Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ICID-Book_No.2_Final_10June2020_ISBN

ICID-Book_No.2_Final_10June2020_ISBN

Published by pichit_khumsap, 2020-06-12 00:52:32

Description: ICID-Book_No.2_Final_10June2020_ISBN

Search

Read the Text Version

Thai Translation คมู่ อื การวางแผนบรหิ ารจดั การนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ งิ่ กอ่ สรา้ ง Manual on Planning of Structural Approaches to Flood Management จดั ทา้ โดย คณะท้างานดา้ นวชิ าการ ของคณะกรรมการดา้ นการชลประทาน และการระบายนา้ แหง่ ประเทศไทย-THAICID

คมู่ ือการวางแผนบรหิ ารจดั การนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ิ่งกอ่ สรา้ ง Manual on Planning of Structural Approaches to Flood Management

คมู่ ือการวางแผนบริหารจัดการน้าทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สร้าง Manual on Planning of Structural Approaches to Flood Management พมิ พค์ รั้งที่ 1 มถิ ุนายน พ.ศ. 2563 จดั ทาโดย คณะทางานดา้ นวิชาการของคณะกรรมการด้านการชลประทานและ การระบายนา้ แห่งประเทศไทย (THAICID–Thai National Committee on Irrigation and Drainage) ไดรั บั อนุญาตให้แปลจาก “Manual on Planning of Structural Approaches to Flood Management” ของ International Commission on Irrigation and Drainage (ICID) แปลและเรยี บเรยี งโดย นาย ชัยวัฒน์ ปรีชาวทิ ย์ และ รศ.ดร. อารียา ฤทธมิ า ตรวจทานและแก้ไขโดย คณะทางานดา้ นวชิ าการของคณะกรรมการดา้ นการ ชลประทานและการระบายน้าแห่งประเทศไทย กรมชลประทาน (สามเสน) 811 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดสุ ิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศพั ท์ : 02–241–2687 แฟ๊กซ์ : 02–243–6964 ISBN : 978–616–358–442–7 @ 2562 สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย การนารูปภาพและข้อความท้ังหมดในหนังสือไปตีพิมพ์ อ้างอิง และ เผยแพรซ่ ้าไม่วา่ จะบางสว่ นหรือทัง้ หมดต้องไดร้ ับการยินยอมเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรจาก ICID และ THAICID ขอขอบคุณภาพปกรองจาก https://en.wikipedia.org/wiki/flood โรงพมิ พ์ บริษัท มติ รภาพการพิมพ์และสตวิ ดโิ อ จากัด 1 ถนนพระรามเกา้ ซอยพระรามเก้า 59 (อิสสระชัย) เขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร 10250 โทรศัพท์ : 02–187–2223–5 แฟ๊กซ์ : 02–187–2226 อีเมลล์ : [email protected] สมาคมศิษย์เก่าวิศวกรรมชลประทาน ในพระบรม ราชูปถมั ภ์ และคณะทางานด้านวิชาการของ คณะกรรมการด้านการชลประทานและการระบาย นา้ แหง่ ประเทศไทย ผสู้ นบั สนนุ ในการจดั ตีพิมพ์

สารจากประธานคณะกรรมการ THAICID ค่มู อื การวางแผนบรหิ ารจัดการน้าทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ ก่อสรา้ ง (Message from the President of THAICID) ประเทศไทย ในฐานะประเทศทเี่ ขา้ ร่วมก่อตงั International Commission on Irrigation and Drainage (ICID) ซึ่งเป็นองค์กรระดับนานาชาติท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาองค์ความรู้ด้านชลประทานและการระบายน้าได้ ท้าหน้าที่ขับเคลื่อนและขยายผลองค์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ในนามของ “คณะกรรมการด้านการ ชลประทานและการระบายน้าแห่งประเทศไทย (Thai National Committee on Irrigation and Drainage) หรือ THAICID” โดยความร่วมมือกับเครือข่ายทังหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ สถาบนั การศกึ ษาภายในประเทศและตา่ งประเทศ วัตถุประสงค์และกิจกรรมของ ICID ข้อหน่ึงคือ การส่งเสริม ค้นคว้า และพัฒนาเทคโนโลยี หรือวิจัย ทางด้านที่เกี่ยวข้องกับการชลประทานและการระบายน้า ดังนัน เพ่ือเป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการ ชลประทานและการระบายน้า ในปี พ.ศ. 2562 คณะท้างานด้านวิชาการ THAICID ได้จัดท้าคู่มือเรื่อง “คมู่ ือการบริหารจัดการน้าท่วมด้วยแนวทางไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง” และเนื่องในโอกาสครบรอบ 70 ปีแห่งการ จัดตัง ICID และ THAICID ในปี พ.ศ. 2563 คณะท้างานด้านวิชาการ THAICID จึงได้จัดท้า “คู่มือการ วางแผนบริหารจัดการน้าท่วมด้วยแนวทางใช้ส่ิงก่อสร้าง”ฉบับภาษาไทย ซ่ึงได้รับอนุญาตจาก ICID ให้ แปลจากต้นฉบับเรื่อง “Manual on Planning of Structural Approaches to Flood Management” ซึง่ ถือเป็นอีกหนึ่งความตังใจในการเผยแพรค่ วามรู้แก่ผู้บริหาร ขา้ ราชการ เจ้าหน้าทที่ ี่เกี่ยวข้อง ตลอดจน นสิ ติ นกั ศกึ ษาและผสู้ นใจท่วั ไป คู่มือฉบับนีได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างย่ิง คณะที่ปรึกษาและคณะท้างานด้าน วิชาการ THAICID ด้าเนินการแปล เรียบเรียง และตรวจสอบความถูกต้องตามหลักวิชาการ นอกจากนี สมาคมศิษย์เก่าวิศวกรรมชลประทาน ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยคณะอนุกรรมการด้านวิชาการและ สถาบันพัฒนาการชลประทาน กรมชลประทาน ได้ให้การสนับสนุนจนท้าให้คู่มือฉบับนีด้าเนินการแล้ว เสร็จตามวัตถุประสงค์ ในนามของคณะกรรมการ THAICID ขอแสดงความขอบคุณผู้ที่เก่ียวข้องและผู้ให้การสนับสนุนทุกท่าน และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือฉบับนีจะเป็นประโยชน์ในการให้ความรู้ ความเข้าใจ และน้าไปประยุกต์ใช้ ตอ่ ไป (นายทองเปลว กองจันทร์) อธิบดกี รมชลประทาน ประธานคณะกรรมการ THAICID

ค่มู อื การวางแผนบรหิ ารจัดการน้าทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ ก่อสรา้ ง คำนำ (Preface) หนังสือ “คู่มือการวางแผนบริหารจัดการน้าท่วมด้วยแนวทางใช้ส่ิงก่อสร้าง”เล่มนี เป็นคู่มือในด้านการ บริหารจัดการน้าทว่ มเลม่ ที่สองท่ีคณะท้างานด้านวิชาการของคณะกรรมการด้านการชลประทานและการ ระบายน้าแห่งประเทศไทยได้จัดแปลขึนจาก “Manual on Planning of Structural Approaches to Flood Management” ของ International Commission on Irrigation and Drainage (ICID) โดยเปน็ คมู่ ือฉบับแปลต่อจากเล่มแรกคือ “คู่มือการบริหารจัดการน้าท่วมด้วยแนวทางไมใ่ ชส้ ิ่งก่อสรา้ ง” (Manual on Non–Structural Approaches to Flood Management) ที่ได้จดั พมิ พข์ ึนใน พ.ศ. 2562 เพื่อให้เปน็ ชุดคู่มือท่ีสมบูรณ์ในด้านการบริหารจัดการน้าท่วม ซ่ึงได้ถ่ายทอดประสบการณ์ของนักวิชาการและ ผู้เช่ียวชาญด้านทรัพยากรน้าจากทั่วโลก และได้รวบรวมทฤษฎีและกรณีศึกษาที่เป็นประโยชน์ ตลอดจน บทเรยี นทีไ่ ดเ้ รียนรู้ (Lesson Learned) ไวอ้ ยา่ งครบถว้ น คณะท้างานด้านวิชาการ THAICID ได้จัดพิมพ์หนังสือคู่มือเล่มนีขึนในปี พ.ศ. 2563 นี เน่ืองในโอกาส ครบรอบ 70 ปีแห่งการจัดตัง International Commission on Irrigation and Drainage (ICID) และ THAICID ดว้ ย โดยหวังเป็นอยา่ งยิง่ วา่ หนังสือเล่มนีจะเป็นประโยชน์กับหน่วยงานต่าง ๆ ในการน้าแนวคิด และหลักการของการบริหารจัดการน้าท่วม และข้อพึงระวังไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการน้าของ ประเทศตอ่ ไป ชยั วฒั น์ ปรีชาวทิ ย์ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิในคณะกรรมการด้านการชลประทานและการระบายน้าแห่งประเทศไทย (THAICID–Thai National Committee on Irrigation and Drainage) และ ICID Vice President Honoraire

สารบัญ (Contents) ค่มู อื การวางแผนบรหิ ารจัดการน้าทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ ก่อสรา้ ง สารจากประธานคณะกรรมการ THAICID (Message from the President of THAICID) คานา (Preface) สารบญั (Content) บทท่ี 1 ขอบเขต (Scope) หน้า 1.1 บทน้า (Introduction) 1–1 1.2 การบริหารจัดการนา้ ทว่ มและการควบคมุ น้าท่วม (Flood Management and Flood Control) 1–2 1.3 วตั ถุประสงค์และการใช้คมู่ อื (Purpose and Use of the Manual) 1–4 1.4 ค้านิยาม (Definitions) 1–5 บทที่ 2 ความสัมพนั ธ์ระหว่างพารามิเตอรน์ าท่วมและสภาพนานอง (The Relationship between Flood 2–1 Parameters and Inundations) 2–2 2–7 2.1 บทน้า (Introduction) 2.2 การบรหิ ารจดั การน้าท่วม (Flood Management) 2–9 2.3 ลักษณะนา้ ท่วมและสาเหตขุ องการเกิดน้าท่วม (Flood Characteristics and Causes of 2–17 Flooding) 2.4 พารามเิ ตอร์นา้ ท่วมและโคง้ โอกาสความน่าเป็นแบบมากกวา่ (Flood Parameters and 2–23 Exceedance Curves) 2.5 ประสทิ ธภิ าพทางชลศาสตรข์ องมาตรการควบคมุ น้าท่วม (Hydraulic Effectiveness of Flood Control Measures) 2.6 เอกสารอ้างอิง (References) บทท่ี 3 ความสัมพันธ์ระหวา่ งพารามิเตอรน์ าท่วมและความเสยี หาย (The Relationship between Flood 3–1 Parameters and Damages) 3–5 3–10 3.1 บทนา้ (Introduction) 3–15 3.2 ขนาดและลักษณะของความเสียหายจากน้าทว่ ม (Extent and Nature of Flood Damages) 3.3 เสน้ โคง้ ความเสยี หาย (Damage Curves) 3–22 3.4 ความเสยี หายรายปีเฉลยี่ และการวเิ คราะห์ผลประโยชน์–ต้นทุน (Average Annual Damage and Benefit–Cost Analysis) 3.5 เอกสารอ้างอิง (References) บทท่ี 4 ระดบั เป้าหมายของการปอ้ งกนั (Desired Level of Protection) 4–1 4.1 บทนา้ (Introduction) 4–1 4.2 ประเด็นท่ตี ้องพิจารณาเมือ่ กา้ หนดคา่ “ปรมิ าณน้าหลากออกแบบ”(Aspects to be Considered When Determining the “Design Flood”) 4–17 4.3 ระดับการปอ้ งกนั ทตี่ อ้ งการ (Desired Level of Protection) 4–21 4.4 วธิ ีการบริหารจัดการความเส่ียง (Risk Management Approach) 4–25 4.5 เอกสารอ้างอิง (References)

ค่มู อื การวางแผนบรหิ ารจัดการน้าทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ ก่อสรา้ ง บทที่ 5 การใชง้ านแบบจ้าลองทางคณติ ศาสตรอ์ ทุ กพลศาสตร์เพื่อการบรหิ ารจัดการน้าทว่ ม (Use of Hydrodynamic Mathematical Models for Flood Management) 5.1 บทนา้ (Introduction) 5–1 5.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องแบบจา้ ลองทางคณติ ศาสตรใ์ นการบรหิ ารจดั การน้าทว่ ม (Purpose of 5–1 Mathematical Models in Flood Management) 5.3 ประเภทของแบบจ้าลอง (Types of Models) 5–5 5.4 ขอ้ มูล : ความต้องการและปญั หา (Data : Requirements and Problems) 5–11 5.5 เหตกุ ารณป์ ระวัตศิ าสตร์ (Case Histories) 5–18 5.6 วิธกี าร (Methodology) 5–31 5.7 ขอ้ สรปุ และค้าแนะนา้ (Conclusions and Recommendations) 5–33 5.8 เอกสารอา้ งอิง (References) 5–33 ภาคผนวก A การประเมนิ ความเสยี หายนา้ ท่วม (Flood Damage Assessment) ภาคผนวก B PoldEvac : กรณีศึกษาการรบั นา้ นองในพืนทปี่ ดิ ลอ้ มและการสร้างแบบจา้ ลองการอพยพในพืนทเี่ สีย่ งภัย นา้ ทว่ มใกลช้ ายแดนประเทศเยอรมนั และเนเธอร์แลนด์ (PoldEvac : A Case Study on Polder Inundation and Evacuation Modelling in a Flood Prone Area Near the Border of Germany and the Netherlands) ภาคผนวก C บรรณานุกรม (Bibliography)

รายการตวั ยอ่ ท่ีใชใ้ นคู่มือน้ี (List of Abbreviations Used in this Manual) ค่มู อื การวางแผนบรหิ ารจัดการน้าทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ ก่อสรา้ ง AAD ความเสียหายรายปเี ฉล่ีย (Average Annual Damage) AEP โอกาสความน่าจะเปน็ แบบมากกวา่ รายปี (Annual Exceedance Probability) B/C อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อเงนิ ลงทุน (Benefit–Cost Ratio) CBA การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ ต่อผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis) CHF สวิสซ์ ฟรังก์ (Swiss Francs) DTM แบบจา้ ลองความสูงเชงิ เลข (Digital Terrain Model) EHQ นา้ ทว่ มสดุ โต่ง (Extremely High Flood) EIRR อัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ (Economic Internal Rate of Return) ERWG คณะทา้ งาน ICID ในเขตภมู ิภาคยโุ รป (ICID’s European Regional Working Group) GIS ระบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์ (Geographic Information System) hm3 1 hm3 = Mm3 เท่ากบั 1 ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร (One Million m3) MAD ความเสยี หายรายปีเฉลี่ย (Mean Annual Damage) MCDA การวิเคราะห์การตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ (Multiple Criteria Decision Analysis) MTD ดิกชนั นารีทางเทคนิคแบบหลายภาษา (Multi Lingual Technical Dictionary) (ICID, New Delhi, Revised Edition, 1996) NAFM คมู่ ือการบริหารจดั การน้าทว่ มดว้ ยแนวทางไมใ่ ชส้ ่งิ ก่อสรา้ ง (Manual on Non– Structural Approaches to Flood Management) (ICID, New Delhi, 1999) NPV มลู ค่าปัจจบุ นั สทุ ธิ (Net Present Value) PMF ปริมาณนา้ หลากสงู สุดทอี่ าจเกิดขึนได้ (Probable Maximum Flood) RAM วธิ กี ารประเมินอยา่ งรวดเรว็ (Rapid Appraisal Method)

ค่มู อื การวางแผนบรหิ ารจัดการน้าทว่ มดว้ ยแนวทางใชส้ ่งิ ก่อสรา้ ง สมาชกิ ภาพของกล่มุ คณะท้างานดา้ นแนวทางการบริหารจดั การน้าท่วมแบบองค์รวม (Membership of Working Group on Comprehensive Approaches to Flood Management) (WG–CAFM) (February 2002) Mr. J. van Duivendijk Mr. R. Jeyaseelan Chairman, The Netherlands India E–Mail: [email protected] E–Mail: [email protected] Mr. J. Astier Dr. Kamran Emami Vice Chairman, France Iran E–Mail: [email protected] E–Mail: [email protected] Mr. V. C. Ballard Prof. Dr. Takeshi Hata Australia Japan E–Mail: [email protected] E–Mail: [email protected] Mr. M. Quazi Prof. Jin Soo Kim Canada South Koria E–Mail: [email protected] E–Mail: [email protected] Mr. Wei–Fu Yang Prof. M. F. Viljoen Taiwan R.O.C. South Africa E–Mail: [email protected] RNDr. P. Puncochar Czech Republic Dr. J. Liria Montanes E–Mail: [email protected] Spain E–Mail: [email protected] Dr. Lajos Szelavik Hungary Mr. Peter Borrows E–Mail: [email protected] Great Britain (UK) E–Mail: peter.f.borrows@environment– agency.gov.uk

ขอบเขต (Scope) บทท่ี 1

บทท่ี 1 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง I ขอบเขต (Scope) 1.1 บทนำ (Introduction) โดยทั่วไปน้าหลากในแม่น้าต่าง ๆ มีผลต่อสภาพทางอุทกศาสตร์และภูมิศาสตร์ของแม่น้านัน ๆ อย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ บ่อยครังท่ีน้าหลากในแม่น้าเป็นสาเหตุให้เกิดน้าท่วม และส่วนใหญ่แล้วผู้คนท่ี อาศัยอยู่ในพืนที่ทไ่ี ด้รับผลกระทบมกั ไม่พอใจกับการเกิดน้าทว่ ม ด้วยเหตนุ ี เปน็ เวลาหลายศตวรรษมาแล้ว ทมี่ นุษยชาติไดพ้ ยายามใช้วิธีบริหารจัดการกับปัญหาน้าทว่ ม และมาตรการควบคมุ น้าท่วมเพอื่ ป้องกันหรือ ลดผลกระทบทางลบของน้าทว่ มที่เกิดขนึ น้า นับได้ว่าเป็นองค์ประกอบที่ส้าคัญท่ีสุดในการเกิดภัยพิบัติตามธรรมชาติ เน่ืองจากเป็นส่วน ส้าคัญที่ท้าให้เกิดการสูญเสียชีวิต การบาดเจ็บ และสร้างความเสียหายกับทรัพย์สินที่นับเป็นผลจากภัย พิบัติตามธรรมชาติถึงหนึ่งในสามของจ้านวนภัยพิบัติที่เกิดทังหมด เหตุการณ์น้าท่วมท่ีมีขอบเขตเป็น บริเวณกว้างมักไม่ได้เกิดจากสาเหตุเพียงสาเหตุเดียว การเกิดน้าท่วม (Flooding) มักเป็นผลมาจากการ ทับซ้อนของกิจกรรมของมนุษย์ผนวกกับเหตุการณ์ตามธรรมชาติ ซ่ึงท้าให้สถานการณ์ทวีความรุนแรง ย่ิงขนึ และปัจจยั ตา่ ง ๆ ที่มคี วามส้าคัญ ก็ยากในการพจิ ารณา ในการบริหารจัดการน้าท่วม (Flood Management) มี 2 แนวทางท่ีได้รับการยอมรับโดยท่ัวไป คือ (1) แนวทางที่ไม่ใช้ส่ิงก่อสร้าง (Non–Structural Approach) และ (2) แนวทางท่ีใช้ส่ิงก่อสร้าง (Structural Approach) การบริหารจัดการน้าท่วมด้วยแนวทางที่ไม่ใช้สิ่งก่อสร้างประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งได้ วางแผนไว้เพ่ือป้องกันหรือบรรเทาผลกระทบที่รุนแรงของการเกิดน้าท่วม โดยไม่จ้าเป็นต้องก่อสร้าง อาคารเพ่ือปรบั เปลีย่ นปริมาณการไหลของน้า การบริหารจัดการน้าท่วมด้วยแนวทางใช้สิ่งก่อสร้าง เช่น เขื่อน (Dam) คันกันน้า (Levee) พนัง กันน้า (Dike) ทางผันน้า (Diversion) ทางระบายน้าท่วม (Floodway) ฯลฯ คือ ความพยายามท่ีจะ ควบคุมน้าท่วมด้วยการเก็บกักน้า การขังน้า หรือการปรับเปล่ียนปริมาณการไหลของน้า หรือการผันน้า ซ่ึงอาจจะใช้หรือไม่ใช้ร่วมกันกับแนวทางไม่ใช้ส่ิงก่อสร้างก็ได้ แต่แนวทางใช้ส่ิงก่อสร้างก็ไม่ใช่เง่ือนไขที่ จ้าเปน็ ตอ้ งทา้ กอ่ นการใช้มาตรการแบบไม่ใช้ส่งิ ก่อสร้าง ถึงแม้ว่าคู่มือฉบับนีจะมีเนือหาหลัก คือ “การวางแผนด้วยแนวทางใช้ส่ิงก่อสร้างเพ่ือการบริหาร จัดการน้าท่วม (Planning of Structural Approaches to Flood Management)” แต่ในบางครังก็ จา้ เปน็ ตอ้ งกลา่ วถงึ แนวทางทไี่ มใ่ ชส้ ่ิงกอ่ สร้างร่วมดว้ ย เพอื่ ให้สามารถเข้าใจขอบเขตการท้างานได้มากขนึ มาตรการการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างควรน้ามาพิจารณาร่วมกันในการวางแผนและการด้าเนินมาตรการ ของมาตรการใชส้ ง่ิ ก่อสรา้ งเสมอเพือ่ เพิ่มประสิทธภิ าพในการทา้ งานรว่ มซ่ึงกนั และกนั ภายใต้สภาพของลุ่ม 1–1

น้าบางแห่ง การน้าวิธีการแบบไม่ใช้สิ่งก่อสร้างเพียงอย่างเดียวมาใช้เพ่ือลดความเสียหาย อาจให้ บทท่ี 1 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ผลตอบแทนที่คมุ้ คา่ กว่าทางเลือกที่จะใช้วธิ ีใชส้ ิง่ ก่อสร้าง เมอื่ กล่าวถงึ แนวทางท่ีไมใ่ ชส้ ่ิงกอ่ สรา้ งมกั มลี ักษณะทสี่ า้ คัญแบ่งได้เปน็ 2 กลุ่ม ดังนี (1) มาตรการวางแผน (Planning Measures)  การพยากรณน์ ้าท่วม (Flood Forecasting)  นา้ ท่วมท่เี กิดจากนา้ ทะเลหนุน (Sea Flooding)  การควบคุมการพัฒนาพืนท่ีน้าทว่ ม (Control of Floodplain Development)  การประกนั ภยั นา้ ท่วม (Flood Insurance)  การกนั น้าทว่ ม (Flood Proofing)  การบรหิ ารจดั การพนื ทีล่ ุ่มน้า (Catchment Management)  การตัดสนิ ใจ (Decision Making) (2) มาตรการรับมือ (Response Measures)  การวางแผนรับมือสถานการณ์นา้ ท่วมฉุกเฉิน (Flood Emergency Response Planning)  การสู้ภัยน้าทว่ ม (Flood Fighting)  การเตือนภยั นา้ ทว่ ม (Flood Warning)  การอพยพ (Evacuation)  การใหค้ วามช่วยเหลือในสถานการณ์ฉุกเฉนิ และการบรรเทาทุกข์ (Emergency Assistance and Relief) แนวทางท่ีไมใ่ ช้สิ่งก่อสร้างเพือ่ การบริหารจัดการนา้ ท่วมมีเนือหาครบถว้ นอยแู่ ลว้ ในหนงั สือ “คมู่ ือ การบริหารจัดการนา้ ทว่ มดว้ ยแนวทางไม่ใช้สิง่ ก่อสร้าง (Manual on Non–Structural Approaches to Flood Management)” (ICID–Delhi, 1999) และในทน่ี จี ะได้อา้ งอิงถึงค่มู ือดงั กล่าวหากเกยี่ วข้อง ส้าหรับมาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง (Structural Measures) เนื่องจากความแปรปรวนท่ีค่อนข้างสูง ของแตล่ ะล่มุ น้าในเร่ืองสภาพภูมอิ ากาศ การพัฒนา และสภาพภมู ปิ ระเทศ จงึ ไม่สามารถท่ีก้าหนดแนวทาง เพ่ือใช้เป็นมาตรฐานในการน้าไปประยุกต์ใช้ได้ อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าคู่มือฉบับนีซึ่งได้น้าเสนอแนวคิดและ ทางเลือกต่าง ๆ ท่ีจะช่วยแนะน้าผู้วางแผนและวิศวกรเพื่อให้สามารถก้าหนดและประเมินทางเลือกต่าง ๆ ได้ตามความเป็นจริง และใช้พัฒนาศึกษาเปรียบเทียบแนวทางแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ เฉพาะนนั ๆ 1.2 กำรบริหำรจดั กำรนำท่วมและกำรควบคุมนำทว่ ม (Flood Management and Flood Control) ภายใต้บริบทของคู่มือฉบับนี มีการก้าหนดความหมายของค้าศัพท์ที่มักใช้สลับกันระหว่างค้าว่า “การบริหารจัดการน้าท่วม (Flood Management)” และ “การควบคุมน้าท่วม (Flood Control)” ไว้ ดงั นี 1–2

บทท่ี 1 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง  การบริหารจัดการน้าท่วม (Flood Management) หมายถึง กระบวนการทังหมดท่ีใช้ในการ ลดขนาดของการเกดิ นา้ ทว่ มและความเสยี หายท่ีเกิดขึนจากน้าท่วม ในขณะท่ี  การควบคุมน้าท่วม (Flood Control) หมายถึง กระบวนการเฉพาะในการจัดให้มีและใช้งาน โครงสร้างท่ีออกแบบมาเพื่อป้องกันหรือบรรเทาความเสียหายจากน้าท่วมให้เหลือน้อยที่สุด ด้วยการหน่วงน้า การจ้ากัดการไหล หรือการผันน้าท่วมตามข้อจ้ากัดในการออกแบบอย่าง ประหยัด ในการกา้ หนดนโยบายการบรหิ ารจัดการพืนท่ีราบนา้ ท่วมถงึ ที่สามารถด้าเนินการไดจ้ รงิ เพื่อรบั มือ กับปญั หาน้าท่วมนัน ในทุกกรณีจะตอ้ งกา้ หนดแนวทางการแก้ไขทีม่ ีรูปแบบเดยี วกันท่วั ทงั พนื ท่ลี ุ่มน้า และ ในขณะเดียวกันก็สะท้อนให้เห็นคุณค่าด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันด้วย นโยบายเหล่านันจ้าเป็นต้องจัดให้มีการบูรณาการร่วมกันของมาตรการใช้สิ่งก่อสร้างและไม่ใช้ส่ิงก่อสร้าง อย่างมีประสิทธิภาพและเมื่อน้าไปปฏิบัติงานจริง มาตรการดังกล่าวจะต้องให้ความมั่นใจว่าจะสามารถ คาดการณ์ได้อย่างแมน่ ย้าถึงผลการด้าเนินงานขององคป์ ระกอบต่าง ๆ ของระบบในช่วงทเี่ กิดเหตุการณน์ ้า ท่วมใหญ่ขึน รวมถึงความมีประสิทธิภาพสูงสุดของกิจกรรมต่าง ๆ ในภาวะฉุกเฉินจนถึงปัจจุบันนีได้ ในช่วงที่ผ่านมามีความพยายามท่ีจะศึกษาหามาตรการเฉพาะส้าหรับปัญหาเฉพาะจุดของแต่ละท้องถ่ิน มากจนเกินไป และให้เวลาน้อยไปในการพัฒนาแนวทางที่จะศึกษาแบบองค์รวม (Comprehensive Approaches) แผนการบริหารจัดการพืนที่ราบน้าท่วมถึง (Floodplain Management Plan) ส้าหรับพืนท่ีลุ่ม น้าแต่ละแห่งควรมีรากฐานมาจากหลักการพืนฐาน (Fundamental Principles) หลายประการ ประการ ที่ 1 จะต้องจัดเตรียมระดับการป้องกันอย่างเข้มข้นและลดความเส่ียงให้เหลืออยู่น้อยท่ีสุด โดยเฉพาะ อยา่ งยิง่ อนั ตรายทเี่ กิดกับชวี ิตมนษุ ย์ แม้วา่ จะต้องก้าหนดมาตรฐานในการป้องกันที่มีรูปแบบเดียวกัน แต่ก็ ต้องมีการพิจารณาแนวทางอ่ืนร่วมด้วย ประการที่ 2 ในปัจจุบันมีความต้องการที่จะให้คุณค่าทางด้าน สง่ิ แวดลอ้ ม (Environmental Value) รวมไวเ้ ป็นส่วนหนง่ึ ของการแก้ไขปญั หา ปญั หาทางด้านสิง่ แวดล้อม หลาย ๆ ประเด็นถูกระบุไวใ้ นแผนงานบรู ณาการที่ครอบคลุมของพืนที่ชุ่มน้า (Wetland) หรือการดูแลถ่ิน ที่อยู่ของพืชและสัตว์อื่น ๆ (Other Habitat Creation) แต่ส่ิงเหล่านีไม่สามารถทดแทนมาตรการลดน้า ทว่ มโดยตรงได้ เนื่องจากการฟ้นื ฟพู ืนทถ่ี ิ่นที่อยู่ส้าหรบั พืชและสัตว์ต่าง ๆ ไมส่ ่งผลต่อการลดระดบั ความสูง ของน้าท่วมส้าหรับเหตุการณ์น้าท่วมได้มากนัก ประการที่ 3 มาตรการใช้ส่ิงก่อสร้างท่ีช่วยป้องกันพืนที่ ทางการเกษตร ควรถูกประเมินจากพืนฐานข้อมูลเฉพาะในช่วงของล้าน้า (River Reach) เพ่ือใช้ก้าหนด ระดับของการป้องกนั และระยะถอยร่นท่ีเหมาะสม ในขณะเดียวกัน ควรพิจารณาอย่างถถี่ ้วนถึงปฏสิ ัมพันธ์ ระหว่างกันขององค์ประกอบต่าง ๆ และผลกระทบท่ีอาจเกิดขึน ประการสุดท้าย ข้อพิจารณาที่กล่าวมา ขา้ งต้นจา้ เป็นตอ้ งบูรณาการรว่ มกันกบั แผนประกันภัยน้าท่วม (Flood Insurance Program) ท่ีเป็นสากล และใช้งานได้อย่างสมบูรณ์ ซ่ึงก้าหนดให้เจ้าของทรัพย์สินต้องท้าประกันภัยกับความเส่ียงตกค้าง (Residual Risk) การด้าเนินงานเหล่านีจ้าเป็นจะต้องมีแผนงานควบคุมบริหารจัดการน้าท่วมทังใน ระดบั ชาติและระดบั ทอ้ งถ่ินที่มีความแข็งแรง เขม้ แขง็ ตลอดจนมกี ารจา่ ยเงินชดเชยให้ตามความเหมาะสม เพื่อใหม้ ่ันใจถึงผลการคาดการณ์ในระดับลุ่มน้าระหว่างเกิดเหตกุ ารณ์นา้ ทว่ มครังใหญ่ จ้าเป็นต้อง มคี วามมน่ั ใจว่ามกี ารยึดปฏิบัติตามหลักวิศวกรรมทงั ในด้านการออกแบบ การก่อสร้าง และการบ้ารงุ รกั ษา 1–3

ของส่วนประกอบทางโครงสร้างของระบบ ตลอดจนสร้างความเชื่อมั่นในการบรหิ ารจัดการควบคมุ น้าของ บทท่ี 1 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ทุกอ่างเก็บน้าในลุ่มน้าแบบบูรณาการ และการท้างานประสานกันในการป้องกันด้วยการสร้างคันป้องกัน น้าท่วม (Levee Flood Fighting Activities) เน่ืองจากจะส่งผลกระทบกับทังระบบ การควบคุมน้าท่วม (Flood Control) ครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ของการบริหารจัดการน้าท่วม (Flood Management) ทัง มาตรการใช้ส่ิงก่อสร้างและการปฏิบัติการ ดุลยภาพของมาตรการต่าง ๆ ที่มีอยู่เพื่อลดผลกระทบจาก ความเสียหายของการเกิดนา้ ทว่ มตามทไี่ ด้อธิบายไว้ในมุมมองดา้ นไม่ใชส้ ง่ิ ก่อสร้าง ในพืนท่ีที่มาตรการใช้ส่ิงก่อสร้างมีอยู่แล้วหรือก้าลังจะด้าเนินการ การท้างานประสานกันในการ ควบคุมน้าท่วมด้วยการวางแผนและการปฏิบัติการตามแนวทางการบริหารจัดการน้าท่วมแบบไม่ใช้ ส่ิงก่อสร้างเป็นส่วนส้าคัญมากเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเกิดประสิทธิภาพต่อผลขันพืนฐานของ มาตรการใช้ส่ิงก่อสร้างเอง ยกตัวอย่างเช่น การน้าเอาคันกันน้ามาใช้ป้องกันบางช่วงของแม่น้าไม่เพียงแต่ จะเป็นสาเหตุให้ระดับน้าด้านเหนือน้ายกระดับสูงขึนจากผลกระทบของน้าเท้อ (Backwater Effect) แต่ การท่ีต้องสูญเสียพืนท่ีเก็บกักน้าในพืนที่ราบน้าท่วมถึง และการเร่งการเคลื่อนตัวของน้าท่วมจะส่งผล กระทบตอ่ รูปแบบของน้าท่วมดา้ นท้ายนา้ ผลกระทบทัง 2 ลักษณะนียังส่งผลตอ่ เง่อื นไขต่าง ๆ ทีใ่ ชส้ า้ หรับ มาตรการไม่ใชส้ ง่ิ กอ่ สร้างใหเ้ ปล่ียนไปด้วย ดังนัน ทังผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติการโครงสร้างควบคุมน้าท่วมใด ๆ จ้าเป็นต้องมีความรู้ความ เข้าใจถึงขันตอนการด้าเนินงาน (Algorithm) และโค้งเกณฑ์การปฏิบัติการ (Rule Curve) ซึ่งได้รวบรวม ผลการบรรเทาความเสียหายด้วยมาตรการไม่ใช้ส่ิงก่อสร้างมาปรับใช้ไว้อย่างเหมาะสมโดยสัมพันธ์กับ ระดบั นา้ ทว่ ม การปฏิบัติการตามแบบท่ีวางไว้อาจจะรวมถึงการพังทลายคันกันน้าอยา่ งจงใจในช่วงล้าน้าช่วงใด ช่วงหน่ึง เพ่ือช่วยลดความเส่ียงของการพังทลายทางด้านทา้ ยน้าที่ไม่ต้องการใหพ้ ังทลาย ซึ่งอาจก่อให้เกิด ความเสยี หายจากน้าท่วมรุนแรงกว่าหรือมีมูลค่าสูงจนไมส่ ามารถรับได้ หลักปฏิบัติการดังกล่าวก้าหนดให้ มีการด้าเนินการในเวลาท่ีเหมาะสม กระบวนการรับมือน้าท่วมท่ีได้วางแผนไว้ เช่น การเตือนภัยน้าท่วม (Flood Warning) การอพยพ (Evacuation) และการบรรเทาภัยพิบัติ (Disaster Relief) ความจ้าเป็น อย่างยิ่งท่ีต้องท้างานประสานความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายด้าน และ องคก์ รตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วขอ้ งในการบรหิ ารจัดการและควบคมุ นา้ ท่วมเป็น 1.3 วตั ถุประสงคแ์ ละกำรใช้คูม่ ือ (Purpose and Use of the Manual) วัตถุประสงค์ของคู่มือฉบับนีก็เพื่อให้แนวทางในการวางแผนและออกแบบโครงการควบคุมน้า ทว่ มแก่ผู้วางแผนและผู้มอี ้านาจตัดสนิ ใจ และจะเป็นการดีหากนักวางแผนและผู้มอี ้านาจตัดสินใจเหล่านีมี ความรู้พืนฐานทางเทคนิคมาก่อนแต่ก็ไม่ใช่เป็นเง่ือนไขท่ีต้องมี การเตรียมการจัดท้าหนังสือเล่มนีเกิดขึน จากแนวคิดเพื่อเติมเตม็ เนอื หาดา้ นการวางแผนและการตัดสินใจแบบองค์รวมในการบริหารจัดการนา้ ท่วม และควบคมุ น้าทว่ มทยี่ งั ขาดอยแู่ ม้จะมเี อกสารทเี่ ก่ยี วข้องในเรื่องนีเปน็ จา้ นวนมากก็ตาม 1–4

บทท่ี 1 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง การเกิดน้าท่วม (Flooding) เกิดขึนจากหลากหลายสาเหตุ อย่างไรก็ดี ในคู่มือฉบับนีจะเน้นไปท่ี น้าท่วมทเ่ี กดิ จากการไหลล้นตลิง่ ของแม่น้า (Overtopping of River Bank) และการไหลข้ามและพงั ทลาย ของคันป้องกนั น้าท่วม (Overtopping and Breaching of Flood Embankment) ตามแนวแม่นา้ ต่าง ๆ ด้วยความหลากหลายของแนวคิด หลักการ และเทคโนโลยีที่เกย่ี วข้องกับแนวทางใชส้ ิ่งก่อสรา้ งใน การบริหารจดั การน้าท่วมที่มีจ้านวนมาก จึงเปน็ การยากท่ีเอกสารเพียงเลม่ เดียวจะสามารถน้าเสนอเนอื หา ครอบคลุมได้ทังหมด ดังนัน คู่มือฉบับนีจึงได้ออกแบบและพัฒนาขึนมาเพื่อใช้ส้าหรับเป็นวิธีการในการ จัดตังโครงการควบคุมน้าท่วมขึนให้สอดคล้องกับหลักการพืนฐานท่ีดี ความเห็นและค้าอธิบายท่ีเกี่ยวข้อง และตัวอย่างต่าง ๆ ได้ถูกให้ไว้เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถน้ามาตรการต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างรวดเร็ว ตามสถานการณน์ นั ๆ และสามารถก้าหนดแนวทางการดา้ เนินการต่อไปได้ เน่ืองจากทุกลุ่มน้าที่มีความเส่ียงท่ีจะเกิดน้าท่วมมักมีคุณลักษณะเฉพาะ ผู้ใช้งานคู่มือนีจึงควร ประเมินอย่างระมัดระวังถึงแนวทางเลือกส้าหรับการประยุกต์ใช้งานให้สอดคล้องตามสถานการณ์ท่ีก้าลัง เผชิญในขณะนัน เอกสารอ้างอิงที่ให้มาควรได้รับการศึกษาค้นคว้าเพื่อหารายละเอียดของข้อมูลเพิ่มเติม และแนวคิดอ่ืน ๆ การตัดสินใจจากผู้มีประสบการณ์และอย่างมืออาชีพจะเป็นส่วนส้าคัญในการเลือกและ การก้าหนดแนวทางปฏบิ ตั ิ และองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ท่ีจะน้าไปดา้ เนนิ การต่อ ส่วนหลักของคู่มือฉบับนีครอบคลุมเนือหาที่เก่ียวข้องการประยุกต์ใช้ในกรณศี ึกษา ตัวอย่างได้รับ การคัดเลือกมาเพื่อให้ข้อมูลเชิงลึกแก่ผู้ใช้งานด้านมาตรการแบบใช้ส่ิงก่อสร้างที่เก่ียวข้อง และการ ประยกุ ต์ใชไ้ ดจ้ รงิ และตังใจทีจ่ ะให้กรณีศึกษาตัวอย่างนีมสี ่วนชว่ ยอยา่ งส้าคัญในการก้าหนดกรอบแนวคิด อย่างไรก็ตาม ขอเน้นย้าอีกครงั วา่ กรณีศึกษาตัวอย่างนีจะไม่ไปจ้ากัดหรือน้าเสนอว่านเ่ี ป็นการแก้ไขปญั หา ท่ดี ที สี่ ุด ความคิดริเริ่มใหม่ ๆ และการตดั สินใจโดยกลมุ่ ผู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพจ้าเป็นตอ้ งเปน็ ส่วนหนึ่งของ กระบวนการตัดสินใจต่อความถูกต้องและการน้าไปประยุกต์ใช้กับการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ใหม่ ๆ ได้ 1.4 คำนยิ ำม (Definitions) ในวรรณกรรมต่าง ๆ ได้น้าศัพท์ที่เก่ียวข้องกับน้าท่วมมาใช้หลายค้า ดังนัน เพื่อให้ช่วยให้ผู้อ่าน เข้าใจศัพท์ดังกล่าว จึงได้อธิบายรายละเอียดไว้ในหัวข้อ 1.4 (ค้านิยาม)ค้าศัพท์เหล่านีส่วนใหญ่จะอธิบาย รายละเอียดสัน ๆ ไว้ รวมทังให้ค้าจ้ากัดความเพ่ือช่วยให้เกิดความกระจ่างในการใช้งาน หรือความหมาย ของค้าศัพท์ และช่วยให้ผูใ้ ช้งานเขา้ ใจแนวคิดท่ีเกย่ี วข้องได้ดยี ่ิงขนึ สา้ หรับรายการค้าศัพท์และสมการต่าง ๆ ที่มีความซับซ้อนท่ีน้ามาใช้เก่ียวข้องกับน้าท่วม และใช้ อ้างอิงในการเกิดน้าท่วมได้กล่าวไว้ในดิกชันนารีทางเทคนิคแบบหลายภาษา (Multi Lingual Technical Dictionary) ในบทท่ี XVIII เร่ือง “การควบคุมน้าท่วม (Flood Control)” เนือหาส่วนใหญ่ในบทดังกล่าว มีการน้าเสนอไว้ในอภิธานศัพท์ของภาคผนวก B ในคู่มือการบริหารจัดการน้าท่วมด้วยแนวทางไม่ใช้ สงิ่ ก่อสรา้ ง (Non–Structural Approaches to Flood Management) 1–5

ควำมเสียหำยรำยปีเฉล่ีย (Average Annual Damage) ควำมเสียหำยรำยปีคำดกำรณ์ บทท่ี 1 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง (Expected Annual Damage) กำรคำดกำรณ์โดยกำรคำนวณมูลคำ่ ควำมเสยี หำย (Mathematical Expectation Value of Damages) : ความเสียหายทังหมดจากน้าท่วมท่ีค้านวณจากค่าเฉล่ียของ เหตุการณ์น้าท่วมทุกปีในระยะยาว ความเสียหายรายปีเฉลี่ยเป็นดัชนีท่ีนิยมน้ามาใช้ประเมินค่าความ เสียหายท่ีอาจเกิดขึนจากเหตุการณ์น้าท่วม และมักค้านวณมาจากค่าความน่าจะเป็นของมูลค่าความ เสียหายต่าง ๆ ที่ผ่านมา (ในทางปฏิบัติจะประมาณการจากพืนท่ีใต้เส้นโค้งความสัมพันธ์ระหว่างความ เสียหาย–ความน่าจะเปน็ (Damage–Probability Curve)) ระดบั เต็มตลงิ่ (Bankful, Bankful Stage) : ระดับท่ีน้าในแม่นา้ ทชี่ ่วงความยาวล้าน้าใด ๆ เร่ิม ทีจ่ ะล้นตลง่ิ ขา้ มคนั กนั น้าตามธรรมชาตหิ รือคันที่สร้างขึน และนา้ เรมิ่ จะไหลเข้าทว่ มในพนื ทร่ี าบน้าทว่ มถึง หรือโพลเดอร์ ปริมำณนำล้นตลิง่ (Bank Overspill) : ปรมิ าณของน้าทีล่ น้ จากแม่น้าเข้าไปทว่ มในพนื ที่ราบน้า ทว่ มถงึ หรือทโ่ี พลเดอ้ ร์ในบริเวณใกลเ้ คียง นำท่วมท่ีระดับฐำน (Basic Stage Flood) นำท่วมเหนือระดับฐำน (Floods Above a Base) : ค่าอัตราการไหลของน้าในล้าน้า ซึ่งเลือกมาใช้ก้าหนดเป็นขีดจ้ากัดต้่าสุดหรือค่าฐานส้าหรับการ วเิ คราะห์นา้ ทว่ ม บางครังอาจถอื เปน็ คา่ ปรมิ าณนา้ ท่วมต่า้ สดุ รายปี แบบจำลองระบบแบบกล่องดำ (Black Box Simulation Model) หรือแบบจำลองทำง คณิตศำสตร์ (Mathematical Models) : แบบจ้าลองต่าง ๆ ซึ่งไม่ได้น้ากระบวนการทางกายภาพของ ระบบ (กล่อง) มาพิจารณา อย่างไรก็ดี ผลของการจ้าลองระบบได้มาจากชุดของสมการทางคณิตศาสตร์ (แบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model)) หรือได้มาจากกราฟแสดงความสัมพันธ์ที่ได้จาก การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทีบ่ นั ทกึ ค่าไว้ (เช่น วิธกี ราฟนา้ ท่าหนงึ่ หน่วย (Unit Hydrograph)) ควำมเร็ว (Celerity) : ความเร็วของการเคลอ่ื นตัวของคล่นื น้าตามแรงโนม้ ถ่วงหรือคลน่ื ซัดเหนือ ระดับน้าในทางน้าเปดิ ควำมจทุ ำงนำ/ควำมจุร่องนำ (Channel Capacity) : อัตราการไหลสงู สดุ ทร่ี ะดับเตม็ ตลิ่งของ ทางน้าใด ๆ ทส่ี ามารถนา้ น้าไหลไปไดโ้ ดยนา้ ไมไ่ หลล้นข้ามตลิ่ง ปริมำณนำหลำกออกแบบ (Design Flood) : (1) น้าท่วมสูงสุดท่ีสามารถไหลผ่านอาคารชล ศาสตร์ใด ๆ ได้อย่างปลอดภัย (2) น้าท่วมที่น้ามาใช้ในการออกแบบอาคารชลศาสตร์ (3) น้าท่วมที่พืนท่ี หน่ึงสามารถรับมือในการป้องกันน้าท่วมได้ โดยทั่วไปค่าอัตราการไหลของน้าท่วม ปริมาณน้าท่วม และ พารามิเตอร์อ่ืน ๆ ของข้อมูลน้าท่วม สามารถน้ามาใช้แสดงขนาดของน้าหลากออกแบบ ทังนีขึนอยู่กับ ลักษณะของอาคารชลศาสตร์นนั ๆ ประสิทธิผลของระบบกำรบริหำรจัดกำรนำท่วมทำงเศรษฐกิจ (Economic Effectiveness of a Flood Management System) : ประสิทธิภาพของโครงการบริหารจัดการน้าท่วมที่ก่อให้เกิด 1–6

บทท่ี 1 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นการยากที่จะประมาณค่าได้อย่างแม่นย้า เนื่องจากการระบุถึง ผลประโยชน์และมูลค่าท่ีเป็นผลมาจากการบริหารจัดการน้าท่วมนันท้าได้ยาก การวิเคราะห์เงินลงทุน– ผลประโยชน์ (Cost–Benefit Analysis) (หรือการวิเคราะห์ผลประโยชน์–เงินลงทุน (Benefit–Cost Analysis)) มักน้ามาใช้ในการเปรียบเทียบเงินลงทุนของโครงการกับผลประโยชน์ของโครงการ ผลประโยชน์ของโครงการมักจะอยู่ในรูปความเสียหายรายปีเฉลี่ยที่ได้รับการป้องกันไม่ให้เกิดจากการมี โครงการ และในบางการศกึ ษาได้รวมการสูญเสยี ทางอ้อมและการสญู เสียที่จับต้องไม่ไดเ้ อาไว้ดว้ ย โอกำสควำมน่ำจะเป็นแบบมำกกว่ำ (Exceedance Probability) : โอกาสความน่าจะเป็น ของการเกิดเหตุการณ์น้าทว่ มในปีใด ๆ ท่ีมขี นาดสูงกว่าค่าท่ีกา้ หนด อ่านค้าอธิบายเพ่ิมเติมท่ีรอบการเกิด ซ้า (Return Period) นำท่วม (Flood) : (1) ปริมาณน้าหรือระดับน้าในแม่น้าที่ค่อนข้างสูงขึนกว่าปกติอย่างชัดเจน รวมถึงการเกิดน้านองในพืนที่ลุ่มต้่าซ่ึงอาจเป็นผลจากเหตุดังกลา่ ว มวลน้าท่ีเพิ่มขึน ขยายตัว และไหลล้น เขา้ ปกคลุมในพนื ที่ทไี่ ม่เคยเกดิ ขนึ มาก่อน (2) คลื่นน้าทว่ มทเ่ี คล่ือนตัวลงมาตามระบบแม่นา้ หรือคลื่นพายุ ซดั ฝงั่ (Storm Surge) (เชน่ คลื่นทะเลผนวกเข้ากับการก่อตัวของลมและคล่ืนปะทะรุนแรง) นา้ ท่วมสามารถจัดแบ่งได้อย่างน้อย 5 กลุ่ม ตามแหล่งท่ีมาของน้าส่วนเกิน (1) น้าท่วมท่ีเกิดจาก หิมะละลายในบริเวณของเทือกเขา ส่งผลท้าให้เกิดน้าท่วมในพืนที่หุบเขาทางตอนล่าง (2) น้าท่วมท่ีเกิด จากคลื่นทะเลยกตัวเน่ืองจากพายุไซโคลนในมหาสมุทรและคล่ืนทะเล (3) น้าท่วมที่เกิดจากสาเหตุฝนตก หนกั เกนิ กว่าความสามารถในการรับน้าของแมน่ ้า และชอ่ งทางนา้ ทางธรรมชาตแิ ละทางระบายนา้ ท่ีมนษุ ย์ สร้างขึน (4) น้าท่วมท่ีเกิดจากธารน้าแข็งไหลมารวมกันและการแตกหักของธารน้าแข็งทางตอนบนของ แมน่ ้า ซ่งึ มกั รู้จกั กนั ในชื่อ “Spring Flood” และ (5) น้าทว่ มทเ่ี กดิ จากการวิบัติของอาคารต่าง ๆ ที่มนษุ ย์ สรา้ งขึน เชน่ เขอ่ื น (Dam) อาคารทดน้า (Barrages) คนั กันน้า (Levees) และอาคารควบคมุ น้า (Control Structures) ผลประโยชน์ของกำรควบคุมนำท่วม (Flood Control Benefits) : (1) มูลค่าของการป้องกัน นา้ ท่วมทปี่ ระมาณการในรูปของความเสียหายที่สามารถป้องกันไม่ให้เกิดขึนได้ หรือผลทางด้านบวกอ่ืน ๆ ของงานท่ีเสนอ (2) การคืนทุนจากโครงการบรรเทาน้าท่วมทังในรูปแบบที่นับมูลค่าได้ (Tangible Benefits) และนับมูลคา่ ไม่ได้ (Intangible Benefits) (3) ผลประโยชน์ทางตรง (Direct Benefit) จากการ ลดความเสียหายของน้าท่วมในพืนท่ีและทรัพย์สินอื่น ๆ โดยคิดจากค่าลงทุนฟื้นฟูระบบให้กลับสู่สภาพ ก่อนเกิดน้าท่วม หรือการคิดจากการเสื่อมราคาของระบบท่ีเสียหายจากน้าท่วมและการลดลงของราคา พชื ผลและความเสียหายที่เกิดขึนกับพืช ในรูปของมูลค่าทางการตลาดท่ีปรับแก้ด้วยความเปน็ ไปได้ในการ ปลูกซ้าและค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตท่ีไม่ได้เกิดขึน และผลประโยชน์ทางอ้อม (Indirect Benefit) ที่ พิจารณาจากระดับท่ีเพิ่มขึนของการใช้ประโยชน์ในพืนที่ท่ีเคยถูกน้าท่วมในรูปของรายได้ที่มากขึน และ การลดการหยดุ ชะงักของธุรกิจ อุตสาหกรรม และพาณชิ ย์ การจราจร การสื่อสาร และกิจกรรมอ่ืน ๆ ทัง ภายในและภายนอกพืนท่ีน้าท่วมในด้านของการสูญเสียรายได้สุทธิ หรือการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการ ด้าเนินงาน และค่าใช้จ่ายในการอพยพ การสร้างอาชีพใหม่ ค่าที่พักชั่วคราว งานป้องกันน้าท่วมฉุกเฉิน และการบรรเทาและการดูแลผ้ปู ระสบภัยนา้ ทว่ ม 1–7

โครงกำรควบคุมนำท่วม (Flood Control Project) โครงกำรบรรเทำนำท่วม (Flood บทท่ี 1 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง Mitigation Project) โครงกำรป้องกันนำท่วม (Flood Protection Scheme) : โครงการที่มี วัตถุประสงค์ประการเดียวหรือมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการควบคุมน้าท่วม ถึงแม้ในกรณีหลังอาจสนอง วตั ถุประสงค์อ่ืน ๆ ได้ด้วยโดยไม่ตังใจ โครงการนีอาจใช้วิธใี นการควบคมุ นา้ ทว่ มวิธเี ดียวหรอื หลายวธิ กี ็ได้ พืนที่นำท่วม (Flooded Area) : (1) พืนท่ีท่ีถูกน้าท่วมปกคลุมเมื่ออัตราการไหลเกิดความจุ ปลอดภัยของทางน้า หรือเป็นผลมาจากการสร้างเขื่อนขวางแม่น้า (2) พืนท่ีท่ีถูกน้าท่วมอันเน่ืองมาจาก (2.1) คล่นื พายซุ ัดฝง่ั และ/หรอื เปน็ ผลจากคนั กันน้าพัง (2.2) มีส่ิงกดี ขวางทางระบายนา้ ฝน กำรเกิดนำท่วม (Flooding) นำนอง (Inundation) : (1) การไหลล้นของน้าเกินความจุปกติ ของแม่นา้ ล้าน้า ทะเลสาบ ทะเล หรอื แหลง่ น้าอื่น ๆ หรอื การสะสมของน้าในพืนท่ีท่ขี าดการระบายนา้ ทดี่ ี และไหลเข้าไปท่วมพืนที่ที่ไม่เคยเกิดน้าท่วมมาก่อน ค้าว่าน้านองโดยปกติหมายถึงน้าท่ีมีระดับลึกไม่กี่สิบ เซนติเมตร และไม่จ้าเป็นจะต้องเกิดจากน้าท่วม (2) การแผ่กระจายของน้าท่ีควบคุม (Control Spreading) เพือ่ การชลประทาน ฯลฯ ขนำดนำท่วม (Flood Magnitude, Flood Size) : ปริมาตรน้าทังหมดของการเกิดน้าท่วม หรืออัตราการไหลสูงสดุ ระหวา่ งเกิดน้าท่วม แผนท่ีนำท่วม (Flood Map) แผนท่ีเส่ียงนำท่วม (Flood Risk Map) แผนท่ีพืนที่รำบนำ ท่วมถึง(Floodplain Map) : (1) แผนท่ีซ่ึงแสดงขอบเขตของน้าท่วมที่เคยเกิดขึนหรือของน้าท่วม คาดการณ์ (2) การก้าหนดและแสดงพืนท่ีเสี่ยงภัยน้าท่วมไว้ในแผนที่ (3) แผนที่ทางภูมิศาสตร์ของพืนที่ ราบน้าท่วมถึงของแม่น้าซ่ึงระบุค่าระดับน้าคาดการณ์ท่ีสัมพันธ์กับค่าขนาดน้าท่วมที่รอบการเกิดซ้าใด ยกตัวอยา่ งเชน่ 10, 20, 50 และ 100 ปี เปน็ ตน้ พำรำมิเตอร์นำท่วม (Flood Parameter) : ตัวแปรที่แสดงลักษณะของน้าท่วมหน่ึง ๆ เช่น ระยะเวลา (ในหน่วยเวลา) ขนาดของนา้ ท่วม (ในหน่วยลกู บาศก์เมตร) ระดับน้าสงู สดุ (ในหนว่ ยเมตร) การ ไหลล้นตล่ิง (ในหน่วยลกู บาศก์เมตร) หรืออัตราการไหลในแม่น้าขณะเกิดน้าท่วม (ในหน่วยลกู บาศก์เมตร ตอ่ วินาที) พนื ท่ีรำบนำท่วมถึง (Floodplain) พืนที่นำท่วม (Flood Land) : (1) ส่วนของพืนดินที่ถูกน้า ท่วม ขอบเขตของพืนท่ีราบน้าท่วมถึงระบุตามความถี่ของการเกิดน้าท่วมเฉพาะ เช่น พืนท่ีราบน้าท่วมถึง ในรอบ 100 ปี เป็นพนื ที่ทถ่ี กู นา้ ท่วมโดยมีคา่ เฉล่ยี ของรอบการเกิดซ้าของเหตุการณน์ ้าทว่ มเท่ากับ 100 ปี หรอื อกี นัยหน่ึงมโี อกาสความน่าจะเปน็ ของการเกิดเหตุการณ์นา้ ท่วมในแตล่ ะปเี ท่ากบั 0.01 (2) พืนทีเ่ ส่ียง ภัยน้าท่วมท่ีอยู่ติดกับแม่น้า ซ่ึงน้ามักไหลล้นตล่ิงแม่น้าเป็นประจ้า หรือเป็นครังคราว ส้าหรับในพืนท่ีราบ พืนท่ีน้าท่วมถึงท้าหน้าที่เสมือนกับอ่างเก็บน้าเก็บกักน้าท่าส่วนเกิน และช่วยลดขนาดของยอดน้าหลาก สูงสุด นอกจากนี พืนที่ราบน้าท่วมถึงยังช่วยเพ่ิมปริมาณระบายน้าออก ทังนีขึนอยู่กับปัจจัยความลาดชัน ลกั ษณะรูปร่างของพืนท่ี และความลึกของนา้ นอง การกา้ หนดให้พืนท่ีใดเป็นพืนที่ราบน้าท่วมถึงนันเป็นสิ่ง ท่ีท้าได้ยาก เน่ืองจากต้องพิจารณาตามปริมาตรน้าท่วม ระดับน้า และรอบการเกิดซ้าท่ีเหมาะสม 1–8

บทท่ี 1 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง โดยทั่วไปมักจะใช้ระดับของน้าท่วมที่รอบการเกิดซ้า 100 ปี เป็นตัวก้าหนดขอบเขตของพืนท่ีราบน้าท่วม ถงึ พืนที่เสี่ยงภัยนำท่วม (Flood Prone Area) : พืนท่ีมีน้าท่วมเป็นครังคราว และยังไม่มีการ ดา้ เนินมาตรการปอ้ งกันนา้ ทว่ ม กำรป้องกันนำท่วม (Flood Protection) : การป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายจากน้าท่วม ซึ่ง ประกอบด้วยการควบคุมน้าท่วมโดยตรง และรวมถึงการป้องกันท่ีดินและทรัพย์สินต่าง ๆ ดังนันจึงมี ความหมายทกี่ วา้ งกวา่ การควบคุมน้าทว่ ม (Flood Control) ควำมเสยี่ งจำกนำท่วม (Flood Risk) : คือการวัดเกี่ยวกับความรุนแรงของอนั ตรายจากน้าท่วม (1) โอกาสท่ีจะประสบกับเหตุการณ์น้าทว่ ม ความเสี่ยงมกั แสดงในรูปของคา่ รอบการเกิดซ้าของปริมาณน้า ท่วมสูงสดุ แตบ่ างครังค่าความเรว็ น้า ปริมาณของตะกอน และความลึกนา้ อาจน้ามาใช้เป็นตวั ก้าหนดโซน ของพนื ท่ีเส่ียงได้ การประเมินความเสี่ยงอาจพิจารณาจากชีวิตท่ีอาจสูญเสียหรือทรัพย์สินที่อาจถูกท้าลาย (2) แนวคิดท่ีใช้ในการวิเคราะห์ความเส่ียงค้านวณจากโอกาสความเป็นไปได้ท่ีจะเกิดเหตุการณ์ใด ๆ คูณ ด้วยความเสียหายของเหตกุ ารณท์ ่ีจะเกดิ ขนึ ตามมา คา่ นเี ท่ากับค่าความเสยี หายคาดการณ์ แบบจำลองชลศำสตร์ (Hydraulic Model) หรือแบบจำลองอุทกพลศำสตร์ (Hydrodynamic Model) : แบบจ้าลองการเคล่ือนตัวของน้าผ่านแม่น้าหรือทางน้าซ่ึงมีลักษณะการ ไหลแบบไม่คงที่ (Unsteady Fluid Flow) ถูกจ้าลองโดยอาศัยสมการ Saint–Venant ในขณะที่ ค่าพารามิเตอร์บางอย่างในสมการโมเมนตัมไม่ได้น้ามาพิจารณา : แบบจ้าลองอาจเป็นแบบ 1 มิติ 2 มิติ หรือ 3 มิติ แบบจำลองทำงอุทกวทิ ยำ (Hydrological Models) : รปู แบบการนา้ เสนออยา่ งง่ายของระบบ อทุ กวิทยาทนี่ า้ ไปสูก่ ารจ้าลองระบบทางกายภาพและกระบวนการอนื่ ๆ ทางอุทกวทิ ยาทีย่ อมรับได้ องค์รวม (Holistic) : ภาพรวมหรือทังหมดในขณะนันท่ีครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ท่ีเป็นไปได้ จา้ นวนทงั หมดมีความหมายมากกวา่ ผลรวมของของส่วนต่าง ๆ แบบจำลองเชิงเส้นพหูคูณ (Multilinear Models) : การอธิบายระบบที่มีลักษณะไม่เชิงเส้น (Nonlinear System) โดยอาศัยแบบจ้าลองเชิงเส้นตังแต่ 2 แบบจ้าลองขึนไปที่มีลักษณะแตกต่างกันใน การแก้ปัญหารว่ มกนั ปริมำณนำหลำกสูงสุดที่อำจเกิดขึนได้ (Probable Maximum Flood, PMF) ปริมำณนำ หลำกสูงสุดท่ีเป็นไปได้ (Maximum Possible Flood, MPF) : (1) ปริมาณน้าท่วมสูงสุดท่ีคาดว่าจะ เป็นไปได้ตามลักษณะทางอุตุนิยมวิทยาและหิมะท่ีปกคลุมในพืนท่ีลุ่มน้า ซงึ่ จะรวมความเป็นไปได้ของการ เกิดจากเหตุการณ์ธรรมชาติที่ท้าให้เกิดน้าท่วมรุนแรงขึนพร้อม ๆ กันทุกเหตุการณ์ (2) ปริมาณน้าท่วม สูงสุดซึ่งสามารถคาดการณ์ตามหลักเหตุผลว่ามีโอกาสเกิดขึนได้ที่จุดใด ๆ ของแม่น้า หรือเป็นปริมาณน้า ท่วมสูงสุดที่สามารถคาดการณ์ท่ีรอบการเกิดซ้าที่ก้าหนดหรือรอบการเกิดซ้าใด ๆ ภายใต้สมมุติฐานท่ีว่า 1–9

การเกิดเหตุการณ์น้าท่วมนันได้รวมปัจจัยต่าง ๆ ทังหมดที่ส่งผลท้าให้เกิดฝนตกหนักรุนแรงท่ีสุดและเกิด บทท่ี 1 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ปริมาณน้าท่าสูงสุดซ่ึงเกิดขึนพร้อมกัน (3) ปริมาณน้าท่วมรุนแรงที่สุดที่พิจารณาตามหลักเหตุผลแล้วว่ามี ความเปน็ ไปไดท้ ่ีจะเกิดขึนในพืนที่ตังใด ๆ อันเป็นผลมาจากสภาพทางอตุ ุนยิ มวิทยาและทางชลศาสตร์ แบบจำลองฝน–นำท่ำ (Rainfall–Runoff Models) : แบบจ้าลองประเภทใดก็ได้ท่ีจ้าลอง กระบวนการเกดิ นา้ ท่วมจากความสมั พนั ธ์กบั ข้อมลู ฝนและการระเหยของนา้ รอบกำรเกิดซำ (Return Period, Recurrence Interval) : ช่วงเวลาเฉลย่ี ที่คาดว่าเหตุการณ์ น้าท่วมใด ๆ ท่ีมีขนาดหรือความรุนแรงเท่ากับหรือมากกว่าจะเกิดซ้าอีกครัง ดังนัน น้าท่วมที่รอบการเกิด ซ้า 100 ปี จึงหมายถึงเหตุการณ์น้าท่วมท่ีคาดว่าจะเกิดขึน 1 ครัง ทุก ๆ 100 ปี โดยเฉล่ีย ค่าเฉลี่ยระยะ ยาวของช่วงเวลาท่ีเหตุการณ์หนึ่งจะมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าเกิดขึน เช่น ค่าอัตราการไหลสูงสุดหรือ คา่ พารามเิ ตอร์ทางอุทกวิทยาอื่น ๆ ทเ่ี ป็นลกั ษณะของน้าทว่ ม 1–10

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งพารามเิ ตอรน์ า้ ท่วมกบั สภาพนา้ นอง บทท่ี 2 (The Relationship between Flood Parameters and Inundations)

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง II ความสมั พันธ์ระหว่างพารามิเตอรน์ ้าทว่ มและสภาพน้านอง (The Relationship between Flood Parameters and Inundations) 2.1 บทน้า (Introduction) เมือ่ ผูค้ นทวั่ ไปพูดถงึ น้าท่วมและการเกิดน้าท่วม พวกเขามกั จะอธบิ ายปรากฏการณ์เหลา่ นันในเชิง คุณภาพเท่านัน และมักใช้ค้าอธิบายเหล่านี เช่น น้าท่วมสุดโต่ง (Extreme Flood) การเกิดน้าท่วมครัง ใหญ่ (Disastrous Flooding) การเกิดน้าท่วมลึก (Deep Flooding) น้านองแบบจ้ากัด (Limited Inundation) เป็นต้น ถึงแม้ว่าในมุมมองทางด้านความรู้สึก ค้าอธิบายเหล่านีอาจใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใน การสอ่ื สารระหว่างกันได้ดี แตไ่ ม่สามารถให้ตัวเลขทสี่ ้าคัญท่ีผวู้ างแผนและผู้ออกแบบจ้าเป็นต้องทราบเพื่อ ท้าความเข้าใจถึงขนาดและลักษณะของปรากฏการณ์น้าท่วมในเหตุการณ์นันโดยเฉพาะ ความรู้ความ เข้าใจดังกล่าวเป็นสิ่งจ้าเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้พวกเขาสามารถบริหารจัดการน้าท่วมและออกแบบมาตรการ ควบคมุ นา้ ท่วมใหเ้ หมาะกับกรณีนนั ๆ เมื่อเราน้าพารามิเตอร์น้าท่วมมาใช้ เราสามารถอธิบายลักษณะของน้าหลากและน้าท่วมท่ีเกิดขึน ในกรณีเฉพาะกรณีหนึ่งได้ด้วยการก้าหนดค่าให้กับพารามิเตอร์เหล่านัน ย่ิงไปกว่านัน ด้วยแนวทาง ดงั กล่าวจึงมีความเปน็ ไปไดท้ จ่ี ะท้าการเปรียบเทียบน้าท่วมที่แตกตา่ งกัน และการเกิดน้าท่วมในพืนท่ลี ่มุ น้า นีกับลุ่มน้าอื่น และเมื่อขยายผลการใช้พารามิเตอร์น้าท่วมไปยังการลดผลกระทบต่าง ๆ ด้วยการบริหาร จดั การนา้ ทว่ มและมาตรการควบคมุ น้าทว่ ม เราสามารถทจ่ี ะวัดและเปรียบเทยี บผลของการบรหิ ารจดั การ นา้ ท่วมรูปแบบใหมท่ ่ีน้ามาใช้ รวมทังมาตรการควบคุมน้าท่วมต่าง ๆ ที่ด้าเนินการในพืนที่เส่ียงภัยน้าท่วม ดว้ ยเช่นกัน ไม่ว่าน้าท่วมและการเกิดน้าท่วมจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม ปรากฏการณ์นีสามารถอธิบายได้ดังนี : มีปริมาณน้าจ้านวนหน่ึงไหลเข้ามาในพืนท่ีใด ๆ และไม่สามารถไหลผ่านช่องทางน้าได้เร็วพอ ด้วยเหตุนี ระดับน้าจะเพ่ิมสูงขึนจนกระทั่งถึงระดับตลิ่ง หลังจากนันเกิดการไหลล้นตล่ิงและเกิดน้าท่วมตามมา เห็น ไดช้ ัดว่าองค์ประกอบของปริมาณและเวลามบี ทบาทส้าคญั อย่างยง่ิ เม่ือตอ้ งจดั การกับน้าท่วม ผ้คู นทวั่ ไปมักลมื ไปว่าน้าเป็นของไหลบีบอัดตวั ไมไ่ ด้ (Incompressible Fluid) และหุบเขาของแม่น้า (River Valleys) พืนท่ีราบน้าท่วมถึงและพืนท่ีดินดอนสามเหลี่ยมส่วนใหญ่ มักมีลักษณะราบ และมีความลาดชันทางด้านท้ายน้าค่อนข้างน้อย ข้อเท็จจริงท่ีว่าน้ามีลักษณะบีบอัดตัว ไม่ได้นันทุกคนทราบ แตก่ ลับไม่ได้ตระหนักถึงผลท่ีตามมา เราไม่สามารถลดขนาดของมวลนา้ ขนาดใหญ่ที่ กอ่ ใหเ้ กิดนา้ ท่วมได้ ชันนา้ ใต้ดนิ ไม่สามารถซึมซาบปริมาณน้าในช่วงเวลาสัน ๆ ได้ ในขณะเดียวกันนา้ ก็ไม่ สามารถระเหยได้ในช่วงข้ามคืน ด้วยเหตุนี จึงจ้าเป็นต้องเก็บน้าที่ไหลล้นตลิ่งไว้ในพืนที่ราบน้าท่วมถึง (Floodplain) หรือในพนื ที่เกบ็ กักน้า (Retention Area) บริเวณใกล้กบั แมน่ ้า ซ่ึงสว่ นใหญ่จะมคี วามสูงให้ รับน้าได้ไม่ก่ีเมตร ดงั นนั จงึ ตอ้ งการพืนที่ขนาดใหญเ่ พื่อรองรับน้าทม่ี ีปริมาณมาก ๆ ได้ 2–1

เน่ืองจากรูปร่างของไฮโดรกราฟของแม่น้าส่วนใหญ่จะแสดงใหเ้ ห็นว่าปริมาณน้าแค่เพียงบางส่วน บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง เทา่ นันทสี่ ามารถไหลผ่านช่องทางน้าในช่วงระหวา่ งท่ีระดบั น้าขึนสูง ปริมาณนา้ ส่วนทเ่ี หลือ (ทีไ่ หลล้นตลิง่ ) จะไหลผ่านไปบนพืนท่ีดินริมแมน่ ้าซึ่งได้กลายเปน็ พนื ทเี่ ก็บกักน้าช่วั คราวด้วย พนื ท่รี ิมแม่น้าท่ีแม่นา้ ใช้เก็บ กักและระบายน้าท่วมเป็นครังคราวนีมักเรียกว่า พืนท่ีราบน้าท่วมถึง (Floodplain) ความสามารถในการ ระบายน้าของระบบแม่น้า (River System) (รวมช่องทางน้ากับพืนท่ีราบน้าท่วมถึง) ที่ไม่เพียงพอเกิดขึน จากหลายสาเหตุ ดงั ต่อไปนี  เสน้ ขอบเปยี กของระบบแมน่ า้ /หรอื พนื ท่รี าบน้าท่วมถึงมีขนาดเลก็ เกินไป  ความลึกน้าในพืนท่ีราบน้าท่วมถึงน้อยเกินไป (รัศมีชลศาสตร์ (Hydraulic Radius)) ซ่ึงส่งผล ให้ความเรว็ ที่กระแสนา้ ไหลได้ช้า  ความลาดชันของท้องแม่น้าและพืนที่ราบน้าท่วมถึง แบนราบจนเกินไปที่จะท้าให้น้าท่วม สามารถเคลือ่ นตัวไปยงั ท้ายน้าได้อย่างรวดเร็ว  พืนที่ราบน้าท่วมถึงมีค่าความขรุขระของพืนผิวมากเกินไป อันเน่ืองมาจากมีสิ่งกีดขวาง และ พุ่มไม้  ระดบั น้าทางดา้ นท้ายสูง (ระดบั นา้ ทะเล) อันท่ีจริงแล้วความส้าคัญของตัวแปรเหล่านี เป็นไปตามสูตรค้านวณหาอัตราการไหลของน้าซึ่ง เป็นทร่ี ู้จกั กนั ทว่ั ไป เราจะพูดว่าเกิดนา้ ท่วม1 ตอ่ เมอ่ื มีน้าไหลเข้าไปท่วมพนื ที่ซ่งึ ปกติเปน็ เวลาหลายปีเป็นพนื ท่ีแห้ง ซึ่ง อาจเป็นพืนท่ีห่างไกลในพืนที่ราบน้าท่วมถึง เช่นพืนที่ท่ีอยู่ทางด้านสูงในโปรไฟล์หน้าตัดขวางของหุบเขา แม่น้า หรอื เปน็ พืนทท่ี างตอนลา่ งซึ่งโดยปกตแิ ลว้ มักสร้างคันกันน้าทว่ มไว้ เชน่ พนื ท่ปี ิดลอ้ ม (Polder) การ เกดิ นา้ ทว่ มในกรณีหลงั นีมีจากสาเหตจุ ากการไหลลน้ ข้ามคันกนั นา้ หรือเกดิ การพังทลายของคันกนั นา้ 2.2 การบริหารจดั การน้าท่วม (Flood Management) 2.2.1 ค้าจ้ากดั ความ (Definition) แน่นอนว่าพฤติกรรมธรรมชาติท่ีเกี่ยวข้องกับน้าท่วม ตลอดจนการตอบสนองของมนุษย์สามารถ อธิบายได้ด้วยค้าพูดและการแสดงออกในหลากหลายรูปแบบ แม้ว่าเจ้าหน้าที่และผู้เช่ียวชาญที่เกี่ยวข้อง กบั น้าท่วมรู้จกั กับศัพท์เหล่านกี ันเป็นอยา่ งดแี ล้ว แต่กค็ ิดวา่ คมุ้ ค่าท่ีจะใหผ้ ู้อ่านได้ไปดูรายการค้าจ้ากัดคาม ในหัวข้อ 1.4 ซึ่งได้บรรจคุ ้าและส้านวนทั่ว ๆ ไปท่ีใช้ในคู่มือฉบับนี ส้าหรับในท่นี ีจะกล่าวถึงความแตกต่าง ที่ส้าคัญในแง่ของความหมายของค้าต่าง ๆ เหล่านี การบริหารจัดการน้าท่วม (Flood Management) การควบคมุ น้าท่วม (Flood Control) และการป้องกันน้าท่วม (Flood Protection) อย่างไรก็ตามเพ่ือให้ เข้าใจได้ง่ายขึน ในหัวข้อถัดจากนี ส้าหรับเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไป ค้าว่าการบริหารจัดการน้าท่วมจะถูก 1 ในคมู่ ือฉบับนีคา้ วา่ การเกดิ นา้ ทว่ ม (Flooding) และการเกดิ น้านอง (Inundation) ถกู น้ามาใชเ้ พ่อื อธบิ ายปรากฏการณ์ เดียวกนั ถงึ แมว้ ่าจะมคี วามแตกตา่ งกันบา้ งในความหมายระหว่างสองคา้ นี (ดูค้านยิ ามในหวั ข้อ 1.4) 2–2

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง น้ามาใช้เป็นส่วนใหญ่ ซ่ึงจะหมายรวมถึงมาตรการทัง 3 ประเภทเข้าไว้ด้วย แต่ในบริบทเฉพาะอาจน้าค้า อืน่ ๆ มาใชไ้ ด้เช่นกัน 2.2.2 วธิ ดี ังเดมิ ท่นี ้ามาใช้ในการบรหิ ารจดั การน้าทว่ ม (Classical Methods Used in Flood Management) เคร่ืองมือทางโครงสร้างท่ีส้าคัญที่น้ามาใช้ในการบริหารจัดการน้าท่วม คือ การเก็บกักน้าท่วม (Storage of Floodwater) และการเพิ่มความสามารถในการระบายน้าของระบบแม่น้า (Increase in Discharge Capacity) ซ่งึ เครือ่ งมือเหล่านีได้ทา้ ให้เกิดวิธกี ารท่ีเรียกว่า “วิธีดังเดิม (Classical Method)” จา้ นวนหนงึ่ การเก็บกักน้าท่วมสามารถท้าได้ไม่วา่ จะเปน็ การเกบ็ กกั (บางส่วนของ) คลน่ื น้าทว่ ม ไว้ในอ่างเก็บ น้าด้านบน หรือการเก็บกักปริมาณน้าท่วมในพืนท่ีลุ่มข้าง ๆ แม่น้าที่ได้ส้ารองเอาไว้รองรับน้าท่วมทาง ตอนลา่ งของแมน่ า้ นอกจากนีเพื่อเพ่ิมความสามารถในการระบายน้าของระบบแม่น้า มีหลายวิธีท่ีถูกน้ามาใช้ ได้แก่ (1) การปรับปรุงช่องทางน้าที่มีอยู่ให้ลึกขึนและกว้างขึน (2) สร้างทางระบายน้าท่วมขึนใหม่ขนานไปกับ แม่น้า หรือผันน้าส่วนหน่ึงไปยังแม่น้าสายอ่ืน หรือส่งไปยังจุดทางออกลงสู่ทะเลอ่ืน ๆ และในท้ายสุด (3) สร้างคันกันน้าท่วม (Flood Embankment) ตามแนวแม่น้า ซึ่งจะยอมให้ระดับน้า (น้าท่วม) เพิ่มสูงขึน จากเดมิ ได้ วิธีการเหล่านีถูกน้ามาใช้ในอดีตท่ีผ่านมาทังแบบวิธีใดวิธีหน่ึงและแบบผสมผสาน อย่างไรก็ดี ใน การน้าวิธีการเหล่านีมาใช้ในอดีต ข้อพิจารณาต่าง ๆ ที่ในปัจจุบันเป็นเร่ืองส้าคัญส้าหรับการออกแบบ มาตรการควบคุมน้าท่วมมักถูกมองข้าม ซ่ึงประกอบด้วย ประเด็นส่ิงแวดล้อม นิเวศวิทยา มาตรการไม่ใช้ สงิ่ กอ่ สร้าง และความเส่ียงทมี่ ีอยหู่ ลังจากมาตรการดังกล่าวถกู น้ามาด้าเนนิ การ เปน็ ต้น อย่างไรก็ตาม มัน ยังคงคุ้มค่าที่จะอธิบายวิธีการดังเดิมเหล่านีในรายละเอียด เนื่องจากยังคงเป็นพืนฐานของรูปแบบการ บริหารจัดการนา้ ทว่ มใด ๆ วธิ ีดงั เดมิ 5 วิธีทยี่ ังคงใช้ (ตามทก่ี ลา่ วถึงข้างต้นและอธบิ ายในละเอียดหลังจากน)ี ได้แก่  การเก็บกกั นา้ ไวใ้ นอา่ งเก็บน้าซง่ึ ตงั อยู่ในบรเิ วณหุบเขาทล่ี ้อมรอบด้วยเนนิ เขา และภูเขา  การเกบ็ กกั น้าบางส่วนในพืนที่ราบนา้ ท่วมถึง หรือพนื ที่ราบในชว่ งแม่น้าตอนลา่ ง  การปรับปรุงช่องทางน้า  การสรา้ งทางระบายนา้ ท่วม (Floodway) เพิ่มเติม (หรอื ท่เี รียกวา่ ทางเบย่ี งนา้ ทว่ ม (Bypasses)  การสรา้ งคันกนั น้าท่วม (Flood Embankment) ในบางประเทศ เรยี กวา่ คนั กันน้า (Levee) กล่าวโดยท่ัวไปได้ว่า อ่างเก็บน้า การปรับปรุงช่องทางน้า และทางระบายน้าท่วม ส่งผลต่อการ แก้ปัญหาน้าท่วมในระดับภูมิภาค ในขณะท่ีคันกันน้า (Embankment) ส่งผลดีแค่เพียงในระดับพืนท่ี 2–3

นอกจากนี การปรับปรุงช่องทางน้าและการสร้างคันกันน้าอาจจะส่งผลให้เกิดน้าท่วมในพืนท่ีอื่นบ่อยครัง บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง และรนุ แรงขึนได้ 2.2.3 การเกบ็ กักน้าทว่ มไว้ชั่วคราวในอา่ งเกบ็ นา้ หรือบางส่วนของพืนทร่ี าบนา้ ท่วมถึง (Temporary Storage of Floods in Reservoirs or In parts of Floodplain) ตามหลกั การแล้ว นับเป็นประเด็นสา้ คัญที่อา่ งเก็บน้าเพ่ือการเก็บกกั นา้ ทว่ มตังอยทู่ างตอนบนของ แม่น้า (ในแถบเทือกเขา) หรือที่ตอนกลางหรือตอนล่างของแม่น้า อ่างเก็บนา้ ในแถบเทือกเขาซึ่งตังอยู่ทาง ตอนบนของแม่น้าส่วนใหญ่สามารถเก็บกักน้าต่อหนึ่งหน่วยพืนท่ีมากกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่าอ่าง เก็บน้าที่ตังอยู่ทางตอนล่าง ประการแรก อ่างเก็บน้าท่ีตังอยู่ทางตอนกลางหรือตอนล่างของแม่น้าไม่ สามารถป้องกันการเกิดน้าท่วมทางตอนบนได้ ประการที่สอง โดยท่ัวไปพืนท่ีท่ีมีลักษณะราบ จึงต้องใช้ พืนที่จ้านวนมากในการเก็บกักน้าให้ได้มากเป็นรูปธรรม และจริง ๆ แล้ว อ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ที่สามารถ ส้ารองปริมาตรอ่างเก็บน้าไวส้ ้าหรบั รองรบั คลืน่ น้าทว่ มแตเ่ พียงอยา่ งเดียวนันมักจะอยู่ในพืนทีอ่ ุดมสมบูรณ์ ซ่ึงมักถูกมองในแง่ไม่ดีนัก นอกจากนี อายุการใช้งานของอ่างเก็บน้าตืน (Shallow Reservoir) มักจ้ากัด เนื่องจากการสะสมตัวของตะกอนอย่างรวดเร็ว ซึ่งโดยปกติแล้วการแก้ปัญหาด้วยแนวทางนีมักได้รับการ ปฏิเสธ ด้วยเหตุนีจึงเหลือเพียงการสร้างอ่างเก็บน้าไว้บนพืนท่ีภูเขาสูง ที่เป็นทางแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ใน การควบคุมน้าท่วม ซึ่งจะมีความเป็นไปได้ก็ต่อเม่ือชุมชนที่ประสงค์จะป้องกันน้าท่วมในพืนท่ีตอนกลาง และตอนล่ างของแม่น้ามีพลังพอที่จะผ ลักดันให้มีการสร้างงานป้องกันน้า ท่ว มขึนในพืนที่ตอนบนได้ อยา่ งไรกต็ ามวิธกี ารนอี าจไมส่ ามารถทา้ ไดเ้ สมอไป เพราะแมน่ า้ ขนาดใหญ่มกั เป็นแมน่ า้ ระหวา่ งประเทศ มีตัวอย่างในหลายประเทศท่ีก้าลังเผชิญกับปัญหานี ซึ่งในหนังสือเล่มนีจะกล่าวถึงเฉพาะใน ประเทศบังคลาเทศ เฉพาะบริเวณดินดอนสามเหล่ียมปากแม่น้าคงคาใหญ่ (Great River Ganges) พราหมณ์บุตร (Brahmaputra) และเมกนา (Meghna) ที่ประสบผลส้าเร็จ (แบบจ้ากัด) ในการปอ้ งกันน้า ท่วมด้วยวิธีการสร้างอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ส้าหรับเก็บกักน้าทางตอนบน ซ่ึงตังอยู่ในประเทศเนปาลเพ่ือ ชะลอน้าท่วมที่จะเกดิ กับแมน่ ้าเหล่านี 2.2.4 การปรับปรุงลา้ นา้ (Improvement of River Channel) การเพ่ิมความจุในการล้าเลียงน้าของแม่น้าหรือปากแม่น้าเพ่ือให้บรรลุผลส้าเร็จในการควบคุมน้า ท่วมได้ในระดับหน่ึง ได้กล่าวไว้เพ่ือความสมบูรณ์ของคู่มือฉบับนี ตามท่ีกล่าวไว้ข้างต้น การเพ่ิมเส้นขอบ เปียกของแม่น้า การขยายขนาดความกว้างของพืนท่ีราบน้าท่วมถึง การเพ่ิมความลาดชนั ของท้องน้า และ การลดความขรุขระของพืนท่ีราบน้าท่วมถึง ไม่ว่าจะเป็นวิธีใดวิธีหน่ึง หรือผสมผสานกันจะช่วยเพ่ิม ความสามารถในการล้าเลียงน้า การปรับปรุงช่องทางน้าด้วยวิธีที่ใช้ค่าใช้จ่ายน้อย เช่น การตัดช่วงโค้งของแม่น้าเฉพาะจุด การ ก้าจัดสิ่งกีดขวางและพุ่มไม้ออกจากพืนท่ีราบน้าท่วมถึง เป็นต้น ควรได้รับการพิจารณาอย่างไม่ต้องสงสัย 2–4

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง เมื่อท้าการพิจารณามาตรการควบคมุ นา้ ท่วม2 ส้าหรับมาตรการอ่ืน ๆ เช่น การปรับระดับพนื ดินในบรเิ วณ น้าท่วมถึงให้ต่้าลงหรือลึกขึน และ/หรือการขยายขนาดความกว้างของช่องทางน้า มีคา่ ใชจ้ ่ายท่ีสูง หรือไม่ กจ็ ้าเป็นต้องปรับปรุงใหม่เป็นระยะ ๆ (การขุดลอก) และผลลัพธ์ที่ได้ (ระดับของการควบคุมนา้ ท่วม) ก็ไม่ มากนัก ยิ่งไปกว่านัน ในพืนที่ที่ได้รับอิทธิพลจากการขึนลงของน้าทะเล การเพ่ิมความจุในการล้าเลียงน้า ย่งิ ท้าให้คลน่ื นา้ ทะเลและคล่ืนท่กี ่อตัวจากลมซึง่ เปน็ ผลมาจากคล่ืนพายุซดั ฝั่ง (Storm Surges) ไหลเข้ามา สมทบมากขึน ดังนัน การขยายขนาดของช่องทางระบายน้าในแถบพืนที่ชายฝัง่ ทะเลอาจส่งผลกระทบทาง ลบ 2.2.5 การสร้างทางระบายนา้ ทว่ มเพิ่มเติม (Creation of Additional Floodways) การสรา้ งทางระบายน้า (Floodway) เปน็ ความพยายามที่จะขยายความสามารถในการระบายน้า เพิ่มของระบบล้าเลียงน้าในระหว่างเกิดเหตุการณ์น้าท่วม ในบางสถานการณ์สามารถผันน้าท่วมอ้อมผ่าน แม่น้าเดิม (Bypass) ซึ่งไหลไปบรรจบแม่น้าอีกครังทางด้านท้ายน้า หรือไหลไปยังจุดทางออกท่ีสองลงสู่ ทะเล ทางระบายน้าท่วมเช่นนี ยังเรียกอีกอย่างว่า “โครงการผันน้าท่วม (Flood Diversion Scheme) (กล่องข้อความ 2–1 และรปู ท่ี 2–1) และโดยท่ัวไปแล้วอาจกล่าวไดว้ ่า ทางระบายน้าท่วม (Floodway) จะมีความเหมาะสมในแง่ทาง เศรษฐกิจก็ต่อเม่ือทางระบายน้านันเกิดขึนตามกระบวนการทางธรรมชาติตังแต่ในอดีต ซึ่งในกรณีนีไม่ จ้าเป็นต้องมีงานขุดดินปริมาณมหาศาล และซ่ึงในหลายกรณีการเกิดเหตุการณ์น้าท่วมเป็นครังคราวใน บริเวณทางระบายนา้ ทว่ มมักไมส่ ่งผลกระทบต่อภาคเกษตรรนุ แรงนกั อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันอาจเป็นการยากที่จะน้าทางระบายน้าท่วม (Floodway) มาใช้ ถ้าหาก ไม่เคยมที างระบายนา้ ทว่ มในพนื ทีม่ าก่อน การผลติ ทางการเกษตรรูปแบบใหม่อาจไม่ยอมให้เกิดนา้ ท่วมใน พืนท่ี หรืออีกอย่างหน่ึงคือ เจ้าของกรรมสิทธ์ิในที่ดินอาจเรียกร้องค่าเสียหายของผลผลิตพืชรายปีจนเกิน ความจริงไป อย่างไรก็ตาม ในมุมมองทางด้านเทคนิคถือว่าทางระบายน้าท่วม (Floodway) เป็นวิธีการ ควบคุมน้าทว่ มทีม่ ีประสิทธภิ าพวิธหี น่ึง กล่องข้อความ 2–1 ทางผันน้าเพ่ือบรรเทาการเกิดนา้ ท่วมในทีร่ าบ Rharb ประเทศโมร็อกโก (Diversion Channels to Mitigate Flooding in the Rharb Plain Morocco) พืนที่ราบ Rharb ประเทศโมร็อกโก (รูปที่ 2–1) ในอดีตมักถูกน้าท่วมเกือบทุกปี โดยน้าท่วมเคล่ือนตัว ลงมาตามแม่น้า Ouerrha และ Sebou น้าท่วมเกิดจากการไหลล้นข้ามตรงบริเวณตลิ่งของแม่น้าท่ีมี ระดับต้่าใน Sebou ทางตอนล่าง (Lower Sebou) (หรอื ที่เรียกว่า จดุ ทีเ่ กิดการไหลล้นขา้ มตล่งิ (Point of Bank Overspill) 2 อา้ งอิงเนือหาในบทที่ 4 กล่องข้อความ 4–1 2–5

หนึ่งในวิธีแก้ปัญหาท่ีได้ท้าการศึกษาคือ การสร้างระบบทางผันน้า (System of Diversion Channel) บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง (A) ทางระบายน้าท่วม (Floodway) หรือที่เรียกว่า ทางผ่านน้าท่วม (Bypass) ทางตลิ่งฝั่งซ้ายของที่ ราบ ช่องทางน้านีจะช่วยล้าเลียงน้าท่วมออก โดยถ้าไม่วกเข้ามายังแม่น้า Sebou ตอนล่างด้านท้ายน้า ก็จะล้าเลียงออกไปยงั มหาสมุทรแอตแลนตกิ ผ่านทางผนั นา้ ทางตลง่ิ ฝ่งั ขวาและจดุ ทางออกใหม่ (B) ผา่ น สันทรายบริเวณชายฝ่ัง (Coastal Dune) ซ่ึงแนวทางหลังนีท้าได้โดยใช้ ฝาย (Weir) (C) ซ่ึงถูกสร้าง ขนึ มาภายหลังในพนื ที่ Sebou ตอนลา่ ง และเปน็ อาคารท่ีจ้าเป็นต้องมีอยู่แล้วเพื่อควบคุมการรับน้าเข้า สู่ระบบชลประทาน 2.2.6 การสร้างคนั กันนา้ ทว่ มตามแนวแมน่ า้ และพนื ทเี่ สี่ยงภัยนา้ ทว่ ม (Flood Embankment along Rivers and around Flood Prone Areas) คันป้องกันน้าท่วม (Flood Embankment) เรียกอีกอย่างว่า คันกันน้า (Levee) ก้าแพงกันน้า ทะเล (Sea wall) คันปอ้ งกันน้าทะเล (Sea Defence) หรอื คนั ดนิ (Dike) ในคู่มอื ฉบับนจี ะใชค้ ้าวา่ คันกัน น้า (Embankment) และคันกันน้า (Levee) ในการอธิบายแนวทางการป้องกันน้าท่วม ตามแนวแม่น้า ยกเวน้ เมื่อใชอ้ ธิบายการปอ้ งกนั คล่ืนทะเลซัดฝ่ังและน้าทะเลขึนสงู จึงจะใช้ค้าว่า คนั ป้องกันน้าทะเล (Sea Defense) ซง่ึ ไม่ไดก้ ล่าวไวใ้ นคมู่ ือฉบับนี รปู ท่ี 2–1 ทางผันน้าที่เพิ่มอัตราการระบายนา้ ทงั หมดของแมน่ า้ Lower Sebou ระหว่างเกิด เหตกุ ารณ์นา้ ท่วม (ท่มี า : NEDECO, 1977) คันตามแนวแม่น้า หรือรอบพนื ทเ่ี สี่ยงภัยนา้ ทว่ ม เช่น ตวั เมือง เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างพนื ทป่ี ิด ล้อม (Poldering) และเป็นรูปแบบการแก้ไขปัญหามาตรฐานในการป้องกันพืนท่ีจากการเกิดน้าท่วมมา หลายช่วงศตวรรษของแม่น้าและพืนที่ดินดอนสามเหล่ียมหลาย ๆ แห่งท่ัวโลก รูปแบบการแก้ไขปัญหา แบบนีไม่มีอะไรผิด ถ้าหากว่าได้ท้าให้แม่น้ายังคงมีพืนที่การไหลกว้างพอ (ทางระบายน้าท่วมกับพืนที่ราบ น้าท่วมถึง) เพ่ือรองรับคลื่นน้าท่วมและระบายออกไป และคันกันน้ามีการบ้ารุงรักษาให้มีสภาพดี และมี การเฝ้าระวังระดับน้าท่วมอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ประเด็นเหล่านีแสดงให้เห็นถึงจุดอ่อนของระบบ 2–6

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ดังกล่าว คือ เม่ือเกดิ น้าท่วมบริเวณในพืนทีร่ าบลุ่มกว้างใหญ่ (ดังเช่นกรณีเหตกุ ารณ์ในประเทศบังคลาเทศ) ปริมาณน้าท่วมจากแม่น้าที่มากก็ท้าให้จ้าเป็นท่ีต้องมพี ืนทเี่ ก็บกับกักน้าและพนื ที่ราบน้าท่วมถึงขนาดใหญ่ จนกระทงั่ เปน็ ไปไดว้ ่าจะสามารถท้าได้แค่การกอ่ สร้างพืนทป่ี ดิ ล้อมแบบจ้ากัด (Limited Poldering) เพียง เทา่ นัน นอกจากนี การตรวจตราและบ้ารุงรักษาคันกันน้าเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง รวมทังการมีระบบ การเตือนภยั นา้ ทว่ มทีเ่ ช่ือถือได้ (ซ่ึงเป็นมาตรการหนึ่งในมาตรการแบบไม่ใช้สงิ่ ก่อสร้าง (Non–Structural Measures) ดูรายละเอียดจาก ICID, 1999) จ้าเป็นท่ีจะต้องอาศัยความคิดและทัศนคติร่วมกันทังจาก ชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ส่วนท้องถิ่นซึ่งเร่ืองนีต้องใช้เวลาที่จะพัฒนาให้เกิดขึน หากคันกันน้ามีความม่ันคง ด้านโครงสร้างอยู่แล้ว (ความลาดเทไม่ชันจนเกินไป ไม่มีการร่ัวซึมข้างใต้ ไม่มีการลื่นไถล ไม่มีการทรุดตัว และมีการบ้ารุงรักษาอยู่ตลอดเวลา) ก็จะคงเหลือเพียงความสูงของสันคันกันน้าเท่านันที่เป็นตัวก้าหนด ความเสี่ยงของการไหลล้นข้าม ซึ่งความเสี่ยงนีอาจเพิ่มสูงขึนได้ อันเนื่องมาจากการตกตะกอนท้องน้าท่ี เพม่ิ ขึนหรือมีการเปลย่ี นแปลงทางอุทกวิทยา3 2.3 ลกั ษณะนา้ ทว่ มและสาเหตุของการเกดิ น้าท่วม (Flood Characteristics and Causes of Flooding) การก่อตัวของน้าทว่ ม (คลื่นน้าท่วม) เปน็ ปรากฏการณ์ที่ซับซอ้ นเนื่องจาก ประการแรก ขึนอยู่กับ ปจั จยั ทางธรรมชาติ (Natural Factor) ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ฝน ความเข้มฝน ช่วงเวลาเกดิ ฝน การกระจายตวั เชิง พืนที่ และวันที่เกิด พืนท่ีลุ่มน้ากับสภาพพืนผิวท่ีส่งผลต่อปริมาณน้าท่าผิวดิน (Surface Runoff) รูป สัณฐานของทางน้า เป็นต้น ประการท่ีสอง ปัจจัยมนุษย์ (Human Factor) ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการไหลของน้าทางธรรมชาติ (Natural Flow Regime) เช่น การปดิ ผิวหน้าดินในพืนที่ลุ่มน้า การ ปรับเปลี่ยนชอ่ งทางนา้ ตอนล่าง การสร้างคันกันนา้ ทว่ มและเข่อื นทดน้า คนทั่วไปมักพูดถึงน้าท่วมโดยไม่ทราบว่าน้าท่วมเกิดขึนมาได้อย่างไรและเริ่มต้นมาจากไหน ใน ความเป็นจริง คลื่นน้าท่วมที่ไหลผ่านแม่น้าและพืนที่ราบน้าท่วมถึงท่ีอยู่ติดกันเป็นเรื่องง่ายที่จะเข้าใจ กล่าวคือ บริเวณด้านเหนือน้าในบางพืนท่ีเกิดฝนตกหนัก หรือเกิดหิมะละลายท้าให้มีน้าเคล่ือนตัวลงมา ตามแม่น้าและไหลออกสู่ทะเล ปรากฏการณ์อาจเห็นได้ชัดจากการท่ีระดับน้าค่อย ๆ เพ่ิมสูงขึน (หรือ ทนั ทีทันใด) ในช่วงแรกในพนื ทรี่ ะดับน้าจะคอ่ ย ๆ เพ่มิ ระดับจนกระทง่ั ถงึ จดุ สงู สุด หลังจากนันจะลดระดับ ลง ถ้าหากเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีมีรอบการเกิดซ้าสูง ประชาชนท่ัวไปก็ได้เรียนรู้วิธีที่จะอยู่กับน้า ท่วมอยู่แล้ว หรืออย่างน้อยในกรณีใด ๆ ก็จะตระหนักถึงภัยน้าท่วมใด ๆ ปัญหาจะเกิดขึนในก็ต่อเมื่อปีที่ เกิดน้าท่วมรุนแรง (มคี วามถข่ี องการเกดิ เหตุการณ์น้อย) หรือเม่ือเขื่อนทางตอนบนแตก หรือเนื่องจากเกิด การไหลลน้ ของนา้ จากอา่ งเก็บนา้ ทางตอนบนที่มนี า้ เตม็ อ่างโดยไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้ามาก่อน 3 ลักษณะทางอทุ กวิทยาอาจเปลยี่ นแปลงอันเนอ่ื งจากการเปลย่ี นแปลงทางภูมิอากาศ (ส่งผลตอ่ รปู แบบฝนท่ีแตกตา่ งไป จากเดมิ และ/หรอื ปรมิ าณน้าฝนเพ่มิ สงู ขึน) หรอื อาจเนื่องมาจากการท่ีมนุษย์เข้าไปบุกรกุ ท้าลายพืนทล่ี ุ่มนา้ (การ ท้าลายป่าไม้ การปดิ ทับพืนผวิ ซ่ึงเปน็ ส่วนหน่ึงของการพฒั นาเมือง) 2–7

ในประเด็นนีควรตระหนักไว้ว่ารูปร่างของไฮโดรกราฟนา้ ท่วมจากการตรวจวัดในพืนท่ี ไม่เพียงแต่ บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง จะขึนอยู่กับลักษณะของล่มุ น้านัน ๆ (ลักษณะทางอุทกวทิ ยา สภาพอากาศ สภาพภมู ิประเทศ ฯลฯ) แตย่ ัง ขนึ อยู่กับลกั ษณะของไฮโดรกราฟน้าไหลออก (Outflow Hydrograph) ผ่านทางระบายน้าล้นของอ่างเก็บ น้าทางด้านเหนือน้า คลื่นน้าท่วมท่ีเคล่ือนตัวลงมาตามล้าน้า อาจเป็นสาเหตุท้าให้เกิดน้าท่วมได้ ซ่ึงตาม หลักการแล้วน้าท่วมเกิดขึนได้ทังจากการท่ีระดับน้าเพ่ิมสูงขึน หรือการระบายน้าออกขัดข้อง การเกิดน้า ทว่ มอนั เนือ่ งมาจากระดับนา้ ทีเ่ พิ่มสูงขึนมักเป็นรปู แบบท่ีพบเหน็ ได้ท่ัวไปมากกวา่ ระดบั นา้ สูงพอนา้ จะเริ่ม ไหลล้นข้ามตล่ิง และเกิดน้าท่วมในพืนท่ีตามแนวแม่น้า อย่างไรก็ตาม เมื่อระดับน้าท่ีสูงขึนในแม่น้าสาย หลกั อาจส่งผลอ่ืน ๆ ตามมาด้วย เช่น อาจส่งผลให้เกดิ ปรากฏการณ์น้าเท้อ (Backwater Effect) ในล้าน้า สาขา ซ่ึงอาจส่งผลให้เกิดน้าท่วมตามแนวล้าน้าสาขาตามมา นอกจากนี ระดับน้าที่สูงขึนอาจไปขัดขวาง การระบายน้าตามธรรมชาติของพืนที่สองฝ่ังแม่น้า เม่ือเกิดฝนตกในช่วงที่คลื่นน้าท่วมไหลผ่าน ปริมาณ น้าฝนไม่สามารถไหลลงสู่แม่น้าได้ ส่งผลให้เกิดน้าท่วม อันเน่ืองจากการระบายน้าขัดข้อง เห็นได้ชัดว่า นา้ ฝนท่ีตกลงในพืนทอ่ี าจเปน็ สาเหตุของการเกดิ น้าทว่ ม กล่องข้อความ 2–2 การกา้ หนดแนวของคนั กันน้าทว่ ม (Horizontal Alignment of Flood Embankments) การตัดสินใจท่ีค่อนข้างยากอย่างหนึ่งที่ผู้ออกแบบมักเผชิญเม่ือท้าการก้าหนดแนวของคันกันน้า ก็คือ อัตราความคดเคียวของแม่น้า (Rate of Meandering) ที่แน่ ๆ ชาวบ้านในพืนท่ีอยากให้มีท้านบ (Levee) อย่ตู ดิ กับแมน่ ้ามากทสี่ ุดเท่าที่จะเปน็ ไปได้ ในขณะทเี่ จ้าหนา้ ทีท่ ร่ี ับผดิ ชอบในการบา้ รงุ รกั ษาไม่ ชอบความคิดที่ต้องท้าการซ่อมแซมคันกันน้าใหม่บ่อยครัง ผู้ออกแบบจ้าเป็นต้องตระหนักถึงความ จ้าเป็นต้องมีพืนท่ีราบน้าท่วมถึงตามแนวแม่น้าเพื่อช่วยเพิ่มช่องทางท้าให้คล่ืนน้าท่วมไหลผ่านได้อย่าง ปลอดภยั ในประเทศบังคลาเทศคันกนั น้าความยาว 200 กิโลเมตร ถูกสร้างขนึ ตามแนวตลงิ่ ฝ่ังขวาของ แม่น้า Brahmaputra ซ่ึงอยู่ห่างจากแนวตลิ่ง 0.5–1.5 กิโลเมตร อย่างไรก็ดี เนื่องจากลักษณะของ แม่น้าอันย่ิงใหญ่นี (ท่ีมีการแตกสาขาออกมามากมาย) ท่ีมักเปล่ียนเส้นทางการไหลไปทางข้างซ้ายและ ไปทางขวาอย่ตู ลอดเวลา สง่ ผลใหม้ ีคันกนั น้าความยาวไม่น้อยกว่า 10 กโิ ลเมตรขาดและต้องถูกสร้างขึน ใหม่ในช่วงระยะเวลา 14 ปี แน่นอนว่าค่าใช้จ่ายในการกอ่ สร้างใหม่นีจะต้องรวมไว้ด้วยในการประมาณ การทางเศรษฐกิจ และจ้าเป็นต้องอธิบายเพ่ิมด้วยว่างานแปรสภาพล้าน้า (เช่น งานปอ้ งกันไมใ่ ห้แม่น้ามี ความคดเคียวสูง) เป็นแนวทางท่ีอาจจะไม่ค่อยเหมาะสมทางเศรษฐกิจในพืนท่ีชนบท ด้วยเหตุนี ประเด็นเรื่องความคดเคียวของแม่น้า และการปรับแนวของคันกันน้าใหม่ในพืนท่ีชนบทจึงเป็นเร่ืองที่ ตอ้ งยอมรบั กนั ในพืนทน่ี นั ในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับน้าท่วม ความสนใจไม่เพียงแต่จะมงุ่ เน้นไปในเร่ืองของระดับน้า (Water Level) แต่ยังต้องรวมถึงค่าอัตราการไหลสูงสุด (Maximum Discharge) รูปร่างของคล่ืนน้าท่วมพืนที่นัน (Shape of Flood Wave) ปริมาณน้า (Volume) ช่วงเวลาและเวลาที่เกิดน้าท่วมในฤดูน้าหลาก (Duration and Time Occurrence) อีกดว้ ย 2–8

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง จากสถานการณ์ทังหมดข้างต้น ระบบโครงข่ายการระบายน้าในพืนที่มีบทบาทส้าคัญมาก เช่นเดียวกับลกั ษณะภมู ิประเทศ ความเสยี หายจากการเกิดน้าทว่ มในหลาย ๆ เหตุการณ์รนุ แรงขึนจากการ มรี ะบบโครงขา่ ยการระบายน้าทไ่ี ม่เพียงพอ ซึ่งไม่ได้พัฒนาให้ดีพอท่ีจะระบายน้าฝน หรือนา้ ท่วมออกจาก พนื ที่ไดเ้ ร็วพอ4 สา้ หรบั ในพืนท่ชี ายฝั่งทะเล น้าท่วมอาจเกดิ จากสาเหตขุ องคลนื่ พายุซัดฝง่ั (Storm Surges) ซึ่งใน กรณีนีระดับของน้าทะเลที่ขึนสูง ผนวกเข้ากับระดับน้าที่ยกตัวสูงขึนเนื่องจากคล่ืนพายุซัดฝ่ัง รวมทัง รูปร่างของพืนที่บริเวณปากแม่น้าที่มีลักษณะเฉพาะ น้ามาซึ่งระดับน้าเพิ่มสูงขึนมากผิดปกติ ส่งผลท้าให้ เกิดน้าท่วมในบริเวณพืนท่ีชายฝ่ังทะเลและเกิดการไหลล้นข้ามคันป้องกันน้าท่วม ท้าให้เกิดการพังทลาย ของคนั กนั น้าตามมา ในพืนที่ดินดอนสามเหล่ียมปากแม่น้า น้าท่วมส่วนใหญ่เกิดขึนจากผลรวมของคล่ืนพายุซัดฝั่งจาก ทะเลและการเพ่ิมขึนของอัตราการไหลของน้าในแม่น้าอันเนื่องจากฝนที่ตกในพืนที่ลุ่มน้า ซ่ึงหากแต่ละ ปรากฏการณ์เกิดขึนแยกกัน อาจไม่ก่อให้เกิดอันตรายมากนัก แต่ถา้ เกิดขึนพร้อมกันจะส่งผลท้าให้เกิดน้า ทว่ มขึนได้ โดยสรปุ นา้ ทว่ มเกิดจากสาเหตุ :  การไหลลน้ ตลิ่งแมน่ ้าซ่งึ มีอตั ราการไหลของนา้ สูง  การไหลล้นตล่ิงล้าน้าสาขาจากโค้งน้าเท้อ (Backwater Curve) ซ่ึงเป็นผลจากระดับน้าใน แมน่ า้ สายหลกั ขึนสงู  การระบายน้าไม่สะดวก เน่ืองจากระดับน้าที่สูงในแม่น้า หรือสภาพภูมิประเทศท่ีมี ลกั ษณะเฉพาะ (เช่น แมน่ ้า Sabarmati ดรู ายละเอียดในเชิงอรรถท่ี 6)  ฝนตกหนกั ในพืนท่ี ผนวกกับการระบายน้าในพนื ทไ่ี มเ่ พียงพอ  คลน่ื พายซุ ัดฝง่ั ตามแนวชายฝั่งทะเล  การเกิดขึนพร้อม ๆ กันของอัตราการไหลของน้าในแม่น้า และระดับน้าทะเลที่สูงในบริเวณ แถบชายฝั่ง ตามแนวทางของค่มู ือฉบับนีจะกล่าวถึงเฉพาะน้าทว่ มทเ่ี กิดจากแมน่ ้าเทา่ นนั ดงั นนั สาเหตุการ เกดิ นา้ ท่วมใน 3 ประการสุดท้ายจะไมไ่ ด้กลา่ วในหัวข้อถัดไป 2.4 พารามเิ ตอร์นา้ ทว่ มและโค้งโอกาสความนา่ เป็นแบบมากกว่า (Flood Parameters and Exceedance Curves) 2.4.1 ทว่ั ไป (General) 4 ปรากฏการณน์ เี กดิ ขึนระหวา่ งการศกึ ษาถงึ การเกิดน้าทว่ มระยะสนั ๆ ในแมน่ ้า Sabarmati ในรัฐ Guja ประเทศอินเดีย (Van Duivendijk, 1995) ถึงแม้ว่าน้าท่วมได้เกิดขึนเพียงแค่ 2–3 วัน แต่การเกิดน้าท่วมในพืนท่ีราบน้าท่วมถึงถูก รายงานวา่ มีน้าทว่ มขังหลายสัปดาห์ ซงึ่ เปน็ เหตกุ ารณ์ทส่ี ะท้อนให้เหน็ ว่าการระบายน้าขดั ข้อง 2–9

เพื่อท้าการเปรียบเทียบเหตุการณ์น้าท่วม การเกิดน้าท่วม และมาตรการควบคุมน้าท่วมต่าง ๆ บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง กับอีกเหตุการณ์น้าท่วม จ้าเป็นต้องตรวจสอบประสิทธิผลของแต่ละเหตุการณ์บนพืนฐานเดียวกัน เพ่ือ ดา้ เนินการดังกล่าว ประการแรกจะต้องก้าหนดพารามิเตอร์น้าท่วม (Flood Parameter) ซึ่งคา่ ของมันจะ แสดงถึงขนาดของนา้ ทว่ ม ขนาดของการเกดิ น้าท่วม และความเสยี หายท่ีเกดิ ขึน ประการท่สี อง โค้งความถี่ (Frequency Curve) หรือทดี่ ีกวา่ คอื โค้งโอกาสความนา่ จะเปน็ แบบมากกวา่ (Exceedance Curve) ต้อง สร้างขึนมาส้าหรับค่าของพารามิเตอร์ที่เลือกเพื่อให้เป็นตัวแทนของน้าท่วมและการเกิดน้าท่วม การเลือก ค่าพารามิเตอร์เหล่านันแสดงให้เห็นว่ามีข้อมูลเกี่ยวกับน้าท่วมและการเกิดน้า ท่วมท่ีเกิดขึนในอดีตอยู่ เพียงพอ โดยข้อเทจ็ จริงแล้ว จา้ เป็นต้องเข้าใจถงึ ปรากฏการณ์นา้ ทว่ มและการเกดิ น้าท่วมให้ถอ่ งแท้ก่อนท่ี จะเลอื กพารามิเตอรน์ า้ ท่วมและสร้างโค้งโอกาสความน่าจะเป็นแบบมากกว่า ในกล่องข้อความ 2–3 ได้อธิบายถึงวิธีการต่าง ๆ ที่ใช้สร้างความสัมพันธ์ระหว่างน้าท่วมและ สาเหตขุ องสภาพนา้ นอง กลอ่ งข้อความ 2–3 ความสัมพันธร์ ะหว่างนา้ ท่วมและน้านองท่ีเกิดจากน้าท่วม (The Relationship between a Flood and the Inundation It Causes) วิธีการท่ีนิยมใช้เพ่ือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างไฮโดรกราฟน้าท่วมกับพารามิ เตอร์การเกิดน้าท่วม ตัวอย่าง (Typical Flooding Parameter) ก็คือ การสร้างแบบจ้าลองทางชลศาสตร์ (Hydraulic Modelling) ยกเวน้ การเกิดนา้ ทว่ มในพืนที่ที่มรี ะบบการสง่ นา้ (Conveyance System) ซบั ซอ้ น (โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ส้าหรับพืนท่ีชุมชนเมือง) อาจกล่าวได้ว่า การสร้างแบบจ้าลองกายภาพ (Physical Modelling) หรือ แบบจ้าลองสเกล (Scale Model) ไม่จ้าเป็นต้องท้า ในปัจจุบันแบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) ของเหตกุ ารณ์นา้ ท่วม ซ่ึงได้อธิบายไว้ในบทท่ี 5 ของคูม่ อื ฉบับนี สามารถช่วย แก้ปัญหาส่วนใหญ่ได้ ยิ่งไปกว่านัน หลาย ๆ แบบจ้าลองได้รวมพารามิเตอร์ที่เก่ียวข้องกับการเคลื่อนที่ ของตะกอน (Sediment Transport Parameter) และพารามิเตอร์ที่เก่ียวข้องกับคุณภาพน้า (Water Quality Parameter) เข้าไว้ในแบบจ้าลองอีกด้วย ด้วยเหตุนี จึงท้าให้สามารถอธิบายพารามิเตอร์ ทงั หมดท่แี สดงคณุ ลกั ษณะของสภาพน้านองได้ แน่นอนว่ามันควรจะมีข้อมูลจากน้าท่วมอ้างอิง (Reference Flood) เช่น น้าท่วมใหญ่ในอดีตท่ีได้ บันทึกค่าไว้ เพื่อใช้ส้าหรับการสอบเทียบ (Calibration) ค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ของแบบจ้าลอง นอกจากนี จ้าเป็นต้องมีข้อมูลรายละเอียดทางภูมิศาสตร์ของพืนท่ีน้าท่วมท่ีมีความถูกต้องสูง และ จ้าเป็นต้องมขี อ้ มลู รูปสณั ฐานความลกึ ของทางนา้ และข้อมูลตล่ิงแม่นา้ ดว้ ย ในการประยุกต์ใช้แบบจ้าลอง 1 มิติ หรือ 2 มิติ หรือไม่นัน จะขึนอยู่กับขนาดของพืนที่เสี่ยงภัยน้าท่วม ความซับซ้อนของการเคลื่อนตัวของน้าในพืนที่ และการสลับสบั เปลี่ยนการไหลของน้าในแม่น้ากับพืนที่ เส่ียงภยั นา้ ทว่ ม 2–10

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ข้อดีของแบบจ้าลองทางชลศาสตรก์ ็คือ ท้าใหส้ ามารถจ้าลองการพังทลายของเข่ือน (Dam Break) หรือ การขยายตัวของช่องขาดในคันกันน้า (Breach Growth) ได้ง่ายขึน (ทังในลักษณะของการใช้ แบบจ้าลองการพังทลายของเข่ือน (Dam break Model) หรือบนพืนฐานของแผนโครงการ (schematizations) ท่ีได้จากข้อพิจารณาทางทฤษฎีในการก่อตัวของการวิบัติของตัวเข่ือนและการ เพ่ิมขึนของชอ่ งขาดของคันกันนา้ ) ถ้าไม่มีการสร้างแบบจ้าลองของพืนที่เสี่ยงภัยน้าท่วมขึนเป็นการเฉพาะ ก็จะต้องกลับไปใช้หลักการ วิเคราะห์เหตุการณ์น้าท่วมต่าง ๆ และสภาพน้านองเท่าท่ีได้ท้าการบันทึกค่าไว้ ในกรณีดังกล่าวนีต้อง ตังอยู่บนพืนฐานของการเทียบเคียง เช่น โดยวิธีสหสัมพันธ์ (Correlation Methods) กับน้าท่วมและ พารามิเตอร์การเกิดน้าท่วมที่เป็นตัวแทนเหตุการณ์มากที่สุด ตามที่อธิบายไว้ในหัวข้อย่อย 2.4.2 และ 2.4.3 ตามลา้ ดับ 2.4.2 พารามิเตอรน์ ้าทว่ ม (Flood Parameters) พารามิเตอร์น้าท่วมควรสามารถอธิบายถึงลักษณะของน้าท่วมได้โดยท่ีค่าพารามิเตอร์ที่มีขนาด แตกต่างกัน ซ่ึงเป็นของเหตุการณ์น้าท่วมแต่ละเหตุการณ์ ที่เคล่ือนตัวมาตามแม่น้าในพืนที่ลุ่มน้าใด ๆ ณ จดุ ใด ๆ (ยกตัวอยา่ งเช่น จุดทางเข้าของพนื ที่เสี่ยงภยั น้าท่วม) จะสะท้อนให้เหน็ ถงึ ขนาดของนา้ ทว่ มต่าง ๆ เหลา่ นี ซง่ึ สัมพันธก์ นั เราสามารถก้าหนดลักษณะของน้าท่วมได้โดยอาศัยแบบจ้าลองทางอุทกวิทยาของพืนที่ลุ่มน้าท่ี รวบรวมข้อมูลอาคารควบคมุ ต่าง ๆ และข้อมลู ฝนเข้าไวใ้ นแบบจ้าลองดว้ ย อยา่ งไรก็ดี โดยทวั่ ไปแลว้ มกั จะ ก้าหนดลักษณะน้าท่วมโดยอาศัยข้อมูลเหตุการณ์น้าท่วมต่าง ๆ ท่ีท้าการตรวจวัดในอดีต เหตุการณ์น้า ท่วมเหล่านีมักถูกน้ามาใช้ในการปรับเทียบแบบจ้าลองทางอุทกวิทยาท่ีได้กล่าวมาข้างต้น นอกจากนียัง สามารถน้ามาใช้วิเคราะห์คุณลักษณะทางสโตคาสติก (Stochastic Manner) ของเหตุการณ์น้าท่วมท่ี ผิดปกติ และรนุ แรงมากกวา่ เหตกุ ารณน์ า้ ท่วมที่เคยเกิดขึนในอดีต ไม่ว่าจะน้าวิธีใดมาใช้ การสร้างแบบจ้าลองทางอุทกวิทยา (Hydrological Modelling) หรือวิธี เหตุการณ์น้าท่วมต่าง ๆ ในอดีต (Historical Flood) หรือการประมาณค่าทางสโตคาสติก (Stochastic Estimation) วิธีที่ดีที่สุดในการอธิบายลักษณะของน้าท่วมที่จุดใด ๆ ของพืนที่ลุ่มน้าคือการอธิบายด้วย ไฮโดรกราฟ (Hydrograph) และรอบการเกดิ ซ้า (Return Period) อยา่ งไรก็ตาม พารามเิ ตอร์ของคลนื่ น้าท่วมใด ๆ ที่เคล่ือนตัวตามแนวแมน่ ้าที่จุดใดจดุ หนึ่ง อาจบ่ง บอกถงึ ลักษณะของนา้ ทว่ มได้เปน็ อย่างดี พารามิเตอร์นา้ ท่วมเหลา่ นนั ไดแ้ ก่  อตั ราการไหลของนา้ สูงสุด (Maximum Discharge) ระหว่างเกดิ น้าทว่ ม  ระดับน้าสงู สดุ (Max Water Level) ระหว่างเกดิ นา้ ท่วม  อัตราการไหลของน้ารายวนั เฉลยี่ สูงสุด (Maximum Average Daily Discharge) ระหว่างเกิด นา้ ทว่ ม 2–11

 ปริมาณของคลื่นน้าท่วมจริง (Volume of the Actual Flood Wave) ท่ีเกินค่าอัตราการไหล บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ของน้าทก่ี า้ หนด  ระยะเวลาท่ีคล่ืนน้าท่วมจริง (Duration of the Actual Flood Wave) ที่เกินค่าอัตราการ ไหลของน้าหรือระดับน้าท่ีก้าหนด ณ จุดใด ๆ ในภูมิประเทศ รูปแบบของน้าท่วมที่ค่าอัตราการไหลของน้าสูงสุดที่ก้าหนดโดยท่ัวไป จะขึนอยู่กับลุ่มนา้ ซ่ึงในกรณนี ีพารามิเตอรเ์ พยี งแคห่ นง่ึ ตวั สามารถใช้อธบิ ายลักษณะของน้าท่วมได้5 ยกตัวอย่างเชน่ พารามเิ ตอรท์ ีใ่ ชใ้ นประเทศออสเตรเลียเพอื่ ใชใ้ นการวางแผนส่วนใหญ่มักจะอยูใ่ น รูปโอกาสความน่าจะเป็นมากกว่ารายปี (Annual Exceedance Probability, AEP) ของน้าท่วมทังใน ลกั ษณะความสูงของระดบั นา้ สงู สุดหรอื อัตราการไหลของน้าสงู สดุ ในพนื ที่ลุ่มนา้ ขนาดใหญ่ซ่ึงน้าท่วมอาจเป็นผลมาจากปริมาณนา้ ฝนสะสมท่ีตกนานนบั สัปดาห์หรือ นับเดือน การอธิบายคุณลักษณะของน้าท่วมเพียงลักษณะเดียวอาจจะไม่เพียงพอ เหตุการณ์น้าท่วม 2 เหตุการณ์ที่มีอัตราการไหลของน้าสูงสุดเท่ากันแต่มีระยะเวลาต่างกันอาจส่งผลกระทบที่แตกต่างกัน และ อาจน้ามาซง่ึ ระดับนา้ สงู สุดทางดา้ นท้ายนา้ ท่แี ตกต่างกันอกี ดว้ ย ปริมาณน้าฝนที่ตกท่ัวทังในลุ่มน้าอาจมีความแตกต่างกันอย่างมาก และผลสุดท้ายแล้วคล่ืนน้า ท่วมทเี่ คลื่อนตัวไปยังด้านทา้ ยนา้ อาจก่อตัวขึนจากการรวมกันของคลื่นน้าท่วมหลาย ๆ คล่ืนทีม่ ีต้นก้าเนิด จากล้าน้าสาขาตา่ ง ๆ น้าท่วมท่ีเกิดจากเหตุการณ์ไม่ปกติที่ไม่ใช่เหตุการณ์ธรรมชาติ เช่น เข่ือนแตก หรือการจงใจ ระบายน้าจากเข่ือน จะมีความสัมพันธ์ระหว่างค่าอัตราการไหลสูงสุด (Peak Flood Rate) และช่วงเวลา (Duration) ในลกั ษณะไม่ค่อยเป็นไปตามธรรมชาติ6 ในรูปที่ 2–2 แสดงถึงน้าท่วมทมี่ ขี นาดแตกต่างกันของแม่น้า Ouerrha (ประเทศโมร็อกโก) ขนาด น้าทว่ มสงู สดุ ทแี่ สดงในรปู (ปี ค.ศ. 1970) แสดงให้เห็นชัดเจนถึงผลกระทบทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ 5 ยกตัวอยา่ งเช่น พารามิเตอรท์ ี่ใช้ในประเทศออสเตรเลยี เพื่อใชใ้ นการวางแผนส่วนใหญม่ ักจะอยู่ในรปู โอกาสความน่าจะ เป็นแบบมากกว่ารายปี (Annual Exceedance Probability, AEP) ของน้าท่วม ทังในลักษณะความสูงของระดับน้า สงู สุด หรอื อัตราการไหลของนา้ สูงสุด 6 อย่างไรก็ตาม AEP ของน้าท่วมท่ีใชใ้ นประเทศออสเตรเลียนับเป็นตัวบง่ ชีเพียงอย่างเดียวของขนาดของเหตุการณ์ที่จุด ใด ๆ 2–12

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รูปท่ี 2–2 ขนาดนา้ ท่วมที่แตกตา่ งกนั 4 เหตุการณ์ ท่ีเกิดจากแม่นา้ Ouerrha และ Sebou โมรอ็ กโก (ดตู ้าแหน่งทีต่ ังในรปู ท่ี 2–1) (ท่ีมา : NEDECO, 1973) 2.4.3 พารามิเตอร์การเกิดน้าทว่ ม (Flooding Parameter) การเกิดน้าท่วมหรือน้านอง (Flooding or Inundation) เป็นปรากฏการณ์ที่มีความซับซ้อนซึ่ง ขึนอยู่กับลักษณะสุ่มทางสโตคาสติก (Stochastic Features) ต่าง ๆ ของน้าท่วมเอง และลักษณะของ พืนที่เส่ียงภัยน้าท่วม แต่ก็ขึนอยู่กับลักษณะทางกายภาพและของอาคารและโครงสร้างต่าง ๆ (เข่ือน คัน กันน้าท่วม) ทีม่ นษุ ยส์ รา้ งขึนด้วย ซึ่งปัจจัยหลังสามารถเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างน้าท่วม (Flood) และ 2–13

การเกิดน้าท่วมทังในลักษณะดีเทอร์มินิสติก (Deterministic) หรือในแบบสโตคาสติก (Stochastic) บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง (ยกตัวอยา่ งเช่น เขื่อนแตก) ผลลัพธ์ของการศึกษาทางดา้ นอุทกวิทยาและชลศาสตร์ ควรบ่งชใี หเ้ ห็นว่าพารามเิ ตอรก์ ารเกิดน้า ท่วมตัวใดที่เป็นตัวแทนปรากฏการณ์การเกิดน้าท่วมได้ดีท่ีสุด (ดูกล่องข้อความ 2–4) อย่างไรก็ดี เป็นที่ ทราบกันดีจากประสบการณ์วา่ ลักษณะทางอุทกวิทยาและสภาพทางภมู ิศาสตร์ของพืนท่ี รวมทงั ขนาดของ พนื ท่เี ป็นตัวก้าหนดจา้ นวนของพารามิเตอร์การเกิดน้าทว่ มทสี่ ้าคัญส้าหรบั นา้ มาใช้ กล่องข้อความ 2–4 การเลอื กพารามิเตอรก์ ารเกิดนา้ ท่วม (Selection of a Flood Parameter) ระหว่างการศึกษาในประเทศโมร็อกโก (NEDECO, 1973) ปรากฏว่าปริมาณน้าท่ีไหลล้นตล่ิงออกไปสู่ พืนท่ีราบลุ่มเป็นตวั แทนที่แสดงถงึ น้าทว่ มพืนทรี่ าบ Rhab โดยแมน่ ้า Sebou และแม่น้า Ouerrha ได้ดี ที่สุด ส้าหรับกรณีศึกษา Parana Paraguay Studies ในประเทศอาร์เจนตินา–ปารากวัย (Motor Columbus, 1979) ซึ่งครอบคลุมพืนท่ีขนาดใหญ่กว่ามาก การก้าหนดจุดท่ีตังไม่น้อยกว่า 7 จุด ท่ีซึ่ง ระดับน้ารายปีสูงสุดที่เกินค่าระดับน้าอันตรายที่ก้าหนด จะถูกพิจารณาว่าเป็นค่าพารามิเตอร์น้าท่วมท่ี เป็นตัวแทนของช่วงแม่น้านัน ๆ รวมทังพืนที่น้าท่วมตามแนวแม่น้าในช่วงแม่น้านันด้วย (พืนที่ดังกล่าว มักเรียกว่าพืนท่ีย่อย (Sub–Area) ส่วนในประเทศเนเธอร์แลนด์ ความลึกของการเกิดน้าท่วม (Depth of Flooding) ถกู ก้าหนดเปน็ พารามิเตอร์การเกิดน้าท่วม ผลกระทบของเหตุการณ์น้าท่วมต่อพืนที่ท่ีเกิดน้านองนันได้รับอิทธิพลมาจากปัจจัยต่าง ๆ หลากหลาย ประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี (หรือพารามิเตอร์การเกิดน้าท่วม) จ้าเป็นต้องน้ามาพิจารณาเม่ือท้า การพัฒนากลยุทธใ์ นการบรหิ ารจัดการพืนทรี่ าบน้าท่วมถึง (Floodplain Management)  ขนาดสูงสดุ ของการเกิดน้าท่วม (Maximum Extent of Flooding) ในพืนท่ใี ด ๆ  ชว่ งเวลาของการเกดิ น้าทว่ ม (Duration of Flooding) ในพนื ทใ่ี ด ๆ  ปรมิ าณการไหลล้นตลง่ิ (Bank Overspill) ในพนื ทใ่ี ด ๆ  ความลกึ (Local Depth) ของการเกิดน้าท่วมทจ่ี ดุ ใด ๆ  ความผันแปรเชิงเวลา (Variation in Time) ของพารามเิ ตอรต์ ่าง ๆ เหล่านี หรือความสัมพันธ์ (Relationship) ระหว่างพารามิเตอร์ (เช่น ขนาดของการเกิดน้าท่วมในรูปของระดับน้า (Water Level, H) กับช่วงเวลา (Time, T)  อัตราการเพิ่มขนึ ของระดบั น้าท่วม (Rate of Rise of Floodwater)  ความเร็ว (Velocity) ของน้าท่วม (ที่จุดใด ๆ)  ปริมาณตะกอน (Sediment) ทีพ่ ัดพามากบั นา้ ทว่ ม  เวลาทีม่ ีอยู่ (Available Time)  การใช้ท่ดี ิน (Land Use) ในพืนที่ราบน้าท่วมถงึ  ความป่ันปว่ น (Turbulence) ของการไหล 2–14

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง  เวลาทใ่ี ชใ้ นการฟืน้ ฟูพืนท่หี ลงั เกิดเหตุการณ์น้าท่วม  การกระทา้ ของคลื่น (Wave Action) ในพนื ท่นี ้านอง  คุณภาพนา้ (Water Quality) ของนา้ ที่ไหลลน้ ขา้ มตล่ิง  วัตถุขนาดใหญ่ท่ีเคลื่อนตัวมากับน้าท่วม (เช่น เหตุการณ์น้าท่วมรุนแรงในล้าน้า: ต้นไม้ กรวด หนิ )  วันท่ีเกิดเหตุการณ์น้าท่วม (Date of Occurrence) (ยกตัวอย่างเช่น วันท่ีเกิดเหตุการณ์ท่ีมี ส่วนท่ีเกีย่ วพนั กบั ฤดูการเพาะปลูก) เมื่อน้าท่วมท่ีพิจารณาเกิดขึนครอบคลุมพืนท่ีขนาดใหญ่ จ้าเป็นที่จะต้องแบ่งพืนท่ีออกเป็นพืนที่ ย่อย ๆ เพ่ือสร้างความม่ันใจว่าพารามิเตอร์การเกิดน้าท่วมมีรูปแบบเดียวกัน และยังสามารถสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างน้าท่วม (Flood) และการเกิดน้าท่วม (Flooding) ในด้านหนึ่ง และระหว่างการ เกิดน้าท่วม (Flooding) กับความเสยี หาย (Damage) ในอีกดา้ นหนึง่ (ดกู ลอ่ งขอ้ ความ 2–4) 2.4.4 โค้งโอกาสความน่าจะเปน็ แบบมากกวา่ (Exceedance Curve) โค้งโอกาสความน่าจะเป็นแบบมากกว่า (Exceedance Curve) ของพารามิเตอร์น้าท่วมและการ เกิดน้าท่วม (Flood and Flooding Parameters) สามารถสร้างขนึ มาโดยอาศัยฐานข้อมูลนา้ ทว่ มในอดีต ท่ีมีการบันทึกคา่ ไว้ นอกจากนี ยังสามารถพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างพารามิเตอร์น้าท่วมต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เป็น  อัตราการไหลของน้าทังหมด (Total Discharge) ทอี่ ยเู่ หนือหรือเกนิ คา่ ระดับนา้ ทว่ มท่ีก้าหนด กบั ปริมาณการไหลล้นตลง่ิ (Bank Overspill)  อัตราการไหลของน้าสูงสุด (Maximum Discharge) ระหว่างเหตุการณ์น้าท่วมกับช่วงเวลา ของการเกิดนา้ ท่วม (Duration of Flooding)  อัตราการไหลของนา้ สงู สุด (Maximum Discharge) ระหวา่ งเหตกุ ารณ์น้าทว่ มกบั ปรมิ าณการ ไหลล้นตลงิ่ (Bank Overspill)  ระดับน้าสูงสุด (Maximum Water Level) ระหว่างเหตุการณ์น้าท่วมกับขนาดของพืนท่ีที่ถูก น้าท่วม (Extent of Flooding) กล่องขอ้ ความ 2–5 โคง้ โอกาสความนา่ จะเป็นแบบมากกว่าของพารามเิ ตอรก์ ารเกิดนา้ ท่วมที่เลือก (Exceedance Curves for the Selected Flooding Parameter) โค้งโอกาสความน่าจะเป็นแบบมากกว่าของพารามิเตอร์การเกิดน้าท่วมท่ีเลือกมีบทบาทส้าคัญในการ ประเมิน (ทางเศรษฐกิจ) ของแผนโครงการควบคุมน้าท่วม (Flood Control Scheme) ในรูปที่ 2–3 แสดงให้เห็นถึงโค้งโอกาสความน่าจะเป็นของปริมาตรน้าท่วมทังหมดและปริมาณการไหลล้นตลิ่งในที่ ราบ Rharb ในประเทศโมร็อกโก 2–15

ข้อมูลส้าหรับสร้างโค้งโอกาสความน่าจะเป็นแบบมากกว่าของปริมาณการไหลล้นตล่ิงได้มาจากการ บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง สร้างความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรการไหลล้นตล่ิง (Overspill Volume) (ค้านวณโดยอาศัย แบบจ้าลองทางคณิตศาสตร์ส้าหรับจ้านวนเหตุการณ์น้าท่วมที่มีจ้ากัด) และปริมาณของน้าท่วมของ เหตุการณ์เดียวกนั ท่ีเหนอื หรือเกนิ ค่าอัตราการไหลของน้าท่เี กิดขนึ ต่อเนือ่ งเท่ากับ 2,100 ลกู บาศก์เมตร ตอ่ วินาที ซ่ึงได้มาจากไฮโดรกราฟท่จี ุดบรรจบของแม่นา้ Sebou–Duerrha พารามิเตอร์ที่เลือกใช้ในการศึกษา Parana–Paraguay Studies ในแต่ละพืนที่ย่อย คือ ค่าระดับน้า (Water Level) ในรปู ที่ 2–4 แสดงให้เห็นถงึ โค้งโอกาสความน่าจะเป็นแบบมากกวา่ ของข้อมูลระดบั น้า รายปสี ูงสุดทเี่ มือง Parana (ในพืนท่ยี ่อย A7) 2.4.5 ความส้าคัญของพารามิเตอรน์ า้ ทว่ มต่อการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ ลกั ษณะต่าง ๆ (Importance of Flood Parameters for Different Land Uses) พารามิเตอรน์ ้าท่วมต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นตวั ก้าหนดความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์เฉพาะด้านของ พนื ท่ีราบน้าท่วมถึงหรือความไม่เหมาะสมจะแตกต่างกันออกไป ตามการใช้ประโยชน์ที่ก้าลังพิจารณา ซ่ึง แสดงไวใ้ นตารางท่ี 2–1 (ทีม่ า : SCARM, 2000) ตารางท่ี 2–1 พารามิเตอร์น้าทว่ มและการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ิน ประเภทของการใชป้ ระโยชน์ ค่าตา่ ง ๆ ของน้าทว่ ม/พารามิเตอร์อื่น ๆ ประเภทของการตัดสินใจ ทีจ่ า้ กัดการใช้ประโยชน์ ในการพิจารณาวา่ จะ ยอมให้ใชป้ ระโยชน์ หรอื ไม่ การอนุรักษ์พนื ทช่ี ่มุ นา้ มีนอ้ ยมาก เพราะว่าพนื ทชี่ ่มุ น้านนั มี ทางสงั คม/ทาง (Wetland Conservation) คุณคา่ ก็เพราะมีน้าทว่ มบ่อยและนาน สิ่งแวดลอ้ ม การสันทนาการแบบผ่อนคลาย –ความถ่ขี องการเกิดน้าท่วมสูง ทางสงั คม/ทาง (Passive Recreation) : –ระยะเวลาของการเกดิ นา้ ท่วมนาน ส่งิ แวดลอ้ ม สวนสาธารณะ เส้นทางเดินเท้า –อัตราการเพิม่ ขึนของนา้ สงู หรอื อาจจะเป็นสนามกอลฟ์ การใชป้ ระโยชน์ในทาง –ความถข่ี องการเกดิ น้าท่วมสูง ทางเศรษฐกิจ เกษตรกรรม (Agricultural –ระยะเวลาของการเกิดนา้ ทว่ มนาน Use) –ระยะเวลาในการเตือนภยั น้าท่วมสนั –อัตราการเพม่ิ ขนึ ของนา้ สงู –ขาดสถานที่พักพิงสัตว์ตา่ ง ๆ การใชป้ ระโยชน์ทาง –ความถ่ีของการเกดิ น้าท่วมสูง ทางเศรษฐกิจ/ความ อุตสาหกรรม (Industrial Use) –ความลึกน้าทว่ ม ปลอดภยั –ระยะเวลาในการเตอื นภยั นา้ ทว่ มสนั –อตั ราการเพมิ่ ขนึ ของน้าเรว็ –ขาดเส้นทางอพยพต่าง ๆ 2–16

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ประเภทของการใช้ประโยชน์ คา่ ต่าง ๆ ของน้าทว่ ม/พารามิเตอรอ์ ื่น ๆ ประเภทของการตัดสินใจ การใชป้ ระโยชน์เพื่อเปน็ แหล่ง ท่จี ้ากดั การใช้ประโยชน์ ในการพจิ ารณาว่าจะ พกั อาศยั (Residential Use) ยอมใหใ้ ชป้ ระโยชน์ หรือไม่ –ความถี่ของการเกิดน้าทว่ มสูง ทางเศรษฐกิจ/ความ –ความลกึ นา้ ทว่ ม ปลอดภัย/ทางสงั คม –ระยะเวลาในการเตือนภยั น้าท่วมสัน –อัตราการเพมิ่ ขนึ ของน้าเรว็ –ขาดเสน้ ทางอพยพต่าง ๆ –การช้ารุดเสยี หายของระบบระบายนา้ ทิงระหว่างเกิดเหตกุ ารณ์น้าท่วมต่าง ๆ 2.5 ประสทิ ธิภาพทางชลศาสตรข์ องมาตรการควบคมุ นา้ ทว่ ม (Hydraulic Effectiveness of Flood Control Measures) ประสิทธิภาพทางชลศาสตร์ (Hydraulic Effectiveness) นา้ มาใช้ในการเปรียบเทียบสถานการณ์ น้าท่วมที่ใช้มาตรการควบคุมน้าท่วมกับที่ไม่ได้ใช้มาตรการควบคุมน้าท่วม และยังใช้ในการประเมินว่า ส้าหรบั กรณนี ้าท่วมทเ่ี คยเกิดขึนในอดตี นัน ถ้าใช้มาตรการควบคุมน้าทว่ มแล้วจะสามารถป้องกันพืนท่ีจาก น้าท่วมดังกล่าวได้แค่ไหน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวจ้าเป็นต้องก้าหนดค่าพารามิเตอร์ซ่ึงแสดง ลักษณะของน้าทว่ มในพนื ที่นัน ซึง่ พารามิเตอร์น้าท่วมท่ีเหมาะสมตา่ ง ๆ ได้แก่ ปริมาณของการไหลล้นตล่ิง (Volume of Bank Overspill) ระดับน้า (Water Level) ความลึกของการเกิดน้าท่วม (Depth of Flooding) รูปท่ี 2–5 (ด้านล่าง) การค้านวณประสิทธิภาพทางชลศาสตร์แสดงให้เห็นด้วยกราฟขอบเขตบน (Upper Graph) โดยเลือกใช้พารามิเตอรน์ ้าทว่ มในรูปของระดับน้า (Water Level) ท่ีอยเู่ หนือและเกินค่า ระดับน้าฉุกเฉิน (Emergency Water Level) ที่ก้าหนดไว้ท่ี 5.50 เมตร ที่สถานี Corrientes ประเทศ อารเ์ จนตินา (แม่นา้ Parana) สมการทใ่ี ชใ้ นการคา้ นวณมีรูปแบบสมการดงั นี i  45 i  45 ( Xi   Yi ) i1 i1 ] ––––––––––––(2–1) h  100x[ i  45 (  Xi  45x5.50) i 1 เมื่อ Xi = ค่าระดบั น้ารายปสี ูงสดุ (Maximum Annual Water Level) โดยไมม่ มี าตรการ ป้องกัน (Without Protection) 2–17

Yi = คา่ ระดับนา้ รายปสี งู สุด (Maximum Annual Water Level) โดยมมี าตรการ บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ป้องกัน (With Protection) h= ประสิทธิภาพทางชลศาสตร์ (Hydraulic Effectiveness) ในหนว่ ยเปอร์เซ็นต์ ส่วนค่าประมาณการประสิทธิภาพทางชลศาสตร์แสดงในส่วนล่างของรูปท่ี 2–5 โดยมีรูปแบบ สมการดังนี hS  100x[ (AreaABED) ] ––––––––––––(2–2) (AreaABCA ) เมอื่ h= คา่ ประมาณการประสิทธิภาพทางชลศาสตร์ (Hydraulic Effectiveness by Approximation) ในหน่วยเปอร์เซ็นต์ (4) = โค้งโอกาสความนา่ จะเป็นแบบมากกวา่ (Exceedance Curve) ของสถานการณ์ นา้ ทว่ มทมี่ โี ครงการปอ้ งกนั (With Project) (5) = โค้งโอกาสความน่าจะเปน็ แบบมากกวา่ (Exceedance Curve) ของสถานการณ์ นา้ ทว่ มท่ีไม่มโี ครงการป้องกัน (Without Project) (6) = โอกาสความน่าจะเปน็ แบบไมม่ ากกวา่ (Non–Exceedance Curve) (7) = ระดบั นา้ รายปีสงู สุด (Maximum Annual Water Level) 2–18

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รูปท่ี 2–3 โคง้ โอกาสความน่าจะเปน็ แบบมากกว่าของปรมิ าตรนา้ ท่วมและปริมาตรการไหลลน้ ตล่งิ ของ แมน่ ้า Sobou ตอนล่างในประเทศโมร็อกโก (ดูกล่องขอ้ ความ 2–5) (ทม่ี า : NEDECO, 1975) 2–19

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รปู ที่ 2–4 โค้งโอกาสความน่าจะเปน็ แบบมากกว่าของระดับนา้ ทว่ มรายปสี ูงสดุ ทีเ่ มือง Parana แม่น้า Parana ประเทศอาร์เจนตนิ า (ดกู ล่องข้อความ 2–5) (ทม่ี า : Motor Columbus, 1979) 2–20

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รูปท่ี 2–5 การก้าหนดค่าประสิทธภิ าพทางชลศาสตร์ของแผนการควบคมุ น้าทว่ มโดยเลือกใช้ พารามิเตอรน์ า้ ท่วมในรูปของระดับนา้ (ที่มา : Motor Columbus, 1979) 2–21

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง รปู ที่ 2–6 โคง้ โอกาสความน่าจะเปน็ แบบมากกวา่ ของปริมาตรน้าไหลล้นตลงิ่ ที่เหลอื อยู่หลงั จากการใช้ แผนปอ้ งกันนา้ ทว่ มทางเลอื กตา่ ง ๆ การใช้สมการขา้ งตน้ จะอา่ นค่าง่ายกวา่ เดิม เน่ืองจากไดใ้ ช้สเกลล๊อกส้าหรบั ค่าในแกนนอน ตารางที่ 2–2 แสดงให้เห็นว่าค่าประสิทธิภาพทางชลศาสตร์จะเพ่ิมขึนอย่างรวดเร็ว ถ้าได้รวม ปริมาณเก็บกักน้าในเขื่อนเก็บน้าขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กเข้ากับการเพ่ิมความสามารถในการระบายน้า ของระบบแมน่ ้าทางด้านทา้ ยของอ่างเกบ็ นา้ ดังกล่าว 2–22

บทท่ี 2 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ตารางที่ 2–2 ประสทิ ธภิ าพทางชลศาสตรข์ องมาตรการป้องกันนา้ ทว่ มแบบผสมผสาน อา่ งเก็บน้า ปรมิ าตรเกบ็ ความสามารถในการให้นา้ ไหลผ่านของระบบแม่นา้ ทงั หมดทางด้านทา้ ยน้า ของอ่างเกบ็ น้า (m3/s) กักใช้การ (hm3) ปัจจบุ นั 2,500 3,000 3,500 4,000 5,000 ขนาดใหญ่ 800 80 89 95 1,600 73–90 85–97 2,100 87–94 94–97 96 ขนาดเล็ก 260 36 54 70 80 87 160 31 ผลในลักษณะเดียวกันจะเห็นได้จากโค้งโอกาสความน่าจะเป็นแบบมากกว่า (ในรูปท่ี 2–6) ปริมาณการไหลล้น (เช่น ปริมาณของการเกิดน้าท่วม) ของน้าท่วมที่รอบการเกิดใด ๆ จะมีค่าลดลง หาก ปริมาณน้าเก็บกักในอ่างเก็บน้าถูกน้ามารวมเข้ากับความสามารถในการระบายน้าทางด้านท้ายน้าท่ีเพิ่ม มากขนึ 2.6 เอกสารอา้ งอิง (References) [1] Motor Columbus (1979) y Associados, ‘Study of Floods of the rivers Parana and Paraguay’, Buenos Aires-Asuncion, 1979. [2] NEDECO (1973), ‘Etude des Mesures de Protection centre de Inondations dans la Plaine du Rharb, Maroc’ (Final Report, Mission 1), The Hague, 1975. [3] NEDECO (1975), ‘Flood control study, Rharb Plain, Morocco’ (Final Report, Mission 2), The Hague, 1975. [4] SCARM Report No. 73 (2000), ‘Floodplain Management in Australia-Best Practice Principles & Guidelines’, CSIRO Publishing ISBN 0 643 060640. [5] van Duivendijk (1995), ‘Protection against Floods in the river Sabarmati’, Report of a Reconnaissance Mission for the Governments of Gujarat (India) and Nijmegen, The Netherlands, 1995. 2–23

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งพารามเิ ตอรน์ า้ ท่วมกับความเสยี หาย บทท่ี 3 (The Relationship between Flood Parameters and Damages)

บทท่ี 3 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง III ความสัมพันธ์ระหว่างพารามเิ ตอร์น้าท่วมและความเสยี หาย (The Relationship between Flood Parameters and Damages) 3.1 บทน้า (Introduction) 3.1.1 การบริหารจัดการน้าท่วมและความเสยี หาย (Flood Management and Damages) การบริหารจัดการน้าท่วม (Flood Management) (หรือการบริหารจัดการความเสี่ยงน้าท่วม (Flood Risk Management)) เกี่ยวขอ้ งกับกิจกรรมทังหมดทเี่ ก่ียวกับการควบคุมน้าท่วม การบรรเทาการ เกิดน้าท่วม และหลังจากมาตรการควบคุมและบรรเทาน้าท่วมได้ถูกด้าเนินการ การบริหารจัดการความ เสีย่ งท่เี หลอื อยจู่ ากการเกิดนา้ ท่วม พืนที่ราบน้าท่วมถึงหลายแห่งเป็นพืนท่ีชลประทานแบบเข้มข้น (Intensive Irrigation Land) พนื ทีเ่ มืองและพนื ทอ่ี ตุ สาหกรรม เช่นเดียวกบั การส่อื สารคมนาคมและระบบการขนส่งยงั ตังอยูใ่ นพืนทรี่ าบ น้าท่วมถึงอีกด้วย การแทรกซึมของกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์เข้าไปในพืนที่ราบน้าท่วมถึงท้าให้เกิดการ ชะลอตวั ทางเศรษฐกจิ และชุมชนเม่อื เกดิ เหตุการณน์ ้าทว่ ม และบางครังอาจส่งผลเปน็ วงกว้างในระดบั ชาติ ยิ่งไปกว่านันความหลากหลายของลักษณะทางเศรษฐกิจและทางกายภาพในแต่ละช่วงแม่น้า ท้าให้การ คาดการณ์ความเสียหายจากน้าท่วม เพื่อวัตถุประสงค์ในการวางแผนงานด้านนโยบาย ท้าได้ยากย่ิงขึน ระดบั ความรุนแรงของความเสยี หายจากน้าท่วมของชว่ งแม่นา้ ใด ๆ จะถกู ก้าหนดจากรปู แบบการประกอบ อาชีพ รวมทังลักษณะทางภูมปิ ระเทศ ธรณวี ทิ ยา และอทุ กวทิ ยาของช่วงแม่น้านนั ๆ เพื่อการตัดสินใจหาทางแก้ปัญหาน้าท่วมท่ีดีท่ีสุด จ้าเป็นท่ีจะต้องรู้ขนาดความเสียหายจากน้า ท่วมที่มีขนาดและโอกาสความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์แตกต่างกัน วิธีที่อาศัยหลักตรรกวิทยา (Logical Method) ในการประเมินความเสียหายจากน้าท่วมส้าหรับใช้ในการเลือกระบบการป้องกันน้า ท่วม (Flood Protection System) ได้อธิบายไว้ในบทนี ดังนัน การประเมินความเสียหาย (Damage Assessment) ตอ้ งนับเป็นขนั ตอนทีส่ า้ คัญทีใ่ ช้ในการดา้ เนินการเพอ่ื การบรหิ ารจัดการน้าท่วม 3.1.2 ค้าจา้ กัดความ (Definitions) นา้ หลากทเ่ี กนิ ความสามารถในการระบายน้าของทางน้า (Watercourse) จะเปน็ สาเหตทุ ้าให้เกิด นา้ ท่วม ซึ่งขนาดของน้าท่วมนีสามารถก้าหนดลักษณะได้โดยอาศัยพารามเิ ตอรน์ ้าท่วมตัวใดตัวหนง่ึ ตามที่ ได้อธิบายไว้ในบทที่ผ่านมา น้าท่วมจะส่งผลกระทบต่อพืนที่น้าทว่ มมากน้อยเพียงใด ขึนอยู่กับการใช้ท่ีดิน และความออ่ นไหวของระบบนิเวศ ผลกระทบต่าง ๆ เก่ียวข้องกับชีวิตของมนุษย์ทังทางด้านสังคม ด้านเทคนิค และด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบจากน้าท่วมยังมีต่อด้านสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ เช่น พืชพรรณ สัตว์พืนท่ีชุ่มน้า น้าใต้ดิน ป่า 3–1

ไม้ เป็นต้น โดยท่ัวไปแล้วผลกระทบล้าดับแรกมักเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้ว ผลกระทบในล้าดับที่สองเพิ่ง บทท่ี 3 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง เป็นทีร่ ู้กันในภายหลงั ผลกระทบกลมุ่ แรก ประกอบด้วย  การสญู เสียชีวิตมนุษย์  ปญั หาสุขภาพ (รวมทงั ความเครียด)  ความเสยี หายต่อทรัพยส์ นิ โดยตรงทงั ทรัพยส์ นิ สว่ นบุคคลและทรพั ยส์ นิ สาธารณะ  ผลกระทบทางอ้อมหรือท่ีตามมาทีหลังซ่ึงเป็นอุปสรรคในการท้าหน้าที่ตามปกติของ ระบบสื่อสารของชุมชน (การหยุดชะงักของกิจกรรมและบริการต่าง ๆ โครงข่ายถนนถูกตัด ขาด การชะลอตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและทางการค้า มาตรการฉุกเฉินพิเศษ การ อพยพและการตงั ถิน่ ฐานใหมข่ องประชาชน) ความเสียหาย (Damage) เปน็ สิ่งทสี่ ังคม (ที่ใหค้ วามส้าคัญกับความเป็นมนุษยม์ ากกวา่ ) จะเป็นผู้ ก้าหนดลักษณะให้กับผลกระทบเหล่านัน ซ่ึงอาจจะไม่ใช่มูลค่าในรูปตัวเงินเพียงอย่างเดียว แต่สามารถ เป็นได้ทังคุณค่าทางศีลธรรม มนุษยธรรม สังคม ศาสนา หรือ ในด้านจิตวิทยา (ความวิตกกังวลจาก เหตุการณ์น้าท่วม และความเส่ียงที่เก่ียวข้องกับความพลัดพรากจากกัน การหยุดชะงักของโครงสร้างทาง สังคม การสูญเสียส่ิงที่มีคุณค่าทางใจท่ีไม่สามารถทดแทนได้ การสูญเสียมรดกทางวัฒนธรรมและ ประวตั ิศาสตร์ ฯลฯ) อาจกลา่ วไดว้ า่ ความเสียหายประเภทหลงั นีมีมูลค่าสูงกว่าความเสียหายต่อทรัพย์สิน (Material Damage) หลายเท่า ในหลายกรณคี วามเส่ียงของนา้ ทว่ มจะพิจารณาจากโอกาสความน่าจะเป็น ทผี่ ลกระทบหรือความเสยี หายบางอยา่ งจะเกิดขนึ ในพนื ที่ทางภมู ิศาสตร์ใด ๆ ความเสย่ี งขึนอยู่กับ  ความไม่แน่นอน (เช่น ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติท่ีมีลักษณะสุ่ม ซ่ึงมีค่าโอกาสความน่าจะ เป็นของการเกิดเหตกุ ารณ์นนั ๆ ของมันเอง)  โอกาสทปี่ ระชาชน วัตถุ และสง่ิ แวดลอ้ มจะตอ้ งถกู น้าทว่ ม  เครอ่ื งมอื และวธิ ีปฏิบัตทิ ี่มอี ย่สู ้าหรบั ด้าเนินการเพอื่ ลดผลกระทบจากความเสย่ี งใหน้ อ้ ยลง โอกาสท่ีอาจต้องถูกน้าท่วมและเครื่องมือและวิธีปฏิบัติที่ใช้กันอยู่เพ่ือลดผลกระทบให้น้อยลงถือ เป็นเพียงส่วนหน่ึงของตัวแปรสุ่ม (เช่น โอกาสความเป็นไปได้ที่จะมีการพัฒนาอย่างใดอย่างหนึ่ง โอกาส ความเป็นไปได้ทจ่ี ะมีจา้ นวนประชาชนจา้ นวนหน่งึ อยู่ในพืนที่เม่ือเกิดเหตุการณน์ ้าทว่ ม โอกาสความเป็นไป ไดท้ ่จี ะสามารถพยากรณไ์ ด้อย่างแมน่ ย้า โอกาสความเปน็ ไปได้ของความช่วยเหลือฉกุ เฉิน ฯลฯ) ความเส่ียงบ่งบอกถึงลักษณะสุ่ม (Randomness) (ของน้าท่วมและของการเกิดน้าท่วม) และ ความเปราะบาง (Vulnerability) (คนและส่ิงของที่สัมผัสน้า) ความเปราะบางจะแสดงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างลกั ษณะความไมแ่ น่นอน (ทีม่ คี ุณสมบัตทิ างสโตคาสติก) โอกาสทจ่ี ะสัมผสั กบั นา้ ทว่ มที่มีลักษณะไม่ แนน่ อน (คน สิ่งของ กิจกรรมต่าง ๆ) เคร่ืองมอื และวธิ ีปฏิบตั ิตา่ ง ๆ ทใี่ ชก้ ันอยเู่ พ่ือใช้เป็นมาตรการตอบโต้ (การพยากรณน์ า้ ท่วม ความชว่ ยเหลือฉุกเฉิน การประกนั ภัย) และผลกระทบต่าง ๆ ที่ตามมา 3–2

บทท่ี 3 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง ในอีกแง่หน่ึง โอกาสที่จะถูกน้าท่วมมากหรือน้อยยังขึนอยู่กับสภาพของพืนที่เสี่ยงภัยน้าท่วมเอง และในอกี ด้านหนึง่ ขึนอยู่กับลกั ษณะเฉพาะของน้าท่วมนัน ในประเดน็ ดังกลา่ วสามารถกล่าวไดว้ า่  ความเร็วของการเพม่ิ ขนึ ของคลื่นน้าท่วมสูงสุด (Flood Peak) เช่น เหตุการณพ์ ายุฝนทเี่ กดิ ขึน ในชว่ งฤดูร้อนมกั จะมีแนวโน้มท่ีจะมีคา่ แฟคเตอร์การไหลสูงสุด (Peak Factor) ซ่งึ สมั พันธ์กับ ช่วงเวลา สงู กว่าเมื่อเทยี บกับเหตุการณ์น้าท่วมทงั หมด แต่ในอีกทางหน่ึง นา้ ท่าท่เี กิดจากการ ละลายของหิมะ (Snowmelt Runoff) โดยท่ัวไปแล้วจะมีการเพิม่ ขึนของระดับน้าค่อนข้างช้า เว้นแต่จะเกดิ ปรากฎการณ์ธารน้าแข็งปิดกันทางน้าขนึ ดว้ ย  ความลกึ ของการเกดิ น้าท่วมในสว่ นของการพฒั นาท่มี ีอยใู่ นพืนท่ี  ความเร็วของกระแสนา้ หลาก  จา้ นวนบา้ นเรือนและธรุ กจิ ท่ไี ด้รับผลกระทบ  การเตือนภยั นา้ ทว่ มและมาตรการอพยพในพนื ท่ี  ผลกระทบของการเกิดน้าท่วมตอ่ การเข้าถึงของระบบขนส่ง 3.1.3 วัตถปุ ระสงคใ์ นการก้าหนดความเสียหายจากน้าท่วม (Objectives for Determining Flood Damages) ด้วยการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างน้าท่วมกับพารามิเตอร์การเกิดน้าท่วม (Flood and Flooding Parameters) (ดูในบทท่ี 2) และในอีกแง่หนึ่งกับความเสียหายท่ีเกิดจากเหตุการณ์น้าท่วมใน พืนทเี่ ส่ียงภยั นา้ ท่วม (ทเี่ รยี กว่า ฟงั ก์ชนั การสญู เสยี หรอื ฟังก์ชนั ความเสยี หายจากน้าท่วม (Loss or Flood Damage Functions)) สามารถบรรลวุ ัตถุประสงค์หลาย ๆ ดา้ นดังนี  เพื่อให้รู้ถึง “ความเปราะบาง (Vulnerability)” ในพืนที่เสี่ยงภัยน้าท่วมทังทางกายภาพ ทาง เศรษฐกิจและสังคม  เพอ่ื ลดความเปราะบางด้วยการปฏิบตั ิการดังนี - มาตรการป้องกันน้าท่วมแบบดังเดิม (Classical Flood Protection Measures) ตามแนวทางน้าหรือในพืนที่เสี่ยงภัยน้าท่วม (เช่น เข่ือนทดน้า (Regulating Dam) คันกันน้าท่วม (Flood Embankment) การเพิ่มความสามารถในการไหลผ่านของ ทางน้า การระบายนา้ ออกจากพืนทร่ี าบนา้ ทว่ มถงึ เปน็ ต้น) - มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง (Non Structural Measures) (เช่น การปลูกป่าในพืนท่ี ล่มุ น้า ข้อบังคับต่าง ๆ เก่ียวกับการตังถิ่นฐานและการใช้ท่ีดิน การพยากรณ์และการ เตอื นภัยน้าท่วม การประกาศความเสี่ยงของภัยน้าท่วม การรณรงค์การตระหนกั รูภ้ ัย ของประชาชนทวั่ ไป การจัดตงั องคก์ รความชว่ ยเหลือฉกุ เฉิน เป็นตน้ )  เพื่อประมาณการทางเศรษฐกิจ (เช่น ความสมดุลของต้นทุนและผลประโยชน์ เป็นต้น) ของ งานป้องกันน้าท่วมท่ีคิดไว้และหาทางเลือกวิธีป้องกนั ที่เหมาะสมทส่ี ุด (ซง่ึ อาจจะครอบคลุมทัง มาตรการป้องกันและควบคุมน้าท่วมทงั ใช้และไม่ใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง เป็นต้น)  เพ่ือให้มาตรการป้องกันท่ีเสนอและความเสี่ยงที่เหลืออยู่หลังจากระบบป้องกันได้ด้าเนินการ เสรจ็ สนิ ได้รับการยอมรับทางการเมืองและสังคม 3–3

 เพ่ือให้บริษัทประกันภัยสามารถประเมินต้นทุนของความเสียหายต่าง ๆ ได้ดีขึน เพ่ือที่จะเข้า บทท่ี 3 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง มาเป็นส่วนหนึ่งของแหล่งเงินทุนส้าหรับใช้ในงานระบบป้องกันและการรณรงค์ท่ีมุ่งหวังท่ีจะ สร้างการรบั รู้ของสาธารณชนทั่วไป และสถาบันตา่ ง ๆ ถงึ ความเสี่ยงท่อี าจจะเกดิ ขึนได้ ขอยกตัวอยา่ งบางตัวอย่างเพ่ือแสดงใหเ้ หน็ ชดั เจนขนึ ดา้ นเศรษฐกจิ (Economics) หนึ่งในหลายวิธีที่ใช้กันอยู่ในการประเมินค่าทางเศรษฐกิจของแผนควบคุมน้าท่วมคือ การ เปรียบเทียบค่าความเสียหายคาดการณ์ (Expectation Value of Damages) ท่ีเกิดขึนจากน้าท่วมใน สถานการณ์ที่ไม่มีโครงการ (Without the Project) กับสถานการณ์ท่ีมีโครงการ (With the Project) ความแตกต่างของความเสียหายท่ีได้คือ “ความเสียหายท่ีหลีกเล่ียงได้ (Avoided Damages)” หรือ ผลประโยชน์ (Benefit) ของแผนควบคุมนา้ ทว่ ม (ดูกล่องขอ้ ความ 3–2 และกลอ่ งข้อความ 3–3) ด้านการประกันภยั (Insurance) ในการน้าเสนอของ Parker (Parker, 2001) ในฐานะผู้แทนสมาคมผู้ประกันภัยของอังกฤษ (Association of British Insurers, ABI) ไดก้ ล่าวไวว้ ่า  การให้ความคุ้มครองน้าท่วม (Flood Cover) ในประเทศอังกฤษเป็นการประกันภัยต่อ (Reinsurance) ตามกลไกตลาด (Market–Based) ซึ่งราคาตลาดของการประกันภัยขึนอยู่กับ ความเสยี่ งของแตล่ ะภยั  การให้ความคุ้มครองน้าท่วม (Flood Cover) ในประเทศฝรั่งเศสเป็นการประกันภัยโดยมีรัฐ เป็นผู้ค้าประกัน (State Guaranteed Reinsurance) ในขณะที่ราคากับความเส่ียงมี ความสัมพันธ์กันค่อนข้างน้อย แต่มีการเตรียมการเพ่ือน้าไปเป็นค่ารับผิดส่วนแรก (Deductibles) ในพืนที่ท่ีรัฐบาลท้องถ่ินมี “แผนป้องกันความเสี่ยง (Risk Prevention Plan)” ในพนื ท่นี ัน  หน่งึ ในวตั ถุประสงคต์ ่าง ๆ ของการวจิ ัยนา้ ท่วมควรจะเป็นการระบุระดบั ของความเส่ยี ง (Risk) และโอกาสท่ีจะถูกน้าท่วม (Exposure) และเพ่ือช่วยให้ผู้ให้ประกันภัยสามารถให้ความ คมุ้ ครองได้  ผู้ให้ประกันภัยต้องการที่จะเห็นแนวทางการควบคุมการวางแผนที่เป็นท่ีพอใจเพื่อสร้างความ ม่ันใจถึงข้อสันนิษฐานที่จะคัดค้านการพัฒนาใหม่ในพืนที่ราบน้าท่วมถึง นอกเสียจากจะมี แนวทางป้องกันในพืนท่ีท่ีมีความเหมาะสมและยั่งยืน (เพื่อสร้างความมั่นใจถึงการควบคุม โอกาสทจี่ ะถกู นา้ ท่วมอีกในอนาคต) ด้านความเปราะบาง (Vulnerability) ความเสียหายไม่ได้ขึนอยู่กับปริมาณน้าฝนโดยตรง แต่ยังมีสภาพเง่ือนไขต่าง ๆ ที่ต้องเกิดก่อนท่ี ความเสียหายจะเกิดขนึ (ตามทแ่ี สดงในรูปท่ี 3–1) 3–4

บทท่ี 3 คู่มอื การวางแผนบริหารจัดการนา้ ทว่ มด้วยแนวทางใชส้ ่งิ กอ่ สรา้ ง (Definitions of Intervention Possibilities) (Floodplain Management) (Flood Protection Measures) (Meteorology) (Influencing Damage) (Hydrologic Hazard) (Catchment Area) (Risk of Inundation) - (River Bed) (Vulnerability) (Risk of Damage) - ...... - (Emergency Planning) - - .... - - - (Damage) - - ...... - - - - ...... - รูปท่ี 3–1 ทีม่ าและการพัฒนาเป็นความเสียหาย (ที่มา : Petraschek, 2001) 3.1.4 ข้อจา้ กัดของเนือหาในบทนี (Limitations of this Chapter) เนือหาในบทนีถูกจัดเตรียมบนพืนฐานของข้อมูลจากประเทศต่าง ๆ ท่ีมีจ้านวนจ้ากัด ด้วยเหตุนี มันจึงสะท้อนถึงสถานการณเ์ ฉพาะ วิธีการและประสบการณ์ของประเทศเหล่านันท่ีใช้ในการแก้ปัญหาน้า ทว่ ม ประเภทและลักษณะของน้าท่วม วิธีการประเมินและระดับของการประเมิน ในเหตกุ ารณ์ส่วนใหญ่ไม่ มีความพยายามท่ีจะแปลงตัวเลขทางการเงินจากสกุลเงินใด ๆ ไปเป็นเหรียญสหรัฐ เน่ืองจากโดยทั่วไป ตัวเลขเหล่านันมีความส้าคัญเฉพาะในพืนท่ีนนั ๆ เทา่ นัน และมูลคา่ ของมัน (ท่ีสัมพันธ์กับตัวเลขอ่ืน ๆ ใน หัวข้อหรอื ตารางเดยี วกัน) ก็สามารถประเมินค่าได้อยู่แล้ว 3.2 ขนาดและลกั ษณะของความเสยี หายจากนา้ ทว่ ม (Extent and Nature of Flood Damages) 3.2.1 ทวั่ ไป (General) น้าท่วมอาจเป็นสาเหตุท้าให้เกิดความเสียหายในหลากหลายรูปแบบ ตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น สามารถจัดแบ่งเป็นความเสียหายทางตรง (Direct Damages) และความเสียหายทางอ้อม (Indirect Damages) ประเภทของความเสยี หายทางตรง ประกอบด้วย  ความเสยี หายทางวตั ถโุ ดยตรงไม่ว่าจะเป็นทพ่ี กั อาศัยและทรัพย์สินส่วนบุคคล  ความเสยี หายทางตรงทีเ่ กดิ ขนึ กบั อาคารสาธารณะ การบริการและโครงสรา้ งพืนฐาน  ความเสียหายทางตรงทเ่ี กิดขึนกบั ธุรกจิ เชิงพาณชิ ยแ์ ละการคา้ 3–5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook