Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการเรียนรู้เพศศึกษา

คู่มือการเรียนรู้เพศศึกษา

Published by กัญจนา ด้วงนา, 2022-01-04 07:23:00

Description: คู่มือการเรียนรู้เพศศึกษา

Search

Read the Text Version

กจิ กรรมที่ 16 ซองคาถาม สาระสาคญั การดูแลสุขภาวะทางเพศ จาเป็นตอ้ งมีข้อมูลพนื้ ฐานท่ีถูกต้อง เกี่ยวกับการคมุ กาเนิด การตั้งครรภ์ โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์และการติดเชอ้ื เอชไอวี รวมท้ังวธิ กี ารปอ้ งกันการต้งั ครรภแ์ ละการติดเชอ้ื เอชไอวี จุดประสงค์ เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี น 1. สามารถบอกวธิ ีการคมุ กาเนดิ ที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของตนเองและครอบครวั 2. สามารถระบุวธิ ีการปอ้ งกันโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์และไมเ่ ปน็ อันตรายต่อสุขภาพได้ 3. สร้างความตระหนัก เห็นความสาคัญในการเลือกวิธีการคุมกาเนิดท่ีไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ทางเพศ เน้อื หา 1. วิธีการคุมกาเนิดท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตนเองและครอบครัวที่ไม่ส่งผลกระทบต่อ สขุ ภาพทางเพศ 2. วธิ ีการปอ้ งกันโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ ภาพรวมการจัดกจิ กรรม เป็นการทบทวนความรู้ และตรวจสอบความเช่ือเดิม เพ่ือแลกเปลี่ยนและเพิ่มเติมความรู้ข้อมูล ในเรือ่ งการดูแลสุขอนามัยทางเพศ วิธีป้องกันการตั้งครรภ์ วิธีการป้องกันการติดเช้ือเอชไอวี โดยให้ผู้เรียน ตอบคาถามเกี่ยวกับการคุมกาเนดิ แบบต่าง ๆ สื่อและอปุ กรณ์ 1. ใบคาถาม 13 ข้อ (จานวนเทา่ กบั จานวนผู้เรยี น) 2. แนวการตอบ (คาถาม) ขั้นตอนการจัดกจิ กรรม 1. ผู้จัดการเรียนรู้ช้ีแจงจุดประสงค์ของการจัดกิจกรรม “ซองคาถาม” ว่าเม่ือจบกิจกรรมแล้ว ผเู้ รยี นสามารถแลกเปลีย่ นกนั เกี่ยวกับ เร่อื ง การคุมกาเนดิ การดูแลสุขภาพทางเพศ และการปอ้ งกันตนเอง จากโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์ 2. แจกแผน่ คาถามใหผ้ ้เู รยี นทกุ คนอ่าน และตอบคาถามด้วยตัวเองทุกข้อ ให้เวลา 5 นาที 3. แบ่งผเู้ รยี นออกเปน็ กลุ่ม ๆ ละ 3 - 4 คน โดยใหเ้ ลอื กเข้ากลุ่มตามความสมัครใจ 4. ให้เวลาสมาชิกกลุ่มพูดคุยแลกเปล่ียนกันว่าข้อใดเห็นตรงกัน และข้อใดไม่ตรงกัน เพราะอะไร และให้เตรยี มตวั แทนนาเสนอ เพื่อเตรยี มแลกเปลย่ี นในกลมุ่ ใหญ่ ใหเ้ วลา 5 นาที 5. ผู้จดั การเรยี นรู้ถามทีละขอ้ ขอตวั แทนกลมุ่ ที่พรอ้ มตอบคาถาม และอธบิ ายเหตผุ ล 6. หลังจากฟังคาตอบแล้ว ผู้จัดการเรียนรู้ถามกลุ่มอ่ืน ๆ ว่าเห็นด้วยหรือไม่ เพ่ือให้อธบิ ายโต้แย้ง หรอื เพิม่ เติม จากน้นั เฉลยคาตอบจนครบทกุ ข้อ 147

7. ผู้จัดการเรียนรู้เชื่อมโยงให้เข้าใจถึงความเชื่อ และค่านิยมท่ีผิดเก่ียวกับการคุมกาเนิด ซึ่งอาจ ทาใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สุขภาพ และชวนคุยเพื่อสร้างความเขา้ ใจต่อการเลอื กวิธีการคมุ กาเนดิ โดยใชค้ าถาม เชน่ - วิธีการใดท่ีจะช่วยป้องกันการต้ังครรภ์ การติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้ดีทีส่ ุดสาหรบั ครู่ ักหรือสามีภรรยา - คิดวา่ วยั รุ่นสว่ นใหญจ่ ะเลือกใชว้ ิธีการคมุ กาเนดิ แบบใด เพราะอะไร - คดิ วา่ คนทแ่ี ตง่ งานแล้ว หรือมคี ่ปู ระจา จะเลือกใช้วธิ ีการคุมกาเนดิ แบบใด เพราะอะไร - ปัจจุบันพบว่าวัยรุ่นจานวนหน่ึงเลือกใช้ยาคุมกาเนิดฉุกเฉิน นับหน้าเจ็ดหลังเจ็ด หรือหล่ัง ข้างนอกแทนการใชถ้ ุงยาง เพราะเหตุใด - ปัญหาและอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นระหว่างคู่รัก หรือสามีภรรยา ในการพูดคุยถึงวิธีป้องกัน การต้ังครรภ์หรอื ปอ้ งกันการตดิ เช้ือ คืออะไรบ้าง และจะมวี ธิ แี ก้ปัญหาอยา่ งไร - รู้สกึ อย่างไร หากตอ้ งไปหาซอ้ื อปุ กรณ์คุมกาเนิด หรอื ถงุ ยางอนามัยดว้ ยตนเอง - เหน็ ด้วยหรอื ไม่ ทจี่ ะทาใหว้ ัยรุน่ สามารถเข้าถงึ ถงุ ยางอนามยั ได้งา่ ยข้ึน - มวี ิธีอยา่ งไรท่จี ะชว่ ยให้วยั รุ่นเขา้ ถึงถงุ ยางอนามยั ไดง้ ่ายขน้ึ 8. ผูจ้ ดั การเรยี นรูช้ วนผู้เรยี นสรุปถึงสิง่ ทไ่ี ด้เรยี นรใู้ นกจิ กรรมนี้ และเพิม่ เติมประเด็น ดงั นี้ - การเลือกวธิ กี ารคมุ กาเนดิ เป็นความรับผิดชอบรว่ มกนั ของ “ค่รู กั ” ที่ตัดสนิ ใจมเี พศสัมพันธ์กัน เพื่อป้องกันการต้ังครรภ์ท่ีไม่พร้อมและป้องกันการแพร่เชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สู่คู่ของตนเอง เช่น หนองใน ซิฟิลิส หรือเช้ือเอชไอวี ในขณะเดียวกันจาเป็นต้องพิจารณาถึงผลกระทบหรือผลข้างเคียงท่ีอาจ เกิดขน้ึ จากการเลอื กใช้วิธกี ารคมุ กาเนดิ บางชนิด เช่น การกินยาคมุ ฉุกเฉนิ เปน็ ประจา ทาให้เกิดผลข้างเคียง ตอ่ สุขภาพทางเพศ เป็นตน้ - การใช้ถงุ ยางอนามัยเปน็ วธิ ีการคมุ กาเนิดชนิดเดียวท่สี ามารถป้องกันได้ท้ังการต้ังครรภ์ และ การติดโรคติดต่อทางเพศสมั พันธแ์ ละการติดเช้ือเอชไอวี การใช้ถงุ ยางอนามัยจาเป็นต้องใช้ทุกครั้ง และกับ ทกุ คนท่ีมีเพศสมั พันธ์ จึงจะช่วยป้องกนั ได้ การวดั และประเมนิ ผล 1. สงั เกตการณก์ ารมีส่วนรว่ มในกิจกรรมกลุ่ม 2. การอภปิ รายแลกเปลี่ยน การซักถาม การโตต้ อบ ขอ้ เสนอแนะสาหรับผจู้ ดั การเรยี นรู้ ผจู้ ัดการเรียนรู้ควรใหเ้ วลาผเู้ รียนซักถาม ทาความเข้าใจถึงวิธีการคุมกาเนดิ ท่ีผเู้ รียนสนใจ หรอื จัดเตรียม เอกสารประกอบเพิม่ เติม แหล่งข้อมูลในพนื้ ที่ หากพบว่ามีผูเ้ รียนสงสัยและตอ้ งการค้นควา้ เพ่ิมเติม ขอ้ สรุปสาคญั จากการจัดกิจกรรม 1. การมีเพศสัมพันธ์อาจจะทาให้เกิดการตั้งครรภ์ได้ ดังนั้นการป้องกันจึงเป็นเรอื่ งสาคัญ และง่าย กว่าการแกไ้ ขปญั หาถ้าเกดิ การทอ้ งไมพ่ ร้อม 2. การคุมกาเนิดมีท้ังวิธีท่ีมีประสิทธิภาพสูงและประสิทธิภาพต่า ซึ่งผู้ท่ีเลือกใช้การคุมกาเนิดท่ีมี ประสทิ ธภิ าพต่ามกั จะเกดิ จากความเขา้ ใจ ความเช่อื และข้อมูลท่ผี ดิ หรอื ไมร่ อบด้านเพียงพอ 148

3. การคุมกาเนิดท่ีมีประสิทธิภาพสูง คือการคุมกาเนิดที่ใช้อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงหรือเป็น วิธีการท่ีมีประสิทธิภาพสูง เช่น การทาหมัน การใช้ยาคุมกาเนิดรายเดือน การฝังเข็ม การฉีดยาคุมกาเนิด การใชถ้ งุ ยางอนามยั เป็นต้น 4. การคุมกาเนิดที่มีประสิทธิภาพต่า คือการคุมกาเนิดโดยวิธีธรรมชาติ เช่น การนับระยะ ปลอดภัยหน้าเจ็ดหลังเจ็ด การหลั่งข้างนอก การใช้การสวนล้างช่องคลอดหลังมีเพศสัมพันธ์ หรือ การเลอื กใช้อุปกรณ์ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพต่า เชน่ ยาคุมกาเนิดฉกุ เฉนิ เปน็ ตน้ 5. การเลือกวิธีการคุมกาเนิด เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของคู่ท่ีตัดสินใจจะมีเพศสัมพันธ์ ไม่ใช่เป็นภาระฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง และต้องพิจารณาว่าวิธีการคุมกาเนิดนั้นมีผลกระทบหรือผลข้างเคียง ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กบั สุขภาพจากการใช้หรือไมแ่ ละมปี ระสทิ ธิภาพในการคุมกาเนิดมากพอหรือไม่ 6. ถงุ ยางอนามัยเป็นวิธีการคุมกาเนิดชนิดเดียวที่สามารถป้องกันได้ท้ังการต้ังครรภ์และโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ และการติดเชื้อเอชไอวี รวมท้ังการเกิดมะเร็งปากมดลูก และไม่มีผลข้างเคียงท่ีเกิดขึ้นกับ ทัง้ ชายและหญิง หมายเหตุ : ให้ผู้จัดการเรียนรู้ศกึ ษาใบความรู้ท่ี 1 หรือจากแหล่งความรู้อ่ืนทีเ่ กย่ี วข้องกับเนื้อหา วัตถุประสงค์ 149

ใบคาถามกิจกรรม “ซองคาถาม” 1. การสวนล้างชอ่ งคลอดทันทีหลงั ร่วมเพศ สามารถปอ้ งกนั การต้งั ครรภ์ได้  ใช่  ไม่ใช่ 2. การมีเพศสมั พันธ์แบบหลั่งภายนอกเป็นวธิ กี ารปอ้ งกนั การตั้งครรภ์ทไ่ี ดผ้ ล  ใช่  ไม่ใช่ 3. ยาคมุ กาเนิดฉุกเฉนิ ให้กนิ ทนั ทหี ลังรว่ มเพศทกุ คร้ัง จงึ จะได้ผล  ใช่  ไมใ่ ช่ 4. การใสถ่ งุ ยางอนามัย 2 ช้ันจะช่วยใหป้ ลอดภยั มากขึ้น  ใช่  ไม่ใช่ 5. หากใช้การนบั ระยะปลอดภยั ถ้าประจาเดือนมาวันที่ 11 และหมดวันที่ 16 ถา้ มีเพศสัมพนั ธ์ วนั ที่ 21 จะมโี อกาสตัง้ ทอ้ งหรอื ไม่  ใช่  ไมใ่ ช่ 6. การมีเพศสมั พันธโ์ ดยไมป่ ้องกัน ผูห้ ญงิ มีโอกาสเสยี่ งต่อการตดิ เชื้อเอชไอวีมากกวา่ ผ้ชู าย  ใช่  ไม่ใช่ 7. เมื่อตัดสนิ ใจเลอื กวิธีกินยาเม็ดคมุ กาเนิด จะเรมิ่ กนิ เมด็ แรกเมือ่ นึกไดใ้ ชห่ รอื ไม่  ใช่  ไม่ใช่ 8. หากลืมกนิ ยาเม็ดคมุ กาเนิด 1 วัน ใหเ้ ริ่มตน้ กินยาแผงใหม่เลยทนั ทีใชห่ รอื ไม่  ใช่  ไม่ใช่ 9. การทาหมนั ทาใหผ้ ู้หญิงมีความต้องการทางเพศมากยิ่งขึ้น และทาให้ผ้ชู ายมีความต้องการ ทางเพศน้อยลง  ใช่  ไมใ่ ช่ 10. ผชู้ ายควรเปน็ ฝ่ายรบั ผดิ ชอบเร่ืองการใชถ้ ุงยางอนามยั และผู้หญงิ ควรเป็นฝ่ายรับผดิ ชอบ เร่ืองการใชย้ าคมุ กาเนิด  ใช่  ไม่ใช่ 11. เราสามารถมีเพศสมั พันธ์ไปกอ่ น แลว้ ค่อยใส่ถุงยางอนามัยตอนใกลจ้ ะหลั่งน้าอสุจิ ก็สามารถ ชว่ ยปอ้ งกนั ทอ้ งได้ใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด  ใช่  ไม่ใช่ 12. หากตอ้ งการให้การใช้ถงุ ยางอนามัยมกี ารหล่อล่ืนมากขึน้ สามารถใชโ้ ลช่นั เพม่ิ การหลอ่ ล่นื ได้  ใช่  ไมใ่ ช่ 13. หากผลการตรวจเชอ้ื เอชไอวีเป็น “ลบ” หมายความวา่ ไม่ติดเช้ือ จงึ ไม่จาเปน็ ตอ้ งใช้ถงุ ยางอนามยั เมือ่ มเี พศสัมพนั ธ์  ใช่  ไม่ใช่ 150

แนวการตอบคาถามสาหรบั ผูจ้ ัดการเรียนรู้ ข้อท่ี 1 ถาม : การสวนล้างช่องคลอดทันทีหลังมีเพศสัมพันธ์สามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้ ใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ : ไม่ใช่ เพราะ เมื่อผู้ชายสอดใส่อวัยวะเพศเข้าไปหลั่งในช่องคลอดของผู้หญิงนั้น อสุจิจะเกาะติดกับเยื่อบุคอมดลูกและผนังช่องคลอดทันที การสวนล้างช่องคลอดหลังจากมีเพศสัมพันธ์ จึงไม่มีผลในการป้องกันการตั้งครรภ์ หรือการป้องกันการติดเช้ือเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น ๆ นอกจากน้ี สารเคมีท่ีใช้อาจทาให้เกิดอาการระคายเคืองเย่ือบุช่องคลอดด้วย เพราะน้ายาจะทาลายสาร ทค่ี อยปอ้ งกนั เชอื้ โรคในช่องคลอด ซึง่ รา่ งกายสรา้ งข้นึ มาตามธรรมชาตอิ ยู่แล้ว ข้อที่ 2 ถาม : การมเี พศสมั พันธ์แบบหลัง่ ภายนอกเปน็ วธิ ีการปอ้ งกนั การต้ังครรภ์ที่ไดผ้ ล ตอบ : ไม่ใช่ เพราะ การมีเพศสัมพันธ์แบบหล่ังภายนอกไม่สามารถป้องกันการตั้งครรภไ์ ด้ เพราะฝา่ ยชายจะมีนา้ คัดหล่ังจานวนหนึ่งออกมาก่อนระหว่างที่มีเพศสมั พันธ์ ซงึ่ ในน้าคัดหล่ังนนั้ อาจมีอสุจิ ปะปนออกมาด้วย หากตัวอสุจิสามารถแหวกว่ายไปผสมกับไข่ของผู้หญิง ก็จะทาให้เกิดโอกาสตั้งครรภ์ได้ กอ่ นทีฝ่ า่ ยชายจะหล่งั น้าอสุจิ ฝ่ายชายจะถอนอวัยวะเพศได้ยากเมื่อใกล้ถึงจุดสุดยอด เพราะเป็นช่วงท่ีมีความตื่นตัว ทางเพศสงู จนอาจลืมตวั หรือไม่สามารถควบคุมร่างกายได้ หากคนใดคนหนึ่งมีเช้ือเอชไอวีหรือเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อยใู่ นร่างกาย การสัมผัส นา้ คดั หลัง่ ของกนั และกันระหว่างการสอดใส่ก็มีโอกาสทาให้อีกฝา่ ยหนงึ่ ตดิ เช้ือได้ ข้อท่ี 3 ถาม : ยาคุมกาเนิดฉกุ เฉินให้กนิ ทันทีหลงั มเี พศสมั พันธท์ ุกครัง้ จงึ จะไดผ้ ล ใชห่ รือไม่ ตอบ : ไม่ใช่ เพราะ ยาคุมฉุกเฉินจะต้องกิน 2 เม็ด คือ กินเม็ดแรกทันทีหรือไม่เกิน 72 ช่ัวโมงหลังมีเพศสัมพันธ์ (ยิ่งกินเม็ดแรกเร็วเท่าไร ประสิทธิภาพในการป้องกันการต้ังครรภ์ย่ิงได้ผลดี) แล้วกินเม็ดท่ีสองหลังจากเม็ดแรก 12 ชั่วโมง (ถ้ามีเพศสัมพันธ์หลายคร้ังติดกันให้กินยาเม็ดแรกหลังการมี เพศสมั พนั ธ์ครั้งสดุ ท้าย) หากกินถกู วธิ ีแบบน้ี จะสามารถป้องกนั การตัง้ ครรภ์ได้ประมาณ 85% ไม่ควรกินยานี้เกิน 4 เม็ดต่อเดือน เพราะมีปริมาณฮอร์โมนท่ีสูงมากอาจส่งผลเสียต่อ สุขภาพผหู้ ญิงในระยะยาวได้ ยาน้ีควรใช้ในกรณีฉุกเฉินเทา่ น้นั ไม่ควรกินเพื่อการวางแผนคุมกาเนดิ ท่วั ไป ยาคุมกาเนิดฉุกเฉินท่ีมีจาหน่ายในประเทศไทยมี 2 ยี่ห้อ คือ โพสตินอร์ (Postinor) และ มาดอนนา (Madonna) ขอ้ ที่ 4 ถาม : การใสถ่ ุงยางอนามัย 2 ชนั้ จะช่วยให้ปลอดภยั มากขน้ึ ใช่หรือไม่ ตอบ : ไม่ใช่ เพราะ การใส่ถุงยางอนามัยสองช้ันทาให้เน้ือยางเสียดสีกันมากข้ึน อาจทาให้ เกิดการแตกได้ ดังนั้นใส่ถุงยางอนามัยเพียงชั้นเดียวก็เพียงพอต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ และป้องกัน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ในขณะเดียวกัน การสวมถุงยางอนามัยช้ันเดียวจะทาให้ไม่รู้สึกอึดอัด และไม่สิ้นเปลืองเงินมากขึ้น การใช้ถุงยางอนามัยเพียงชั้นเดียว หากสามารถใช้ได้ทุกครั้งกับทุกคน ก็สามารถทาใหช้ วี ติ ทางเพศปลอดภัยไดอ้ ยา่ งม่ันใจ 151

ข้อท่ี 5 ถาม : หากใช้การนับระยะปลอดภัย ถ้าประจาเดือนมาวันท่ี 11 และหมดวันท่ี 16 ถ้ามี เพศสัมพนั ธว์ ันท่ี 21 จะมโี อกาสต้งั ทอ้ งหรอื ไม่ ตอบ : ใช่ เพราะ การนับระยะปลอดภัย หรือนับหน้า 7 หลัง 7 ท่ีถูกต้อง คือ ให้นับวันแรก ของการมีประจาเดอื น เป็นวนั ท่ี 1 ของการนบั ท้ังหนา้ เจด็ และหลงั เจ็ด (เช่น วนั แรกที่มีประจาเดอื นคอื วันท่ี 11) หน้าเจ็ด ให้นับย้อนข้ึนไปจากวันแรกท่ีมีประจาเดือน อีก 6 วัน (หน้า 7 คือ วันท่ี 5 - 11) และ หลงั เจ็ด ใหน้ ับตั้งแต่วนั แรกทม่ี ปี ระจาเดือนและนับต่อไปอกี 6 วัน (หลัง 7 คือวันท่ี 11 - 17) ตวั อย่าง การนับระยะปลอดภยั (หน้าเจด็ หลังเจด็ ) วนั แรกที่มีประจำเดือน 7 14 1234 56 21 8 9 10 11 12 13 28 15 16 17 18 19 20 22 23 24 25 26 27 29 30 31 ดังนั้น หากมีเพศสัมพันธ์ในวันที่ 21 จะมีโอกาสตั้งท้อง เนื่องจากเป็นช่วงเวลาไข่สุก ในรอบเดือนตอ่ ไปพอดี ระยะไข่สกุ นับตัง้ แตว่ ันทมี่ ีประจาเดอื นวนั แรกไป 14 วัน (+ - 2 วัน) ช่วงเวลาไข่สุก จึงอยูร่ ะหวา่ งวนั ที่ 11 – 24 วิธีนับหน้า 7 หลัง 7 เหมาะสาหรับคนท่ีมีรอบเดือนมาสม่าเสม อเท่านั้น และวิธีน้ี ไม่ช่วยปอ้ งกันโรคติดตอ่ ทางเพศสัมพนั ธแ์ ละการตดิ เช้ือเอชไอวี กรณีที่มักจะนับผิด คือ หลังเจ็ด จะนับจากวันที่หมดประจาเดือนไปอีก 7 วัน ซึ่งทาให้ มโี อกาสเสยี่ งตอ่ การตง้ั ครรภ์ เนอ่ื งจากจะตกอยูใ่ นช่วงไขต่ ก ข้อท่ี 6 ถาม : การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน ผู้หญิงมีโอกาสเส่ียงต่อการติดเช้ือเอชไอวี มากกวา่ ผชู้ าย ใชห่ รอื ไม่ ตอบ : ใช่ เพราะ โดยสรีระแล้ว อวัยวะเพศผู้หญิงมีพื้นท่ีในการสัมผัสเชื้อเอชไอวีมากกว่า อวัยวะเพศผู้ชาย คอื สรรี ะผู้ชายจะสัมผัสกบั เชื้อเอชไอวจี ากน้าในช่องคลอดของผู้หญงิ เฉพาะทีบ่ รเิ วณปลาย อวัยวะเพศที่เป็นหนังอ่อนและรูท่อปัสสาวะ แต่ในขณะที่อวัยวะเพศผู้หญิงจะสัมผัสเช้ือเอชไอวีจากการ ทผ่ี ู้ชายหลั่งน้าอสุจิเข้าไปในช่องคลอด เชื้อเอชไอวีจะไหลเข้าไปจับอยู่ตามเย่ือบุอ่อน ๆ ภายในช่องคลอด และเยื่อบุมดลูก นับเป็นช่องทางให้เชื้อเอชไอวีในน้าอสุจิซึมผ่านได้ง่ายกว่า อย่างไรก็ดีไม่ว่าหญิงหรือชาย หากมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกันกับคนท่ีเราไม่รู้ว่ามีเชื้อเอชไอวีหรือไม่ ก็ทาให้มีความเส่ียงต่อการรับเชื้อได้ เหมือนกนั ดังนนั้ จึงควรใชถ้ งุ ยางอนามัยในการมเี พศสัมพันธท์ ุกคร้งั กับทุกคน เพอ่ื ความมน่ั ใจและปลอดภยั 152

ข้อท่ี 7 ถาม : เมอ่ื ตัดสนิ ใจเลือกวธิ กี นิ ยาเม็ดคุมกาเนิด จะเริม่ กนิ เมด็ แรกเมื่อนกึ ได้ ใชห่ รอื ไม่ ตอบ : ไม่ใช่ เพราะ การกินยาเม็ดคุมกาเนิดเม็ดแรกต้องกินภายในวันที่ 1 – 5 ของการ มีประจาเดือน สาหรบั ยาคุมชนิดแผง 28 เม็ด เมื่อหมดยาแผงแรกให้กินแผงต่อไปได้เลย ส่วนยาคุมแบบ 21 เม็ด ให้เวน้ 7 วนั แล้วคอ่ ยเร่ิมกินแผงตอ่ ไป ขอ้ มูลเพ่ิมเติมเร่ืองยาเม็ดคมุ กาเนดิ - ถา้ ลมื กินยา 1 คร้ัง ยังไม่ต้องเริม่ กินยาแผงใหม่ แต่ให้กินยาคมุ เม็ดนัน้ ทันทีท่ีนึกได้ในวันนั้น และกนิ ยาเมด็ ตอ่ ไปตามเวลาปกติ (หมายถงึ กิน 2 เมด็ ในวนั ที่นกึ ได)้ - ถา้ ลืมกินยา 2 วัน ให้กินยาวันละ 2 เมด็ ตดิ ต่อกัน 2 วัน (2 เม็ดในวันที่สาม และอีกสองเม็ด ในวันท่ี 4) จากนัน้ กนิ ยาเม็ดต่อไปจนหมดแผง - แต่ถ้าลืมกินเกิน 2 วัน ให้หยุดยาแผงนั้นทันที และเลือกใช้วิธีการคุมกาเนิดวิธีอ่ืนไปก่อน เชน่ ใชถ้ งุ ยางอนามัยแล้วจงึ เรมิ่ กินยาคุมแผงใหมภ่ ายใน 5 วันแรกของการมีประจาเดือนในรอบเดือนถัดไป - ในสองสัปดาห์แรกของการเริ่มกินยาเม็ดคุมกาเนิด ต้องใช้ถุงยางอนามัยควบคู่ไปด้วย เพราะยายงั ไมม่ ีประสทิ ธิภาพเต็มทใี่ นการป้องกันการต้ังครรภ์ - ยาเมด็ คมุ กาเนิดไมส่ ามารถป้องกนั การตดิ เชอ้ื เอชไอวแี ละเชอื้ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธไ์ ด้ ขอ้ ที่ 8 ถาม : หากลมื กินยาเมด็ คุมกาเนดิ 1 วนั ให้เริม่ ต้นกินยาแผงใหม่เลยทันที ใชห่ รือไม่ ตอบ : ไม่ใช่ เพราะ ถ้าลืมกินยา 1 วัน ให้กินทันทีท่ีนึกได้ในวันนั้น และกินยาเม็ดลาดับ ต่อไปตามปกติ (คือ กิน 2 เม็ดในวันท่ีนึกได้) ถ้าลืมกินยา 2 วัน ให้กิน 2 เม็ดในวันท่ีสาม และอีก 2 เม็ดใน วันที่ส่ี หากลืมกินยาเกิน 2 วนั ควรหยุดกินยาคมุ แผงนนั้ และเลอื กวธิ คี ุมกาเนิดชนดิ อ่ืน ๆ ไปกอ่ น เช่น ใช้ถงุ ยาง อนามยั แล้วจึงเรมิ่ กินแผงใหม่ในวันแรกหรอื ภายใน 5 วนั ของการมีประจาเดือนคร้งั ต่อไป วธิ กี ารกินยาเมด็ คมุ กาเนิด กินเม็ดแรกภายใน 5 วันของการมีประจาเดือน คือ ตั้งแต่วันแรก หรือวันท่ี 2, 3, 4 หรือ 5 ท่ีมีประจาเดือน จากน้ัน กินติดต่อกันทุกวัน วันละ 1 เม็ด จนหมดแผง สาหรับแผงต่อไป ถ้าเป็นยาคุมแบบ 21 เม็ด ให้เว้นไป 7 วัน หรือเมื่อประจาเดือนมาวันแรกของเดือนถัดไป ส่วนยาคุมแบบ 28 เม็ด ให้กินแผงใหม่ ตดิ ตอ่ ไปไดเ้ ลย ข้อที่ 9 ถาม : การทาหมันทาให้ผู้หญิงมีความต้องการทางเพศมากยิ่งขึ้น และทาให้ผู้ชายมีความ ตอ้ งการทางเพศน้อยลง ใชห่ รือไม่ ตอบ : ไมใ่ ช่ เพราะ การทาหมันเป็นเพยี งการผูกหรือตดั ทอ่ ทางเดนิ ของเซลล์เพศ เพ่ือไมใ่ ห้ ออกมาผสมกับเซลล์เพศของเพศตรงข้าม ไม่ได้ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ โดยคนที่ทาหมันแล้วจะปกติ ทุกอย่าง นอกจากบางคนซ่ึงมีความเช่ือหรือความเข้าใจผิด โดยได้รับคาบอกเล่าที่ผิดมาก่อนทาให้หวาดกลัว หรือกังวลใจ อาจจะทาให้ความรู้สึกเปล่ียนแปลงได้ในช่ัวระยะเวลาหน่ึง ซึ่งเป็นเรื่องของจิตใจท่ีมีผลกระทบ ตอ่ รา่ งกาย 153

ข้อท่ี 10 ถาม : ผู้ชายควรเป็นฝ่ายรับผิดชอบเร่ืองการใช้ถุงยางอนามัย และผู้หญิงควรเป็นฝ่าย รบั ผิดชอบเรอ่ื งการใช้ยาคุมกาเนิด ใช่หรอื ไม่ ตอบ : ไม่ใช่ เพราะ การมีเพศสัมพันธ์เป็นเรื่องระหว่างสองคน ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ที่ตัดสินใจจะมีเพศสัมพันธ์กัน ควรต้องร่วมรับผิดชอบด้วยกัน หากไม่อยากให้มีผลกระทบใด ๆ ตามมา การตัดสินใจเลือกวิธีการมีเพศสัมพันธ์ท่ีปลอดภัย ควรคานึงถึงทั้งเร่ืองการป้องกันการต้ังครรภ์ และการ ป้องกันโรค ซึ่ง “ถุงยางอนามัย” เป็นอุปกรณ์คุมกาเนิดเพียงชนิดเดียวที่สามารถป้องกันการตั้งครรภ์ และปอ้ งกนั โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธ์รวมถึงเชอ้ื เอชไอวีดว้ ย ข้อท่ี 11 ถาม : เราสามารถมีเพศสมั พันธไ์ ปก่อน แลว้ ค่อยใส่ถุงยางอนามัยตอนใกล้จะหลง่ั น้าอสุจิ กส็ ามารถช่วยปอ้ งกันการท้องได้ ใชห่ รือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ : ไม่ใช่ เพราะ การสวมถุงยางอนามัยในเวลาที่ใกล้หลั่งนั้นไม่สามารถป้องกัน การต้ังครรภ์ได้เช่นเดียวกับการหล่ังภายนอก เพราะมีการสอดใส่และสัมผัสนา้ คัดหล่ังของฝ่ายชายแล้ว จงึ ควรสวมถุงยางอนามยั ก่อนจะสอดใส่ การสวมถุงยางอนามัยให้ถูกวธิ ี ควรบีบปลายถุงยางเพื่อไล่อากาศออกก่อน แล้วค่อย ๆ สวม จากน้ัน รูดถุงยางอนามัยให้สุด โคนอวัยวะเพศ หากไม่บีบปลายถุงยางก่อนสวม อาจทาให้ถุงยางแตกได้ เมื่อใช้งานเสร็จแล้ว ให้ถอด ถุงยางออกขณะที่อวัยวะเพศยังแข็งตัว โดยขณะถอด ให้จับที่ขอบถุงยาง แล้วค่อย ๆ รูดลง หากถุงยาง แตกหรอื ล่ืนหลุดระหว่างใช้งาน ตอ้ งเปลยี่ นสวมอันใหม่ทันที และทง้ิ ถุงยางอนามยั ทใี่ ช้แล้วลงในถังขยะ การคุมกาเนิด โดยใช้ยาเม็ดคุมกาเนิดชนิดแผง ยาคุมฉุกเฉิน เป็นวิธีการที่ฝ่ายหญิงเป็นผู้รับผดิ ชอบใช้ เพอ่ื ปรับฮอรโ์ มนในรา่ งกาย แต่วิธีดังกล่าวสามารถปอ้ งกนั การต้ังครรภ์เท่านน้ั ไมส่ ามารถป้องกนั การตดิ เช้ือ เอชไอวีและเชื้อโรคท่ีทาให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีเพียงการใช้ถุงยางอนามัยท่ีสามารถป้องกันได้ ทั้งการต้ังครรภ์และการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมท้ังการติดเชื้อเอชไอวี และเป็นอุปกรณ์คุมกาเนิด ประเภทเดียวทีส่ ่งผลกระทบตอ่ ร่างกายน้อยทส่ี ดุ ข้อท่ี 12 ถาม : หากต้องการให้การใช้ถุงยางอนามัยมีการหล่อล่ืนมากขึ้น สามารถใช้โลช่ันเพ่ิม การหล่อล่ืนได้ ใชห่ รอื ไม่ ตอบ : ไม่ใช่ เพราะ ถุงยางอนามัยทาจากยางพารา ซ่ึงจะไวต่อการรั่วซึม หรือแตกได้ง่าย หากสัมผัสกับสารที่มีส่วนผสมของน้ามันหรือโลช่ันต่าง ๆ เช่น โลช่ันทาผม ทาผิว เป็นต้น ทั้งนี้ในถุงยาง อนามัยจะมีสารหล่อลื่น ซ่ึงเป็นสารที่มีส่วนผสมของน้าที่ช่วยให้การหล่อล่ืนอยู่แล้ว หากรู้สึกว่ายังหล่อล่ืน ไม่พอ สามารถซือ้ เจลหล่อล่นื ท่มี ีสว่ นผสมของนา้ ไดต้ ามรา้ นขายยาทวั่ ไป 154

ข้อที่ 13 ถาม : หากผลการตรวจเช้ือเอชไอวีเป็นผลลบ หมายความว่าไม่ติดเชื้อเอชไอวี จึงไม่ จาเปน็ ต้องใชถ้ ุงยางอนามัยเมอื่ มเี พศสัมพนั ธ์ ใช่หรือไม่ ตอบ : ไม่ใช่ เพราะ ผลเลือดของคู่ที่นามาให้ดูน้ัน เป็นผลของอดีตเมื่อ 3 เดือน ไม่ใช่ผล เลือดปัจจุบันและอนาคต ดังนน้ั หากในช่วงสามเดือนท่ีผ่านมา คู่ไปมเี พศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน ก็อาจทาให้ เรามีโอกาสเสี่ยงได้เช่นกัน นอกจากน้ัน ผลเลือดเป็นลบ อาจหมายถึง ไม่มีเชื้อหรือมีเชื้อแต่ยังตรวจไม่พบ เพราะ อยู่ในระยะเลือดแฝง (window period) 3 เดือนแรกหลังรับเช้ือ ดังนั้น หากต้องการความมั่นใจ ควรพูดคุย กันให้เข้าใจเรื่อง “ความหมายของการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี และความหมายของผลเลือด” และควร วางแผนร่วมกันว่าจะใช้ชีวิตทางเพศด้วยกันอย่างไร ให้ปลอดภัยจากการติดเช้ือเอชไอวี เช่น การใช้ถุงยาง อนามยั ทุกครง้ั ทม่ี เี พศสัมพนั ธ์กบั ทุกคน เป็นต้น หมายเหตุ : ผจู้ ดั การเรยี นรคู้ วรหาข้อมลู แหล่งบริการในพ้นื ทีห่ รือพน้ื ทีใ่ กล้เคยี ง เพ่ือเปน็ แหลง่ ขอ้ มูล หากผเู้ รียนขอคาแนะนา 155



กิจกรรมท่ี 17 แลกน้า สาระสาคัญ การติดเชื้อเอชไอวีมีโอกาสเกิดขึ้นได้กับทุกคนรวมทั้งวัยรุ่น หากมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน (ไม่ใช้ถุงยางอนามัย) กับคนท่ีมีเชื้อเอชไอวี ซ่ึงไม่สามารถบอกได้ว่ามีเช้ือหรือไม่จากการดูรูปลักษณ์ ภายนอก การไม่มีเพศสัมพันธ์เป็นวิธีท่ีดีท่ีสุดที่จะทาให้ไม่ได้รับเช้ือเอชไอวี แต่หากมีเพศสัมพันธ์ ถุงยาง อนามัยเป็นอปุ กรณค์ ุมกาเนดิ ชนดิ เดียวที่ใช้ป้องกันการติดเช้ือเอชไอวีได้ จุดประสงค์ เพื่อให้ผ้เู รียน 1. สามารถระบุโอกาสเส่ียงของตนต่อการได้รับเชื้อเอชไอวี 2. สามารถบอกวธิ ีป้องกันการติดเชอื้ เอชไอวีทีต่ นเองมัน่ ใจว่าทาได้ เนือ้ หา 1. ความเขา้ ใจเรอ่ื งการระบาดของเอชไอวผี ่านเครือขา่ ยการมเี พศสมั พนั ธ์ 2. โอกาสเสยี่ งในการรับเชอ้ื เอชไอวีในวถิ ชี วี ิตทางเพศ 3. การป้องกนั โอกาสเสย่ี งตอ่ การรับเชอ้ื เอชไอวจี ากการมเี พศสัมพันธ์ ภาพรวมการจัดกิจกรรม ผู้จัดการเรียนรู้จัดกิจกรรมที่แสดงให้เห็นถึงความเส่ียง และโอกาสการรับเช้ือเอชไอวี โดยจาลอง สถานการณก์ ารมเี พศสัมพนั ธผ์ ่าน “กระบวนการแลกนา้ ” ส่ือและอปุ กรณ์ 1. ภาพประกอบ “เครือข่ายการมเี พศสัมพันธ์” 2. ชดุ กิจกรรมแลกนา้ ได้แก่  สารโซเดยี มไฮดรอกไซด์  นา้ เปลา่  ขวดใสน่ ้าจานวนสองเท่าของผเู้ รียน  กระบอกฉีดยาเทา่ จานวนผู้เรยี นและสาหรบั ตรวจหาเชอื้ อกี 1-2 ชิน้  สารละลายฟีนอฟทาลนี  ถาดสาหรับใสข่ วดนา้ ไวแ้ จก หรอื โตะ๊ สาหรบั ต้ังขวดน้าใหผ้ เู้ รยี นมาหยบิ ข้นั ตอนเตรียมอปุ กรณ์ ดังนี้ 1. ใส่สารโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ผสมแลว้ ในขวดแก้วใส 1 ใบ (ปริมาณประมาณคร่งึ ขวด) 2. ใส่น้าเปล่าลงในขวดทเี่ หลือทกุ ใบ ใหไ้ ดป้ ระมาณครง่ึ ขวด 3. แยกขวดที่ใส่น้าเปล่าไว้ 6 ใบ และนาขวดท่ีใส่สารโซเดียมไฮดรอกไซด์วางปนกับขวดที่เหลือ ในถาดทจี่ ดั เตรยี มไว้ 4. นากระบอกฉดี ยาใสไ่ ว้ในแตล่ ะขวด 5. เตรียมขวดแก้วเปล่าอีกชุดหน่ึงเทา่ จานวนผู้เรยี น วางเรียงไว้เพื่อให้แต่ละคนหยดน้าของตัวเอง เกบ็ ไว้ โดยแยกเป็น 2 ชดุ ชดุ 6 ขวด กับชดุ ทีเ่ หลือท้ังหมด 157

ขั้นตอนการจดั กิจกรรม 1. ผู้จัดการเรียนรู้ช้ีแจงว่ากิจกรรม “แลกน้า” เป็นกิจกรรมเพ่ือศึกษาการแพร่ระบาดและโอกาส เสี่ยงต่อการไดร้ ับเชอื้ เอชไอวี 2. ขออาสาสมัคร 6 คน แจกขวดน้าท่ีแยกไว้ 6 ขวด ให้อาสาสมัครถือไว้คนละ 1 ขวด ให้อาสาสมัครดูดน้าจากขวดของตัวเองประมาณคร่ึงกระบอกฉีดยาไปฉีดเก็บไว้ในขวดเปล่าคนละ 1 ขวด แยกขวดน้าชุดที่สองของอาสาสมัครไว้ต่างหาก ให้อาสาสมัครนั่งรวมกันที่ด้านหนึ่งของห้อง และย้าว่า ไมต่ ้องทาอะไรกบั ขวดนา้ ท่ีถอื อยู่ 3. แจกขวดบรรจุน้าที่เหลือใหก้ ับผู้เรยี นทีเ่ หลือทกุ คน คนละ 1 ขวด 4. เม่ือทุกคนได้ขวดน้าแล้ว ผู้จัดการเรียนรบู้ อกให้ผู้เรียนทุกคน และอาสาสมัครสังเกตน้าในขวด ของตัวเองวา่ “เหมอื น” หรือ “แตกต่าง” จากของเพอื่ นหรอื ไม่ อยา่ งไร 5. จากน้ันให้ดดู น้าในขวดของตนเองประมาณครึ่งกระบอกฉีดยาไปเกบ็ ไว้ในขวดเปล่า 1 คนต่อ 1 ขวด โดยระวังอย่าฉีดใส่ในขวดทีเ่ พอ่ื นฉีดไวแ้ ลว้ 6. เมื่อทุกคนเก็บน้าใส่ขวดเปล่าแยกไว้แล้ว ผู้จัดการเรียนรู้ให้ทุกคน ยกเว้นอาสาสมัคร มายืนล้อมวงกัน ให้ฝึกใช้กระบอกฉีดยาดูดน้าในขวดของตนให้คุ้นเคย สาหรับอาสาสมัครให้ยืน สังเกตการณอ์ ยูว่ งนอกยังไมต่ ้องรว่ มเล่น 7. ชี้แจงการเล่นกิจกรรมทีละขั้นตอน โดยย้ากับผู้เรียนว่า ขอให้ฟังคาสั่งให้ชัดเจนและทาตาม ทลี ะขนั้ ตอน ดังนี้ รอบท่ี 1 ให้ผู้เรียนมองไปรอบ ๆ วง และเลือกจับคกู่ ับใครก็ได้ในวง ให้ยนื เป็นคู่ และผู้จดั การ เรียนรู้ตรวจสอบว่า ทุกคนมีคู่ครบแล้ว จากน้ันให้แต่ละคนดูดน้าในขวดของตัวเองประมาณครึ่งกระบอก แล้วฉีดใส่ลงไปในขวดของคู่ สลับกัน แล้วใช้กระบอกฉีดยาคนน้าในขวดของตัวเอง และบอกให้ผู้เรียน สังเกตดูว่า นา้ ในขวดเปลีย่ นแปลงไปหรือไม่ รอบท่ี 2 – 4 ให้ทุกคนจับค่กู ันใหม่ โดยแต่ละรอบต้องเปลี่ยนคู่ไมใ่ ห้ซ้ากับคนเดิมทีเ่ คยแลกน้า กันแล้ว โดยในแต่ละรอบผู้จัดการเรียนรู้ต้องขอให้ทุกคนจับคู่ก่อน เพื่อให้แน่ใจว่าทุกคนมีคู่ท่ียังไม่เคย แลกน้ากัน แล้วค่อยสั่งให้แลกน้ากัน (หรือทาเหมือนรอบที่ 1) ผู้จัดการเรียนรู้ถามทุกรอบว่าน้าในแก้ว มกี ารเปลี่ยนแปลงหรือไม่ รอบที่ 5 ให้อาสาสมัครท้ัง 6 คน เข้ามาร่วมเล่นด้วย โดยให้อาสาสมัครเลือกจับคู่กับใครกไ็ ด้ ในวง แต่ห้ามอาสาสมัครจับคู่กันเอง เมื่ออาสาสมัครจับคู่ได้แล้ว ให้คนท่ีเหลือจับคู่กันเอง จะเป็นคนใหม่ หรือคนที่เคยแลกกันแล้วก็ได้ เม่ือทุกคนได้คู่ครบแล้ว ให้แลกน้ากัน จากน้ันให้ทุกคนกลับนั่งท่ี โดยนา ขวดวางไว้หน้าตัวเอง 8. ผจู้ ัดการเรยี นรูต้ ้ังคาถามชวนคยุ เพอื่ เปรยี บเทยี บกิจกรรมแลกน้ากับการมีเพศสัมพนั ธ์  หากเปรยี บเทียบกจิ กรรม “แลกน้า” กับเร่อื งเอดส์ การแลกนา้ อาจเปรียบเทียบได้กับอะไร (การจาลองภาพการมเี พศสมั พันธ์กัน)  จากการ “แลกน้า” ทที่ ุกคนมีสว่ นร่วม เราเห็นรูปแบบการมีเพศสัมพันธ์แบบใดบ้าง (มีเพศสัมพันธ์กับคนหลายคน มีการเปลี่ยนคู่ มีคู่หลายคน มีคู่คนเดียว มีเพศสัมพันธ์ ครงั้ เดียว มแี บบไม่ปอ้ งกัน ฯลฯ) 158

 หากมีผู้ติดเช้ือในวงนี้ เรารู้หรือไม่ว่าเป็นใครบ้าง รู้ได้อย่างไร โดยเปรียบเทียบกับแก้วน้า ทท่ี ุกคนถอื อยู่ (เช่อื มโยงให้เหน็ เรื่องนา้ ใส ๆ ดไู ม่ออก เหมือนมเี ชอื้ เอชไอวีแต่ดูไม่ออก) 9. บอกผู้เรยี นว่า ในวงนม้ี ผี ู้ติดเชอ้ื อยู่ (แกว้ น้าท่ีมเี ชือ้ ) เราบอกได้หรอื ไม่ว่ามีใครบ้าง เพราะเหตุใด (ยงั ไม่ต้องเฉลยว่ามแี ก้วตง้ั ตน้ กแี่ ก้ว)  หากมคี นทม่ี ีเชื้ออยู่ในวงน้ี ใครทคี่ ิดวา่ ตวั เองอาจมีโอกาสเสีย่ งในการรับเช้ือบ้าง เพราะเหตใุ ด  เราจะร้ไู ด้อยา่ งไรว่า ใครมเี ชอ้ื เอชไอวี (วิธีเดียวที่จะร้ไู ด้ คือ การตรวจเลอื ดหาเชอ้ื เอชไอวี) 10. ถามความสมคั รใจวา่ ผู้เรียนคนใดอยากตรวจหาเชอื้ เอชไอวบี ้าง  ถ้ามีคนอยากตรวจ เลือก 1 คน และอธิบายว่า เม่ือใช้สารทดสอบหยดลงในแก้ว หาก นา้ เปลย่ี นสเี ป็นสมี ว่ ง หมายถึงแก้วน้นั ๆ มีเชื้อ จากนนั้ นาสารฟนี อฟทาลนี ไปหยดในขวดนา้ 11. เมื่อตรวจพบวา่ น้าของใครเปลย่ี นสีเปน็ ขวดแรก ให้ชวนเจา้ ของขวดพูดคุย  ถามเจา้ ของขวดว่ารู้สกึ อย่างไรทนี่ ้าของตัวเองเปลี่ยนสี คิดว่าเป็นเพราะเหตุใด หากมีการ ระบวุ ่าได้รบั เช้อื จากคนอน่ื ให้ลองบอกว่าเป็นใคร เพราะอะไร  จากน้ันถามกลมุ่ ว่า ถ้าขวดนเี้ ปลี่ยนสี ใครคิดวา่ ขวดของตวั เองจะเปล่ยี นดว้ ยให้ยนื ข้นึ  ถามต่อว่า เม่ือเห็นคนที่ยืนข้ึน ใครคิดว่าตนเองก็มีโอกาสเส่ียงอีกบ้าง ให้ยืนข้ึน ถามเหตผุ ล และถามตอ่ อีก 2 - 3 รอบให้เห็นวา่ คนสว่ นใหญใ่ นห้องยืนขึ้น  ชใี้ ห้เหน็ ว่า เราเพ่ิงรู้ว่า มีคน ๆ เดียวในห้องน้ที ่ีมีเชือ้ แต่มอี ีกหลายคนมากที่รูส้ ึกวา่ ตนเอง อาจมโี อกาสเส่ียงดว้ ย ถามผเู้ ข้ารว่ มว่าร้สู กึ หรือคดิ อย่างไรกับสถานการณ์ดงั กล่าว 12. ถามวา่ ใครอยากตรวจอีกบ้าง ลองตรวจ (โดยเมอ่ื เจอขวดที่เปลย่ี นสี อีก 2 - 3 ขวดลองถามว่า คิดว่าได้รับจากใคร? จากน้ันผู้จัดการเรียนรู้บอกว่า จะบังคับตรวจทุกคน ยกเว้นอาสาสมัคร 6 คน นบั จานวนขวดท่ีเปล่ยี นสี 13. สาหรับอาสาสมัคร ถามกลมุ่ วา่  อาสาสมคั รแลกนา้ กีค่ รง้ั เปรยี บเทียบไดก้ ับใคร/พฤติกรรมอะไรบ้างในสังคม (มเี พศสัมพันธค์ รั้งเดยี ว หรอื มีครัง้ แรก หรือมคี คู่ นเดียว หรอื รักเดยี วใจเดียว)  คิดว่าแกว้ ของอาสาสมคั ร มโี อกาสเปล่ยี นสหี รอื ไม่ เพราะเหตุใด  จากนน้ั ตรวจอาสาสมคั รและนับจานวนแก้วน้าทเ่ี ปล่ยี นสี 14. หากมแี กว้ น้าอาสาสมคั รเปลีย่ นสี ต้ังคาถามตอ่ วา่  การรกั เดียวใจเดียว มคี ู่คนเดยี ว ชว่ ยให้ปลอดภัยจากเอดส์จริงหรือไม่ ชวนผู้เรียนอภิปรายถึงสาเหตุทีท่ าให้การมเี พศสมั พันธค์ รง้ั เดยี วก็อาจตดิ เช้ือได้ 15. ผจู้ ัดการเรียนรู้เขียนแผน่ ใส เพ่ือให้เหน็ จานวนแก้วที่ติดเชื้อ จากจานวนแก้วกลมุ่ ใหญ่ทั้งหมด จากการแลก 5 ครง้ั และจานวนแกว้ อาสาสมัครทเ่ี ปลย่ี นสี ใน 6 แกว้ จากการแลกน้าเพียง 1 คร้ัง  โอกาสเสย่ี งของ 2 กลุม่ นเ้ี หมือนหรือต่างกนั อยา่ งไร 16. ถามผู้เรยี นวา่ จากจานวนแกว้ นา้ ที่เปลีย่ นสไี ปท้งั หมด คิดวา่ มีขวดตั้งตน้ กข่ี วด  จากน้ัน เฉลยโดยการนาสารฟีนอฟทาลีนมาหยดใส่ขวดที่เก็บน้าของแต่ละคนไว้ ในครัง้ แรกทกุ ขวด ซึ่งจะเห็นวา่ มเี พยี งขวดเดียวเทา่ น้ันทเ่ี ปลย่ี นสี 159

 อธิบายว่า กิจกรรมแลกน้าเป็นการจาลองการแพร่ระบาดของเช้ือเอชไอวี จาก 1 ขวด แลกกัน 5 ครัง้ ทาให้น้าเปล่ยี นสไี ปอกี ก่ีขวด ถามวา่ คิด/รู้สกึ อยา่ งไร กับสง่ิ ทีเ่ ห็นจากกิจกรรมนี้บา้ ง 17. ผู้จัดการเรียนรู้ชวนคุยสรุปการเรียนรู้จากกิจกรรม โดยให้ผู้เรียนช่วยกันสรุปว่า “โอกาส การตดิ เชอื้ เอชไอวี คอื ......” โดยผจู้ ดั การเรียนรูพ้ ยายามต้ังคาถามเพ่ือนาไปสู่คาตอบ (การมเี พศสมั พันธโ์ ดยไมป่ อ้ งกนั กับคนทม่ี ีเชื้อเอชไอวีซึ่งดไู ม่ออกจากภายนอก) ถามต่อวา่ ใครมีโอกาสทาพฤติกรรมแบบน้ีบ้าง ? (ทุกคน รวมทง้ั วัยรุน่ ดว้ ย) 18. ผู้จัดการเรียนรู้ชีใ้ ห้เห็นว่า โอกาสการไดร้ ับเชื้อเอชไอวีเป็นเร่ืองของ “พฤติกรรมเส่ียง” ซึ่งทุกคน มโี อกาสทาพฤติกรรมดังกล่าว ไม่ใช่ “กลุ่มเสี่ยง” ตามความเข้าใจเดิมว่า มีคนเพียงบางกลุ่มที่อาจมีโอกาส ได้รบั เชือ้ เช่น ผู้ขายบริการทางเพศ ผใู้ ชเ้ ข็มฉดี ยาเสพตดิ ร่วมกนั เปน็ ต้น 19. ต้ังประเด็นกับผู้เรียนว่า กิจกรรมน้ีเป็นการจาลองภาพการมีเพศสัมพันธ์ของคน 5 ครั้ง ซ่ึงมี โอกาสที่คนจะได้รับเช้ือเอชไอวีไปจานวนหน่ึงตามท่ีปรากฏ ถามว่าในชีวิตจริง แต่ละคนมีโอกาส มีเพศสมั พันธก์ ี่ครัง้ และกับคนมากกวา่ 1 คนหรือไม่  การเปลี่ยนคู่ หรือมีคู่นอนมากกว่า 1 คน เกิดขึ้นได้อย่างไรบ้าง มีโอกาสเกิดขึ้นในชีวิต เราหรอื ไม่ อย่างไร  เราจะบอกกับคู่ปัจจุบันเก่ียวกับคู่นอนในอดีตหรือไม่ เพราะเหตุใด สุ่มถามท้ังหญิงและชาย ตัง้ ขอ้ สงั เกตความแตกตา่ งของการเปดิ เผยประสบการณ์ทางเพศของหญิงชาย ใครบอกยากงา่ ยกวา่ กัน 20. ให้ผู้เรียนเสนอวิธีการป้องกัน โดยผู้จัดการเรียนรู้จดขึ้นบนกระดานหรือฟลิปชาร์ท จากนั้น ให้ผู้เรียนช่วยกันเรียงลาดับว่า วิธีการที่ “ง่าย-เป็นไปได้” ท่ีสุด และผู้จัดการเรียนรู้ช่วยซักถามถึงเหตุผล ความเป็นไปได้ถ้าอยู่ในสถานการณ์จริง รวมท้ังแก้ไขความเข้าใจผิดที่ผู้เรียนอาจมีเกี่ยวกับการป้องกัน การติดเชอื้ เอชไอวี การวัดและประเมินผล 1. สงั เกตการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม 2. การอภิปรายแลกเปล่ียน การซกั ถาม การโตต้ อบ ข้อเสนอแนะสาหรบั ผ้จู ัดการเรยี นรู้ 1. กิจกรรมนี้ต้องการห้องที่ผู้เรียนสามารถเดินไปมาได้สะดวก เพราะจะทาให้ประหยัดเวลา ควรจดั สถานทแ่ี ละเตรยี มอุปกรณ์ล่วงหนา้ ไว้เพื่อใหม้ เี วลาเหลือพอสาหรบั การอภิปรายสรุป 2. การล้างขวดที่ใชใ้ นแต่ละครั้ง ควรล้างให้สะอาดเพราะสารเคมีอาจตกค้าง ทาให้เกิดการเปลี่ยนสี กอ่ นจะถงึ การตรวจจริง 3. ไม่ควรมีการทาเคร่ืองหมายว่าขวดใดเป็นขวดที่มีสารต้ังต้น เพราะในความเป็นจริง ส่ิงที่เป็น ประเด็นสาคญั คือ เราไม่รูว้ ่าใครมีเชอื้ เอชไอวีบ้าง 4. ในขณะที่เล่นแลกน้าแต่ละรอบ ผู้จัดการเรียนรู้ต้องคอยสังเกตว่า ผู้เรียนทุกคนมีโอกาส แลกเปล่ียนคู่กันกับคนอื่น ๆ อย่างหลากหลาย ไม่เลือกจับกลุ่มหรือแลกน้าเฉพาะภายในกลุ่มของตนเอง ซ่ึงจะทาใหม้ โี อกาสรบั น้าจากคนอน่ื นอ้ ยลง หรือไมต่ ดิ เชอ้ื เชน่ แลกกันเองภายในกลมุ่ 5 - 6 คน 160

5. หากจานวนผู้เรียนมีน้อย สามารถลดจานวนรอบของการเล่นแลกน้าลงได้ เพ่ือไม่ให้น้าเปลี่ยนสี ทั้งหมด 6. อาจมีการล้อเลยี นระหว่างทากิจกรรมและพาดพิงไปถึงพฤติกรรมส่วนตัว จะทาให้ผู้ถกู ล้อเลียน เลีย่ งการแสดงความคดิ เหน็ หรือซักถาม ผจู้ ัดการเรยี นรคู้ วรกาหนดกตกิ ากอ่ นดาเนนิ กจิ กรรม 7. หากจานวนผู้เรียนเป็นเลขคู่ ให้ขออาสาสมัครเป็นเลขคู่ หากจานวนผู้เรียนเป็นเลขค่ี ก็ให้ขอ อาสาสมัครเป็นเลขค่ี (อาสาสมัครอยา่ งน้อย 6 คน ตอ่ จานวนผเู้ รยี น 30 คน) หมายเหตุ : กจิ กรรมแลกนา้ ควรดาเนินการก่อนกจิ กรรมประเมินความเสี่ยง (QQR) ข้อสรุปสาคัญจากการจดั กิจกรรม 1. โอกาสเสี่ยงต่อการติดเช้ือเอชไอวี เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่สวมถุงยางอนามัยกับผู้ติดเช้ือ ซึ่งดูไม่ออกจากรูปลักษณ์ภายนอก และปัจจุบันมีการคาดประมาณการว่า ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อเอชไอวี ในประเทศไทยมปี ระมาณ 600,000 คน และประมาณครึ่งหนง่ึ ยังไม่ทราบว่าตนเองติดเช้อื 2. แม้จะรู้ว่าเอชไอวีติดต่ออย่างไร และรู้ว่าถุงยางอนามัยป้องกันได้ แต่หลายคน ประเมิน ความเสย่ี งของตนเองและคู่ทม่ี เี พศสมั พันธ์ดว้ ยพลาด เพราะ  คิดว่าคู่ปลอดภัย โดยดจู ากคุณสมบัติภายนอก เช่น อายุน้อย หน้าตา นิสัยใจคอ การศึกษา ฯลฯ แตล่ ะเลยประวตั กิ ารมีเพศสัมพันธ์  เลือกใช้ถุงยางอนามัยในบางคนและบางสถานการณ์เท่านั้น ที่คิดว่าอาจจะไม่ปลอดภัย ตามความเชอ่ื ของตนเอง  ไม่กล้าพูดคุยเรื่องถุงยางอนามัยเพ่ือการป้องกัน เพราะกลัวว่าถุงยางจะเป็นสัญลักษณ์ของ ความไมไ่ วว้ างใจ หรอื ไมซ่ ่อื สตั ย์ต่อกัน  อาย ไมก่ ลา้ พูดเรือ่ งถงุ ยางอนามยั กบั แฟนก่อน  ม่ันใจตนเองว่าเป็นคนรักเดียวใจเดียว และเช่ือว่าคู่ตัวเองก็มีพฤติกรรมรักเดียวใจเดียว เหมอื นกนั  เชื่อมั่นในผลเลือดของตนเองหรือคู่นอนว่า เคยตรวจเลือดมาแล้วและผลเลือดเป็นลบ และ กค็ ดิ ว่าน่าจะเป็นลบตลอดไป ทงั้ ๆ ที่การตรวจเลือดคือการตรวจดูว่ามเี ชื้อเอชไอวหี รอื ไม่ในระยะเวลาหนึ่ง เท่านั้น ไม่ใช่ตลอดไป ข้ึนกับพฤติกรรมว่า จะมีโอกาสไปมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางมาอีกหรือไม่ ในขณะเดียวกัน ก็มีระยะเลือดแฝง (Window period) คือ 1 เดือนแรกหลังจากมีโอกาสรับเชื้อยังตรวจ ไม่พบเช้ือ ซงึ่ ยังเป็นช่วงที่ตรวจผลเลือดเป็นลบ แต่มีเช้ือเอชไอวีและส่งตอ่ เชื้อไดแ้ ล้ว ดงั นั้นการตรวจเลือด จึงไมใ่ ช่วิธีการป้องกนั ซึ่งเราสามารถปอ้ งกันตนเองได้ โดยไม่จาเปน็ ตอ้ งไปรู้ผลเลือดของคู่ 3. วิธเี ดียวที่จะรวู้ ่ามีเชือ้ หรือไม่ คือการตรวจเลือดหาเช้ือเอชไอวโี ดยตรงหลงั จากมพี ฤตกิ รรมเสี่ยง ไปแล้ว 1 เดือน และคนไทยมีสิทธิที่จะตรวจเลือดเอชไอวีฟรี ปีละ 2 ครั้ง จากโรงพยาบาลของรัฐบาล ทั่วประเทศ 4. ถ้ามีเพศสัมพันธ์ ถุงยางอนามัยเป็นวิธีการป้องกันการติดเชื้อท่ีมีประสิทธิภาพสูง จึงควรใช้ ถุงยางอนามยั กบั ทุกคร้ังและทกุ คนในการมีเพศสมั พันธ์ 161

5. ความแตกตา่ งของ “ผู้ตดิ เชอ้ื ” และ “ผู้ปว่ ยเอดส์”  ผู้ติดเช้ือ หมายถึง ผู้ที่มีเช้ือเอชไอวีอยู่ในร่างกาย ไม่แสดงอาการใด ๆ และดาเนินชีวิตได้ ตามปกติ ผ้ตู ิดเชอ้ื ไปแลว้ อาจจะไม่ทราบวา่ ตนเองมเี ชื้ออยหู่ ากไม่ได้ไปรับการตรวจหาเช้อื เอชไอวี  ผูป้ ่วยเอดส์ หมายถึง ผู้ท่ีได้รบั เชื้อเอชไอวีมาระยะหนึ่ง จนกระทั่งภูมิคุ้มกันถูกทาลายลงไป มากจนเข้าสู่สภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ซึ่งใช้เวลาโดยเฉลี่ย 5 – 10 ปี และอาจจะเกิดโรคฉวยโอกาส เช่น วัณโรค ปอดอักเสบ เป็นต้น ซง่ึ โรคฉวยโอกาสเหลา่ น้ีรกั ษาให้หายได้ และปจั จุบนั มียาตา้ นไวรัส ซ่ึงจะช่วย ให้ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องกลับมาอยู่ในภาวะปกติ ซ่ึงทาให้ผู้ป่วยเอดส์กลับไปอยู่ในสถานะของผู้ติดเชื้อ และดาเนินชีวิตไดต้ ามปกติ 6. การป้องกันเอดส์เป็นความรับผิดชอบร่วมกันในคู่ ซ่ึงสามารถทาได้ทันทีและการป้องกันเอดส์ งา่ ยกวา่ การรักษา เครือข่ายการมเี พศสัมพนั ธ์ 162



กิจกรรมท่ี 18 ระดบั ความเสยี่ ง QQR สาระสาคัญ ความกงั วลใจต่อเรอ่ื งเอดสข์ องคนสว่ นใหญเ่ ป็นเรอ่ื งเกีย่ วกับการตดิ ตอ่ และไมต่ ดิ ต่อ ซงึ่ เป็นผลจาก การขาดข้อมูลที่ชัดเจนหรือได้รับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง และอาจส่งผลให้เกิดการประเมินความเสี่ยงของตน ผิดพลาดและก่อให้เกิดทัศนะเชิงลบต่อผู้ติดเช้ือเอชไอวี นาไปสู่การรังเกียจกีดกัน การใช้หลักการ QQR จะชว่ ยในการทาความเขา้ ใจเรื่องโอกาสเสีย่ งในการตดิ เชือ้ เอชไอวีได้อย่างถูกต้องมากข้ึน จดุ ประสงค์ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียน 1. สามารถอธิบายถึงโอกาสเสยี่ งตอ่ การตดิ เชื้อเอชไอวี 2. สามารถนาหลักการ QQR ไปใช้ในการประเมินความเส่ียงตอ่ การตดิ เช้อื เอชไอวีได้ 3. สามารถป้องกันและลดโอกาสเสี่ยงต่อการติดเช้ือเอชไอวี และสามารถใช้ชีวิตร่วมกันกับผู้ติด เชอื้ เอชไอวีได้ เนอ้ื หา 1. หลักการประเมนิ ความเส่ียงตอ่ การติดเชอื้ เอชไอวี 2. ความรู้เก่ยี วกบั การตดิ เช้อื เอชไอวี ภาพรวมการจดั กิจกรรม กิจกรรม QQR เป็นกิจกรรมท่ีต้องการให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้ความเข้าใจของตนเองในเรื่อง เอดส์และประยุกต์ใช้หลักการ QQR ในการอธิบายโอกาสเสย่ี งในการรับเชื้อเอชไอวี ให้เห็นช่องทางในการ ลดโอกาสเส่ยี งต่อการรบั เชอ้ื เอชไอวี และสามารถอย่รู ่วมกนั กบั ผ้ทู มี่ เี ช้ือเอชไอวี สื่อและอุปกรณ์ 1. กระดาษฟลิปชารท์ 2. บัตรระดับความเสี่ยงจานวน 6 ชุด (แต่ละชุดประกอบด้วย บัตรระดับความเส่ียง 4 ใบ คือ เสย่ี งมาก เสย่ี งปานกลาง เสี่ยงนอ้ ยมาก และไมเ่ สี่ยง) 3. บตั รคาจานวน 6 ชุด ๆ ละ 16 ใบ 4. แผน่ ใสอธิบายระดบั ความเส่ียง และหลกั การ QQR 5. เอกสารหลกั การ QQR เทา่ กบั จานวนผู้เรยี น 164

บัตรคา 16 ใบ ได้แก่ 1. การมเี พศสมั พนั ธ์แบบสอดใสท่ างช่องคลอด โดยไม่ใช้ถงุ ยางอนามยั กับผตู้ ดิ เชอ้ื เอชไอวี 2. การใช้เขม็ ฉดี ยาเสพตดิ ร่วมกบั ผ้ตู ดิ เชื้อเอชไอวี 3. การจูบปากกบั ผตู้ ิดเช้อื เอชไอวี 4. การดแู ลปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ ใหก้ บั ผ้ตู ิดเชอื้ เอชไอวี 5. การใชก้ รรไกรตัดเลบ็ มีดโกนรว่ มกันกบั ผตู้ ดิ เชื้อเอชไอวี 6. การจับมอื โอบกอดกันกบั ผูต้ ิดเชือ้ เอชไอวี 7. การมเี พศสมั พนั ธ์โดยใช้ถุงยางอนามัยกับผตู้ ิดเช้ือเอชไอวี 8. การสาเรจ็ ความใครด่ ว้ ยตนเอง 9. การใชช้ วี ิตประจาวันในบา้ นดว้ ยกนั กบั ผตู้ ิดเชื้อเอชไอวี 10. การเลน่ กีฬาดว้ ยกนั กับผูต้ ดิ เชอื้ เอชไอวี 11. ยุงกดั ผู้ตดิ เช้อื เอชไอวี แล้วมากดั เรา 12. การสัมผัส แผล เลอื ด น้าเหลืองของผตู้ ดิ เชื้อเอชไอวี 13. เด็กทารกท่ีดดู นา้ นมแม่ท่ีมเี ชอ้ื เอชไอวี 14. การทา ORAL SEX ให้ผ้ตู ดิ เช้ือเอชไอวี 15. การท่ีผตู้ ดิ เชื้อเอชไอวี ทา ORAL SEX ใหก้ บั เรา 16. การมีเพศสมั พันธแ์ บบสอดใสท่ างทวารโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย ข้นั ตอนการจัดกิจกรรม 1. ผจู้ ัดการเรียนรู้ช้แี จงวตั ถุประสงค์ของกิจกรรมนีว้ ่าเป็นการประเมินความเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวี 2. แบ่งผู้เรยี นออกเป็น 5 กล่มุ แจกบัตรคากลมุ่ ละ 1 ชดุ (บัตรคา 16 ใบ) และกระดาษฟลิปชาร์ท ทตี่ ดิ บตั รระดับความเส่ียง 4 ระดับ เสี่ยงมาก เสี่ยงปานกลาง เส่ียงน้อยมาก ไม่เสีย่ ง 165

3. ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันพิจารณาข้อความบนบัตรคาท้ัง 16 ใบว่า หากเรากระทาหรือมีพฤติกรรม ดังกล่าวกับผู้มีเช้ือเอชไอวี จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวีในระดับใด โดยผู้จัดการเรีย นรู้อธิบาย ความหมายของความเสยี่ งแต่ละระดบั โดยใช้แผ่นใสหรอื เตรียมเขยี นใสก่ ระดาษฟลปิ ชารท์ - เสยี่ งมาก เปน็ ความเสยี่ งในระดับท่มี ีโอกาสได้รบั เชอ้ื สูงมากและคนส่วนใหญไ่ ด้รบั เชือ้ เอชไอวี จากความเส่ยี งนัน้ ๆ - เสี่ยงปานกลาง มคี วามเสี่ยงทจ่ี ะไดร้ ับเชื้อเอชไอวอี ยูบ่ ้างแต่ไม่มากเท่ากบั เสี่ยงมาก - เสี่ยงน้อยมาก มีความเส่ียงในเชิงทฤษฏี แต่ในทางเป็นจริงโอกาสและความเป็นไปได้ท่ีจะ ไดร้ ับเชื้อเอชไอวีจากการกระทานนั้ ๆ แทบไมม่ ีเลยและไม่ปรากฏ หรือมีกรณีนอ้ ยมาก ๆ ว่ามีคนได้รับเชื้อ เอชไอวีจากช่องทางนน้ั - ไม่เสยี่ ง เปน็ การกระทาหรือช่องทางที่ไม่มีโอกาสเสีย่ งตอ่ การรับเช้อื เอชไอวีเลย 4. จากน้ัน ให้ผู้เรียนวางบัตรคาลงในช่องระดับความเสี่ยงท่ีกลุ่มเห็นตรงกัน สมาชิกในกลุ่ม ควร พิจารณาร่วมกันและอภิปรายถึงเหตุผลว่า เพราะเหตุใดจึงคิดว่าแต่ละการกระทา หรือพฤติกรรมมีความเสี่ยง อยู่ในระดบั น้นั ๆ 5. ใหเ้ วลา 15 นาที ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มจดั ระดบั ความเสีย่ งของบตั รคา 16 ใบ 6. เมื่อทุกกลุ่มวางบัตรคาครบทุกกลุ่มแล้ว ผู้จัดการเรียนรู้ใช้บัตรคาที่เตรียมเผื่อไว้อีก 1 ชุด ในการอธิบาย โดยอา่ นบตั รคาทีละใบและถามความคิดเห็นของแต่ละกลุ่มว่ามีความเสย่ี งระดับใด ในกรณีท่ี ทุกกลมุ่ มีความเห็นตรงกัน ให้ผจู้ ัดการเรียนรู้ตดิ บัตรคาลงในช่องความเสี่ยงนน้ั ๆ แต่ในกรณีท่ีแต่ละกล่มุ มี ความเหน็ ไม่ตรงกนั ให้ตดิ บัตรคานั้นแยกตา่ งหากไว้ก่อน 7. เมือ่ ถามครบทง้ั 16 ใบแล้ว อธิบายหลักการประเมินความเสยี่ ง QQR ให้ผเู้ รยี นฟงั หลักการ QQR การทคี่ น ๆ หน่งึ จะไดร้ บั เช้อื HIV เขา้ สู่ร่างกายจะตอ้ งประกอบด้วย 3 ปจั จัยดังน้ี ปริมาณของเชอ้ื คณุ ภาพของเชื้อ ช่องทางการติดเช้อื (Quantity) (Quality) (Route of Transmission) - เชอ้ื HIV อยู่ในคนเทา่ นน้ั เช้ือ HIV ตอ้ งมีคุณภาพพอ ไวรสั HIV จะต้องถูกส่งผ่านจาก (เกาะอยกู่ บั เมด็ เลือดขาว) - เช้ือ HIV ไมส่ ามารถมชี ีวิตอยู่นอก ค น ท่ี ติ ด เชื้ อ ไ ป ยั ง อี ก ค น ห น่ึ ง - เชื้ อ HIV อ ยู่ ใน ส า ร คั ด ห ลั่ ง ร่างกายคนได้ โดยเช้ือจะต้องตรงเข้าสู่กระแส บางอย่างในร่างกายของคนที่มีเชื้อ - ส ภ า พ ใ น ร่ า ง ก า ย แ ล ะ เลอื ด HIV เช่น เลือด น้าอสุจิ น้าในช่อง สภาพแวดล้อม บางอย่างมผี ลทาให้ - เลอื ด คลอด น้านมแม่ ซึ่งมีปริมาณท่ีไม่ เช้ือไม่สามารถอยู่ได้ เช่น กรดใน - เพศสัมพันธ์ เทา่ กัน น้าลาย กระเพาะอาหาร สภาพ - แม่สูล่ ูก - ต้องมีจานวนเชื้อ HIV ในปริมาณ อากาศ ความร้อน ความแห้ง นา้ ยา ท่ีมากพอในสารคัดหลั่งท่ีเป็นท่ีอยู่ ตา่ ง ๆ ของเชอ้ื โอกาส/ความเป็นไปได้ท่จี ะเกดิ ข้ึน 166

ในการอธิบายเรื่องโอกาสเส่ียง นอกจากหลักการ QQR แล้ว ผู้จัดการเรียนรู้ต้องอธิบายหรือ ชวนให้ผ้เู รยี นคานงึ ถงึ  ช่องทางเข้า – ช่องทางออก เน่ืองจากการติดเชื้อจาเป็นต้องมีเชื้อ HIV ออกจากร่างกาย ของผู้มเี ช้ือ และคนทจี่ ะไดร้ ับเชือ้ จะตอ้ งมชี อ่ งทางทจี่ ะให้เช้ือเข้าสรู่ ่างกายจนทาใหเ้ กดิ การติดเชอ้ื ได้  บริบทหรือเง่ือนไขของการกระทาในแต่ละบัตรคา ว่าทาแบบไหน อย่างไร เพราะการ กระทาในบรบิ ทและเงอ่ื นไขท่ีต่างกัน ประเดน็ ความเส่ียงก็ตา่ งกนั  ความเป็นไปได้ที่จะเกิดข้ึน เน่ืองจากคาถามและความกังวลใจในเร่ืองเอดส์ มักเป็นเรื่อง จินตนาการ หรือสมมุติในส่ิงที่เกิดข้ึนได้ยากในชีวิตจริง ผู้จัดการเรียนรู้จึงจาเป็นต้องกระตุ้นให้คิดถึง ความเป็นไปไดท้ ี่จะเกิดขน้ึ จริงด้วย 8. ช่วยกันใช้หลักการ QQR ในการอธิบายบัตรคาแต่ละใบ โดยเริ่มจากบัตรที่ผู้เรียนทุกคน เห็นตรงกัน 9. ส่วนบัตรคาท่ีเห็นไม่ตรงกัน ให้ผู้เรียนใช้หลักการ QQR ช่วยกันหาคาตอบร่วมกัน ผู้จัดการ เรยี นร้ชู ว่ ยใหค้ วามกระจา่ งและข้อมูลเพิ่มเตมิ (ดูแนวทางการพูดคุย สาหรับแตล่ ะบตั รคา) 10. ถามผู้เรียนว่า มีคาถามอ่ืน ๆ ในเรื่องเอดส์อีกหรือไม่ ถ้ามีคาถาม ผู้จัดการเรียนรู้ชวนให้ใช้ หลกั การ QQR ช่วยกันหาคาตอบ 11. ผู้จัดการเรียนรู้สรุปประเด็นจากกิจกรรม โดยใช้แนวคาถามเพ่ือให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสรุป ดงั นี้  การตดิ เชอ้ื เอชไอวี เปน็ เรอ่ื งง่ายหรอื ยากอยา่ งไร (คนทั่วไปมักคิดว่าเชื้อเอชไอวีติดต่อกันได้ง่าย แต่จากกิจกรรมน้ีช้ีให้เห็นว่า เอชไอวี ติดต่อกันได้ไม่ง่ายเลย ช่องทางการติดต่อมีเพียง 3 ช่องทาง และยังจาเป็นต้องมีองค์ประกอบอื่น ๆ ดังท่ี ไดอ้ ธบิ ายในหลกั การ QQR)  คนส่วนใหญ่ไดร้ ับเชื้อจากช่องทางใด (โอกาสเสี่ยงท่ีสาคัญต่อการได้รับเชื้อเอชไอวี โดยเฉพาะในประเทศไทย คือการมี เพศสัมพันธ์แบบสอดใส่ โดยไม่มีการป้องกันกับคนที่เราไม่ทราบว่ามีเชื้อหรือไม่ และการใช้เข็มฉีดยา เสพติดร่วมกัน)  ท่ีผ่านมาคิดวา่ คนส่วนใหญก่ ังวลจากความเสีย่ งทางด้านไหนระหว่างเสย่ี งมากหรือ ไมเ่ สยี่ ง เพราะอะไร และจะส่งผลอย่างไร (การใช้ชีวิตประจาวันร่วมกันกับผู้มีเชื้อเอชไอวีท่ีบ้าน ที่โรงเรียน ที่ทางาน หรือชุมชน ไม่สามารถทาให้เราได้รับเช้ือเอชไอวี แต่เรามักลืมคิดว่า การมีเพศสัมพันธ์ของเราอาจนาไปสู่โอกาสเสี่ยง ตอ่ การรบั เชื้อ หากเรามีเพศสมั พนั ธ์กบั คนท่มี เี ชื้อซึ่งดูไม่ออกจากภาพลักษณภ์ ายนอกโดยไมป่ ้องกนั )  จากกิจกรรมนเี้ ราสามารถลดความเสยี่ งในเร่ืองเอดส์ได้อย่างไรบ้าง (เชน่ การช่วยตัวเอง, การมเี พศสมั พันธ์ทางปากและการใชถ้ ุงยางอนามยั )  การรังเกยี จ กีดกนั และเลอื กปฏบิ ัตติ อ่ ผ้ตู ิดเชื้อ เกดิ ข้นึ เพราะเหตุใด (ความกังวลใจเร่ืองเอดส์ของคนส่วนใหญ่ เป็นเรื่องเก่ียวกับการติดต่อและไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นผลมาจากการขาดข้อมูลที่ชัดเจน และได้รับข้อมูลท่ีไม่ถูกต้อง ทาให้รู้สึกว่าเช้ือเอชไอวีติดต่อง่าย และยงั กอ่ ใหเ้ กิดความรูส้ กึ และทัศนะที่ไมด่ ีต่อผตู้ ิดเช้ือ ซง่ึ นาไปสู่การรังเกียจกีดกนั ) 167

การวัดและประเมินผล 1. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในกจิ กรรมกลมุ่ 2. การซักถาม การโต้ตอบ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ข้อสรปุ สาคัญจากการจดั กิจกรรม 1. คนจานวนมากกังวลใจ โอกาสติดเชื้อจากการใช้ชีวิตร่วมกับผู้ติดเช้ือมาก ท้ัง ๆ ท่ียังไม่เคย ปรากฏวา่ มีการติดเชื้อเอไชอจี ากการใชช้ ีวติ ร่วมกันกับผูต้ ดิ เชื้อเลย 2. คนจะทราบว่าเอชไอวีสามารถติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ใช้ถุงยาง แต่ในชีวิตจริงก็ไม่ได้ ใช้ถงุ ยางทุกคร้งั กับทุกคน ด้วยปจั จัยหลายอยา่ ง เช่น การคิดว่าคู่ท่ีมเี พศสมั พันธ์ดว้ ยปลอดภยั ไม่น่าจะมเี ช้ือ 3. หลักการ QQR เป็นหลักการที่เราจะใช้การประเมินโอกาสการรับเช้ือของเราในรูปแบบต่าง ๆ และที่สาคัญคือการคิดถึงโอกาสและความเป็นไปได้ท่ีจะเกิดขึ้นจริงในชีวิตของเรา เช่น โอกาสที่เราจะไป สมั ผัสแผลเลือดสด ๆ ในขณะท่ีเราเป็นแผลเปิดสดด้วย กับการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ใช้ถุงยางว่าเหตุการณ์ไหน มโี อกาสเกดิ ขน้ึ กบั เราไดม้ ากกวา่ กนั 4. เราสามารถเลือกทางลดโอกาสเสี่ยงได้ โดยใช้หลักการ QQR และการใช้ถุงยางอนามัยเป็นทางเลือก ท่ีมปี ระสิทธภิ าพมากทีส่ ุดในการปอ้ งกนั เอชไอวีจากการมีเพศสมั พันธ์ 5. ความกังวลใจ ต่อการรบั เช้ือเอชไอวใี นการใช้ชีวิตร่วมกับผู้ติดเชอื้ ทาให้ร้สู ึกว่าเอชไอวีตดิ ตอ่ งา่ ย เกิดเปน็ ทัศนคติต่อผู้ติดเช้ือ ส่งผลให้เกิดการตตี รา รงั เกยี จและเลือกปฏิบัติกับผู้ติดเช้อื ซ่ึงจะทาใหผ้ ู้ติดเช้ือ เอชไอวีเลือกที่จะไม่เปิดเผยตนเอง ไม่สามารถดาเนินชีวิตได้ตามปกติ และทาให้คนท่ีมีความเส่ียงจานวนมาก ไม่กลา้ ไปรบั การตรวจหาเช้ือเอชไอวี เพราะกลวั จะถูกเปิดเผยสถานภาพการตดิ เชื้อ หมายเหตุ : ให้ผู้จดั การเรยี นรศู้ ึกษาใบความรู้ที่ 2 หรอื จากแหลง่ ความรู้อ่ืนท่ีเกย่ี วข้องกบั เนื้อหาวัตถปุ ระสงค์ 168

แนวทางการพดู คุยสาหรับแต่ละบตั รคา ๑. เพศสมั พันธท์ ่มี ีการสอดใส่โดยไมใ่ ช้ถงุ ยางอนามัย ดูจากองค์ประกอบ QQR ทลี ะองคป์ ระกอบ  ปรมิ าณและแหลง่ ท่ีอยู่ : เชอ้ื อยูท่ น่ี า้ อสุจิและนา้ ในช่องคลอด  คณุ ภาพ : ยงั ดีเพราะยงั อยู่ภายในร่างกายยังไม่ได้ออกจากภายนอกรา่ งกาย  ช่องทางเข้า : เม่ือมีการสอดใส่อวัยวะเพศ น้าอสุจิ หรือน้าในช่องคลอดของอีกฝ่ายก็จะเข้าสู่ ร่างกาย โดยไม่ต้องออกนอกร่างกายเลย และเชื้อจะผ่านเยื่อบุอ่อนเข้าสู่กระแสเลือด โดยผู้ชายเช้ือเขา้ ตรง ปลายอวัยวะเพศและรูท่อปัสสาวะผ่านเยื่อบุอ่อนเข้าสู่กระแสเลือด ส่วนผู้หญิงก็จะซึมผ่านผนังช่องคลอด และเข้าสูก่ ระแสเลือด 2. การใช้เขม็ ฉีดยาเสพตดิ รว่ มกบั ผู้ตดิ เชอื้ เอชไอวี เหมือนกับกรณีการมีเพศสัมพันธ์ แต่ทาความเข้าใจวา่ เช้อื จะอยู่ที่เลอื ดและการใช้เข็มฉีดยาเสพติด รว่ มกันนั้น เลือดส่วนใหญ่จะค้างอยู่ในกระบอกฉดี ไมใ่ ช่ตรงปลายเข็ม เพราะการใชย้ าเสพตดิ ชนดิ ฉีดต้องมี การดูดเลือดเข้ามาผสมกับยาเสพติด และดึงเข้าดึงออก หรือท่ีเรียกว่า “โช๊ก” และถึงแม้เลือดออกนอก ร่างกายแล้ว แต่ส่วนใหญ่ผู้ใช้ยามักจะใช้เข็มต่อกันทันที ทาให้เช้ือยังมีคุณภาพและเข้าสู่กระแสเลือด โดยตรง 3. การจูบปาก ชวนคุยทีละองค์ประกอบ  ปรมิ าณและแหล่งท่อี ยู่ของเชือ้ : เชอื้ ไมม่ ีในนา้ ลายหรือมนี ้อยมากจนไม่สามารถทาให้ตดิ ได้  คณุ ภาพ : ดา่ งในน้าลายก็เปน็ ส่วนหน่งึ ท่ีทาให้เชื้อดอ้ ยคุณภาพ  ชอ่ งทางเข้า : เข้าส่ปู ากลงกระเพาะ ซงึ่ กรดในกระเพาะก็มผี ลตอ่ เชอ้ื และไมใ่ ชช่ ่องทางในการติดเชอ้ื ข้อสงสยั ในประเดน็ จบู ปาก คอื ถา้ มแี ผลในปากหรอื เลอื ดออกตามไรฟนั สง่ิ ท่ตี อ้ งชวนคยุ คอื  หากเป็นแผลในปาก นึกถึงแผลแบบไหน มีปริมาณเลือดมากน้อยแค่ไหน มากขนาดทาให้ น้าลายเจอื จางไมไ่ ดเ้ ลยหรอื ไม่  ที่สาคัญคือมีแผลสดขนาดที่มีเลือดออกในปริมาณมาก แล้วจะจูบปากกันได้อย่างไร นอกจากนี้ ยังไมพ่ บวา่ มกี ารตดิ เชื้อจากการจูบปาก แตพ่ บวา่ การจูบปากจะนาไปสู่การมเี พศสมั พันธ์ 4. การดแู ลปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น ชวนคดิ ทลี ะข้อว่า  การปฐมพยาบาลนกึ ถึงอะไรบ้าง  สิง่ ท่ีนึกจะเข้าองคป์ ระกอบครบปจั จยั เสีย่ ง 4 ขอ้ หรอื ไม่  หากนึกถึง การทาแผล ให้ชวนคิดถึงวิธีการทาแผลว่าทาอย่างไร และจะมีโอกาสเสี่ยงอย่างไร เราจะมโี อกาสสัมผสั แผลโดยตรงหรือไม่  แตถ่ ้านึกถงึ การไปสมั ผสั เลือด ใหช้ วนคุยในข้อสมั ผัสเลือด 169

5. การใชก้ รรไกรตดั เล็บ มดี โกนรว่ มกนั ชวนคิดทีละข้อวา่  แหล่งท่ีอยู่ของเช้ืออยู่ที่ไหน ถ้าตอบว่าเลือด ก็ชวนคุยกันว่าถ้าโกนหนวดหรือตัดเล็บบาดเข้าเน้ือ เลือดจะอยู่ที่ไหน และถ้าจะโกนไม่ให้เลือดติดใบมีดต้องโกนอย่างไร และหากมีเลือดติดท่ีใบมีดโกนจริง ปรมิ าณเลอื ดมากหรอื นอ้ ย  คุณภาพของเชื้อที่อยู่ในเลือดบนมีดโกนมีหรือไม่ เพราะว่าอะไร และถ้าเป็นเลือดที่มีคุณภาพ ต้องมีลักษณะอย่างไร (ต้องเป็นเลือดสด) และหากมองเห็นเลือดบนใบมีดได้เราจะใช้หรือไม่ และจะเข้าสู่ ร่างกายไดอ้ ย่างไร  โอกาสที่จะเกิดขึ้นจริง ๆ ที่จะทาให้เกิดความเสี่ยงคือต้องโกนหนวดช้า ๆ เพื่อให้มีดบาด และมีเลือดติดอยู่ท่ีใบมีด โดยต้องมีปริมาณที่มองเห็นหรือมากพอ และต้องมาใช้ต่อเนื่องทันที เพื่อให้มี คุณภาพ และต้องโกนแบบให้เกิดบาดแผลลึกเพื่อท่ีจะเปิดช่องทางเข้า ซ่ึงต้องถามว่าในชีวิตจริงเกิดเหตุการณ์ แบบนข้ี ึ้นหรือไม่ 6. การจบั มอื โอบกอดกนั ถามทีละข้อเรื่องปรมิ าณแหล่งทอี่ ยู่ของเชื้อ คุณภาพ และช่องทางเขา้ ว่ามีหรอื ไม่ 7. เพศสมั พันธโ์ ดยใชถ้ งุ ยางอนามยั ถามทีละข้อวา่  ปรมิ าณ แหล่งที่อยู่ เชื้ออยู่ในน้าอสจุ ิและน้าในช่องคลอด  คุณภาพ ยังดีเพราะอยใู่ นรา่ งกาย  ชอ่ งทางเข้า เข้าสู่รา่ งกายอย่างไร (ไม่มีชอ่ งทางเพราะมถี ุงยางกั้น) อย่างไรก็ดี คนมักจะกังวลใจกับถุงยางอนามัยว่าปลอดภัยแค่ไหน โดยคุณภาพถุงยางอนามัย ช่วยป้องกันได้ แต่มักจะมีปัญหาเรื่อง การใช้ ท่ีพบบ่อยคือจะใช้ถุงยางอนามัยเมื่อใกล้จะถึงจุดสุดยอด เพ่ือป้องกันการตั้งครรภ์เท่านั้น ไม่ได้ใช้ต้ังแต่เริ่มสอดใส่ในช่วงแรกๆ หรือเม่ือถึงจุดสุดยอดแล้ว ก็ไม่ถอน อวัยวะเพศออกในขณะที่ยังแขง็ ตัวทาใหอ้ วยั วะเพศอ่อนตัวและถุงยางอนามยั หลดุ ในชอ่ งคลอด 8. การสาเร็จความใคร่ดว้ ยตนเอง เป็นทางเลือกในการผ่อนคลายอารมณ์เพศท่ีไมม่ ีความเสีย่ งอะไรเลยและปลอดภยั ด้วย 9. การใชช้ ีวติ ประจาวนั ในบา้ นด้วยกนั  ชีวติ ประจาวันนกึ ถึงอะไรบ้าง (กินข้าว กอดคอ เข้าห้องน้า ใชเ้ ส้อื ผ้าดว้ ยกัน)  ชวนดูวา่ สิ่งท่เี รานึกถงึ เข้ากับหลกั การ QQR หรือไม่  หากพดู ถึงเรอื่ งแผล ใหไ้ ปคยุ ถงึ เรอื่ งสมั ผสั เลอื ด 10. การเลน่ กฬี าดว้ ยกัน ชวนคิดถึงกีฬาอะไรบ้างที่เราจะเสี่ยงและสถานการณ์ใดบ้างที่จะทาให้มีโอกาสเส่ียง โดยใช้ หลักการ QQR มาเทียบเคียงว่าเป็นอย่างไร และจะมีโอกาสเกิดขึ้นได้จริงมากน้อยในชีวิตอย่างไร (เมจิก จอนสัน นักกีฬาบาสเกตบอล NBA ของอเมริกา ก็ติดเช้ือแต่ก็ยังเล่นบาสฯ ปกติ ปัจจุบันเป็น ผู้ฝึกสอนบาสเกตบอลและก็ยังเล่นกีฬาอยู่บา้ ง) 170

11. ยุงกัด ปริมาณแหลง่ ทีอ่ ยู่ : ไม่มี เพราะเชื้อไม่สามารถอย่ใู นสัตวไ์ ด้ คุณภาพ : ไม่มี ช่องทางเข้า : ไม่มี 12. การสัมผัส แผล เลอื ด นา้ เหลืองของผ้ตู ิดเช้อื  ปริมาณและแหล่งทีอ่ ยขู่ องเชอ้ื : เลอื ด  คุณภาพ : ต้องถามว่าเลือดท่ีสัมผัสเป็นอย่างไร สดหรือไม่ ถ้าเป็นเลือดท่ีแห้ง เช้ือก็ไม่มี คุณภาพ ไม่สามารถทาใหต้ ดิ ต่อได้  ช่องทางเข้า : จะเข้ารา่ งกายเราได้อยา่ งไร เพราะผวิ หนังสภาพปกติสามารถป้องกันได้ 100 %  ถา้ เป็นบาดแผล o ลกั ษณะแผล ต้องเปดิ ลึกและสด ซง่ึ โดยกลไกธรรมชาติของรา่ งกายจะสร้าง NET คล้ายตาขา่ ย ข้ึนมาคลุมเมื่อเกิดบาดแผล เพื่อปิดป้องกันเชื้อโรคไม่ให้เข้าและป้องกันไม่ให้เลือดออก ดังน้ัน ถ้าจะเกิด ความเส่ียง จะต้องไปสัมผัสแผลลึก สด และต้องมีปริมาณเลือดมาก รวมทั้งจะเข้าร่างกายอีกฝ่ายหนึ่งได้ อกี ฝ่ายต้องมแี ผลลกึ สด เช่นกัน เป็นลักษณะแผลชนแผลเพ่ือมีโอกาสในการนาเลอื ดเขา้ สรู่ ่างกาย o โอกาสดงั กลา่ วเกดิ ข้นึ ในชีวิตจริงได้หรือไม่ อย่างไรบ้าง 13. เด็กทารกท่ีดูดนา้ นมแม่ ทแี่ ม่มีเช้อื HIV โอกาสเด็กท่ีอยู่ในครรภ์แม่ที่ติดเชื้อถ้าคลอดตามธรรมชาติปกติจะมีโอกาสรับเช้ือประมาณ 30 % ซึง่ อาจเกดิ ขึ้น  ระหว่างตั้งครรภ์ เกิดจาก รกที่ผิดปกติทาให้เลือดแม่สามารถซึมผ่านเข้าไปถึงทารกได้ (เลือด แม่กับเลือดลูกไม่ได้ปนกัน เด็กสร้างเลือดด้วยตัวเอง เห็นได้จากเลือดแม่และลูกคนละกรุ๊ปกันก็มี เด็กจะ ได้รบั อาหาร ออกซิเจน และภมู ิต้านทานผ่านทางรก)  ระหวา่ งคลอด การสัมผัสเลือด (ทารกมีโอกาสสัมผัสเลือดมากระหว่างคลอด) เลือดจะมีโอกาส ผ่านเขา้ ทางเยือ่ บอุ ่อนได้ เชน่ เยอ่ื บตุ าหรอื จมูก เป็นต้น  หลังคลอด การดื่มนมแม่ซึ่งมักจะเกิดความเส่ียงในระหว่างท่ีเด็กดื่มนม และเช้ือจะซึมผ่าน เยอ่ื บุออ่ นในชอ่ งปาก เดก็ ทีย่ งั ไม่ได้พัฒนาอยา่ งเต็มที่เหมอื นผูใ้ หญ่ ปัจจบุ นั มวี ิธลี ดความเส่ียงคอื  ใหแ้ ม่ใช้ยาต้านไวรสั HIV ในขณะต้ังครรภ์และระหวา่ งคลอดและให้ยาต้านฯ กับเด็กทารกต่อ ระยะหน่งึ ทาให้ลดการตดิ เช้ือเหลอื ประมาณ 1 %  คลอดโดยวธิ ผี ่าตดั เพ่อื ลดการสัมผัสเลอื ดให้นอ้ ยท่สี ดุ  การใหเ้ ด็กกนิ นมผงแทน 171

14. การทา ORAL SEX ใหผ้ ู้ตดิ เชอื้ เอชไอวี ในกรณีท่ีเราไม่มีเชื้อเอชไอวีแต่ใช้ปากดูด เลีย หรืออมอวัยวะเพศ (oral sex) ให้กับผู้ติดเช้ือ เอชไอวนี น้ั แยกเป็น 2 กรณี คอื การทาใหผ้ ู้หญงิ ที่มีเช้อื หรือทาให้ผู้ชายทม่ี ีเช้ือ  การใช้ปากทา oral sex ให้กับผู้หญิงท่ีมีเชื้อเอชไอวี น้ัน ยังไม่มีรายงานว่าทาให้ติดเช้ือ เพราะปรมิ าณนา้ หล่อลนื่ ของผหู้ ญงิ ทสี่ มั ผสั มปี รมิ าณน้อยมาก  การใช้ปากทา oral sex ให้กับผู้ชายที่มเี ชือ้ เอชไอวี นั้น  หากไม่มกี ารหลง่ั ในปาก ยังไม่พบว่ามีการตดิ เชอ้ื  แตจ่ ะมีโอกาสเส่ยี งตอ่ การไดร้ บั เชอื้ เอชไอวี ในกรณีท่ี ก. ผตู้ ดิ เช้อื หล่งั นา้ อสจุ ใิ นปาก และ ข. ผ้ใู ช้ปากทา oral sex มอี าการติดเชือ้ ในลาคอ หรือคออกั เสบ เชือ้ เอชไอวีใน น้าอสุจิจะตรงเข้าสู่ร่างกายผ่านทางเย่ือบุในลาคอท่ีอักเสบนั้น แต่สามารถลดโอกาสเสี่ยงได้ ถ้าหล่ัง นอกปาก หรอื ใช้ถุงยางอนามัย อย่างไรก็ตาม แม้วา่ การใช้ปากทา oral sex ให้กับผู้หญิงจะมีโอกาสเส่ียงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ค่อนข้างน้อย แต่การใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเม่ือทา oral sex ไม่ว่ากับหญิงหรือชาย จะช่วยป้องกัน การตดิ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพันธ์ 15. การทผี่ ตู้ ดิ เชือ้ เอชไอวี ทา ORAL SEX ให้กบั เรา ในกรณีที่ผู้ติดเช้ือเอชไอวีใชป้ ากดดู เลยี หรืออมอวัยวะเพศ (oral sex) ให้เรานัน้ โอกาสเส่ียง ท่ีจะได้รับเชื้อเอชไอวีไม่มีเลย เพราะเราจะสัมผัสน้าคัดหลั่งประเภทน้าลายของผู้ติดเชื้อ ซ่ึงในน้าลาย ไมม่ ีเม็ดเลือดขาว ดงั น้ันเช้อื เอชไอวีจึงไม่สามารถมีชีวติ อยู่ในน้าลายได้ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ควรระวังคือ เราและคู่จะไม่เกินเลยจากการทา oral sex ไปสู่การมี เพศสมั พันธส์ อดใสโ่ ดยไมป่ อ้ งกนั 16. การมีเพศสมั พันธ์แบบสอดใส่ทางทวารโดยไมใ่ ช้ถงุ ยางอนามัย การมีเพศสัมพันธ์แบบสอดใส่ทางทวารโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี มีโอกาส เส่ยี งมากท่จี ะได้รับเชอื้ เอชไอวี เพราะการมีเพศสัมพันธท์ างทวารทาใหเ้ กิดการฉีกขาด และมเี ลอื ดออก ซึ่งเช้ือเอชไอวีอยู่ในเลือด ในกรณีที่เราซ่ึงไม่มีเชื้อไปมีเพศสัมพันธ์ทางทวารกับผู้ติดเช้ือ เชื้อเอชไอวี จะตรงเข้าสูร่ า่ งกายทางรปู ัสสาวะของผ้ชู าย 172



กิจกรรมท่ี 19 ปัญหา (เรอ่ื งเพศ) ปรกึ ษาใครดี สาระสาคัญ ปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศอาจเกิดขึ้นได้หลายรูปแบบ วัยรุ่นควรเท่าทันสถานการณ์ เพ่ือเตรียมการป้องกันและควรมีข้อมูลแหล่งบริการช่วยเหลือ เพ่ือขอคาปรึกษาและเป็นทางเลือกในการ จัดการหากเกดิ ปญั หาขึน้ จุดประสงค์ เพ่อื ให้ผเู้ รยี น 1. สามารถวเิ คราะห์ปญั หาการลว่ งละเมดิ ทางเพศท่ีอาจเกิดขน้ึ ในชวี ิตวัยรุ่น 2. สามารถบอกแหลง่ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เมอ่ื เผชญิ ปญั หาการละเมิดทางเพศ เนอ้ื หา 1. สถานการณ์ปญั หาการล่วงละเมดิ ทางเพศที่เกดิ ขน้ึ กับวยั รุ่น 2. แหล่งข้อมูลเพศศกึ ษา เอดสแ์ ละหน่วยงานบรกิ ารสาหรบั เดก็ และเยาวชน ภาพรวมการจัดกจิ กรรม แบ่งกลุ่มตามสถานการณ์ท่ีวัยรุ่นถูกล่วงละเมิดทางเพศท่ีอาจเกิดข้ึนได้หลายรูปแบบ เพื่อฝึก กระบวนการคิด วิเคราะห์ ให้วัยรุ่นเท่าทันสถานการณ์ เพื่อเตรียมการป้องกัน โดยผู้จัดการเรียนรู้เติมเต็ม ข้อมูลในด้านบุคคล หนว่ ยงาน หรือองคก์ รทสี่ ามารถให้คาแนะนาชว่ ยเหลือได้ สอ่ื และอปุ กรณ์ กระดาษฟลปิ ชารท์ ปากกาเคมี กระดาษกาว ขัน้ ตอนการจดั กจิ กรรม 1. ผู้จัดการเรียนรู้นาเข้าสู่บทเรียนโดยชวนคุยว่า ในสังคมไทยปัจจุบันมีปัญหาการล่วงละเมิด ทางเพศเกิดขน้ึ มากมาย ผู้เรียนคิดวา่ การสมั ผสั หรอื ถูกสัมผัส แบบใดถือวา่ เป็นการล่วงละเมิดทางเพศ 2. ผู้จดั การเรียนรู้ชีแ้ จงว่า วันนี้เราจะคุยถงึ วธิ กี ารจดั การ หากเกิดสถานการณล์ ว่ งละเมิดทางเพศข้ึน 3. แบ่งผู้เรียนเปน็ กลุ่มย่อย 4 กลุม่ และแจกหัวข้อของการถูกล่วงละเมิดทางเพศให้แต่ละกลุ่ม ดงั น้ี (ทงั้ 4 สถานการณ์อาจเกดิ ขึ้นได้กับวยั รนุ่ ท้ังหญิงชาย) กลุม่ ท่ี 1 สถานการณ์ที่ถูกโลมเลยี ดว้ ยสายตาและพดู จาแทะโลมทางเพศ กลุ่มท่ี 2 สถานการณ์ที่ถกู ลูบไล้ เล้าโลม หรือสมั ผสั ร่างกาย กล่มุ ที่ 3 สถานการณท์ ถ่ี ูกหวา่ นลอ้ มหรอื บงั คบั ใหย้ ินยอมมเี พศสมั พนั ธด์ ้วย กลุ่มที่ 4 สถานการณ์ทถี่ ูกบงั คบั ใหม้ ีเพศสมั พันธโ์ ดยไม่ไดป้ อ้ งกัน และต้งั ครรภข์ น้ึ (กรณผี ูถ้ ูกล่วงละเมดิ เป็นวัยรุ่นหญงิ ) 4. ให้เวลากลมุ่ ยอ่ ย 15 นาที ในการแลกเปลีย่ นและหาคาตอบสาหรับแต่ละสถานการณ์ ดังน้ี 4.1 สาหรับวัยรุ่น โอกาสที่จะเกิดสถานการณ์ตามท่ีกลุ่มได้รับมีมากน้อยเพียงใด เกิดได้ อย่างไรบ้าง และอาจเกิดข้ึนที่ใดไดบ้ า้ ง และผถู้ กู กระทาลว่ งละเมดิ ทางเพศตอ่ วยั ร่นุ เป็นใครไดบ้ ้าง 4.2 บุคคลท่ีถูกกระทาในแต่ละสถานการณ์ รู้สึกอย่างไรกับส่ิงท่ีเกิดขึ้น และอาจเกิด ผลกระทบอยา่ งไรบา้ ง 174

4.3 หากผู้เรยี นเป็นคนทอ่ี ย่ใู นสถานการณ์นั้น ๆ ผูเ้ รียนจะปรึกษาใครหรือไม่ เพราะอะไร 4.4 ให้กลุ่มช่วยกันบอกช่ือแหล่งบริการสุขภาพ และหน่วยงานในพื้นที่ที่สามารถให้การ ช่วยเหลอื ได้ หากวัยร่นุ เผชิญปัญหาการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ 5. จากนนั้ ใหต้ ัวแทนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอกลมุ่ ละ 3 นาที และผดู้ าเนนิ กจิ กรรมใชค้ าถามชวนคุย ดงั นี้ 5.1 มสี ถานการณป์ ญั หาการล่วงละเมดิ ทางเพศแบบใดอีก ที่อาจเกิดข้ึนกบั วัยรุ่น 5.2 ใครบ้างที่สามารถเป็นท่ีปรกึ ษาให้กับผู้ถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศได้ 5.3 หากต้องไปใช้บริการจากแหล่งบริการสขุ ภาพ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกบั วัยรุ่นเมื่อ เผชญิ ปญั หาการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศในพ้ืนท่ี ส่ิงทีต่ ้องเตรยี มตัวลว่ งหน้าคอื อะไร 5.4 หากเราเผชิญปัญหาการถกู ล่วงละเมิดทางเพศ แต่เลือกที่จะไม่ปรกึ ษาใคร หรือไม่ไป รบั การชว่ ยเหลอื จากแหลง่ บริการสุขภาพและหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง อาจมผี ลตามมาอย่างไรบา้ ง การวดั และประเมนิ ผล 1. สังเกตการณม์ สี ว่ นรว่ มในกิจกรรมกลุ่ม 2. การอภิปรายแลกเปล่ียน การซักถาม การโต้ตอบ ข้อเสนอแนะสาหรบั ผูจ้ ดั การเรยี นรู้ 1. หากมีผู้เรียนท่ีเคยถูกล่วงละเมิดทางเพศ อาจทาให้รู้สึกสะเทือนใจ ผู้จัดการเรียนรู้ควรสังเกต อารมณ์ ความร้สู กึ ของผ้เู รยี นและระวังเรอ่ื งการลอ้ เลยี นกัน 2. ผู้จัดการเรียนรูค้ วรเตรียม และศึกษาหาขอ้ มูลลว่ งหน้าเกี่ยวกับแหล่งบริการสขุ ภาพและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับวัยรุ่น เม่ือเผชิญปัญหาการถูกล่วงละเมิดทางเพศในพื้นท่ี หมายเลขโทรศัพท์ ช่วงเวลาการ ให้บริการ และคาแนะนาในการเตรียมตวั กอ่ นรับบรกิ าร ขอ้ สรุปสาคญั จากการจดั กิจกรรม 1. การถูกละเมิดทางเพศ เกิดข้ึนได้กับทุกเพศ ทุกวัย แต่วัยที่สามารถจัดการหรือแก้ไขปัญหาได้ ด้วยตนเองยาก เพราะมีปจั จยั หลายอยา่ ง เชน่ ความไม่รู้ กลวั ถูกมองวา่ ไม่ดี อาย คอื วัยเดก็ และวยั รุ่น 2. การถูกละเมิดทางเพศส่วนใหญ่มักจะเกิดจากคนใกล้ตัว ซ่ึงบางครั้งก็ไม่ได้เกิดความระมัดระวัง เพราะความไว้วางใจ จนนาไปส่สู ถานการณ์โอกาสถูกละเมดิ 3. ผู้ถูกละเมิดทางเพศ ถือว่าเป็นผู้ถูกกระทา มีความเข้าใจผิดจากบางคน คิดว่าเป็นเพราะ ทาตัวเองจึงเป็นสาเหตุของการถูกละเมิด เช่น แต่งกายย่ัวยวน ชอบเที่ยวกลางคืน แต่โดยข้อเท็จจริงแล้ว ผู้ถูกกระทาย่อมไม่ได้เป็นผู้ผิด ผู้ท่ีกระทาการละเมิดเป็นฝ่ายท่ีผิด การยกเหตุผลสาเหตุที่ไปละเมิดผู้อ่ืน เป็นเพียงข้ออ้าง ดังนั้นผู้ที่ถูกละเมิดจะต้องเข้าใจก่อนว่า เราไม่ใช่ผู้ผิดหรือต้นเหตุของปัญหา แต่เป็น ผู้ถกู กระทา จึงไม่ควรตอ้ งรู้สกึ อับอาย 4. หากวัยรุ่นเผชิญปัญหาการถูกละเมิดทางเพศ ไม่ว่าจะเป็นทางร่างกายหรือจิตใจ ควรจะหา ผู้ใหญ่ท่ีไว้วางใจในการขอรับการปรึกษา ซ่ึงประเมนิ ว่า น่าจะเป็นคนที่ชว่ ยเราได้เพอ่ื ใหพ้ ้นจากสถานการณ์ นี้ หรืออาจจะเป็นหน่วยงานที่เก่ียวข้องที่ให้บริการทางด้านน้ี การนิ่งเฉยโดยไม่ได้ทาการจัดการเร่ืองนี้ อาจจะสง่ ผลให้สถานการณ์ปญั หาลุกลามและแกไ้ ขได้ยากข้นึ หมายเหตุ : ใหผ้ ู้จดั การเรียนรู้ศึกษาใบความรูท้ ี่ 3 หรือจากแหลง่ ความรู้อ่ืนที่เกยี่ วข้องกับเนื้อหาวัตถปุ ระสงค์ 175



กิจกรรมท่ี 20 เขียนชีวติ สาระสาคัญ บคุ คลมีสทิ ธิในการเลอื กตัดสินใจว่าจะมีหรือไม่มีเพศสัมพนั ธ์ จะต้ังครรภ์หรือไม่ จากความยนิ ยอม พร้อมใจของตนเอง รวมทั้งมีทางเลือกในการมีเพศสัมพันธ์ท่ีปลอดภัย การเข้าถึงข้อมูล อุปกรณ์ บริการ ท่ีจะช่วยให้สามารถป้องกันหรือหลีกเลี่ยงผลกระทบท่ีไม่พึงประสงค์จากเพศสัมพันธ์ได้ และได้รับบริการ สุขภาพท่มี คี ุณภาพในการดูแล และจัดการเก่ยี วกับการตงั้ ครรภ์หรือยุติการตง้ั ครรภ์ จุดประสงค์ เพอ่ื ให้ผู้เรียน 1. สามารถบอกปจั จัยทท่ี าใหเ้ กดิ เพศสัมพนั ธ์โดยไม่มกี ารป้องกัน 2. สามารถบอกขอ้ ดีข้อเสยี ของแต่ละทางเลอื ก หากพบวา่ มีการตง้ั ครรภ์เม่อื ไมพ่ ร้อม 3. สามารถบอกแหลง่ บริการทใ่ี หค้ วามชว่ ยเหลอื เม่อื เกดิ การตง้ั ครรภเ์ ม่ือไมพ่ ร้อม เน้ือหา การตั้งครรภ์ทไี่ ม่พึงประสงค์ ภาพรวมการจัดกจิ กรรม การวิเคราะห์ผลกระทบต่อทางเลือกการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่มีการป้องกัน เกิดการตั้งครรภ์ ทไ่ี มพ่ ึงประสงค์ และอภปิ รายผลกระทบต่อการตง้ั ครรภ์และการยุตกิ ารต้ังครรภ์ ส่ือและอุปกรณ์ 1. กระดาษ A4 2. เอกสารประกอบ ข้ันตอนการจัดกจิ กรรม 1. ช้ีแจงวัตถุประสงค์ของกิจกรรมน้ีว่าเป็นการอภิปราย แลกเปล่ียนประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเร่ือง การตง้ั ครรภแ์ ละการทาแท้ง 2. ถามผู้เรียนว่าเคยได้ยินเร่ืองของคนท่ีเคยทาแท้ง หรืออยู่ในสถานการณ์ท่ีต้องตัดสินใจทาแท้ง หรอื ไม่ ไดย้ นิ มาวา่ อย่างไร ทงั้ น้ี อาจเปน็ เร่ืองรับรมู้ าจากทีต่ า่ ง ๆ เช่น เห็นจากสอื่ เร่อื งท่เี คยไดย้ นิ มา ฯลฯ 3. ขออาสาสมคั ร 1 – 2 คน เล่าเรื่องทเี่ คยไดย้ นิ มา ถามความรู้สึกเมื่อได้ยนิ ขา่ วหรือเรื่องเหลา่ นี้ 4. จากน้ัน ผู้จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแต่ละคนจินตนาการ และเขียนถึงเรื่องของคน ๆ หนึ่ง ท่ีตัดสินใจ “ทาแท้ง” ในช่วงหน่ึงของชีวิต โดยให้ผู้เรียนเขียนบรรยายถึง สถานการณ์และเหตุผลสาคัญ ทคี่ น ๆ นนั้ เลือกตัดสนิ ใจทาแท้ง วา่ เปน็ อยา่ งไร และให้อธิบายบรบิ ทชวี ิตของคน ๆ นน้ั ส้ัน ๆ ประกอบดว้ ย เชน่ เป็นใคร อายุเทา่ ไร ทาอะไร ฯลฯ ให้เวลาเขียนเร่ือง 15 นาที 5. เมื่อเห็นว่าทุกคนเขียนเร่ืองเสร็จแล้ว ขอฟัง “เหตุผล” ในการทาแท้งในเรื่องท่ีแต่ละคนเขียน (ย้าให้บอกเฉพาะเหตุที่ตัดสินใจทาแท้ง เช่น ถูกข่มขืน แฟนไม่ยอมรับ อยากเรียนต่อ กลัวพ่อแม่เสียใจ ฯลฯ) ให้ผู้จัดการเรียนรู้เขียนคาตอบข้ึนกระดาน และเม่ือมีคนบอกเหตุผลของตัวเอง ให้ถามคนอื่น ๆ ว่าเรื่อง ของใครมีเหตผุ ลเดียวกนั จากนัน้ ถามเหตผุ ลทแ่ี ตกตา่ งไป จนทุกคนไดบ้ อกเหตุผลของตนเอง 177

6. ให้แบ่งกลุ่มตามเหตุผลท่ีเหมือน/คล้ายกัน ถ้ากลุ่มใดมีขนาดใหญ่ให้แยกให้เล็กลง (ประมาณ กลมุ่ ละ 5 – 7 คน) และอาจจัดกลุ่มเหตุผลทมี่ เี พยี งคนเดียวไวด้ ว้ ยกนั 7. ในกลุ่มย่อย ให้แต่ละคนเล่าเรอื่ งที่ตัวเองแตง่ ให้เพื่อน ๆ ในกลุ่มฟัง เม่ือเล่าครบทุกคนแล้ว ให้ลงมติ เลอื กเร่ืองท่คี ดิ ว่าน่าสนใจทส่ี ดุ นาเสนอใหก้ ับกลมุ่ ใหญ่ 8. ให้ตัวแทนกลุ่มนาเสนอเร่ืองท่ีกลุ่มคัดเลือก เม่ือแต่ละกลุ่มเล่าจบ ให้ผู้จัดการเรียนรู้ถามกลุ่มใหญ่ ว่าเมื่อได้ฟังเรื่องแลว้ เหน็ ด้วยหรือไมก่ ับการตัดสนิ ใจทาแทง้ ในสถานการณน์ นั้ ๆ เพราะเหตใุ ด 9. เม่ือทุกกลุ่มได้นาเสนอเร่ืองของตัวเอง และกลุ่มใหญ่ช่วยกันอภิปรายแสดงความเห็นแล้ว ผ้จู ัดการเรยี นร้ใู ชค้ าถามชวนคดิ เพอ่ื ชวนแลกเปล่ยี นเพ่มิ เติม ดังนี้ คาถามชวนคดิ  คิดวา่ ผ้หู ญิงทตี่ อ้ งทาแท้งรสู้ ึกอย่างไร  คดิ วา่ แฟน/คนรกั ของผ้หู ญิงทตี่ ้องไปทาแท้ง จะรสู้ กึ อย่างไร เหมือนหรอื ตา่ งจากฝา่ ยหญิง  สาเหตุหลักท่ีทาใหผ้ หู้ ญงิ ตอ้ งทาแท้งคืออะไร  เหตผุ ลท่ฝี า่ ยชายจะขอใหแ้ ฟนหญงิ ไปทาแทง้ คอื อะไร  วยั รนุ่ หญงิ /วัยรนุ่ ชาย จะทาอะไรได้บา้ ง เพ่ือไมใ่ หต้ นเองตกอยู่ในสถานการณ์ทีต่ ้องเลือกทาแท้ง - สงิ่ ท่ีเสนอทาได้จริงหรอื ไม่ ยากงา่ ยอยา่ งไร  คิดว่าคนที่เผชิญกบั สถานการณ์ตั้งครรภ์เมอื่ ไมพ่ ร้อม (ท้ังหญิงและชาย) รสู้ ึกอยา่ งไร ต้องการ ความช่วยเหลือในลักษณะไหน  สาหรบั บางคน การทาแท้งอาจเป็นทางเลือกทด่ี ที ี่สดุ แต่อะไรเป็นสาเหตุท่ีอาจทาให้คน ๆ นั้น ไมส่ ามารเลอื กทางออกที่ดีที่สดุ น้ีได้  คิดอย่างไรกับการทาให้การทาแทง้ ถูกกฎหมาย  คดิ วา่ เรือ่ งทแ่ี ตง่ ขึน้ ของพวกเรา มโี อกาสเกิดข้ึนได้จรงิ หรือไม่ และเกิดกับพวกเราไดไ้ หม 10. ผจู้ ดั การเรยี นร้ชู วนผ้เู รยี นสรุปว่า เราไดอ้ ะไรจากกิจกรรมวนั น้ี และเพิ่มเตมิ ประเด็น ดงั น้ี 10.1 เพศสัมพันธ์ท่ีไม่มีการวางแผน สามารถส่งผลกระทบตามมาหลายอย่าง ทาให้เกิด ปัญหาชีวิต ซ่ึงไม่มีใครต้องการให้เป็นเช่นนั้น เราสามารถหลีกเลี่ยงสภาพเช่นน้ันได้ด้วยการจัดการแต่ละ ย่างก้าวของความสัมพันธ์ อย่างรู้เท่าทันความนึกคิดของตัวเองและของคนที่เราคบ รวมทั้งช่วยกันคิด หาทางเลือกท่ีปลอดภยั ไวล้ ว่ งหนา้ 10.2 เราจาเป็นต้องมีทัศนะที่ถูกต้องในเรื่องเพศและสิทธิในเน้ือตัวร่างกาย ชีวิตและสุขภาพ เป็นเร่ืองที่แต่ละคนต้องดูแลปกป้องตนเอง ไม่ปล่อยให้ความเป็นไปของเราขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบของคู่รัก ในขณะเดียวกัน คูร่ ักท่ีมเี พศสัมพันธ์ก็ต้องมคี วามรบั ผิดชอบต่อกันด้วยการเผชญิ ปัญหารว่ มกัน การปรับตัว เขา้ หากัน การสื่อสารต่อกัน เพือ่ ป้องกันการตัง้ ครรภ์ที่ไม่พร้อม และโรคติดต่อทางเพศสมั พันธ์ ซึ่งเป็นเร่ือง ทีเ่ ลอื กและทาเพียงฝ่ายเดียวได้ยาก 178

10.3 มีหน่วยงานให้คาปรึกษา ให้ที่พักและให้บริการเมอื่ ตั้งครรภ์โดยไม่พรอ้ ม การเลือกทาแท้ง หรือเลือกตั้งครรภ์ต่อมีทางออกหลายทาง ไม่ควรเก็บปัญหาไว้กับตัวเองคนเดียว หรือรีบตัดสินใจทาตาม คาแนะนาท่ีเราไม่แน่ใจว่าจะปลอดภัย ควรหาขอ้ มูลและความชว่ ยเหลือ เพอ่ื ให้ได้ทางออกที่แก้ปัญหาไดด้ ีที่สดุ 10.4 การทาแท้งเถ่ือนเป็นอันตรายต่อสุขภาพ บางวิธีมีผลร้ายแรงถึงข้ันทาให้เราไม่สามารถ มีลูกได้อีกเลยในอนาคต บางวิธีเป็นอันตรายถึงชีวิต กฎหมายให้โอกาสผู้หญิงทาแท้งได้ เม่ือการต้ังครรภ์ น้ันเป็นอันตรายต่อสุขภาพผู้หญิง และกรณีที่ผู้หญิงตั้งครรภ์เพราะถูกข่มขืน (ผู้ให้บริการต้องเป็นแพทย์ เท่าน้นั ) การวดั และประเมนิ ผล 1. สังเกตการณ์มีสว่ นร่วมในกิจกรรมกลุ่ม 2. การอภปิ รายแลกเปลีย่ น การซกั ถาม การโตต้ อบ ขอ้ เสนอแนะสาหรบั ผู้จดั การเรยี นรู้ 1. หากเวลาไม่พอ ขอให้กลุ่มที่คิดว่าเรื่องในกลุ่มของตนเองน่าสนใจเล่าให้เพ่ือนฟัง 2 – 3 เร่ือง โดยไมต่ อ้ งเลา่ ทกุ กลมุ่ 2. เป็นไปได้ที่ในชุมชนหรือในโรงเรียนเคยมีเรื่องชีวิตท่ีคล้ายคลึงกับกรณีท่ีพูดคุยในกิจกรรมน้ี ผู้จัดการเรียนรู้ควรระบุแต่ต้นว่า เรื่องราวชีวิตล้วนเป็นบทเรียนท่ีมีคุณค่าต่อการศึกษาเรียนรู้ และไม่ใช่ เร่ืองที่จะนาไปลอ้ เลยี น หรือพดู จาซา้ เตมิ คนที่อาจมปี ระสบการณช์ ีวติ คลา้ ย ๆ กนั ข้อสรุปสาคญั จากการจัดกจิ กรรม 1. เพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้มีการวางแผน อาจจะส่งผลกระทบตามมาหลายอย่าง เราสามารถที่จะ หลีกเลี่ยงผลกระทบที่ตามมาจากการมีเพศสัมพันธ์ท่ีไม่ได้วางแผน จากการสารวจและเท่าทันกับความนึกคิด ความต้องการของตัวเองและคู่ว่า ต้องการหรือไม่ต้องการอะไร จากการมีเพศสัมพันธ์และความสัมพันธ์ รวมทงั้ ช่วยกันคิดหาทางเลอื กท่ปี ้องกนั เพ่อื ความปลอดภยั ล่วงหน้า 2. เราจาเป็นต้องมีทัศนะที่ถูกต้องในเรื่องเพศและสิทธิในเนื้อตัวร่างกาย ชีวิตและสุขภาพ ว่าเป็น เรื่องที่แต่ละคนต้องดูแลปกป้องตนเอง ไม่ปล่อยให้ความปลอดภัยของเราข้ึนอยู่กับความรับผิดชอบของคู่ แต่เป็นความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ทค่ี วรหาทางป้องกันไมใ่ ห้สิ่งทีไ่ มพ่ ึงประสงค์เข้ามา และเม่ือเกดิ ปญั หากต็ ้อง รว่ มเผชิญและแก้ไขปัญหาร่วมกัน การปอ้ งกันการตั้งครรภ์หรือการป้องกันโรค เปน็ เร่ืองที่ต้องสื่อสารและคุยกัน ไม่ใช่เป็นความรบั ผดิ ชอบของฝา่ ยใดฝา่ ยหนึ่ง 3. การทาแท้งเถื่อน หรือการซ้ือยาทาแท้งจากเวปไซด์เถื่อน อาจจะมีผลร้ายแรงต่อสุขภาพทางเพศ หรอื ถึงกบั ชีวิต และอาจจะไดร้ บั ผลกระทบจากกฎหมาย เพราะการทาแทง้ เถ่ือนผดิ กฎหมาย 4. ประเทศไทย ได้เปิดช่องทางในการยุติการตั้งครรภ์ได้ โดยกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการยุติการ ต้ังครรภ์ตามประมวลกฎหมายอาญา 276-284 และมาตรา 305 (1) (2) และข้อบังคับแพทยสภา 2548 ให้ยตุ กิ ารต้งั ครรภ์ไดใ้ นกรณตี ่อไปน้ี 179

กรณยี ตุ กิ ารตงั้ ครรภ์ได้  การตง้ั ครรภ์นั้นส่งผลเสยี ต่อสุขภาพทางกายของผหู้ ญงิ  การตงั้ ครรภน์ ้ันส่งผลเสียตอ่ สุขภาพทางใจของผหู้ ญงิ  ทารกในครรภ์มีความพกิ ารรุนแรง  การต้ังครรภ์ทเี่ กิดจากการถูกขม่ ขืนกระทาชาเรา  การตัง้ ครรภ์ในเดก็ หญิงทีอ่ ายไุ ม่เกิน 15 ปี  การตั้งครรภม์ าจากเหตุล่อลวง บงั คับ หรอื ขม่ ขู่ เพื่อทาอนาจาร สนองความใคร่ กรณีทอ้ งต่อ ท้องตอ่ (ข้อมูลการฝากครรภ์/ สิทธปิ ระโยชน/์ แหล่งบรกิ าร)  นโยบาย “ฝากทอ้ งทุกท่ีฟรที ุกสิทธิ” สาหรบั หญิงตั้งครรภ์ทุกคน  สิทธิประโยชน์การคลอดตามสิทธิ ได้แก่ สิทธิประกันสังคมเหมาจ่าย 13,000 บาท ไม่เกิน 2 ครรภ์/คน บตั รทอง และสิทธริ าชการคลอดฟรีไม่จากัดครรภ์ 5. ปัจจุบัน มี พ.ร.บ. ป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 โดยเน้นการ ส่งเสริมป้องกันและคุ้มครองสิทธิของวัยรุ่นที่ประสบปัญหาท้องไม่พร้อม เช่น การมีสิทธิได้รับบริการ จากหน่วยบริการรักษาที่เป็นมิตร การได้รับสิทธิเรียนต่อตามความสมัครใจของผู้เรียนในสถานศึกษาเดิม เป็นต้น ซ่ึง พ.ร.บ. ฉบับนี้มุ่งส่งเสริมและคุ้มครองเยาวชนตั้งแต่อายุ 10 – 20 ปี ซ่ึงวัยรุ่นควรจะหาข้อมูล เหล่านเี้ พือ่ เปน็ การทราบสิทธขิ องตนเอง 6. ปัจจบุ ันมีหน่วยงานให้บริการปรึกษาเรื่องตั้งครรภ์ไม่พร้อม ท่ีให้บริการปรึกษาได้ทั้งกรณีเลือก การยุติการตั้งครรภ์และการตั้งครรภ์ต่อ โดยมีสถานบริการด้านสุขภาพที่ให้บริการยุติการตั้งครรภ์ ที่ปลอดภัยภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายทั้งภาครัฐและเอกชน โดยได้รับการสนับสนุนสิทธิประโยชน์การยุติ และการคุมกาเนิดก่ึงถาวร ในกรณีของวัยรุ่นท่ีอายุต่ากว่า 20 ปีต้องการ จากสานักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ หรือมีหน่วยงานที่ช่วยสนับสนุนหากเลือกจะตั้งครรภ์ต่อ เช่น บ้านพัก หรือหาพ่อแม่อุปการะให้ ในกรณีอยากยกบตุ รให้ 7. ถ้าวัยรุ่นมีปัญหาท้องไม่พร้อม ไม่ควรเก็บปัญหาไว้กับตัวเองหรือคู่เท่านั้น ควรหาขัอมูลและ ความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน เพื่อจะได้มีเวลาและทางเลือกในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถใช้บริการ ปรึกษาสายด่วนปรึกษาเร่ืองเอดส์และท้องไม่พร้อม 1663 ได้ โดยเปิดบริการปรึกษาทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 – 21.00 น. หมายเหตุ : ใหผ้ ู้จัดการเรียนรู้ศกึ ษาใบความรู้ที่ 4 หรอื จากแหลง่ ความรู้อ่ืนทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับเนอื้ หา วตั ถุประสงค์ 180

ใบความรู้สาหรบั กิจกรรมดา้ นท่ี 5 : สขุ ภาพทางเพศ ใบความรู้ที่ 1 เรือ่ ง ยาเมด็ คมุ กาเนดิ (Pill, Oral Contraceptive – OC) เป็นยาคุมกาเนิดชนิดกิน ประกอบด้วยส่วนผสมของฮอร์โมนสังเคราะห์ 2 ชนิด คือ เอสโตรเจน และโปรเจสโตเจน จดั ทาเป็นแผง ระบวุ นั ตามลาดบั ลูกศรเพ่ือกนั ลมื ยาเม็ดคุมกาเนิดมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีปริมาณยาและจานวนเม็ดไม่เท่ากัน เช่น 21 เม็ด และ 28 เมด็ กลไกการออกฤทธ์ฮิ อรโ์ มนในยาจะทาให้ 1. ยับยั้งการสกุ ของไข่ และไม่มกี ารตกไข่ 2. ทาใหน้ ้าเมือกท่ีปากมดลูกข้นข้นึ ทาให้เชอื้ อสจุ เิ ข้าส่โู พรงมดลกู ได้ยาก 3. ทาให้ไม่มกี ารเจรญิ ของเยื่อบุมดลกู จงึ มสี ภาพไมเ่ หมาะแก่การฝงั ตวั ของตัวออ่ นทไ่ี ด้รบั การผสมแล้ว ยาเมด็ คมุ กาเนดิ ทขี่ ายในทอ้ งตลาดทั่วไป มีด้วยกนั 2 กล่มุ คอื 1. ยาเม็ดคุมกาเนิดชนิดฮอร์โมนรวม (Combined Pill) เป็นยาคุมที่ตัวยาแต่ละเม็ดมีส่วนประกอบ ของฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสโตเจน มีทัง้ ชนิด 21 และ 28 เม็ด สาหรับชนดิ 28 เม็ดน้ัน ตัวยา 7 เม็ด ทีเ่ พ่ิมขน้ึ จะไมม่ ตี ัวยาฮอร์โมน แต่จะเปน็ วิตามินหรอื ธาตเุ หลก็ แทน 2. ยาเม็ดคุมกาเนิดชนิดท่ีมีเฉพาะโปรเจสโตเจน (Progestin-only Pill or Minipill) มีชนิดท่ี จัดทาเป็นแผง 28 เม็ด ยาทุกเม็ดมีตัวยาเหมือนกัน ยานี้มีประโยชน์ในผู้ที่ไม่สามารถทนอาการข้างเคียง ของฮอรโ์ มนเอสโตรเจนได้ วิธรี บั ประทานยาเม็ดคมุ กาเนิดชนิด 21 เมด็ 1. ให้เร่ิมต้นกินยาเม็ดแรกภายในช่วงเวลา 5 วันแรกของรอบเดือน (นับวันแรกที่ประจาเดือนมา เป็นวันที่หน่ึง) จากนั้นกินยาติดต่อกันทุกวันจนหมดแผง ในเวลาใดก็ได้ แต่ควรกินเวลาเดียวกันทุกวัน (การกินเรียงตามลกู ศรและตรงกับวนั จะชว่ ยปอ้ งกันการลมื กินยา และยาทกุ เม็ดมตี ัวยาเหมือนกนั ) 2. เมื่อยาหมดแผงให้หยุดกินยา 7 วันสาหรับผู้ใช้ยาชนิด 21 เม็ด ระหว่างหยุดยา 2 - 4 วัน จะมี เลือดประจาเดือนมา เม่ือหยุดยาครบกาหนดให้เร่ิมกินยาในแผงต่อไปทันที ในวิธีเช่นเดิม โดยจะเริ่มกินยา เมด็ ใดในแผงกอ่ นก็ได้ แตถ่ ้ากินตรงกับวนั กากับจะชว่ ยป้องกันไม่ใหล้ ืมกนิ ยา วิธีรบั ประทานยาเม็ดชนดิ 28 เมด็ 1. เร่ิมกินยาในวันแรกของรอบประจาเดือน กินเม็ดแรกในส่วนท่ีระบุบนแผงว่าเป็นจุดเริ่มต้น ใชย้ าและกินตามวนั กากับตามทศิ ลูกศรจนหมดแผง 2. กนิ แผงใหม่ตดิ ตอ่ ไดเ้ ลยโดยไมต่ อ้ งหยุดยา 181

ใบความร้ทู ี่ 2 เรื่อง ความลบั ของถุงยางอนามัย พีรยุ ดปี ระเสริฐ ทุกครั้งท่ีใช้ถุงยางอนามัย เคยคิดบ้างไหมว่าวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ที่ใช้เป็นเครื่องป้องกันโรค และเป็น เกราะกาบังสาหรับผู้ท่ีไม่ต้องการมีบุตรน้ัน มีท่ีมาและที่ไปอย่างไร เพราะกว่าที่จะกลายมาเป็นถุงยาง อนามัยนั้น เส้นทางการผลิตล้วนแล้วแต่เต็มไปด้วยความยุ่งยาก และมีความลับซุกซ่อนอยู่เป็นจานวนมาก หากถามว่า รู้จัก \"ถุงยางอนามัย\" หรือไม่ ? ร้อยทั้งร้อยคงตอบว่ารู้จัก ยงิ่ เป็นสภุ าพบุรุษด้วยแล้วละก็ ย่อมต้องเคยได้ใช้กันบ้างไม่มากก็น้อย ยิ่งในยุคที่โรคเอดส์ได้กลายเป็นปัญหาใหญ่ที่คร่าชีวิตพลเมืองโลก ไปเป็นจานวนมหาศาล ถุงยางอนามัยยิ่งถือเป็นสิ่งจาเป็น สาหรับบุรุษเพศที่ชื่นชอบในกามกรีฑา อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศไทย ที่สัดส่วนการใช้ถุงยางในธุรกิจบริการทางเพศ ยังคงมี ตวั เลขอยู่ทป่ี ระมาณรอ้ ยละ 70 อย่างไรก็ตามถุงยางอนามัย ไม่ใช่เพิ่งเกิดข้ึนเม่ือ 10 - 20 ปี แต่วิธีการคุมกาเนิดที่เก่าแก่ท่ีสุด แบบหนึ่งน้ี มีประวัติความเป็นมา ที่สามารถนับย้อนหลังไปได้หลายร้อยหลายพันปีเลยทีเดียว เท่าที่ได้มี การบันทึกเอาไว้ ถุงยางอนามยั ปรากฏตวั ข้ึนเปน็ ครั้งแรกในโลกราว 677 - 807 ปี ก่อนคริสตกาล โดยชาย ชาวอยี ิปต์ในสมัยโบราณ สวมปลอกประเภทน้เี อาไว้เพื่อป้องกัน การติดเชอื้ การบาดเจ็บ และการถูกแมลง สัตว์กดั ตอ่ ย จากน้ันถุงยางอนามัยได้มีการ วิวัฒนาการมาเป็นลาดับจนกระท่ังถึงปัจจุบัน เทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้เข้ามาช่วยปรับปรุงการผลิตถุงยางอนามัยให้มีความทันสมัยข้ึนกว่าท่ีบรรพบุรุษเคยใช้เป็นอย่างมาก ตัวอย่างที่ถือว่าเป็นสุดยอดของถุงยางอนามัยในขณะน้ีก็คือ การนาวัสดุโพลียูรีเทนที่มีคุณสมบัติ โดดเด่นเฉพาะตัว มีความเหนียวกว่ายางดบิ ถงึ สองเทา่ มาใช้ จนทาให้สามารถผลิตแผน่ ฟลิ ์มที่บางและไวต่อ ความรสู้ ึกได้กว่าเดมิ เทคโนโลยีการผลิตเหล่าน้ี ผู้ผลิตแต่ละค่ายต่างหวงแหนและถือเป็น \"ความลบั ทางการค้าข้ันสุดยอด\" ที่ต้องปกปิดเอาไว้ไม่ให้ร่ัวไหลออกไปสู่ภายนอกโดยเด็ดขาด ชนิดท่ีเรียกว่า ย่ิงกว่าไข่ในหินเลยก็คงจะว่าได้ เพราะมฉิ ะน้ันแลว้ อาจนาไปสกู่ ารลอกเลียนแบบ และสรา้ งความเสยี หายอยา่ งใหญห่ ลวงกับทางบรษิ ทั ด้วยเหตุนี้ ระเบียบปฏิบัติในการเข้าเย่ียมชมโรงงานผลิตถุงยางอนามัยแต่ละแห่ง จึงถูกกาหนด เอาไว้อย่างรัดกุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทยักษ์ใหญ่ท่ีครองความเป็นเจ้าตลาดของสินค้าประเภทนี้ สุรเกียรติ เกษมสุวรรณ ผ้จู ัดการฝา่ ยผลิต บรษิ ัทลอนดอน รอยัล คอนซูเมอร์ โปรดักท์ส (ประเทศไทย) จากัด อธิบายใหฟ้ ังว่า ทกุ ครงั้ ที่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าเยี่ยมชมโรงงานน้ัน ถือเป็นเร่ืองใหญ่ที่ทาง บริษัทให้ความสาคัญและพิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วน บริษัทต้องทาเรื่องขออนุญาตไปที่บริษัทแม่ ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ล่วงหน้าอย่างน้อยไม่ต่ากว่า 1 สัปดาห์ ก่อนท่ีบุคคลภายนอกจะได้รับการอนุมัติ ให้เข้าเย่ียมชมเทคโนโลยีการผลิตถุงยางอนามัยเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ด้วยเง่ือนไขที่ว่าห้ามถ่ายรูป ภายในโรงงานเปน็ อนั ขาด \"จริง ๆ แล้วในทุกข้ันตอนการผลิต ล้วนแล้วแต่เต็มไปด้วยความลับตลอด ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ สูตรน้ายางที่ทางดูเร็กซ์คิดค้นและพัฒนามาเป็นเวลาไม่ต่ากว่า 10 ปี หรือแนวองศาในการเอียงของแท่งแก้ว เพราะฉะนั้นเราถึงตอ้ งควบคุมเร่ืองภาพถา่ ยอยา่ งเข้มงวด เน่ืองจากถ้าภาพถูกเผยแพร่ออกไปผู้ผลิตรายอื่น ที่มีปญั หาและยงั แก้ไขไมต่ ก เหน็ ภาพเพยี งแค่นดิ เดยี ว เขาก็จะสามารถแก้ปัญหาได้ในทันท\"ี 182

นอกจากความลับที่ต้องมีการควบคุมอย่างเข้มงวดแล้ว กระบวนการผลิตถุงยางอนามัยยังเต็มไปด้วย ความสลับซับซ้อน มิหนาซ้ายังต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพอย่างละเอียดถี่ถ้วน ตั้งแต่ขั้นตอนแรก ถึงข้ันตอนสุดท้ายเช่นกัน เพราะฉะนั้น กว่าที่ถุงยางอนามัยแต่ละช้ินจะหลุดออกมาให้เรา ๆ ท่าน ๆ ได้ใช้น้ัน จึงไม่ใช่เรอ่ื งงา่ ยที่เพยี งแค่เอาแท่งแก้วสาหรบั ขน้ึ รปู จมุ่ ไปในน้ายางอบให้แหง้ กส็ ามารถนามาใช้งานได้แล้ว กระบวนการผลิตถุงยางอนามัยเร่ิมต้นขึ้นตั้งแต่ในสวนยางพาราในประเทศมาเลเซีย ก่อนท่ีจะมี การส่งยางดิบเข้ามาท่ีโรงงาน จะต้องมีการนาตัวอย่างมาตรวจสอบเสียก่อน ถ้าตัวอย่างดังกล่าวไม่ผ่าน การตรวจสอบ บรษิ ัทฯ จะไมร่ บั ยางในครั้งการผลิตนนั้ เขา้ สโู่ รงงาน กรณีท่ีผ่านการตรวจสอบจะมีการกาหนดรหัสประจาตัวที่ใช้ในทุกขั้นตอนการผลิต จากน้ัน ส่วนผสมต่าง ๆ ท่ีเป็นสูตรเฉพาะท่ีส่งตรงมาจากอังกฤษจะถูกนามาผสมกับน้ายางดิบ เพื่อให้ยางมีความคงตัว และทนทาน หลังจากท่ีใช้เวลาบ่มตวั ไม่น้อยกว่า 10 วัน เพ่ือให้เกิดปฏกิ ิริยาเคมีอย่างสมบูรณ์ ซึ่งส่วนผสมน้ี จะถกู นาไปใชใ้ นขั้นตอนการผลิตต่อไป ถัดมาคือขั้นตอนการจุ่มข้ึนรูป ข้ันตอนนี้จะต้องทาภายในห้องปลอดฝุ่นละออง ซ่ึงติดต้ังระบบ กรองอากาศไฟฟ้าสถิต โดยแท่งแก้วสาหรับข้ึนรูปที่เรียงต่อกันเป็นแถวจะค่อย ๆ เคล่ือนตัวลงจุ่มในถังท่ีมี ส่วนผสมนา้ ยางธรรมชาติที่ต้องควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสม แท่งแก้วแต่ละแท่งจะหมุนไปรอบ ๆ อย่างสม่าเสมอเพื่อให้ส่วนผสมนี้กระจายตัวติดแท่งแก้ว ด้วยความหนาเท่า ๆ กันทั้งชิ้น จากนั้นแท่งแก้วจะเคล่ือนตัวผ่านเข้าตู้อบอินฟาเรด เพื่อให้น้ายางแห้ง เมื่อออกจากตู้อบ แท่งแก้วจะต้องจุ่มน้ายางอีกเป็นคร้ังท่ีสอง เพื่อให้ถุงยางอนามัยมีความหนา และทนทานเพียงพอ และเมื่ออบแห้งคร้ังท่ีสองแล้วแท่งแก้วจะเคล่ือนท่ีผ่านแปรงขนนุ่มที่ทาหน้าที่ม้วน ขอบถุงยางก่อนที่จะผ่านเข้าสู่ตู้อบครั้งสุดท้าย เพื่อให้สารประกอบต่าง ๆ ในส่วนผสมน้ายางธรรมชาติ ทาปฏิกิริยากันอย่างสมบูรณ์ รวมทั้งทาให้ช้ันของน้ายางธรรมชาติท่ีเกิดจากการจุ่มครั้งที่สองหลอมรวม เป็นเนอ้ื เดยี วกัน หลังจากนั้นแท่งแก้วจะผ่านขั้นตอนการล้างน้าที่ผสมสารเคมี เพื่อให้ถุงยางอนามัยลื่นหลุดออกได้ โดยง่าย เม่ือขั้นตอนการขึ้นรูปเสร็จเรียบร้อยในระหว่างนั้นถุงยางจะถูกนาไปล้างสารเคมีต่าง ๆ ให้หลุด ออกจากผิวยางถุงยางอนามัยให้หมด พร้อมท้ังใส่แป้งเข้าไปเพื่อป้องกันการจับตัวเป็นก้อน เม่ือล้างเสร็จก็ จะนาเข้าตู้อบอบให้แห้งต่อไป ขณะเดียวกันถุงยางบางส่วนจะถูกสุ่มตัวอย่าง เพื่อนามาตรวจสอบคุณภาพ ใน 3 สว่ นดว้ ยกนั คือ ตรวจความรั่ว ทดสอบแรงดนั อากาศ และทดสอบความทนทาน พนักงานจะสุ่มตัวอย่างบางส่วนมาตรวจความรั่วด้วยการเติมน้าเข้าไป 300 ซีซี แขวนทิ้งไว้ ประมาณ 1 - 2 นาที แล้วนามาคลึงบนกระดาษสีซับน้า ถ้าถุงยางเกิดรอยรั่วจะสามารถสังเกตเห็นรอย น้าร่วั ซมึ บนกระดาษสไี ดช้ ัดเจน จากน้ันถุงยางก็จะถูกส่งต่อไปยังส่วนที่ทาการทดสอบแรงดันอากาศ อากาศจะถูกอัดเข้าไปใน ถุงยาง โดยมาตรฐานกาหนดเอาไว้ว่าจะต้องทนแรงอัดอากาศได้ไม่ต่ากว่า 18 ลิตร ก่อนท่ีจะระเบิดแตก ออกบางส่วน จะนาไปทดสอบความทนทานด้วยการยืดชิ้นส่วนถุงยางอนามัยที่ตัดเป็นชิ้น กว้างประมาณ 20 มลิ ลเิ มตร ชน้ิ สว่ นถงุ ยางจะตอ้ งยดื ออกได้ยาวถึง 8 เทา่ ของความยาวปกตกิ อ่ นจะขาด \"นอกจากฝ่ายผลิตจะควบคุมคุณภาพเองแล้ว เรายังมีฝ่ายควบคุมคุณภาพเข้ามาตรวจสอบ อีกช้ันหนึ่ง ซง่ึ เขาไม่ได้ขนึ้ กับฝ่ายเรา ถ้าฝ่ายควบคุมคุณภาพเจอรรู ั่ว ไมผ่ ่านคือไม่ผ่าน ผมไปต่อรองกับเขาไม่ได้ เพราะว่าจริง ๆ แล้ว เขามีสายงานของการตรวจสอบที่ขึ้นตรงกับบริษัทแม่ทีล่ อนดอน เขาสามารถรายงาน ฝร่ังที่อังกฤษได้เลย แม้แต่ผมเองซ่ึงควบคุมโรงงานท้ังหมดยังไม่สามารถเข้าไปก้าวก่ายได้เลย\" มาร์ติน เบอร์เชลล์ ผูอ้ านวยการฝา่ ยปฏบิ ตั กิ าร ยืนยันคณุ ภาพของดูเรก็ ซ์ 183

ก่อนท่ีจะนาถุงยางมาบรรจุกล่องในข้ันตอนสุดท้าย ถุงยางทุกชิ้นที่ผลิตได้จะต้องผ่านการ ตรวจสอบด้วยเครอื่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ เพื่อตรวจหารอยร่ัวหรือสง่ิ ผิดปกตอิ ่นื ๆ ถุงยางแต่ละชิ้นจะถกู ครอบลง บนแท่งโครเมียม จากนั้นจะปล่อยกระแสไฟฟ้าแรงดันสูงขนาด 2,000 โวลต์เข้าไปสู่แท่งโลหะน้ี และจะมี สัญญาณเตือนให้ทราบ เมื่อถุงยางอนามัยช้ินใดช้ินหนึ่งมีรอยรั่วหรือสิ่งผิดปกติ ซ่ึงถุงยางอนามัยช้ินนั้น จะถูกแยกออกมาตา่ งหาก เพื่อคัดท้งิ ต่อไป \"เราเคยเจอเหมือนกันนะ มีบางคร้ังเกิดอุบัติเหตุแท่งแก้วสาหรับข้ึนรูปไปกระแทกกับกระจก แล้วเศษแก้วหล่นลงไปในนา้ ยาง พอเรานาไปตรวจสอบรอยร่ัวดว้ ยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนิกส์ ปรากฏว่า เกิดรั่ว ร้อยละ 50 - 60 เราก็จะไม่เสียเวลาคัด เราจะท้ิงไปทั้งลอตเลย นอกจากนี้แล้วในทุก ๆ ชั่วโมง เราจะเอา ถุงยางที่รั่วมาเจาะรูให้รั่ว 12 ชิ้น แล้วนาไปผ่านเครื่องอิเล็กทรอนิกส์อีกคร้ัง เพื่อดูว่าเครื่องยังทางานดีอยู่ หรือไม่ ซ่ึงทุกชิ้นจะต้องลงไปท่ีช่องรีเจกต์หมด ถ้าไม่รีเจกต์ท้ัง 12 ช้ิน เราจะหยุดเครื่อง แล้วให้ช่างมาทา การแก้ไขจนกว่าทั้ง 12 ชิ้น ถูกรีเจกต์หมด เราถึงมาใช้เครื่องนั้นอีกคร้ัง\" สุรเกียรติ ยกตัวอย่างให้ฟัง อย่างไรก็ตาม แม้กระบวนการตรวจสอบคุณภาพจะดาเนินไปอย่างละเอียดถ่ีถ้วนเพียงใด แต่ก็ใช่ว่า ถุงยางอนามัยทุกชิ้นจะสมบูรณ์แบบและปลอดภัย 100% เพราะจากข้อมูลที่ทางบริษัทผู้ผลิตบันทึกเอาไว้ เปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดท่ีเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตก็มีความเป็นไปได้เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเร่ือง ของรูรั่ว \"ผมพูดตรง ๆ เลยว่าไม่มีหรอกครับท่ีสินค้าชนิดไหนในโลกจะสมบูรณ์ โดยไม่มีข้อผิดพลาด ไม่ว่า คุณจะซ้ือสินค้าราคาเป็นล้านก็ไม่ได้เป็นเครื่องการันตีว่า คุณจะได้ของดีทุกอย่าง ซื้อรถยนต์ราคาเป็นล้าน มาใหม่ ๆ ขับไปอยู่ดี ๆ เกิดเครื่องดับก็มี แต่ว่าเราพยายามถึงที่สุดที่จะให้เปอร์เซ็นต์รั่วออกมาต่าที่สุด ปกติท่ัวไปแล้วมาตรฐานของ อย. กาหนดเปอร์เซ็นต์การรั่วเอาไว้ท่ี 0.25% แต่ดูเร็กซ์ทาได้ 0.0002% เรียกว่าตา่ กว่าน้ันไปไม่รูเ้ ท่าไร เพราะฉะน้นั ความเสยี่ งที่เกิดขน้ึ จากการใช้ถุงยางอนามัยของเราก็ยิ่งต่ามากขึ้น ไปดว้ ย\" ผูจ้ ัดการฝ่ายผลติ อธบิ ายความปลอดภัยของการใชถ้ งุ ยางอนามยั จากน้ันถุงยางอนามัยที่ตรวจสอบคุณภาพแล้ว จะถูกนาไปบรรจุฟอยล์และเติมสารฆ่าเชื้อ หรือ กลิน่ ตา่ ง ๆ เปน็ ขน้ั ตอนสดุ ทา้ ย จะเห็นได้วา่ กว่าที่จะมาเป็นถุงยางแต่ละช้ินนั้น เต็มไปด้วยความลับและความยุ่งยาก ในส่วนของ ผู้ใช้เองก็ต้องมีความระมัดระวัง และใช้ให้ถูกวิธีเช่นกัน เพราะมิฉะนั้นแล้ว แม้สินค้าจะมีคุณภาพมากมาย สักเพียงใด แต่ถ้าผู้ใช้ใช้ไม่เป็นแล้วอันตรายก็ย่อมอาจเกิดข้ึนได้ ท่ีสาคัญคือต้องพึงสังวรเอาไว้ว่าไม่มีวิธี คุมกาเนิดใดท่ีสามารถคุมกาเนิดหรือป้องกันเช้ือไวรัสเอชไอวี หรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ 100% ท่ีมา : พรี ยุ ดปี ระเสริฐ. (2553). ความลบั ของถุงยางอนามยั . วนั ทค่ี ้นขอ้ มลู 19 เมษายน 2560. เขา้ ถงึ ได้จาก https://xonly8.com/index.php?topic=80426.0 184

ใบความรู้ที่ 3 การล่วงละเมดิ ทางเพศ สังคมไทยนับวันยงิ่ เกดิ ปญั หาเพิ่มมากขน้ึ ซึ่งดไู ดจ้ ากหน้าหนงั สอื พมิ พร์ ายวัน หรอื นิตยสารต่าง ๆ ที่มีเรื่องราวเก่ียวกับปัญหาในปัจจุบันหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ท้ังสะเทือนขวัญและไร้ซึ่งความรู้สึกผิดชอบช่ัวดี รวมทั้งข่าวเร่ืองการละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้นก็มเี กิดขึ้นมากมาย บ้างก็อุกอาจ สะเทือนต่อจิตใจและกระทบ ต่อศีลธรรมอันดี บ้างก็เป็นข่าวเพียงเล็กน้อยหรือบางเร่ืองก็ไม่ได้ให้ความสาคัญมากนัก จนเห็นเป็นเรื่อง ปกตไิ ปเเล้ว การถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศเกดิ ขึน้ ได้ในหลายรปู แบบ การทาความเขา้ ใจในเรื่องการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ จะชว่ ยให้เราสามารถปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างเหมาะสม เมอ่ื เพอ่ื นสมาชกิ ในครอบครัว เปดิ เผยใหร้ ู้วา่ พวกเขาได้ถูกทาร้าย ตวั อยา่ งของการทารา้ ยทางเพศ ดงั รายการต่อไปนี้  การลว่ งละเมิดทางเพศ  สัมผสั ที่ไมพ่ ึงประสงคห์ รือการจูบ  ข่มขู่หรือบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ หรือกิจกรรมทางเพศท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้ังกิจกรรมท่ีเก่ียวข้อง กับการใช้ความรนุ แรงหรอื ทาให้เกิดความเจบ็ ปวด  การแสดงอวยั วะเพศ เช่น 'เปดิ โชว์ของลับ'  การสะกดรอยตาม  การถูกจับตามองจากคนท่ีไม่ได้รับอนุญาตของคุณ เม่ือคุณเปลือยกายหรือมีส่วนร่วม ในกจิ กรรมทางเพศ  การโพสตร์ ูปภาพทางเพศบนอินเทอรเ์ นต็ โดยปราศจากความยินยอม  การถกู บังคับหรอื ขม่ ขโู่ ดยอีกคนท่จี ะดูหรอื มีสว่ นรว่ มในส่อื ลามก  การใสย่ าในเครื่องดื่มหรือการใช้ยาเสพติดและเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อลดหรือทาลายให้เสีย ความสามารถของบุคคลในการเลอื กเกี่ยวกบั การมเี พศสัมพนั ธห์ รือกจิ กรรมทางเพศของอีกคนหนึ่ง  การมีเพศสัมพันธ์กับคนที่กาลังนอนหลับ ผู้ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากการด่ืม แอลกอฮอล์และ/หรอื ยาเสพติดอ่ืน ๆ  พูดลามกหรือพูดตลกลามก เล่าเร่ืองหรือแสดงลักษณะเก่ียวกับเพศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ รปู แบบการข่มขบู่ ังคับ การทาให้อับอายหรือการเอาเปรยี บ  การขม่ ขืน (การใช้วัตถุใดก็ตามสอดเขา้ ไปในทวารใดกต็ าม)  “การตระเตรียม” ของเด็ก หรือ คนท่ีอ่อนแอกวา่ ให้เขา้ รว่ มในกิจกรรมทางเพศแบบต่าง ๆ  การกระทาทางเพศในรูปแบบต่าง ๆ กบั เดก็ 185

การถูกล่วงละเมิดทางเพศไม่ได้เป็นเช่นเดียวกับการแสดงออกทางเพศ การถูกล่วงละเมิดทางเพศ เป็นพฤติกรรมทางเพศท่ีไม่พึงประสงค์ หรือคือการกระทาที่ใช้การข่มขู่บังคับขู่เข็ญหรือบังคับให้ใช้อานาจ หรือปฏิเสธสิทธิของบุคคลที่จะเลือกการทาร้าย และการละเมิดทางเพศจะมีเหตุการณ์อย่างใดอย่างหน่ึง เกิดขึ้นหรือเป็นส่วนหน่ึงของรูปแบบของการใช้ความรุนแรง มันมีผลกระทบหลายอย่าง ทั้งผลกระทบ ทางกายภาพ ทางอารมณ์และทางจิตใจ ผลกระทบของการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ ความรุนแรงระหว่างบุคคล เช่น การถูกล่วงละเมิดทางเพศ เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่เจ็บปวดมาก ท่ีสุดท่ีบุคคลหนึ่งจะประสบได้ การตอบสนองต่อความต้องการได้ทันทีของเหย่ือ/ผู้รอดชีวิต จะช่วยลด อันตราย โดยเช่ือและทาตาม สิ่งท่ีสาคัญคือต้องช่วยสนับสนุนแก่พวกเขาในขณะที่เขากาลังฟ้ืนตัว และ ต้องใหเ้ วลาในการเยียวยาด้วยวถิ ีของเขาเอง ท่มี า : อะไรคือการถูกลว่ งละเมิดทางเพศ. วันที่ค้นข้อมลู 2 สิงหาคม 2561. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.1800respect.org.au/languages/. 186

ใบความรู้ที่ 4 เร่ือง แนวทางการยุติการตง้ั ครรภ์ เพ่ือปอ้ งกนั การแทง้ ท่ีไมป่ ลอดภยั ราชวทิ ยาลัยสตู ินรีแพทย์แหง่ ประเทศไทย สตรีต้ังครรภ์ท่ีมีความจาเป็นต้องได้รับบริการยุติการต้ังครรภ์ ควรได้รับการดูแลจากทีมสหสาขา วิชาชีพ ซ่ึงประกอบด้วยบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขท่ีมีความรู้ความสามารถ มีทักษะในการ รบั ฟัง สามารถให้การแนะนาปรกึ ษาที่เหมาะสม เพ่ือให้ผรู้ ับบรกิ ารซ่ึงหมายถึงสตรตี ั้งครรภ์ และ/หรอื สามี ครอบครัว ไดร้ ว่ มกนั ไตร่ตรองถงึ ความจาเปน็ ทางเลือกและวธิ ีการชว่ ยเหลอื ในรปู แบบตา่ ง ๆ การยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์เป็นการรักษาพยาบาล เพื่อให้เกิดการยุติการตั้งครรภ์ อย่างปลอดภัย มีมาตรฐาน ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 305 และข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเก่ียวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ ตามมาตรา 305 แห่งประมวล กฎหมายอาญา พ.ศ. 2548 ในการยตุ กิ ารตัง้ ครรภ์ ควรพจิ ารณาดังกรณตี อ่ ไปนี้ 1. ปญั หาสุขภาพทางกายของหญงิ มีครรภ์ ซง่ึ การตง้ั ครรภ์อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อันตราย 2. ปัญหาสุขภาพทางจิตของหญิงมีครรภ์ ซึ่งจะต้องได้รับการรับรองหรือเห็นชอบจากผู้ประกอบ วชิ าชพี เวชกรรมที่มใิ ช่ผ้กู ระทาการยุตกิ ารตัง้ ครรภ์ อย่างนอ้ ย 1 คน 3. การตง้ั ครรภท์ ีเ่ กิดจากความผิดอาญาทางเพศอกี 3 กรณี คอื (1) การถูกข่มขนื กระทาชาเรา (มาตรา 276) (2) การกระทาชาเราเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี (มาตรา 277) แม้ว่าการต้ังครรภ์น้นั จะเกิดจาก การมเี พศสมั พนั ธ์ท่ีสมยอม แตท่ งั้ นี้การยตุ ิการต้ังครรภ์ ตอ้ งได้รบั การยินยอมจากผูป้ กครอง (3) การตง้ั ครรภ์ทเ่ี กิดจากการถูกสนองความใครข่ องผู้อืน่ ซึ่งอาจจะถกู จดั หา ล่อลวง หรือ พาไป แม้หญิงจะยินยอม หรืออาจจะถูกจัดหา ล่อลวงหรือพาไป โดยใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กาลัง ประทษุ รา้ ย ใช้อานาจครอบงา หรือข่มขืนใจ (มาตรา 282, 283, 284) สถานท่ีท่ีสามารถใหบ้ รกิ ารยุตกิ ารตัง้ ครรภ์ 1. กรณที ่อี ายุครรภ์ไม่เกิน 12 สปั ดาห์ สามารถบรกิ ารยตุ ิการตัง้ ครรภไ์ ด้ท่ีคลินิก 2. กรณีทอ่ี ายุครรภ์เกนิ 12 สัปดาห์ไปแลว้ ต้องให้บริการในโรงพยาบาลเท่านนั้ ข้อควรปฏบิ ตั ิก่อนยุตกิ ารตงั้ ครรภ์ 1. ทราบอายุครรภ์ 2. เป็นการตงั้ ครรภ์ปกตใิ นโพรงมดลกู 187

วิธีการยตุ กิ ารตั้งครรภ์ 1. การยุตกิ ารตงั้ ครรภ์ด้วยยาควรเลือกใช้เปน็ วธิ แี รกเนอื่ งจากปลอดภยั และสะดวก 1.1 ช่วงอายุครรภ์ก่อน 9 สัปดาห์ (63 วัน) หลังมีประจาเดือนคร้ังสุดท้ายรับประทานยา mifepristone 200 มิลลิกรัม 1 เม็ด จากนั้น 24 - 48 ชั่วโมง ใช้ยา misoprostol 800 ไมโครกรัม (200 ไมโครกรัม จานวน 4 เม็ด) อมใต้ลิ้น หรืออมในกระพุ้งแก้ม หรือสอดเข้าช่องคลอด อัตราการแท้ง ครบในสองสัปดาห์ รอ้ ยละ 95 o สงสยั ว่า ไมเ่ กดิ การแทง้  ไม่มีเลือดออกทางช่องคลอด อาการแสดงของการตั้งครรภ์ยังคงอยู่ ให้พจิ ารณา ดาเนินการต่อไปนี้ ใช้ยาซ้าดังสูตรข้างตน้ (หากอายุครรภ์ยังไมเ่ กิน 9 สัปดาห์) หรือทาการดูดด้วยกระบอก ดูดสุญญากาศ (manual vacuum aspiration: MVA) o สงสัยวา่ แท้งไมค่ รบในสองสัปดาห์ ให้พจิ ารณาดาเนินการตอ่ ไปนี้  ในกรณีที่เลือดออกไม่มาก สามารถใช้ยา misoprostol 800 ไมโครกรัม (200 ไมโครกรมั จานวน 4 เมด็ ) สอดเขา้ ช่องคลอด หรืออมใต้ลน้ิ หรืออมในกระพุง้ แก้ม หรือทา MVA  ในกรณที เี่ ลือดออกมาก พจิ ารณาทา MVA 1.2 ช่วงอายุครรภ์ 9 - 12 สัปดาห์ รับประทานยา mifepristone 200 มิลลิกรัม จากนั้น 36 - 48 ชั่วโมง ใช้ยา misoprostol 800 ไมโครกรัม (200 ไมโครกรัม จานวน 4 เม็ด) สอดเข้าช่องคลอด ถ้ายังไม่แท้งให้ใช้ misoprostol 400 ไมโครกรัม (200 ไมโครกรัม จานวน 2 เม็ด) อมใต้ลิ้น หรืออม ในกระพุ้งแก้ม หรือสอดเข้าช่องคลอดทุก 3 ช่ัวโมง จนกว่าจะแท้ง โดยใช้ยาได้อีกไม่เกิน 5 คร้ัง ในกรณีท่ี ไม่แท้ง ใหส้ ่งตอ่ ใหส้ ูตนิ รีแพทย์ หรือพจิ ารณาทา MVA 1.3 ช่วงอายุครรภ์มากกว่า 12 - 24 สัปดาห์ รับประทานยา mifepristone 200 มิลลิกรัม จากนั้น 38 - 48 ชั่วโมง ใช้ยา misoprostol 800 ไมโครกรัม (200 ไมโครกรัม จานวน 4 เม็ด) สอดเข้า ช่องคลอด ถ้ายังไม่แท้งให้ใช้ misoprostol 400 ไมโครกรัม (200 ไมโครกรัม จานวน 2 เม็ด) อมใต้ล้ิน หรืออมในกระพุ้งแก้ม หรือสอดเข้าช่องคลอดทุก 3 ช่ัวโมง จนกว่าจะแท้ง โดยใช้ยาได้อีกไม่เกนิ 5 ครั้ง ใน กรณีที่ไม่แท้ง ใหส้ ่งต่อให้สตู ินรีแพทย์ ตาราง สรุปแนวทางในการใช้ยายุตกิ ารตั้งครรภ์ อายุครรภ์ อายคุ รรภ์ อายุครรภ์มากกวา่ น้อยกว่า 9 สปั ดาห์ 9-12 สัปดาห์ 12-24 สปั ดาห์ 1. กนิ mifepristone 200 มก. 1. กนิ mifepristone 200 มก. 1. กิน mifepristone 200 มก. 2. รอ 24-48 ชวั่ โมง 2. รอ 36-48 ช่วั โมง 2. รอ 38-48 ชวั่ โมง 3. misoprostol 4 เม็ด อมใต้ 3. misoprostol 4 เม็ด สอดเขา้ 3. misoprostol 4 เมด็ สอดเข้า ลิ้น หรืออมในกระพุ้งแก้ม หรือ ชอ่ งคลอด ช่องคลอด สอดเข้าชอ่ งคลอดครงั้ เดยี ว 4. ตามด้วย misoprostol 2 เม็ด 4. ตามด้วย misoprostol 2 เม็ด อมใต้ลิ้น หรืออมในกระพุ้งแก้ม อมใต้ลิ้น หรืออมในกระพุ้งแก้ม หรือสอดเข้าช่องคลอด ทุก 3 ห รือส อด เข้ าช่อ งค ลอ ด ทุ ก 3 ชั่วโมง ไม่เกนิ 5 ครง้ั ชั่วโมง ไม่เกนิ 5 ครงั้ 5. สง่ ตอ่ ใหส้ ูตินรีแพทย์ 5. ส่งต่อใหส้ ูตินรีแพทย์ 188

ขอ้ ห้ามใช้ยาสูตรขา้ งต้นในการยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์  ตอ่ มหมวกไตวายเรื้อรงั (chronic adrenal failure)  มปี ระวตั ิแพ้ หรือไวต่อยา mifepristone หรือ misoprostol  มปี ระวตั ิการแพย้ าในกลมุ่ prostaglandins  เป็นโรคหอบหืดอย่างรุนแรงท่ีไมส่ ามารถควบคุมได้ด้วยยา  เป็นโรค inherited porphyria  มกี ารตง้ั ครรภ์นอกมดลกู หรอื สงสัยว่าจะตง้ั ครรภน์ อกมดลูก 2. การยตุ กิ ารตั้งครรภ์ด้วยวิธีทางศลั ยกรรม 2.1 สามารถทาไดจ้ นถึงอายุครรภ์ 12 - 14 สัปดาห์ ขึน้ อยกู่ ับความชานาญของผู้ใหบ้ รกิ าร 2.2 ควรเลือกยุติการตั้งครรภ์โดยใช้ MVA เน่ืองจากมีความปลอดภัยสูงและในกระบวนการ ยตุ กิ ารตั้งครรภด์ ว้ ย MVA ไมจ่ าเป็นต้องใชเ้ หล็กขูดซ้าเพ่ือยนื ยนั ว่าแทง้ ครบ ขอ้ พึงระลึกในการใหบ้ ริการยตุ กิ ารตั้งครรภ์  การยุติการต้ังครรภ์ด้วยการใช้ยาในช่วงอายุครรภ์ก่อน 9 สัปดาห์ จะมีเลือดออก กะปริดกะปรอยไดน้ าน 1 - 2 สปั ดาห์ โดยไม่มอี ันตรายตอ่ ผูป้ ว่ ย  การใชย้ า misoprostol อาจเกดิ อาการข้างเคียงคือ ไข้ หนาวสนั่ ปวดทอ้ ง อาเจยี น ทอ้ งเสีย  ควรแนะนาให้รับบริการคุมกาเนิดทันทีเมื่อยุติการตั้งครรภ์สาเร็จด้วยวิธี MVA หรือ ทนั ทหี ลังจากผ้ปู ว่ ยเร่มิ ใชย้ า misoprostol เนือ่ งจากผปู้ ว่ ยอาจจะไม่มาตดิ ตามหลังการรกั ษา  แนะนาให้ใช้ยาปฏิชวี นะในกรณยี ุตกิ ารตัง้ ครรภ์ดว้ ยวธิ ีทางศัลยกรรมทกุ ราย โดยตารับยา ท่ีแนะนา ได้แก่ doxycycline ขนาด 100 มิลลิกรัม รับประทาน 1 เม็ด ก่อนทาหัตถการ 1 ช่ัวโมง และ รับประทานอีก 2 เม็ด หลงั ทาหัตถการ กรณีที่แพ้ยา doxycycline ให้ใช้ metronidazole ขนาด 500 มิลลิกรัม รบั ประทาน 1 เม็ด วนั ละ 2 เวลา เปน็ เวลา 5 วัน  เน่ืองจากความชุกของหมู่เลือด Rh negative ในประชากรไทยอยู่ท่ีประมาณร้อยละ 0.3 ดังน้นั การพจิ ารณาตรวจหมู่เลอื ด Rh กอ่ น ให้พิจารณาเป็นกรณีไป ท่ีมา : ราชวิทยาลัยสตู นิ รแี พทยแ์ ห่งประเทศไทย. (2561). แนวทางการยตุ ิการตั้งครรภ์ เพ่อื ปอ้ งกันการแทง้ ท่ีไม่ปลอดภยั . วนั ท่ีคน้ ขอ้ มลู 2 สงิ หาคม 2561. เข้าถึงได้จาก : https://www.lovecarestation.com/แนวทางยุตกิ ารตงั้ ครรภ/์ 189





กจิ กรรมท่ี 21 ปากต่อปาก สาระสาคัญ การเขา้ ถึงอิทธิพลของกระบวนการหล่อหลอมทางสังคมท่ีมีต่อความคิด ความเชื่อ และการกระทา ของบุคคล ทาให้เขา้ ใจท่ีมา หรอื พื้นฐานของความคิด ความเชอ่ื ค่านิยมของตนเองในเรื่องตา่ ง ๆ ท่อี าจเหมือน หรือต่างจากบรรทัดฐานของครอบครัว หรอื สังคมก็ได้ และเรียนรู้ที่จะประเมินและเลือกรับค่านิยมคาสอน มาปฏิบตั ิตามอย่างผู้ท่ีร้จู กั ตนเอง เขา้ ใจสงั คมและคนรอบข้าง จดุ ประสงค์ เพ่อื ให้ผู้เรียน 1. สามารถบอกคา่ นยิ มและการอบรมส่งั สอนของสังคมท่เี กีย่ วกบั ความสัมพนั ธใ์ นช่วงวัยร่นุ 2. สามารถวเิ คราะหผ์ ลของคา่ นยิ มและการอบรมดงั กล่าวต่อพฤติกรรมของวัยรุ่น 3. สามารถยกตัวอย่างความขัดแย้งของคาสอน/ค่านิยมในเรื่องเพศ กับสภาพสังคมของวัยรุ่นใน ปจั จุบัน เน้อื หา คา่ นยิ มทางเพศตามสังคมและวัฒนธรรม ภาพรวมการจดั กจิ กรรม อภิปรายค่านิยมและความเชื่อทางสังคมท่ีเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในช่วงวัยรุ่น การวิเคราะห์ถึงผล ของค่านิยมและความเชื่อของสังคมต่อพฤติกรรมของวัยรุ่น พร้อมให้ยกตัวอย่างความขัดแย้งของคาสอน/ คา่ นิยมในเรอ่ื งเพศกบั สภาพสงั คมของวยั ร่นุ ในปจั จุบัน สื่อและอปุ กรณ์ 1. กระดาษฟลปิ ชาร์ท 2. กระดาษกาว 3. ปากกาเคมี 4. แผ่นกิจกรรมปากตอ่ ปาก สาหรับหญงิ และชาย เทา่ จานวนผเู้ รียน ขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรม 1. ผู้จัดการเรียนรู้ช้ีแจงวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ว่าเป็นการทบทวนส่ิงท่ีเราถูกบอกหรือถูกสอน ในเร่อื งความสัมพันธก์ บั คนอน่ื ๆ ใช้เวลา 3 นาที 2. ผู้จัดการเรียนรู้แจกแผ่นกิจกรรมปากต่อปาก ให้ผู้เรียนแต่ละคน โดยให้เขียนสิ่งท่ีถูกบอก เกยี่ วกับเรือ่ งต่าง ๆ ทง้ั 6 เร่ืองตามทร่ี ะบุ ใหเ้ วลา 5 นาที 3. จากนั้นแบ่งผู้เรียนออกเป็น 6 กลุ่ม คละหญิงชาย แจกกระดาษฟลิปชาร์ทให้กลุ่มละ 1 แผ่น โดยแตล่ ะกลุม่ จะได้รบั มอบหมาย 1 หัวข้อ 192

หัวขอ้ สาหรบั กลมุ่ ยอ่ ย 6 กลมุ่ (เลอื กกลุ่มละ 1 เร่ือง) 1. สง่ิ ทว่ี ยั รนุ่ หญงิ ชายถูกบอก/ถกู สอน เรื่อง “การคบเพอื่ น” 2. สิ่งที่วยั รนุ่ หญิงชายถกู บอก/ถกู สอน เรอ่ื ง “การมีแฟนในวัยเรียน” 3. สิง่ ทวี่ ยั รุ่นหญิงชายถกู บอก/ถูกสอน เรื่อง “ความสมั พนั ธแ์ บบรกั เพศเดยี วกนั ” 4. สง่ิ ทว่ี ัยรุ่นหญงิ ชายถกู บอก/ถกู สอน เร่ือง “การมเี พศสมั พันธใ์ นวยั เรียน” 5. สิง่ ท่ีวยั รุ่นหญงิ ชายถกู บอก/ถูกสอน เรื่อง “การต้ังครรภ์ในวัยเรยี น” 6. สง่ิ ทว่ี ัยร่นุ หญงิ ชายถกู บอก/ถกู สอน เร่ือง “การคบและปฏบิ ัตติ วั กบั เพือ่ นต่างเพศ” ใช้เวลา 10 นาที ให้กลมุ่ ช่วยกันดังนี้ ก. รวบรวมสรปุ สิง่ ที่สมาชกิ แตล่ ะคน ถูกบอกในเรือ่ งนนั้ ๆ โดยแยกหญิงชาย ข. ให้อภิปราย และชว่ ยกนั ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ - เหน็ ดว้ ยหรอื ไมก่ ับคาบอก/คาสอนในเรื่องนนั้ ๆ ให้เหตุผล - มขี ้อสงั เกตอย่างไรบา้ ง ตอ่ คาสอนทีส่ อนหญงิ กบั ชายในเร่อื งเดยี วกัน - คิดวา่ วยั รุ่นสามารถทาตามสิ่งที่ถกู บอก/ถูกสอน มากนอ้ ยเพียงใด เพราะเหตใุ ด - ในการเลือกว่าจะปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามค่านิยมหรือคาสั่งสอนท่ีได้รับ วัยรุ่นควร พจิ ารณาจากอะไรบ้าง 4. เม่ือหมดเวลาให้แต่ละกลุ่มนาเสนอผลการอภิปรายในกลมุ่ ของตนเอง ให้เวลากลมุ่ ละ 3 นาที 5. เมื่อนาเสนอครบทุกกลุม่ แล้ว ผู้จดั การเรียนรู้ชวนคดิ โดยใชค้ าถามดังนี้ คาถามชวนคดิ - หากเรามีความเชื่อหรือค่านิยมที่แตกต่างไปจากกรอบค่านิยมที่ถูกบอกมาเราจะทาอย่างไร เพ่ือไมใ่ ห้เกดิ ความขดั แยง้ กับผใู้ หญ่ - ถา้ เราเปน็ ผ้ใู หญ่ สิ่งทเี่ ราอยากบอกวัยร่นุ ในเรื่องทง้ั 6 เรอื่ งคืออะไร เพราะอะไร - หากตอ้ งการใหว้ ยั รุน่ ตระหนัก หรือคิดในเรื่องตา่ ง ๆ ทคี่ ยุ กนั ผูเ้ รียนคดิ ว่าผใู้ หญค่ วรจะทาอะไรอีก การวัดและประเมินผล 1. สงั เกตการณม์ สี ่วนร่วมในกจิ กรรมกลมุ่ 2. การอภิปรายแลกเปลีย่ น การซกั ถาม การโต้ตอบ ขอ้ เสนอแนะสาหรับผู้จดั การเรยี นรู้ - ผูด้ าเนินกิจกรรมควรชว่ ยกระตุน้ ให้เกิดการพูดคุยแลกเปล่ียนในกล่มุ ย่อย - ในประเด็นเร่อื ง รักเพศเดียวกนั หากมีทัศนคติในทางลบ หรอื ในเชงิ ล้อเลียนรนุ แรง ควรใหข้ ้อมูล เรื่องนี้เพิ่มเติมว่าเป็นพฤติกรรมแบบหนึ่งที่เป็นไปตามความสนใจทางเพศ ที่คนสามารถมีแตกต่างกัน ตามธรรมชาติ ซ่งึ ไม่ไดถ้ ือเป็นความเบ่ยี งเบนหรือเปน็ ความผดิ ปกตใิ ด ๆ 193

- ประเด็นเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน ควรระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ทรรศนะในเชิงตัดสิน คุณค่า เพราะอาจมีผู้เรียนบางคนท่ีมีประสบการณ์ดังกล่าว และหากต้องการเสริม ควรเน้นเรื่องผลที่ตามมา จากการมีเพศสัมพันธ์ และวิธีการป้องกัน รวมทั้งการชี้ให้เห็นว่า การเลือกมีหรือไม่มีเพศสัมพันธ์ เป็นทางเลอื กเสมอไม่ได้ ข้นึ กับวา่ ผ้นู ้นั เคยหรือไมเ่ คยมีเพศสมั พันธม์ าก่อน คาถามท้ายบท “ผู้ชายเป็นช้างเท้าหน้า ผู้หญิงเป็นช้างเท้าหลัง” สะท้อนภาพลักษณ์และความคาดหวังต่อผู้ชาย และผู้หญงิ อยา่ งไร ส่งผลกระทบต่อการใชช้ วี ิตของผู้ชายและผู้หญิงอย่างไร เสนอสภุ าษติ หรอื ขอ้ ความสน้ั ๆ ท่ีจดจาไดง้ า่ ย ทช่ี ่วยใหว้ ัยร่นุ คานึงถึงการมเี พศสมั พนั ธท์ ี่ปลอดภัย ขอ้ สรุปสาคัญจากการจดั กิจกรรม 1. ในแต่ละสังคมจะมีแนวปฏิบัติและค่านิยมท่ีเป็นบรรทัดฐานในการอยู่ร่วมกันในสังคม รวมถึง แนวปฏบิ ตั ิทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ความสัมพันธใ์ นแต่ละรูปแบบด้วย เชน่ การมีเพศสัมพนั ธ์หลังแตง่ งานจะไดร้ บั การ ยอมรับมากกว่าการมเี พศสมั พันธก์ ่อนแต่งงานเป็นต้น 2. วยั รุ่น มักจะเป็นเป้าหมายในการดูแลจากผู้ใหญ่อย่างเข้มงวด เพราะถูกมองว่าเป็นช่วงเปล่ียน ผ่านท่ีสาคัญจากเด็กเข้าสู่ผู้ใหญ่ และมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะ เรอื่ งการคบเพ่ือน การมีความรัก การมีแฟน การมีเพศสัมพันธ์ แต่ดว้ ยความเป็นห่วง ซ่ึงอาจจะทาให้วัยรุ่น ร้สู ึกอึดอดั และเหมือนถกู เฝา้ อยา่ งไมไ่ ว้วางใจจากผู้ใหญ่ 3. แม้กรอบค่านยิ มจะถูกอา้ งองิ ว่า เป้นแนวทางทีค่ นสว่ นใหญ่นยิ ม และปฏิบัตอิ ยู่ แตใ่ นความเป็น จริง หลายเร่ืองก็ได้เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย เช่น การมีเพศสัมพันธ์หรืออยู่กินด้วยกันก่อนแต่งงาน ซ่ึงบางครั้งการกระทาได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว แต่ค่านิยมยังไม่ได้เปล่ียนแปลงตาม หรือมีกลุ่มคนท่ียังไม่ได้ ทาตามค่านิยม ด้วยความเช่ือส่วนบุคคล ซ่ึงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติของสังคมที่ตอ้ งมีความแตกต่างกัน เราจึงไม่ควรมองว่า ค่านิยมคือส่ิงท่หี ยุดนงิ่ ตายตัว แต่ควรเท่าทันตอ่ ความเปลยี่ นแปลงและแยกแยะได้ด้วย เหตผุ ลว่า อะไรคือส่งิ ที่เหมาะสมกบั เงอ่ื นไขของเรา 4. การเรียนรู้และเข้าใจที่มาท่ีไปของกติกาสังคมไม่ว่าเราจะเห็นด้วยหรือไม่ก็ตาม จะช่วยให้เรารู้ ว่าจะดารงชีวติ อยู่ในสังคมอย่างไร และถ้าหากขอ้ กาหนด บรรทดั ฐานสังคมต่างจากส่ิงที่เราคิด เราเชื่อและ ขอ้ ปฏิบัติของเรา ก็ตอ้ งพร้อมจะอธิบายกับตัวเองอยา่ งเทา่ ทันและพร้อมจะรบั ผลที่อาจจะตามมากอย่างคน ทพี่ รอ้ มจะรับผดิ ชอบกับส่งิ ที่ตนเองเชื่อและเลอื กปฏบิ ัติ หมายเหตุ : ให้ผู้จัดการเรียนรูศ้ ึกษาใบความรูท้ ี่ 1 หรอื จากแหลง่ ความรู้อนื่ ที่เกยี่ วข้องกับเนื้อหา วัตถุประสงค์ 194



กจิ กรรมท่ี 22 โลกแหง่ ความหลากหลาย สาระสาคัญ สังคมประกอบด้วยคนซ่ึงมีวิถีชีวิต ความเป็นมา ความเชื่อ ทัศนคติ รสนิยม และพฤติกรรม ที่แตกต่างหลากหลาย อคติที่มีต่อคนบางกลุ่ม ที่มีวิถีชีวิตแตกต่างจากคนส่วนใหญ่ อาจนาไปสู่การเลือก ปฏิบตั ิ โอกาสทไ่ี ม่เท่าเทียม และกอ่ ใหเ้ กิดความรูส้ กึ ไรค้ ุณค่า จุดประสงค์ เพอ่ื ให้ผเู้ รียน 1. สามารถระบคุ วามร้สู ึกของการเปน็ “คนสว่ นน้อย” ในสงั คม 2. สามารถบอกสาเหตุของอคติ การเลือกปฏิบัติ หรือการรังเกียจต่อคนบางกลุ่มในสังคม เช่น คนรกั เพศเดียวกนั คนตดิ เช้อื เอชไอวี คนใช้ยาเสพติด ฯลฯ 3. สามารถระบุปัจจัยท่ีชว่ ยให้เกิดการยอมรับความหลากหลาย ของคนในสังคมโดยไมด่ ว่ นตัดสนิ คุณค่า เนอ้ื หา 1. ความเชื่อ ทัศนคติของสงั คมไทยต่อเพศวิถศี ึกษา 2. การยอมรบั ตอ่ กลุ่ม มีความหลากหลายทางเพศของสังคมไทย ภาพรวมการจัดกิจกรรม ผู้เรียนระบุความรู้สึกของการเป็น “คนส่วนน้อย” ในสังคม บอกสาเหตุของอคติการเลือกปฏิบัติ หรือการรังเกียจต่อคนบางกลุ่มในสังคม ผ่านบทบาทสมมุติ และวิเคราะห์ปัจจัยที่ช่วยให้เกิดการยอมรับ ความหลากหลายของคนในสงั คมโดยไมด่ ่วนตัดสินคุณคา่ สอ่ื และอุปกรณ์ 1. บัตรปา้ ยขอ้ ความ สาหรบั ผเู้ รียนทกุ คน 2. เทปกาว ข้ันตอนการจัดกจิ กรรม 1. ผจู้ ัดการเรียนรู้ชแี้ จงวตั ถุประสงค์ เป็นการสารวจความคิดเห็นและความรู้สกึ ของเราท่ีมีต่อกลุ่ม ความหลากหลายในสงั คม และทาความเขา้ ใจท่ีมาและวิถชี ีวติ ของคนทีแ่ ตกต่างจากเรา 2. แจกกระดาษที่พับไวใ้ ห้ผเู้ รียนทกุ คน คนละ 1 แผ่น ใหถ้ ือไว้จนกวา่ จะบอกใหเ้ ปดิ อา่ น เม่ือทุกคน ไดร้ บั แลว้ ผจู้ ัดการเรยี นรบู้ อกให้ทุกคนเปิดอา่ นข้อความน้ันดว้ ยตนเอง และหลบั ตา 3. ผู้จัดการเรียนรู้อธิบายให้ทุกคนลองคิดว่า เราเป็นคนท่ีระบุในกระดาษที่เราได้รับ หากเราเป็น คน ๆ นั้น เราจะมีบุคลิกแบบไหน รู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่เราเป็น สิ่งที่เราต้องการในชีวิตคืออะไร สิ่งที่เรา ไม่ชอบเม่ือคนอ่ืนปฏิบัติกบั เราคืออะไร และให้แต่ละคนลองผูกเร่ืองราวของตัวเองที่เก่ียวข้องกับความเป็น ตวั ตนของเราตามที่ระบุไว้คนละ 1 เรอ่ื ง ใหท้ กุ คนลืมตาได้ และให้เวลาคดิ เรอ่ื งของตนเองเงียบ ๆ 3 - 5 นาที 4. จากน้ัน ให้ผู้เรียนทุกคนติดกระดาษไว้บนหน้าอก ให้ทุกคนมองเห็น และให้ลุกข้ึนเดินไป รอบๆ ห้อง เพ่ือดูวา่ มใี ครบา้ งในห้องนี้ โดยไม่ต้องพูดคยุ กัน ให้เวลา 3 นาที จากนั้นให้จับกลุ่ม ๆ ละ 8 คน ทคี่ ดิ วา่ อยากพูดคุยรจู้ ักกัน 196


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook