซ้อนต่อข้อเสนอของมาตรการ ป้องกันน้าท่วมอันหน่ึงบนพืนฐานของหลักการเป็นท่ียอมรับ (ในพืนท่ี) ของกลยุทธ์การป้องกันน้าท่วม มีความเป็นไปได้ท่ีจะตรวจสอบผลกระทบของข้อเสนอในการเปล่ียนแปลงที่สถานการณ์ปัจจุบันโดยตรง 5–32

บทท่ี 5 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ผ่านวิธีการจ้าลองระบบ และท้าการเปรียบเทียบค่าผลลัพธ์ต่าง ๆ ของพารามิเตอร์ที่ได้คัดเลือกและ ผลกระทบของมาตรการเหล่านนั จากมุมมองท่แี ตกตา่ งกัน 5.8 เอกสารอา้ งอิง (References) [1] ARR87, ARR98, ‘Australian Rainfall and Runoff–A guide to flood estimation’, 1987 and 1998 editions, Institution of Engineers, Australia, Barton ACT. [2] Becker A and Serban P (1990),’Hydrological models for water–resources system design and operation’,WMO publication No. 740, Geneva, 1990. [3] Borrows (2001) Peter, ‘Flood risk mapping in England and Wales’,ERWG Letter no. 12, 2001. [4] Du Plessis, LA, Viljoen, MF,Weepener HL & Berning, C (1999), ‘Flood damage functions, models and a computer program for irrigation and urban areas in South Africa’,. Volume 1: Irrigation Areas, WRC Report 690/1/99. ISBN: 1 86845 575 0. ISBN SET NO: 1 86845 577 7, Bloemfontein, 1999. [5] Elliott (1997) J, ‘Development of an improved real–time flood forecasting model’, CRC for Catchment Hydrology Industry Report. [6] Hill P, Mein R and Siriwardena L (1998), ‘How much rainfall become runoff–Loss modelling for Flood Estimation’, CRC for Catchment Hydrology Industry Report. [7] Ingeduldova et al (1999), ‘Ealuation of rating curves in Tyniste upon Orlice’, Labe Water Board, Hradec Kralove (Czech Republic), 1999. [8] NEDECO (1975), ‘Flood control study, Rharb Plain, Morocco’ (Final Report, Mission 2), The Hague, 1975. [9] Shire of Strathbogie Vic (1997), ‘Euroa Floodplain Management Study’, Final Report. Smith D and Greenway M (1992), ‘ANUFLOOD–A Field Guide’, Centre for Resource and Environmental Studies, Australian National university, Canberra, 1992. [10] Weinman PE & Mein RG (1999), ‘How good are our design flood estimates? How can they be improved?’, Inaugural Victorian Floodplain Management Conference, Wangaratta 1999. 5–33

ภาคผนวก (Appendices)

ภาคผนวก A ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ภาคผนวก A การประเมนิ ความเสียหายนา้ ทว่ ม (Flood Damage Assessment) ในหลาย ๆ ประเทศมีความพยายามท่ีจะสร้างฐานข้อมูลความเสียหายจากน้าท่วมขึน ซึ่งต่อไปนี จะอธิบายหลักการและข้อแตกต่างของฐานข้อมูลของประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เนเธอร์แลนด์ และของล่มุ นา้ แม่โขง1 A.1 ประเทศแคนาดา (Canada) ในประเทศแคนาดา ระบบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีแยกส่วนกัน (System of Discrete Computer Programs) ได้ถูกพัฒนาขึนโดยบริษัทท่ีปรึกษา ระบบนีสามารถค้านวณเพ่ือประมาณการ ความเสียหายโดยการท้างานแบบปฏิสัมพันธ์กันของโปรแกรมย่อยเหล่านัน โดยสาระส้าคัญแล้ว ระบบ ฐานข้อมูลให้รายละเอียดของความเสียหายทางตรงทังหมด (Total Direct Damage) (ที่เก่ียวข้องกับ อาคารบา้ นพักอาศัยและอาคารพาณชิ ย์ ทังทรัพย์สนิ ในอาคารและทเ่ี กยี่ วกับโครงสร้าง) ต่อรอบการเกดิ ซ้า (10; 17; 25; 50; 100 ปี) ท่ัวทังพืนที่ศึกษา/ต่อหน่วยบุคคล/ต่อช่วงล้าน้า/ต่อชุมชน/ต่อเขตพืนท่ี โปรแกรมยังช่วยในการค้านวณความเสียหายรายปีเฉล่ีย (Average Annual Damages) บนพืนฐานของ ต่อหนงึ่ หนว่ ย ความเสยี หายจากนา้ ทว่ มโดยตรง (Direct Flood Damage) ท่เี กดิ ขึนกับบา้ นพักอาศยั ครอบคลุม ทังความเสยี หายเชิงของทรัพย์สินและของโครงสรา้ ง ตลอดจนคา่ ใช้จ่ายในการท้าความสะอาดคราบความ เสียหายจากน้าท่วม ส้าหรับความเสียหายจากน้าท่วมส้าหรับสถานประกอบการเชิงพาณิชย์ครอบคลุมถึง ความเสียหายท่ีเกิดขึนกับสินค้าคงคลัง เครอื่ งจักรอุปกรณ์และตัวอาคารต่าง ๆ รวมทังค่าใช้จ่ายในการท้า ความสะอาด และเช่นเดียวกับส่วนประกอบของ (ความเสียหาย) ในบ้านพักอาศัย ความเสียหายเหล่านี โดยปกติถูกค้านวณแยกจากกันทังส่วนท่ีเป็นทรัพย์สินและส่วนโครงสร้าง เนื่องจากขอบเขตและความ หลากหลายของกิจกรรมที่ดา้ เนินการของกลุ่มนไี ม่ไดม้ ีลักษณะรูปแบบท่เี หมือนกนั อย่างกลุ่มบ้านพักอาศัย ด้วยเหตุนี การแยกประเภทเป็นกระบวนการท่ีซับซ้อนกว่ามาก อย่างไรก็ตาม การจัดกลุ่มตามหน้าที่ท่ี คล้ายคลึงกันเพ่ือวัตถุประสงค์ของการประมาณการความเสียหายจากน้าท่วมพ่ีเป็นสิ่งจ้าเป็นเพื่อรักษา ต้นทุนในการศึกษาภายใต้เหตุผลทางเศรษฐกิจ การประเมินความเสียหายจากน้าท่วมยังรวมถึงการ พิจารณาความเสียหายต่อโครงสรา้ งสถาบันทางหลวงและสะพาน สิง่ อ้านวยความสะดวกต่าง ๆ และความ เสียหายทางอ้อม (Indirect Damage) ในแง่ของการประมาณการความเสียหายส้าหรับหน่วยบ้านพัก อาศัย/หน่วยธุรกิจการค้า/หน่วยอุตสาหกรรม เส้นโค้งความลึกน้าสังเคราะห์–ความเสียหาย (Synthetic Depth–Damage Curve) ถูกนา้ มาใช้ในเมอื งอลั เบอร์ตา (Alberta) ประเทศแคนาดา 1 ขอ้ ความในภาคผนวกนไี ด้จัดทา้ ขนึ จากแรงสนับสนุนของสมาชิกของ WG–CAFM ประเทศออสเตรเลยี แคนาดา ญี่ปุ่น และเนเธอรแ์ ลนด์ A–1

เหตุการณ์น้าท่วมยังก่อให้เกิดความเสี่ยงหายทางอ้อมซึ่งความเสียหายเหล่านีโดยท่ัวไปแล้ว ภาคผนวก A ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ประกอบด้วยต้นทุนในการอพยพ และที่พักทางเลือกระหว่างเหตุการณ์น้าท่วม การสูญเสียค่าจ้างและ รายได้ทางธุรกิจเน่ืองจากการหยุดชะงักของสถานประกอบการเชิงพาณิชย์และเส้นทางคมนาคมต่าง ๆ การสูญเสียสุทธิของก้าไรปกติ (Normal Profit) รายได้จากการลงทุน การบริหารจัดการและแรงงาน ต้นทุนการบริหารงาน ต้นทุนในการสู้ภัยน้าท่วมและความไม่สะดวกสบายโดยทั่วไป รวมถึงต้นทุนในการ ทา้ ความสะอาด เป็นตน้ โดยปกติแล้ว ความเสียหายทางอ้อมเหล่านีสามารถค้านวณในรูปของเปอร์เซ็นต์ของความ เสียหายทางตรง โดยมีค่าอยู่ในช่วงตังแต่ 10–45% ส้าหรับกลุ่มการให้ประโยชน์ท่ีดินเฉพาะเจาะจง แต่ โดยทั่วไปแล้วถูกค้านวณไว้ท่ี 20% ของความเสียหายทางตรง Corps of Engineers ได้ท้าการศึกษาเพ่ือ หาค่าความเสียหายทางอ้อมพบว่า มคี ่าเท่ากับ 15% ส้าหรับความเสียหายในพืนท่ีอยู่อาศัย 37% ส้าหรับ แหล่งธุรกิจการค้า 10% ส้าหรับสิ่งอ้านวยความสะดวก 34% ส้าหรับทรัพย์สินสาธารณะ 10% ส้าหรับ พืนทีเ่ กษตรกรรม 25% ส้าหรบั ทางหลวงและ 23% ส้าหรบั ทางรถไฟ ความเสียหายทางอ้อมโดยท่ัวไปถูกประเมินโดยการจัดท้ารายการตรวจสอบผลกระทบที่อาจ เกดิ ขึนได้และท้าการประเมนิ แต่ละรายการอย่างมแี บบแผน ซ่ึงรายการตรวจสอบควรประกอบด้วยจ้านวน การใช้งานและช่วงเวลาหยุดชะงักของสิ่งอ้านวยความสะดวกด้านการคมนาคมและการส่ือสาร จ้านวน คนงานและเกษตรกร ทังนีขนึ อยู่กับจ้านวนโรงงานที่ถูกปิด และจ้านวนธุรกิจท่ีสญู เสียไปจากเหตุการณ์น้า ท่วมฉุกเฉิน ขนาดของผลกระทบแต่ละด้านอาจประมาณได้จากการสัมภาษณ์ผู้ได้รับผลกระทบเหล่านัน ในช่วงท่ีเกิดน้าท่วมล่าสุดและมูลค่าทางเศรษฐกิจของแต่ละหน่วยสามารถก้าหนดได้จากการวิเคราะห์ ตลาด (Market Analysis) ในท้ายท่ีสุด ผลลัพธ์ที่ได้จะน้ามาหาค่าผลรวมทังหมดของความเสียหาย ทางอ้อม ความซับซ้อนของกระบวนการประเมินข้างต้นท้าให้หลาย ๆ องค์กรใช้วิธีประมาณการความ เสยี หายทางออ้ มจากความเสียหายทางตรงโดยคิดเปน็ เปอร์เซน็ ต์ตามท่ีไดอ้ ธิบายข้างต้น โครงการลดความ เสียหายจากน้าท่วมแคนาดา–ซัสแคตเชวัน (Canada–Saskatchewan Flood Damage Reduction Program) ได้ก้าหนดรูปแบบในการประมาณการความเสียหายทางอ้อมโดยก้าหนดให้เท่ากับ 20% ของ ความเสียหายทางตรงของทุกกลุ่มรายการรวมกัน ซ่ึงตัวเลขนีอยู่ในช่วงค่าท่ีแนะน้าไว้โดยหน่วยบริการ อนุรกั ษ์ดนิ ของสหรัฐอเมริกา (US Soil Conservation Service) ท่ีแนะน้าให้ใช้ช่วงเปอร์เซ็นต์อยรู่ ะหว่าง 5–25% ส้าหรบั การใช้งานเฉพาะแตล่ ะด้าน A.2 ประเทศออสเตรเลีย รัฐวิกตอเรยี (Australia, State of Victoria) ในรัฐวิกตอเรียประเทศออสเตรเลีย ความรับผิดชอบในการบริหารจัดการพืนท่ีราบน้าท่วมถึงถูก มอบอ้านาจให้หน่วยบริหารจัดการลุ่มน้า (Catchment Management Authorities) เม่ือไม่นานมานี โดยมีผู้เช่ียวชาญกลุ่มเล็ก ๆ ในกรมทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ของรัฐ (State Department of Natural Resources and Conservation) ชว่ ยสนบั สนนุ ท่ีปรกึ ษาของกรมไดพ้ ัฒนาวิธกี ารประเมินอยา่ ง รวดเร็ว (Rapid Appraisal Method, RAM) ส้าหรับใช้ประเมินค่าเสียหายจากน้าท่วมครังปัจจุบันและ A–2

ภาคผนวก A ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง มาตรการบริหารจัดการน้าท่วมท่ีเป็นไปได้ วัตถุปะสงค์หลักก็เพอื่ การประเมินโครงการ (มาตรการ) ต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว เพอ่ื จะไดน้ ้ามากา้ หนดลา้ ดับความส้าคญั วิธกี ารประเมินอย่างรวดเร็ว (RAM) ไดแ้ ยกแยะความแตกต่างระหว่าง 3 กล่มุ ความเสียหาย  ความเสียหายทางตรงหรือนับค่าได้ (Direct Tangible Damages) เป็นความเสียหายทาง กายภาพทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับโครงสร้างและทรัพย์สนิ ในของอาคาร องค์กรการเกษตรและโครงสร้าง พืนฐานในภูมิภาค เชน่ ถนนและสะพาน  ความเสียหายท่ีนับค่าได้ทางอ้อม (Indirect Tangible Damages) ค่าใช้จ่ายในการรับมือกับ เหตุการณ์ฉุกเฉินและการท้าความสะอาด เงินสนับสนุน/ช่วยเหลือชุมชน ค่าใช้จ่ายของการ หยดุ ชะงกั ของการคมนาคม การจ้างงานและธรุ กจิ การคา้  การสูญเสียท่ีนับค่าไม่ได้ (Intangible Losses) ซึ่งไม่สามารถประมาณค่าเป็นจ้านวนเงินได้ การสูญเสยี ความหลากหลายทางชีวภาพ ระดบั ความเครียดทเ่ี พ่มิ ขนึ ของผู้อยู่อาศัย มลู คา่ เฉลี่ย (Mean Values) ถูกน้ามาพจิ ารณาเพื่อใช้งานในหลายพืนท่ีของรัฐวิกตอเรยี อยา่ งไรก็ ตาม สนับสนนุ ใหน้ กั วเิ คราะห์ปรับเปลี่ยนมูลค่าเฉล่ียใหเ้ หมาะสมกบั แตล่ ะพืนที่ ในการประยุกต์ใช้ RAM ประกอบด้วย 8 ขันตอน2 ซ่ึงได้อธิบายได้ในคู่มือที่ออกโดยกรม ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ของรัฐ (State Department of Natural Resources and Conservation) ขนั ตอนท่ี 1 การก้าหนดพนื ที่ศึกษา (Define Study Area) หลักเกณฑ์ท่ีส้าคัญคือ พืนท่ีที่ได้รับผลกระทบจากสาเหตุอย่างหน่ึงควรก้าหนดไว้เป็นส่วนหนึ่ง ของพืนท่ีศึกษาพืนท่ีหน่ึง ยกตัวอย่างเช่น หากมาตรการบริหารจัดการในพืนท่ีหน่ึงก่อให้เกิดผลประโยชน์ หรือความเสียหายกับอีกพืนท่ีหน่ึงควรผนวกพืนที่ทังสองให้เป็นพืนที่ศึกษาเดียวกัน พืนท่ีชุมชนเมืองและ พนื ท่ีชนบทต้องแยกออกจากกันในการประมาณการความเสียหาย แต่อาจจะรวมอยใู่ นพนื ท่ศี กึ ษาเดียวกัน ก็ได้ ขันตอนที่ 2 การประมาณการความเสียหายของแต่ละเหตุการณ์น้าท่วม (Estimate Damages for Each Flood Event) ข้อมลู ท่ีตอ้ งการไดแ้ ก่  แผนท่ีแสดงขอบเขตน้าทว่ มของแตล่ ะเหตุการณน์ ้าท่วม  การสา้ รวจอยา่ งรวดเรว็ ของอาคารทไี่ มใ่ ช่บา้ นพกั อาศยั ขนาดใหญ่  การนับจ้านวนอาคารขนาดเล็ก (เชน่ บา้ น เป็นตน้ ) อยา่ งงา่ ย 2 ในที่นีเพยี ง 2 ขันตอนที่ไดร้ ับการอ้างองิ เน่อื งจากขันตอนอ่นื ไม่ไดใ้ ชห้ ลักการประเมินความเสียหายทางตรง อยา่ งไรก็ ตาม 2 ขนั ตอนนไี ด้อธิบายไว้ในหวั ขอ้ 3.4.3 A–3

ความเสียหายสามารถค้านวณได้ดังต่อไปนี (ต้นทุนทังหมดอยู่ในหน่วยออสเตรเลียดอลล่าร์ ($A) ภาคผนวก A ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ของปี ค.ศ. 2000)  กา้ หนดใหม้ ูลค่าเฉล่ียของอาคารขนาดเลก็ เท่ากับ $A 20,500  อาศยั ขอ้ มูลในตารางที่ A–1 สา้ หรบั อาคารขนาดใหญ่ ตารางที่ A–1 ความเสียหายทีอ่ าจเกดิ ขนึ ไดเ้ ฉลีย่ ตอ่ ตารางเมตรส้าหรบั อาคารขนาดใหญ่ รายละเอยี ดของอาคาร ความเสยี หายทีอ่ าจเกิดขนึ ไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ ตารางเมตร (ประกอบดว้ ยปริมาณและความเสยี หายของ อาคาร) ต่้า (Low) เชน่ สา้ นกั งาน ศาลา เป็นต้น $A 45 กลาง (Medium) เชน่ ห้องสมุดและอาคารธรุ กิจ $A 80 ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น สงู (High) เช่น อุตสาหกรรมอเิ ล็กทรอนกิ ส์ โรง $A 200 พมิ พ์ เป็นต้น ข้อมูลในตารางนแี สดงความเสียหายท่ีอาจเกิดขึนได้ ซ่ึงจะถูกปรบั ลดให้สอดคล้องตามระยะเวลา เตือนภัยน้าทว่ มและประสบการณข์ องชุมชนต่อเหตุการณ์นา้ ท่วมทเี่ คยเกิดขึนโดยอาศัยตัวคูณที่เสนอแนะ ไวใ้ นตารางที่ A–2 ตารางที่ A–2 ตวั ปรับลดสา้ หรบั ความเสยี หายท่อี าจเกดิ ขนึ ได้ เวลาเตอื นภัย ชุมชนทเี่ คยมีประสบการณ์ ชมุ ชนทีไ่ มเ่ คยมปี ระสบการณ์ 0.9 นอ้ ยกวา่ 2 ชั่วโมง 0.8 0.8 2–12 ช่วั โมง การปรบั ลดเชิงเสน้ 0.7 (Linear Reduction) มากกวา่ 12 ชว่ั โมง 0.4 เส้นโค้งระดับน้า–ความเสียหาย (Stage–Damage Curve) ของเหตุการณ์น้าท่วมรายปีเฉลี่ย สามารถนา้ มาใช้งานได้อกี ทางเลอื กหน่ึง ความเสียหายทางตรงในพืนที่เกษตรกรรมสามารถประมาณการในลักษณะเดียวกันโดยอาศัย ตัวเลขมาตรฐาน (Standard Figures) ต่อพืนท่ีน้าท่วม (เฮกแตร์) อย่างไรก็ตาม อาจมีข้อมูลอยู่ไม่เพียง พอที่จะสร้างตารางมาตรฐาน (Standard Table) และคู่มือ RAM ให้รายละเอียดข้อมูลเฉพาะต้นทุนของ การเปลี่ยนแปลงคลังสินค้า การหว่านซ้าเมล็ดพืชบริเวณทุ่งหญ้า การควบคุมวัชพืช การทดแทนปศุสัตว์ และอ่ืน ๆ A–4

ภาคผนวก A ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ค่าความเสียหายต่อ 1 กิโลเมตร ของทุกประเภทถนนถูกแนะน้าไว้ ส่วนการประมาณการความ เสียหายทเ่ี กิดขึนกบั โครงสร้างพืนฐานอื่น ๆ อาจค้านวณบนพืนฐานข้อมลู เป็นกรณเี ฉพาะไป มีการแนะน้าให้ประเมินความเสียหายทางอ้อมโดยให้ค่าประมาณ 30% ของความเสียหาย ทางตรง3 หากไมม่ ีขอ้ มูลที่ดกี วา่ A.3 ประเทศญี่ปนุ่ (Japan) ในประเทศญ่ีปนุ่ กระทรวงการเกษตร ป่าไมแ้ ละการประมง (Ministry of Agriculture, Forestry and Fishery) ได้สร้างตารางแสดงรายละเอียดความเสี่ยงต่อความเสียหาย (Detailed Hazard Table) ของการผลิตข้าวบนฐานข้อมูลที่รวบรวมขึนจากเหตุการณ์น้าท่วมที่เคยเกิด ซ่ึงข้อมูลในตารางแสดงถึง อัตราการลดลงของการผลิตข้าวแยกตามระดับความลึกของน้าท่วม คุณภาพของน้าท่วมช่วงระยะการ เจริญเติบโต และอุณหภูมิน้า โครงการปรับปรุงพืนท่ีเกษตรกรรม (Farmland Improvement Project) ในประเทศญ่ีปุ่นเพ่ือป้องกันน้าท่วมได้ถูกวางแผนให้สอดคล้องกับข้อมูลในตารางนี การน้าแนวคิดเรื่อง ระดับน้าท่วมที่ยอมรับไดท้ ่ีกอ่ ให้เกิดความเสียหายนอ้ ยที่สดุ ในการผลิตขา้ วส่งผลใหอ้ ันตรายจากน้าทว่ มใน พนื ทีล่ ุม่ นา้ และค่าใชจ้ ่ายของโครงการระบายนา้ ลดลง A.4 ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ (The Netherlands) ในประเทศเนเธอร์แลนด์ได้มีการพัฒนาวิธีมาตรฐาน (Standard Method) ในการประเมินความ เสียหายและจ้านวนผปู้ ระสบภัยนา้ ท่วม ซ่งึ วธิ นี ไี มม่ ีการแยกความแตกตา่ งระหว่างน้าท่วมจากน้าทะเลและ จากน้าจืด เนื่องจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่ามีความแตกต่างของปริมาณความเสียหายค่อนข้างน้อย อย่างไรก็ตาม ในประเทศออสเตรเลีย (ตามท่ีกล่าวมา) มีการก้าหนดความแตกต่างระหวา่ ง “พืนที่ประสบ ภัยน้าท่วมซ้าซาก (Frequently Flooded Area)” และ “พืนที่ประสบภัยน้าท่วมน้อยครัง (Less Frequently Flooded Area)” ขึน เนื่องจากความเสียหายคาดการณ์ของแต่ละกรณีแตกต่างกันอย่าง มาก ได้มีการตัดสินใจท่ีจะใช้ข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แบบมาตรฐานซึ่งเป็นฐานข้อมูลท่ีมีให้ใช้ งานอยู่ท่ัวทังประเทศและได้รับการปรับปรุงอย่างสม้่าเสมอ และยังได้พบว่าธนาคารข้อมูลที่แตกต่างกัน (จา้ นวนหน่งึ ) เป็นสงิ่ จา้ เป็นสา้ หรบั การประมาณการความเสยี หายและจ้านวนผปู้ ระสบภัย มีหลายวิธีส้าหรับการผนวกข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ซึ่งวิธีเหล่านีขึนอยู่กับปัจจัยท่ีเรียกว่า “รูปแบบเวคเตอร์ (Vector Pattern)” หรือ “รูปแบบลายผ้าโครงสร้าง (Fabric Pattern)” หลังจากท้า การประเมินด้วยวิธีต่าง ๆ แล้ว รูปแบบลายผ้าถูกเลือกส้าหรับน้ามาใช้งานต่อไป วิธีการดังกล่าวนียัง ต้องการการศึกษาและพิจารณาผลที่ได้ต่อไปอีก รวมทังข้อมูลพืนฐานท่ีจะน้ามาใช้ต้องได้รับการปรับปรุง เพิม่ เตมิ 3 กรณุ าเปรียบเทียบกับตัวเลขทไ่ี ดก้ ลา่ วไว้กอ่ นหนา้ นสี า้ หรับกรณเี หตกุ ารณใ์ นประเทศแคนาดา A–5

A.5 ล่มุ น้าแม่โขงตอนลา่ ง (Lower Mekong Basin)4 ภาคผนวก A ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ในพืนที่ลุ่มน้าแม่โขงตอนล่าง (ประกอบด้วยประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม และไทย) น้าท่วมได้ สร้างความเสียหายให้กับพืนที่เกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งพืนท่ีนาข้าวครอบคลุมพืนท่ีขนาดใหญ่ ในช่วงฤดูฝน ภายใต้โปรแกรมความช่วยเหลือทางเทคนิคประเทศญี่ปุ่น ( Japanese Technical Assistance Program) การประเมินความเสียหายได้ด้าเนินการด้วยการจัดเตรียมแผนที่ น้านอง (Inundation Map) และแผนท่ีความเสยี หายทางการเกษตร (Agricultural Damage Map) โดยใชเ้ ทคนคิ การส้ารวจระยะไกล (Remote Sensing, RS) และเทคนคิ สารสนเทศทางภมู ิศาสตร์ (GIS) ส้าหรับการเกิดน้าทว่ มต่อเนื่องกนั หลาย ๆ ปี มกี ารจดั ท้าแผนท่ีนา้ นองขนึ แสดงการเปล่ยี นแปลง ของพืนที่ถูกน้าท่วมกับเวลาการสร้างแผนท่ีความเสียหายทางการเกษตรถูกจัดท้าขึนในลักษณะของ (1) แผนที่ระดับความลึกของน้านอง (Inundation Depth Contour Map) (2) แผนท่ีจัดแบ่งพืนที่นาข้าว (Paddy Fields Division Map) ซึ่งจัดเตรียมโดยอาศยั ขอ้ มลู การส้ารวจระยะไกล (3) ข้อมูลความเสยี หาย น้านองซึ่งได้มาจากการส้ารวจในพืนที่ แผนท่ีระดับความลึกของน้านองถูกจัดเตรียมขึนด้วยการผนวก ข้อมูลการส้ารวจในพืนท่ีกับแผนท่ีน้านองท่ีช่วงเวลาต่าง ๆ มีการพัฒนาเทคนิคเพื่อระบุพืนท่ีนาข้าวจาก ภาพถ่ายดาวเทียมขึน แบบจา้ ลองถูกพฒั นาขึนเพื่อสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างระดับน้านองและการลดลง ของผลผลิตของการเก็บเกีย่ วขา้ ว (Otsuboet et al., 2000) 4 หลงั จากบทความท่เี ขียนโดย Yoshiaki Otsubo, Tado Ito และ Hideshige Lida ช่อื เรอ่ื ง “การจดั ท้าแผนท่ีนา้ นองใน ลมุ่ นา้ แม่โขงตอนลา่ งโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือการพัฒนาทางการเกษตรอย่างย่งั ยืน (Inundation Mapping in The Lower Mekong Basin Aiming at Sustainable Agricultural and Sustainable Development)” (The Japanese Institute of Irrigation and Drainage) A–6

ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ภาคผนวก B PoldEvac : กรณีศึกษาการรับนา้ นองในพืนทีป่ ิดล้อมและการ สร้างแบบจ้าลองการอพยพในพืนทีเ่ สีย่ งภยั น้าท่วมใกลช้ ายแดนประเทศ เยอรมันและเนเธอร์แลนด์ (PoldEvac : A Case Study on Polder Inundation and Evacuation Modelling in a Flood Prone Area Near the Border of Germany and the Netherlands) B.1 บทน้า (Introduction) โครงการที่เรียกว่า PoldEvac เป็นการประยุกต์โปรแกรมซอฟต์แวร์ “DamSim (Damage Simulator)” ในการจ้าลองการเกิดน้าท่วมในพืนท่ีลุ่มต่้าโดยแบ่งออกเป็นส่วน ๆ การพัฒนา DamSim ดา้ เนนิ การแล้วเสรจ็ ในปี ค.ศ. 1992 ระหว่างเกิดเหตุการณ์น้าท่วมในแม่น้าไรน์ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 1995 นัน การเกิดน้าท่วม บริเวณพนื ทล่ี ุ่มต่้าตามแนวแม่น้าในประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ถกู ประเมินว่ามคี วามเส่ียงสูงมาก ดว้ ยเหตุนี จึงมี การตัดสินใจจะอพยพผู้อยู่อาศัยและปศุสัตว์ออกจากพืนท่ีเส่ียงภัยน้าท่วมขนาดใหญ่อย่างฉับพลัน ซึ่ง กลายเป็นการด้าเนนิ การขนาดใหญม่ ากและส่งผลกระทบตามมาอย่างมาก ในที่สุด คันกันน้าไม่ได้แตกและไม่ได้เกิดเหตุการณ์น้าท่วมตามมา อย่างไรก็ดี เหตุการณ์นีท้าให้ ตระหนักได้ว่าจ้าเป็นต้องทราบข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับผลพวงของการเกิดน้าท่วมมากกว่านี มาตรการท่ี เป็นไปได้ซ่ึงควรจะต้องก้าหนดขึนมาและด้าเนินการก่อนที่เหตุการณ์ระดับน้าเพ่ิมขึน และท้ายที่สุด รูปแบบของข้อมูลแบบไหนที่ผู้มีอ้านาจตัดสินใจต้องการในช่วงเวลาวิกฤตเพื่อตัดสินใจได้ถูกต้องและ ทันเวลา เพอ่ื การนี ระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจระดับท้องถิ่น (Regional Support System) ถกู พฒั นาขนึ เพ่อื บรรลวุ ตั ถุประสงค์นภี ายใตบ้ รบิ ทของโครงการท่ีมีช่ือวา่ “PoldEvac” ซงึ่ สัมพันธ์กับการบริหารจัดการ การอพยพและมาตรการฉุกเฉนิ อย่างอ่ืนท่ีมีความจ้าเปน็ ในกรณีที่คนั กันน้าเกดิ การพังทลาย พืนทโี่ ครงการ ที่เกี่ยวข้องเป็นพืนที่ปิดล้อม ซึ่งประกอบด้วย เมือง หมู่บ้าน และนิคมอุตสาหกรรมท่ีตังอยู่ในบริเวณ ชายแดนระหว่างประเทศเยอรมันและประเทศเนเธอร์แลนด์ระหว่างแม่น้า Meuse, Rhine และ Waal (เป็นแม่น้าสายสาขาหลักของแม่น้าไรน์ในประเทศเนเธอร์แลนด์) โครงการนีเกิดจากการริเริ่มของหน่วย ดับเพลิงท้องถิ่นนิจเมเกน (Nijmegen Regional Fire Brigade) ท่ีท้าหน้าท่ีป้องกันไฟและการบริหาร จัดการภัยพิบัติในพืนท่ีโครงการซ่ึงอยู่ในส่วนของประเทศเนเธอร์แลนด์ โครงการเร่ิมต้นในปี ค.ศ.1997 และเสร็จตน้ ปี ค.ศ. 2002 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการและการสรา้ งแบบจ้าลองประกอบด้วย 7 วัตถปุ ระสงค์พนื ฐาน ดังนีคือ (1) การทา้ วิจัยท่ีเก่ียวข้องกับชนดิ ของขอ้ มลู ทีต่ ้องการใชใ้ นระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจในกรณีที่ เกดิ การพงั ทลายของคนั กนั น้าและเกดิ น้าท่วมตามมา B–1

(2) การจดั ท้ารายการสงิ่ ของให้ครบถ้วนและข้อมูลนา้ เขา้ ท่ีเกย่ี วกับสภาพภูมปิ ระเทศ การใช้ทีด่ ิน ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง โครงข่ายถนน เจ้าของทีด่ นิ (แผนทเ่ี กี่ยวกบั ทีด่ ิน) อาคาร และอนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการเกดิ น้า ทว่ ม (3) ขอบเขต (พืนท่ี ความลึก) และการเคลื่อนตัวของน้าซ่ึงสัมพันธ์กบั เวลาของการเกิดน้านองใน กรณีท่ีคันกันน้าพังทลายจากเหตุการณ์น้าท่วมใหญ่ (อัตราการไหลสูงสุด : Meuse 3,650 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ วินาที Rhine 15,000 ลูกบาศกเ์ มตรต่อวนิ าที) (4) ผลกระทบจากมาตรการลดความเสียหายดว้ ยวิธีมาตรการวางแผน (5) การวิเคราะห์ขันตอนการอพยพที่สัมพันธ์กับการก่อตัวของการเกิดน้าท่วมและสมรรถภาพ ของโครงข่ายถนน (6) การศึกษาอันตรายทอ่ี าจเกิดขึนไดข้ องโรงงานเคมีและสารเคมีในกรณที ่ีเกิดเหตกุ ารณน์ ้าท่วม รวมทงั การจ้าลองเหตุการณ์ภยั พิบัตขิ นาดใหญ่ เช่น การระเบดิ การปลอ่ ยมลพิษ เป็นตน้ (7) จะสร้างการรับรู้ของสาธารณะในประเด็นต่าง ๆ ซ่ึงได้มีการศึกษาไว้โดย PoldEvac ได้ อย่างไร ในเนือหาหลังจากนีได้อธิบายเพ่ิมเติมถึงองค์ประกอบ 7 ประการ ซึ่งวัตถุประสงค์ของโครงการ ขององคป์ ระกอบเหล่านี ได้แก่  เพื่อเพม่ิ พนู ความรู้เกี่ยวกบั ขอ้ มลู ในระดบั ท้องถิ่นสา้ หรบั ใช้ประกอบการตัดสนิ ใจภายใต้ความ เสย่ี งของเหตุน้านอง  เพื่อรบั ทราบข้อมูลของกระบวนการเกดิ นา้ ท่วมทส่ี มั พันธ์กับเวลาในกรณที ่ีคนั กันนา้ พงั ทลาย และเกดิ น้านองในพืนที่โพลเด้อร์ตามมา ขอ้ มูลดงั กล่าวมีความส้าคัญต่อสถานการณ์การเกิด นา้ ทว่ มท่แี ตกต่างกันทงั หมดตรงตา้ แหน่งทีส่ นใจตามแนวแม่น้า Rhine, Woal และ Maas  เพ่ือรับรู้ภาพรวมของผลทจี่ ะตามมาจากสถานการณ์การเกิดนา้ ทว่ มต่าง ๆ  เพื่อรวบรวมข้อมูลท่เี กยี่ วข้องกับการวางแผนการใชท้ ีด่ นิ และกฎระเบียบตา่ ง ๆ  เพ่อื สร้างความตระหนกั รู้ถึงความเสย่ี งจากเหตุอันตรายทเี่ กิดขึนจากสารอนั ตรายที่มีอยู่ใน พนื ท่ีลมุ่ ต่้า (พืนที่เสยี่ งภยั น้าทว่ ม) แก่คนงานท่ีเกีย่ วข้องกับงานภยั พิบัตทิ างด้านสง่ิ แวดล้อม และการด้าเนนิ งานบรรเทาภัยพบิ ัติ วตั ถปุ ระสงค์เหล่านีถูกแปลให้กลายเป็นเป้าหมายของโครงการ กล่าวสนั ๆ ผลลัพธ์จากงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับข้อมูลมีส่วนส้าคัญที่ช่วยในการตัดสินใจในด้านการอพยพ รูปแบบน้านองและการเคล่ือนตัว (ขอบเขต เวลา) การวิเคราะห์ผลกระทบที่เกี่ยวข้อง แนวทางการอพยพ ข้อมูลแผนการใช้ท่ีดิน และการ ปรับตัวท่ีเชื่อมโยงกัน ความตระหนักรู้ถึงการบริหารจัดการภัยพิบัติและประเด็นของหน่วยดับเพลิง เช่น โครงข่ายระบบประปา นา้ ดบั เพลงิ ระบบนา้ เสยี ของเสียอันตรายและสารอันตราย เปน็ ต้น ในโครงการได้ให้ความส้าคัญแบบจ้าลองและการประยุกต์ใช้ ยิ่งไปกว่านัน องค์ประกอบบางส่วน ของแบบจ้าลอง PoldEvac ถกู พัฒนาให้มีความแตกตา่ ง โดยมีระบบการจัดการดว้ ยแนวคิดการสนบั สนุน การตัดสินใจเป็นพิเศษ ซับซ้อนและครอบคลุมทังหมด ท่ีเรียกว่า ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System, DSS) เน่ืองจาก PoldEvac เป็นโครงการน้าร่อง ด้วยเหตุนี ลักษณะบางอย่างปรากฎ B–2

ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ให้เห็นว่ายังเป็นขนั แรกท่ีก่อนทจ่ี ะไปถึงขันที่เป็นโครงการที่สมบูรณเ์ ต็มรูปแบบสามารถประมวลผลข้อมูล เพื่อสนองการตัดสินใจของระบบ DSS ท่ีเกี่ยวข้อง โดยทั่วไปในแต่ละโหมดเหล่านีถูกออกแบบมาเพื่อ ประมวลผลให้สมบูรณ์ และถา้ จา้ เป็นเพือ่ จา้ ลองกระบวนการทเ่ี กิดขึนอิสระท่มี ีความสัมพันธแ์ นน่ อน และ/ หรอื หนว่ ยตัดสินใจ B.2.1 การวจิ ยั (Research) PoldEvac ใช้ผลลัพธ์จากงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับข้อมูลท่ีจ้าเป็นส้าหรับการตัดสินใจและการ บริหารจัดการภัยพิบัตใิ นกรณีเกดิ การพังทลายของคันกันน้าท่ีอาจเกิดขึนได้ และท้าให้เกิดน้าท่วมในพืนที่ ปิดลอ้ มตามมา งานวจิ ัยนีด้าเนินการโดยบุคคลอื่นในประเทศเยอรมันและในประเทศเนเธอรแ์ ลนด์แยกกัน B.2.2 การจดั การขอ้ มลู (Information Handling) ระหว่างขันตอนการพัฒนา PoldEvac ข้อมูลจ้านวนมากได้ถูกรวบรวม ประมวลผล จัดเก็บและ ท้าการวิเคราะห์ ซึ่งข้อมูลประกอบด้วยข้อมูลทางภูมิศาสตร์ (Geographic Data) และข้อมูลคุณลักษณะ (Attribute Data) ส้าหรับข้อมูลทางภูมิศาสตร์นันครอบคลุมถึงข้อมูลแผนท่ีดิน แผนที่พืนฐานขนาดใหญ่ แบบจ้าลองความสูงเชิงเลข (Digital Terrain Model, DTM) ที่แสดงเส้นระดับความสูง การใช้ที่ดิน แผน ทล่ี ักษณะภูมิประเทศ แผนที่ท่ีวางแผนการใช้ที่ดิน แผนที่ถนน วตั ถุที่แสดงในแผนท่ีดินและแผนที่พืนฐาน จะถูกก้าหนดให้อยู่ในรูปวัตถุดิจิตอล (ชินส่วน อาคาร) ข้อมูลคุณลักษณะจะถูกเชื่อมโยงกับวัตถุ (ทาง ภมู ิศาสตร์) เหล่านี โดยทัว่ ไป PoldEvac ได้รอ้ งขอให้ชุมชนท้องถิ่น (Municipalities) ต่าง ๆ เข้ามามีส่วน ร่วมในโครงการนีเพื่อให้มอบข้อมูลให้ ข้อมูลบางส่วนถูกรวบรวมขึนจากการท้าการส้ารวจภาคสนาม โดยตรงนอกเหนอื จากวิธอี ่ืน ๆ เพื่อการตรวจสอบควบคมุ ขอ้ มูล การสร้างภาพดิจติ อลและลักษณะโปรไฟล์ ถนน แนวทางนมี ลี ักษณะแบบเดียวกนั ในประเทศเนเธอร์แลนดแ์ ละเยอรมัน B.2.3 นา้ นอง : DelftFLS (Inundation : DelftFLS) รายละเอียดเก่ียวกับการวิเคราะห์ความเสี่ยงของการเกิดน้านองประกอบด้วย ชุดการจ้าลอง น้านองที่สัมพันธก์ ับเวลาในแบบจ้าลอง DelftFLS ซึ่งถกู พัฒนาและใช้งานโดย Delft Hydraulics ร่วมกับ Bundesanstalt fur Gewasserkunde และจังหวดั Gelderland หลกั การสร้างแบบจ้าลองพลวัต (Dynamic Modelling) สามารถสรุปไดด้ ังนี (หลัง Van Mierlo, 2001) :  ในแบบจ้าลอง DelftFLS ได้อาศัยสมการความลึกเฉล่ีย 2 มิติ (Dynamic Flow) และสมการ St. Venant ในการหาค่า DelftFLS สามารถค้านวณอัตราการไหลของนา้ พลวัตซ่ึงครอบคลุม ถึงการเปล่ียนแปลงจากการไหลของน้าต้่ากว่าวิกฤต (Sub–Critical Flow) ไปเป็นการไหล B–3

ของน้าแบบเหนือวิกฤต (Super–Critical Flow) และการเปลี่ยนแปลงจากการไหลของน้า ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง เหนอื วิกฤตไปเป็นการไหลของนา้ ตา่้ กว่าวกิ ฤต รวมทังการเกดิ น้าท่วมในพนื ที่ซ่งึ เดมิ เป็นท่แี หง้  DelftFLS ออกแบบให้ท้างานในลักษณะกริดส่ีเหลี่ยมผืนผ้าท่ีมีความละเอียด 100 เมตร หาก ต้องการสร้างแบบจ้าลองสถานการณ์ในพืนท่ี DelftFLS จะสร้างบังคับใช้ความสัมพันธ์ของ ไฮโดรกราฟของอัตราการไหล (Discharge Hydrograph) กับความสัมพันธ์ของระดับน้ากับ อัตราการไหล (Stage-Discharge Relationship) นี ขอบเขตด้านท้ายน้าในการจ้าลองสภาพ น้านอง เมื่อพัฒนาแบบจ้าลองสภาพน้านอง DelftFLS อาคารต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคไป ขัดขวางการไหลของน้าในพืนท่ี ได้แก่ ถนน ทางรถไฟ บนเนินดินจะถูกมาวิเคราะห์ร่วมด้วย รวมทงั ระดับท้องน้าของระบบระบายน้าในพืนที่ (ยกเว้นคันกันน้าปฐมภมู ิและทุติยภมู ิ)  ในการจ้าลองสภาพน้านองค่าสัมประสิทธ์ิความขรุขระ Nikuradse จะถูกน้ามาใช้ร่วมกับ แนวคิดความขรุขระของ White–Colebrook ซึ่งค่าสัมประสิทธ์ิความขรุขระ Nikuradse ขึ น อ ยู่ กั บ ก า ร ใ ช้ ท่ี ดิ น ต า ม ที่ ก้ า ห น ด ใ น LGN3 ( เ น เ ธ อ ร์ แ ล น ด์ ) แ ล ะ Atkis– Objektartenkatalog (เยอรมันนี) นอกจากนี ยังก้าหนดให้น้านองเกิดขึนในช่วงฤดูหนาวซ่ึง ไมม่ ีการปลูกพชื ในแปลงเพาะปลกู ในการจ้าลองสภาพน้านองด้วย PoldEvac อัตราการไหลสูงสุดในแม่น้า Rhine และ Meuse (15,000 และ 3,650 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ วินาที ตามลา้ ดบั ) ถกู นา้ มาใชซ้ ึ่งยังไมเ่ คยเกิดขึนมาก่อน ด้วยเหตุผลนี จึงมีการใช้งานแบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์อ่ืนที่มีอยู่และท่ีได้ท้าการปรับเทียบไว้ แล้ว ส้าหรับแม่น้า Rhine และ Waal มีการใช้งานแบบจ้าลองพยากรณ์น้าท่วม FLORIJN–SOBEK แบบ มิติเดียว (Rijkswaterstaat Directie Limburg) และส้าหรับแม่น้า Meuse ใช้แบบจ้าลองสองมิติ WAQUA ภายใต้โครงการ PoldEvac สถานการณ์น้านอง 68 สถานการณ์สมมติ ถูกจ้าลองใน 17 พืนท่ี ท่ี เกิดการพังทลายตามแนวแม่น้า Rhine, Waal และ Maas ซึ่งมีความแตกต่างกันตามลักษณะการก่อตัว ของการพังทลายและประเภทของคลน่ื น้าท่วม B.2.4 การลดความเสียหาย (Damage Reduction) อีกส่วนหน่ึงของข้อมูลและสารสนเทศที่ได้รับการประมวลผลในโครงการ PoldEvac ยังเกยี่ วข้อง กบั จา้ นวนปญั หาทผ่ี สมผสานกัน PoldEvac เปน็ ระบบซอฟตแ์ วรท์ ่ีประกอบด้วยหลาย ๆ สว่ นประกอบกัน ไม่ว่าจะเป็นส่วนผลลพั ธ์จากการจ้าลองทเ่ี รียกว่า โหมดสนับสนุนการตดั สินใจภูมิสารสนเทศเชิงพืนท่ี เช่น โครงขา่ ยถนน อบุ ตั ิเหตุ น้านอง การอพยพ และการวางแผนการใชท้ ด่ี ิน เปน็ ต้น การวางแผนการใชท้ ่ดี นิ (Land Use Planning) การวางแผนการใช้ที่ดินและวิธีการควบคุมพืนที่เร่ิมต้นท่ีสถานภาพแตกต่างกันทังมากหรือน้อย ซ่ึงอยู่ระหว่างขันตอนการเตรียมการและเก่ียวข้องกับนโยบายระดับชาติของประเทศเนเธอร์แลนด์และ ประเทศเยอรมันในการควบคุมน้าท่วมซึ่งแสดงออกมาในลักษณะ “Room for the River” ซึ่งรูปแบบจะ B–4

ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ประกอบด้วย ข้อมูลดิจิตอลท่ีแสดงรายละเอียดของแผนการใช้ท่ีดิน เคร่ืองมือส้าหรับใช้ในมาตรกา ร วางแผน เช่น การวัดระยะทาง การแทนดว้ ยวงกลม เป็นต้น และเคร่อื งมือออกแบบอย่างอ่ืนซ่ึงจ้าเปน็ ตอ้ ง นา้ มาพิจารณาเพ่ือเป็นทางเลอื ก การวเิ คราะหผ์ ลกระทบแทนการวิเคราะหค์ วามเสี่ยง (Effect Analysis Instead of Risk Analysis) ในวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องและเอกสารตีพิมพ์ของทางรัฐบาลเกี่ยวกับภัยพิบัติท่ีเป็นไปได้โดยส่วน ใหญ่มักจะกลา่ วถึงในลักษณะของความเส่ียง (Risk) ซ่งึ ประกอบด้วย โอกาสความน่าจะเป็น (Probability) ที่แสดงในรูปของรอบการเกิดซ้า และผลกระทบต่าง ๆ (Effect) ต่อไปนีเฉพาะผลกระทบสถานการณ์ สมมตทิ ีว่ กิ ฤตที่สุดถูกนา้ มาวิเคราะหด์ ว้ ยวธิ ที ีเ่ รียกวา่ “การวิเคราะห์ผลกระทบ (Effect Analysis)” สถานการณน์ ้านองจ้านวน 68 สถานการณ์สมมติ ไดถ้ ูกจัดเก็บเอาไว้ในห้องสมุดของ “ภาพยนตร์ น้าท่วม (Flood Film)” ด้วยความช่วยเหลือของห้องสมุดนี เราสามารถคัดสรรภาพยนตร์ที่เหมาะกับ เหตุการณ์การพังทลายคันกันน้าที่อาจเกิดขึนได้ในแต่ละพืนที่ ผลกระทบต่าง ๆ ของการเกิดน้านองจะถูก คาดการณ์ตามท่ีปรากฏในภาพยนตร์ท่ีเล่าถึงเหตุการณ์น้าท่วมโดยผนวกให้เป็นส่วนหน่ึงของวิธีการของ ระบบ PoldEvac ผลกระทบตา่ ง ๆ ท่ีเกิดจากน้าท่วมจะถูกท้าการวิเคราะห์ ดังนี  ขนาดพนื ที่ (Hectares of Land)  สว่ นของถนน (Road Sections)  ผอู้ ยู่อาศยั (Inhabitants)  ปศสุ ตั ว์ (Cattle)  อาคารและทรัพยส์ ิน (Buildings and Properties)  อนสุ าวรยี ์ (Monuments)  อาคารพิเศษ (Special Buildings) (เชน่ พพิ ิธภัณฑ์ หอจดหมายเหตุ ฯลฯ)  สารอนั ตราย (Dangerous, Hazardous Substance) โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์ผลกระทบ PoldEvac แสดงผลที่ตามมาจากการเกิดน้าท่วมให้ สัมพันธ์กับเวลา ซ่ึงเริ่มหมายถึงว่าการคาดการณ์ผลกระทบระหว่างการด้าเนินการน้าท่วมได้พิจารณาทุก ๆ หนว่ ยวดั (Units) พนื ท่ี (Area) ความยาว (Length) ทีเ่ วลาใด ๆ นอกเหนือจากการค้านวณส้าหรับวิเคราะห์ผลกระทบแล้ว ข้อมูลท่ีแสดงรายละเอียดเกย่ี วกับวัตถุ (Detailed Object–Related Data) ที่คัดเลือกจะต้องสามารถกู้คืนได้โดยตรง วัตถุอาคารถูกแสดงผลใน แบบ 3 มติ ิ ในภาพแผนที่ โอกาสในการแทรกแซง (Opportunities for Intervention) การแทรกแซง (Intervention) สามารถน้ามาพิจารณาภายใต้บริบทของมาตรการลดผลกระทบ ของน้านองในพนื ทลี่ ุ่มตา้่ ไดซ้ ึง่ อาจประกอบดว้ ยหน่งึ มาตรการหรือมากกว่าก็ได้ ดังนี B–5

 การแบ่งพืนท่ีออกเปน็ ส่วนใหม่ ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง  การสบู น้า  ถนนสรา้ งใหม่  ถนนบนคันดนิ กันน้า  การปดิ ชอ่ งทางท่ีตัดผ่านแนวคันกันนา้ และอนื่ ๆ  การสนับสนุนเฮลคิ อปเตอร์  การเปลย่ี นโครงสร้างรฐั บาลสว่ นท้องถนิ่ และภูมิภาค  การจัดหาอปุ กรณ์สู้ภยั น้าทว่ ม  ปลกู สร้างอาคารโครงสรา้ งบนพืนทีท่ ่สี ูงขึน หรือที่รูจ้ ักกันท่ัวไปวา่ การกันน้าท่วม (Flood Proofing)  การอดุ หรือปิดระบบโครงสรา้ งพนื ฐานในการระบายนา้ (เชน่ ระบบระบายน้าทิง เป็นต้น)  การปรับความคล่องตัวของการจราจรโดยวิธคี วบคุมการจราจรแบบฉุกเฉนิ (Emergency Traffic Control)  การเตอื นภัยนา้ ทว่ ม การตระหนักถึงภยั น้าท่วมและการเตรียมการรบั มือกับภัยให้พร้อม B.2.5 สารอันตราย (Dangerous Substances)/อุบตั ิเหตุ (Accident) เนือหาของส่วนย่อยหลักในหัวข้อนีเป็นเรื่องท่ีองค์การสหประชาชาติได้แจ้งรายการสารเคมีและ ฉลากอันตรายที่เชื่อมโยงกัน การจ้าลองเหตุการณ์การปลดปล่อยสารพิษ และข้อมูลสนับสนุนหน่วย ดบั เพลิงท่ีเกี่ยวข้องต่าง ๆ เช่น ข้อมูลต้าแหน่งหวั ก๊อกน้าดับเพลิง โครงข่ายระบบประปา ระบบระบายน้า ไซเรน เป็นต้น โหมดโครงข่ายถนน ประกอบด้วย การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล (Data Processing and Analysis) การประมวลผลข้อมลู (Data Processing) เกย่ี วข้องกับข้อมูลทงั หมดของสว่ นของถนนและทาง ข้ามต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กับการอพยพและการให้ความช่วยเหลือในการบริหารจัดการภัยพิบัติ รวมทังข้อมูล โปรไฟล์ถนน การวิเคราะห์เก่ียวข้องกับเส้นทางท่ีสันที่สุด (โดยเฉพาะอย่างยิ่งส้าหรับใช้ในการหนีไฟและ ภัยพิบัติตอ้ งมั่นใจว่าเปน็ เส้นทางท่ีปลอดภัย) และเหมาะสมทีส่ ุดเพอื่ วตั ถุประสงคใ์ นการเตือนภัย B–6

ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รูปท่ี B–1 สถานการณ์น้านองจากการพังทลายของ Xanten–Ward ซง่ึ แสดงผลใน 3 ระยะ ไดแ้ ก่ : (1) ระยะท่ีเกิดการพงั ทลาย (Breach) (2) ระยะระหวา่ งเกิดเหตุการณ์ซึ่งนา้ เคลื่อนตวั ครึ่งทาง (Half–Way) ผา่ นชายแดนประเทศ ประเทศเยอรมัน–เนเธอร์แลนด์ และ (3) ระยะที่เกิดนา้ ทว่ มบรเิ วณพนื ทล่ี ุม่ ตา้่ Duffelt ในประเทศเยอรมัน และพนื ท่ลี ุ่มตา้่ Ooij ในประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ B–7

ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รปู ที่ B–2 แผนการใชท้ ี่ดนิ ของทุกชุมชนในพืนทีล่ ุม่ ตา่้ Maas & Waal ซึ่งแสดงผลรว่ มกันตามท่ี ก้าหนดไว้โดยจงั หวดั Gelderland รูปท่ี B–3 รายการภาพยนตรน์ า้ ทว่ มในห้องสมุดจากสถานการณ์นา้ นองของ PoldEvac โดยแตล่ ะ รายการแสดงถงึ ข้อมลู ต่อไปนีรว่ มกัน : สถานที่ (Location) การก่อตวั ของการพงั ทลาย ของคนั และความเร็ว ประเภทและรูปร่างของคล่นื น้าท่วมทีเ่ กดิ B–8

ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รปู ท่ี B–4 ข้อมลู เชิงวตั ถขุ องสารอันตรายท่ีขึนทะเบยี นทพี่ ืนที่ใด ๆ ถูกแสดงผลบนจอแสดงผลพรอ้ ม ดว้ ยฉลากอันตรายแบบสากลและข้อมลู ท่ีท่ีเก่ยี วข้องกบั การผจญไฟและภัยพบิ ัติ ย่งิ ไปกว่านัน ภัยพิบัติท่เี กิดจากสารอันตราย เช่น การปลดปล่อยสารและ/หรือการระเบิดท่ีสง่ ผล กระทบเชิงพืนท่ี ลักษณะท่ีส้าคัญของการปลดปล่อยสาร/การระเบิดจะถูกแสดงผลในรูปของการขยายตัว ของพืนที่ (Area Extension) ซึ่งเรียกว่า รูปแบบของความเสียหาย (Damage Template) โดยท้าการ ปรับการตังค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ให้เป็นมาตรฐาน เช่น ปริมาตร ความหนาแน่น อุณหภูมิจุดเดือด ลักษณะของปฏิกิริยา เปน็ ต้น B.2.6 การอพยพ (Evacuation) ส่วนบรู ณาการของแนวคิด PoldEvac กค็ อื การใหค้ วามส้าคัญอยา่ งมากแก่การอพยพ ด้วยเหตุนี โหมดการอพยพจึงประกอบด้วย  ระยะเวลาสันทสี่ ุด/ระยะทางทส่ี ันท่สี ุดในพนื ที่ (เกีย่ วกับโครงข่ายถนน) คา้ นวณจากต้าแหน่ง ของพืนท่ีอพยพในที่ปดิ ล้อม  โครงขา่ ยถนนส้าหรับอพยพพรอ้ มกับลงตา้ แหนง่ ทางออก  การกา้ หนดพนื ทีช่ มุ ชนหรือพืนทีก่ ันเวลาที่สง่ ผลต่อการอพยพ  ขนั ตอนการเคล่ือนย้ายการอพยพบนเส้นทางถนนทใ่ี ช้ในการอพยพที่มคี วามสัมพนั ธโ์ ดยตรง กับสถานการณน์ ้านองทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับเวลาหรือในภาพยนตร์น้าทว่ ม B–9

 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการเกิดนา้ ทว่ มและการอพยพด้วยแนวทางการหนภี ยั แบบเท้าแหง้ ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง (Dry–Feet Leave Approach)  แนวทางเชงิ ปรมิ าณ (Capacity–Oriented Approach) ส้าหรับใชใ้ นขนั ตอนการอพยพบน เสน้ ทางถนนที่ใช้ในการอพยพ  การติดตามการเคล่ือนตัวของจราจรเพ่อื จดั การกบั อปุ สรรค (ช่ัวคราว) ของการจราจร (ท่ีเกดิ โดยอุบัตเิ หต)ุ และสรา้ งความเช่อื มั่นถงึ ความสามารถในการเคล่อื นยา้ ยอพยพใหม่ซ้าได้อีก เหมอื นเดิม ความอ่อนไหวของการสรา้ งแบบจ้าลองน้าท่วมและการอพยพ (Sensitivities of the Flood/Evacuation Modelling) ความอ่อนไหวของการสรา้ งแบบจา้ ลองการอพยพให้สัมพันธ์กับสถานการณ์นา้ นองในแบบจา้ ลอง ได้ถกู ประเมนิ ใน 14 ประเดน็ ดังนี (1) ความชัดเจนของโครงข่ายถนนนเพื่อวัตถุประสงค์ในการอพยพ (ส่วนของถนน การจ้าแนก ประเภทจดุ ตัดถนน ตา้ แหนง่ ทางออก) (2) จุดติดขัดที่เป็นไปได้ที่ผู้อพยพต้องเผชิญหน้าก่อนถึงระบบโครงข่ายถนน เช่น ระยะทางจาก บ้านถึงต้าแหน่งเข้าถึงโครงข่ายถนน การจราจรในพืนที่ ความหนาแน่นและความแออัดของ การจราจร การจัดการจราจรตามลา้ ดับ การบังคับและการชนี ้าการจราจร ความอ่อนไหวของ ความแออดั อบุ ตั เิ หตตุ า่ ง ๆ เป็นตน้ (3) โอกาสท่ีจะเข้าถึงโครงข่ายถนน (ต้าแหน่งทางเข้าของระบบโครงข่าย พืนท่ีว่างในระบบ โครงขา่ ย พืนท่ีว่าง (ความจุ/ปรมิ าณ) ทเ่ี หลอื อยู่ ความหนาแนน่ ของการจราจร) (4) ความเร็วที่เป็นไปได้ (การจัดประเภทของถนนให้สัมพันธ์กับความเร็วท่ีออกแบบ (Design Velocity) ความเรว็ ลด (Reduced Velocity) ความเร็วประสิทธิภาพ (Effective Velocity) (5) การเพิ่มระดับความปลอดภยั ตามทกี่ า้ หนด (การคา้ นวณเวลาท่ใี ช้ในการอพยพเพมิ่ ระยะทาง ทใ่ี ชข้ องยานพาหนะอพยพ ความเรว็ ออกแบบลด (Reduced Design Velocity)) (6) การจัดการของผู้อพยพ (การอพยพล่วงหน้าและโดยฉับพลัน ค้าแนะน้าอย่างเป็นทางการ ส้าหรับใช้ในระบบโครงข่ายถนน? พฤติกรรมการจราจร การบังคับให้มีการอพยพพร้อม ค้าแนะน้า) (7) การจัดการของเจ้าหน้าท่ี (ต้ารวจจราจร การไหลเวียนของการจราจร การส่ือสารการ สนบั สนนุ ทางการทหารและอ่ืน ๆ ทหาร/แผนการอพยพ การฝึกอบรมการอพยพ) (8) กระบวนการตามล้าดบั (การค้านวณตามลา้ ดบั เป็นขนั เปน็ ตอน) (9) ช่วงเวลาที่การอพยพถือว่าแล้วเสร็จ (คิดต่อช่วงเวลา หรือต่อพืนที่ แนวคิดเท้าแห้ง (Dry Feet Concept)) ทางเลอื กทย่ี อมให้เปียกครงั แรก (First Wet Element Choice) ถนนหรือ อาคาร แนวคดิ การอพยพออกนอกพนื ที่เสย่ี งน้าท่วม หรือออกนอกพืนทีอ่ พยพทังหมด (10) ความสามารถในการอพยพบนโครงข่ายถนน (การจัดประเภทถนน คุณภาพถนน ความ หนาแน่นของท่ีจอดรถ โอกาสการแทรกแซง เช่น การใช้เลนสองทิศทาง (Two Direction เปล่ืยนเปน็ Lane) เลนสองชอ่ งทศิ ทางเดียว (Double One–Direction Lane) เป็นตน้ B–10

ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง (11) ข้อจ้ากัดของการจราจรบนโครงข่ายถนน (การก่อสร้างถนน ความแออัด อุบัติเหตุ การ จัดการการไหลเวียนของการจราจร) (12) ทางออก (Exits) ท่ีมีอยู่ (จ้านวน ต้าแหน่งที่ตัง จุดสินสุดโครงข่ายถนน จุดข้ามพรมแดน ปริมาณ) (13) พารามิเตอร์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการจ้าลองสถานการณ์การอพยพ (ปริมาณน้าไหลเข้าต่อเวลาใน หน่ึงหน่วยการพังทลาย ประเภทของคลื่นน้าท่วม การก่อตัวของการพังทลาย ระดับพืนดิน ความขรุขระของพืนที่ ภาพยนตรน์ า้ ทว่ ม) (14) การจัดการของผู้มีอ้านาจตัดสินใจ (กระบวนการตัดสินใจ การลด/การควบคุมความเส่ียง การแปลความหมายเรื่องความปลอดภัย การแทรกแซง หน่วยอพยพต่อช่วงเวลา หรือต่อ พืนที่ เวลา) รปู ท่ี B–5 ตวั อยา่ งของกระบวนการอพยพท่ีไดจ้ ากผลการจ้าลองซงึ่ สัมพันธก์ ับเหตุการณ์น้าท่วมจาก ภาพยนตรจ์ ากการพังทลายในหมบู่ า้ น Erlekom ในรูปแถบ (สเี ขยี ว) ดา้ นบนในหนา้ ต่าง แสดงผลบ่งบอกถึงกระบวนการอพยพ ในขณะที่แถบ (สฟี ้า) ด้านล่างแสดงถึงกระบวนการ เกิดนา้ ท่วมลูกศรแสดงตา้ แหน่งของทางออกเพื่ออพยพออกจากพืนท่ีอพยพ (พนื ท่ีเสี่ยงภยั นา้ ทว่ ม) และพืนท่ีพัก (Hatched Areas) แสดงถึงพืนท่ีที่ก้าลังเตรยี มการอพยพในชว่ ง ขณะนี B–11

ผลลัพธ์ของแบบจ้าลองมีความอ่อนไหวต่อหลายประเด็นปัญหาอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตาม ไม่ ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ต้องสงสัยเลยว่า ผลการจ้าลองจากแบบการอพยพมปี ระโยชน์ค่อนข้างมาก ประการทหี่ น่ึง ผลการจ้าลอง แสดงผลให้เห็นภาพชัดเจน ประการที่สอง มีท้าให้มีโอกาสท่ีจะทา้ การศึกษาวิเคราะห์ผลท่ีตามมาจากการ ตัดสินใจใด ๆ ข้อมูลสารสนเทศถูกสังเคราะห์ขึนมาเพื่อส้าหรับใช้ประโยชน์ในการด้าเนินการเชิงรุก การป้องกันและการเตรียมการณ์กับสถานการณ์ที่เกิดขึน การสร้างแบบจ้าลองการอพยพเช่ือมโยงสภาพ น้านองเข้ากับการอพยพโดยขึนอยู่กับเวลา โดยแสดงทังเวลาที่ต้องการในการอพยพ และเวลาที่มีให้ใน ขันตอนการอพยพ และยังแสดงให้เห็นถึงข้อจ้ากัดในโครงข่ายการอพยพดังนันจึงเป็นเครื่องมือท่ีเป็น ประโยชนส์ ้าหรับการตดั สนิ ใจ ยิง่ กว่านัน ยังเน้นให้เห็นความสา้ คัญของความต้องการที่ต้องมีการฝึกปฏิบัติและฝึกอบรมในเรื่อง นี B.2.7 การรบั รู้ (Awareness) โครงการ PoldEvac มภี ารกิจพิเศษที่ต้องการสร้างการตระหนักในภัยนา้ ท่วมและในการเผยแพร่ ข้อมูลสารสนเทศ ด้วยเหตุนี จึงได้จัดท้าเอกสารตีพิมพ์รูปแบบต่าง ๆ จดหมายข่าว แผ่นพับ (ใน 3 ภาษา ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ และเยอรมัน) และรายงาน ย่ิงไปกว่านัน มีการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ ในศนู ย์ประชมุ ของเมือง Nijmegen ในเดือนพฤศจกิ ายน ปี ค.ศ. 2001 ข้อมูลและประเด็นเรือ่ งความย่ังยนื (Data and the Issues of Sustainability) แน่นอนว่าเม่ือข้อมูลต่าง ๆ ถูกรวบรวมขึนและจัดเก็บในลักษณะข้อมูลน้าเข้าของระบบ ควรให้ ความส้าคัญเป็นพิเศษในประเด็นเรื่องความยั่งยืนของระบบ ระบบท่ีมีแต่ข้อมูลล้าสมัยจะไม่มีประโยชน์ ดว้ ยเหตุนี การปรบั ขอ้ มูลให้ทนั สมยั จึงควรพิจารณา ระหว่างการด้าเนินงานของโครงการได้เล็งเห็นความส้าคัญของความพร้อมใช้งานข้อมูลที่มีความ ถูกต้อง โดยข้อมูลเหลา่ นันควรปรับให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องภายใต้แนวคิดท่ีว่าการนา้ ขอ้ มูลมาใชอ้ ยา่ งง่าย ของข้อมูลเหล่านันต้องได้รับรอง พืนที่ชุมชนต่าง ๆ (Municipalities) ในบริบทนีถูกมองว่าเป็นทัง แหล่งข้อมูลและเปน็ ผ้ใู หข้ อ้ มูลท่ีส้าคญั ความจ้าเป็นของการด้าเนินการอย่างรอบคอบตามแนวคิดนี ได้รับการเน้นย้าในหลายต่อหลาย ครัง ยิ่งไปกว่านัน ได้ให้ความสนใจเป็นพิเศษกับฐานข้อมูลที่สามารถปรับเปลี่ยนให้เป็นมาตรฐานและ จัดเกบ็ ไว้ในศนู ยข์ อ้ มูลกลางพนื ท่ี ซึ่งถูกกา้ หนดให้เปน็ แหล่งข้อมูลและผ้ใู ห้ขอ้ มูลทส่ี ้าคัญ รูปแบบมาตรฐานเหล่านันมีให้เห็นอยู่ในประเทศเนเธอร์แลนด์ส้าหรับการประมวลผลข้อมูลใน ดา้ นตา่ ง ๆ เช่น B–12

ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง  เจ้าของทด่ี นิ  ขอ้ มูลสเกลใหญ่ท่เี กยี่ วข้องกับบา้ นเรือน อาคารและโครงสรา้ งพืนฐาน  การประเมนิ ทรพั ย์สินและการเก็บภาษี  การวางแผนการใช้ที่ดนิ นอกจากนี แนวทาง PoldEvac รูปแบบไฟล์ dbf (รูปแบบพืนฐาน dBase) ถูกเลือกมาใช้กับ ไฟล์ข้อมูลคุณลักษณะ ซึ่งเป็นรูปแบบไฟล์ท่ีสามารถอ่านได้กับระบบซอฟต์แวร์ที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบัน เชน่ Excel, Access, Oracle เป็นต้น ไฟลน์ ้านอง (Inundation File) ผลลัพธ์ที่ส้าคัญของแบบจ้าลองสภาพน้านองเป็นสถานการณ์จ้าลองน้านองตามความยาวของ แม่น้า Rhine, Waal และ Maas ตามท่ีกล่าวมาข้างต้น พืนท่ี 17 จุด ท่ีคันกันน้าเกิดการพังทลายได้ถูก ทา้ การศึกษา ซ่ึงพบว่าในบางจุดทเ่ี กิดการพังทลายนนั ปรมิ าณน้าไหลเขา้ ใช้เวลาในกระบวนการเคลื่อนตัว ค่อนข้างมาก ท้าให้พอมีโอกาสที่จะท้าการอพยพท่ีล่าช้าได้ ท่ีจุดอ่ืนพบว่าปรมิ าณน้าไหลเขา้ มาใช้เวลาสัน กว่าทา้ ให้กระบวนการเกดิ น้าท่วมเกดิ ขึนอย่างรวดเร็ว ขนาดสงู สดุ และความลกึ สงู สดุ ของการเกิดนา้ ท่วมมี ความแตกต่างกันค่อนข้างมาก สถานการณ์น้านองรูปแบบต่าง ๆ ถูกแปลงให้กลายเป็นไฟล์ข้อมูลด้วยเหตุผลท่ีคอมพิวเตอร์ใช้ เวลาประมวลผลนาน โดยเรียกก่อนหน้านีว่า “ภาพยนตร์น้าท่วม (Flood Film)” PoldEvac ได้บูรณา การทุกสถานการณจ์ ้าลองสภาพน้าน้องไวใ้ นชอื่ “ภาพยนตรน์ ้านอง (Inundation Film)” B.3 สรุปผล (Conclusions) ผลลพั ธ์สดุ ท้ายของ PoldEvac ไดถ้ กู ประเมนิ ผลในทางบวก PoldEvac II ก้าลังให้ความสนใจกับพืนท่ีที่มีขนาดใหญ่ขึนทังในประเทศเนเธอร์แลนด์และใน ประเทศเยอรมนั ประเด็นบูรณาการตา่ ง ๆ ทีเ่ พิ่มขึน เช่น อุทกวทิ ยาระดบั ไมโคร (Micro Hydrology) ทัง ระบบระบายนา้ ในพืนที่เมอื ง ระดับทางของถนน (การตดั ดนิ ) ด้วยคนั ดนิ ในพนื ที่ลมุ่ ต่้า เปน็ ต้น PoldEvac I เป็นโครงการน้าร่องในขณะท่ี PoldEvac II จะเปน็ โครงการท่ีต่อยอดประเด็นปญั หา น้าร่องของ PoldEvac I ซึ่งผลลัพธ์สุดท้ายก้าลังถูกใช้ด้าเนินการอย่างเต็มที่ส้าหรับการบริหารจัดการภัย นา้ ทว่ ม B.4 เอกสารอ้างอิง (References) [1] Van Mierlo (2001), Thieu: ‘DelftFLS inundatie simulaties van de Ooij–Duffelt polder en het Land Van Maas en Waal’,rapport R3268, WL Delft Hydraulics, Delft, December. B–13

[2] Van der Meulen (2001) G.G. ‘PoldEvac. Polder Evacuatie. Eindverslag van de ภาคผนวก B ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง werkzaamheden verricht door de stichting Compuplan in opdracht van de Regionale Brandweer Nijmegenen Omstreken’, Compuplan, Cuijk, December, pp.63. B–14

ภาคผนวก C ค่มู อื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ภาคผนวก C บรรณานกุ รม (Bibliography) วรรณกรรมท่ีกล่าวถึงในภาคผนวกนีเป็นส่วนเพิ่มเติมในเอกสารอ้างอิงที่ให้รายละเอียดไว้ใน ส่วนท้ายของบทที่ 2–5 และในภาคผนวก B มีเอกสารอ้างอิงจ้านวนมากที่ใช้ในการทบทวนวรรณกรรม กุญแจการใช้งานกค็ อื การระบุรายการที่สามารถประยกุ ต์ใชเ้ ปน็ แนวทางเฉพาะทางอย่างเหมาะสม [1] ADB (1991), ‘Disaster Mitigation in Asia and the Pacific’, Manila, 1991. [2] Framji K.K. and Garg B.C. (1976), ‘Flood Control in the Word, (two volumes), ICID, Delhi, 1976 & 1977. [3] Framji K.K. (ed.) ‘Manual on Flood Control Methods and Practices, ICID, Delhi, 1983. [4] ICID (1996), ‘Multilingual Technical Dictionar’, revised edition, Delhi 1996. [5] ICID (1999), ‘Manual on Non-Structural Approaches to Flood Management, Delhi 1999. [6] ‘Rivers in Japan’, River Bureau, Ministry of Land, Infrastructure and Transport, Japan. [7] ‘Session Integrated Flood Management in Deltas and Low-land Regions’, Paper prepared by contributors from Argentina, Bangladesh, China, The Netherlands, the USA and Vietnam for the World Water Forum, Kyoto, 2003. [8] Smith DJG and Viloen MF (1981), ‘Guidelines for Assessing Flood Damage in South Africa’, Water Research Commission, Pretoria, 1981. C–1

ดชั นี (Index) ค่มู อื การวางแผนบรหิ ารจัดการน้าทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ ก่อสรา้ ง บทที่ นา้ ท่วมทรี่ ะดับฐาน (Basic Stage Flood); น้าท่วม 01 ขอบเขต เหนอื ระดบั ฐาน (Floods Above a Base), 1-6 แบบจ้าลองระบบแบบกลอ่ งด้า (Black Box (Scope) Simulation Model); หรือแบบจ้าลองทางคณติ ศาสตร์ การบริหารจัดการนา้ ทว่ ม (Flood Management), 1- (Mathematical Models), 1-6 1; 1-2; 1-3; 1-4 ความเรว็ (Celerity), 1-6 แนวทางทไี่ ม่ใช้สิ่งก่อสรา้ ง (Non–Structural Approach), ความจทุ างนา้ /ความจรุ ่องน้า (Channel Capacity), 1-6 1-1; 1-5 ปรมิ าณน้าหลากออกแบบ (Design Flood), 1-6 แนวทางท่ีใชส้ ิง่ ก่อสรา้ ง (Structural Approach), 1-1 ประสทิ ธิผลของระบบการบริหารจดั การน้าท่วมทาง การวางแผนดว้ ยแนวทางใชส้ ิง่ ก่อสรา้ งเพอื่ การบริหาร เศรษฐกจิ (Economic Effectiveness of a Flood จดั การนา้ ทว่ ม (Planning of Structural Approaches Management System), 1-6 to Flood Management), 1-1 โอกาสความนา่ จะเปน็ แบบมากกวา่ (Exceedance มาตรการวางแผน (Planning Measures), 1-2 Probability), 1-7 การพยากรณน์ ้าทว่ ม (Flood Forecasting), 1-2 น้าทว่ ม (Flood), 1-7 นา้ ทว่ มทีเ่ กิดจากทะเล (Sea Flooding), 1-2 ผลประโยชน์ของการควบคุมน้าทว่ ม (Flood Control การควบคมุ การพัฒนาพืนท่นี า้ ทว่ ม (Control of Benefits), 1-7 Floodplain Development), 1-2 โครงการควบคมุ น้าทว่ ม (Flood Control Project); การประกันภัยนา้ ทว่ ม (Flood Insurance), 1-2 โครงการบรรเทานา้ ทว่ ม (Flood Mitigation Project); การกนั นา้ ทว่ ม (Flood Proofing), 1-2 โครงการป้องกันนา้ ทว่ ม (Flood Protection Scheme), การบรหิ ารจัดการพนื ท่ลี ุม่ นา้ (Catchment 1-8 Management), 1-2 พนื ท่นี า้ ทว่ ม (Flooded Area), 1-8 การตัดสินใจ (Decision Making), 1-2 การเกิดน้าท่วม (Flooding) นา้ นอง (Inundation), 1-8 มาตรการรบั มือ (Response Measures), 1-2 ขนาดน้าท่วม (Flood Magnitude, Flood Size), 1-8 การวางแผนรบั มอื สถานการณ์นา้ ท่วมฉกุ เฉิน (Flood แผนที่น้าทว่ ม (Flood Map); แผนที่เสย่ี งนา้ ทว่ ม Emergency Response Planning), 1-2 (Flood Risk Map); แผนที่พืนที่ราบนา้ ท่วมถงึ การสภู้ ัยนา้ ทว่ ม (Flood Fighting), 1-2 (Floodplain Map), 1-8 การเตอื นภัยนา้ ท่วม (Flood Warning), 1-2; 1-4 พารามิเตอรน์ า้ ทว่ ม (Flood Parameter), 1-8 การอพยพ (Evacuation), 1-2; 1-4 พนื ท่รี าบน้าทว่ มถึง (Floodplain); พนื ทน่ี ้าท่วม การใหค้ วามชว่ ยเหลือและบรรเทาทกุ ข์ในสถานการณ์ (Flood Land), 1-8 ฉุกเฉนิ (Emergency Assistance and Relief), 1-2 พนื ท่ีเส่ยี งภัยนา้ ทว่ ม (Flood Prone Area), 1-9 การควบคมุ น้าทว่ ม (Flood Control), 1-2; 1-3 การปอ้ งกันน้าทว่ ม (Flood Protection), 1-9 แผนการบรหิ ารจัดการพืนที่นา้ ทว่ มถึง (Floodplain ความเสี่ยงจากนา้ ท่วม (Flood Risk), 1-9 Management Plan), 1-3 แบบจา้ ลองชลศาสตร์ (Hydraulic Model); แบบจา้ ลอง คณุ ค่าทางดา้ นสง่ิ แวดล้อม (Environmental Value), 1-3 อทุ กพลศาสตร์ (Hydrodynamic Model), 1-9 อิทธิพลของน้าเทอ้ (Backwater Effect), 1-4 แบบจ้าลองทางอุทกวทิ ยา (Hydrological Models), 1-9 โคง้ เกณฑ์การปฏิบัตกิ าร (Rule Curve), 1-4 องค์รวม (Holistic), 1-9 การเกิดน้าทว่ ม (Flooding), 1-5 แบบจ้าลองเชิงเสน้ พหูคูณ (Multilinear Models), 1-9 ดิกชันนารที างเทคนิคแบบหลายภาษา (Multi Lingual ปรมิ าณนา้ ทว่ มสูงสดุ ที่อาจเกิดขนึ ได้ (Probable Technical Dictionary), 1-5 Maximum Flood, PMF); ปรมิ าณนา้ ท่วมสงู สุดท่ี ความเสยี หายรายปีเฉล่ีย (Average Annual Damage); เปน็ ไปได้ (Maximum Possible Flood, MPF), 1-9 ความเสยี หายรายปคี าดการณ์ (Expected Annual แบบจ้าลองฝน–นา้ ท่า (Rainfall–Runoff Models), 1-10 Damage); การคาดการณโ์ ดยการค้านวณมลู ค่าความ รอบการเกดิ ซ้า (Return Period, Recurrence เสียหาย (Mathematical Expectation Value of Damages), 1-6 ระดบั เต็มตลิ่ง (Bankful, Bankful Stage), 1-6 ปรมิ าณน้าลน้ ตลงิ่ (Bank Overspill), 1-6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook