Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook บทที่3 ความต้องการทางการศึกษา ปัจจัยและอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนฯ

Ebook บทที่3 ความต้องการทางการศึกษา ปัจจัยและอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนฯ

Published by navarat282515, 2021-08-24 08:07:38

Description: Ebook บทที่3 ความต้องการทางการศึกษา ปัจจัยและอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนฯ

Keywords: ความ,ต้องการทางการศึกษา ปัจจัย,อิทธิพลต่อการเรียนรู้ ผู้เรียนที่ม,ีความ,ต้องการพิเศษ

Search

Read the Text Version

บทที่ 3 ความต้องการทางการศึกษาและปจั จัยทางร่างกายและทางจิตวทิ ยา ท่ีมีอิทธพิ ลต่อการเรยี นรู้ของผเู้ รียนท่มี ีความตอ้ งการพเิ ศษ 3.1 นยิ ามของผเู้ รยี นที่มีความต้องการพเิ ศษ ผเู้ รยี นที่มีความตอ้ งการพิเศษ หมายถงึ ผู้เรยี นท่มี ลี กั ษณะทางรา่ งกาย ปญั ญา อารมณ์และ พฤตกิ รรมทเี่ บ่ียงเบนไปจากปกติ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อพัฒนาการในดา้ นต่างๆ ดังนั้นผูเ้ รยี นจงึ มีความ ตอ้ งการการดูแล เพิ่มเติมดว้ ยวธิ กี ารพเิ ศษ ทางการศึกษาแตกต่างไปจากผเู้ รียนปกติ เพอ่ื ชว่ ยให้ สามารถพฒั นาได้เตม็ ตามศกั ยภาพทมี่ ีอยู่ เพื่อใหม้ ีสขุ ภาพกาย สุขภาพจติ ท่ดี ี มโี อกาสทางการศกึ ษาที่ เท่าเทียมและได้รับการยอมรับในสังคม (พ.ร.บ. สง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550 และที่แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556) 3.2 ประเภทและลักษณะของความตอ้ งการพิเศษ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั แบง่ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง กาหนดประเภทและ หลักเกณฑข์ องคนพิการทางการศกึ ษา พ.ศ. 2552 ตามมาตรา 3และมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญตั ิ การจดั การศึกษาสาหรบั คนพกิ าร จัดประเภท เป็น 9 ประเภท ดงั ตอ่ ไปน้ี บุคคลทม่ี ีความบกพรอ่ ง ทางการเหน็ บคุ คลทม่ี คี วามบกพร่องทางการได้ยิน บคุ คลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางสติปัญญา บคุ คล ทมี่ คี วามบกพร่องทางรา่ งกาย หรอื การเคลอื่ นไหว หรือสุขภาพ บุคคลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการ เรยี นรู้ บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการพดู และภาษา บคุ คลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรม หรือ อารมณ์ บคุ คลออทิสติก และบคุ คลพกิ ารซ้อน (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2552)

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2552) กาหนดลักษณะของคนพิการในแต่ละ ประเภท ดังน้ี 1.บคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางการเหน็ ได้แก่ บคุ คลทสี่ ญู เสยี การเหน็ ต้ังแต่ระดบั เลก็ น้อยจนถงึ ตาบอดสนทิ ซ่ึงแบ่งเปน็ 2 ประเภทดงั น้ี 1.1 ระดบั ตาบอด หมายถึง บคุ คลทส่ี ญู เสียการเห็นมาก จนตอ้ งใชส้ ือ่ สัมผสั และส่ือเสยี ง หาก ตรวจวัดความชัดของสายตาข้างดเี มอื่ แก้ไขแล้ว อย่ใู นระดบั 6 ส่วน 60 (6/60) หรือ 20 ส่วน 200 (20/200) จนถึงไมส่ ามารถรับรเู้ รือ่ งแสง 1.2 ระดบั มองเห็นเลือนราง หมายถงึ บุคคลที่สูญเสยี การเหน็ แตย่ ังสามารถอ่านอักษร ตัวพมิ พข์ ยายใหญ่ดว้ ยอปุ กรณเ์ คร่อื งชว่ ยความพกิ าร หรอื เทคโนโลยีส่งิ อานวยความสะดวก หากวดั ความชดั เจนของสายตาข้างดเี มือ่ แก้ไขแล้วอยใู่ นระดับ 6 สว่ น 18 (6/18) หรอื 20 สว่ น 70 (20/70) 2. บคุ คลท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการได้ยิน ไดแ้ ก่ บุคคลท่สี ูญเสียการไดย้ ินตงั้ แต่ระดับหตู ึงนอ้ ย จนถงึ หูหนวก ซึง่ แบง่ เป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 2.1.หหู นวก หมายถงึ บุคคลท่ีสญู เสียการไดย้ ินมากจนไม่สามารถเขา้ ใจการพูดผ่านทางการได้ ยนิ ไม่ว่าจะใสห่ รอื ไม่ใส่เครือ่ งชว่ ยฟงั ซ่ึงโดยทวั่ ไปหากตรวจการได้ยนิ จะมกี ารสญู เสียการไดย้ นิ 90 เด ซเิ บลขึ้นไป 2.2.หูตึง หมายถึง บุคคลที่มีการได้ยนิ เหลืออยเู่ พียงพอทจ่ี ะได้ยินการพูดผ่านทางการได้ยนิ โดยทว่ั ไปจะใสเ่ ครื่องชว่ ยฟงั ซึ่งหากตรวจวัดการไดย้ นิ จะมีการสญู เสียการไดย้ นิ น้อยกว่า 90 เดซเิ บล ลงมาถงึ 26 เดซิเบล 3. บุคคลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา ไดแ้ ก่ บคุ คลทม่ี ีความจากดั อย่างชดั เจนในการปฏิบัติ ตน (Functioning) ในปจั จุบนั ซึง่ มลี ักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสตปิ ญั ญาตา่ กว่าเกณฑเ์ ฉลยี่ อย่างมีนยั สาคัญร่วมกบั ความจากัดของทกั ษะการปรับตัวอีกอย่างน้อย 2 ทกั ษะจาก 10 ทักษะ ไดแ้ ก่ การสอื่ ความหมาย การดแู ลตนเอง การดารงชีวติ ภายในบา้ นทักษะทางสังคม/การมีปฏิสัมพันธ์กับ ผอู้ น่ื การรู้จกั ใช้ทรพั ยากรในชุมชน การรู้จักดแู ลควบคุมตนเอง การนาความรู้มาใชใ้ นชวี ิตประจาวัน

การทางาน การใชเ้ วลาว่าง การรักษาสขุ ภาพอนามยั และความปลอดภยั ท้ังนี้ ไดแ้ สดงอาการดงั กล่าว กอ่ นอายุ 18 ปี 4.บคุ คลท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย หรือการเคลอ่ื นไหว หรอื สขุ ภาพ ซงึ่ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 4.1 บุคคลทมี่ ีความบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคลอ่ื นไหว ได้แก่ บคุ คลท่มี ีอวัยวะไมส่ ม ส่วนหรือขาดหายไป กระดูกหรอื กล้ามเน้ือผดิ ปกติ มีอปุ สรรคในการเคล่อื นไหว ความบกพร่อง ดังกล่าวอาจเกดิ จากโรคทางระบบประสาท โรคของระบบกล้ามเนอ้ื และกระดูก การไม่สมประกอบ มาแต่กาเนิด อบุ ัตเิ หตแุ ละโรคติดต่อ 4.2 บคุ คลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางสุขภาพ ไดแ้ ก่ บุคคลทีม่ คี วามเจ็บป่วยเรอ้ื รงั หรอื มโี รค ประจาตัวซง่ึ จาเป็นตอ้ งได้รบั การรักษาอย่างต่อเนื่อง และเปน็ อปุ สรรคต่อการศกึ ษา ซึง่ มผี ลทาให้เกดิ ความจาเปน็ ตอ้ งได้รับการศกึ ษาพเิ ศษ 5. บคุ คลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ บคุ คลที่มคี วามผิดปกติในการทางานของสมอง บางส่วนที่แสดงถึงความบกพร่องในกระบวนการเรยี นรทู้ ี่อาจเกดิ ขน้ึ เฉพาะความสามารถดา้ นใดดา้ น หนง่ึ หรอื หลายดา้ น คือ การอ่าน การเขยี น การคิดคานวณ ซึง่ ไมส่ ามารถเรยี นรู้ในดา้ นท่บี กพร่องได้ ทงั้ ทมี่ ีระดับสตปิ ญั ญาปกติ 6. บุคคลท่มี คี วามบกพร่องทางการพดู และภาษา ได้แก่ บคุ คลท่ีมคี วามบกพรอ่ งในการเปลง่ เสยี งพูด เช่น เสียงผดิ ปกติ อตั ราความเร็วและจังหวะการพูดผดิ ปกติ หรือบุคคลท่มี คี วามบกพรอ่ ง ใน เร่ืองความเขา้ ใจหรอื การใชภ้ าษาพูด การเขยี นหรอื ระบบสญั ลักษณอ์ น่ื ทใ่ี ชใ้ นการตดิ ต่อส่ือสาร ซ่ึง อาจเก่ียวกบั รปู แบบ เน้อื หาและหนา้ ท่ีของภาษา 7. บุคคลทีม่ คี วามบกพร่องทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ ได้แก่ บคุ คลท่ีมพี ฤติกรรมเบี่ยงเบนไป จากปกตเิ ป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมนัน้ เป็นไปอยา่ งต่อเนือ่ ง ซง่ึ เป็นผลจากความ บกพร่องหรือความผดิ ปกตทิ างจิตใจหรอื สมองในสว่ นของการรบั รู้ อารมณ์หรือความคดิ เชน่ โรคจติ เภท โรคซึมเศร้า โรคสมองเส่ือม เปน็ ตน้ 8. บคุ คลออทสิ ติก ได้แก่ บุคคลที่มีความผิดปกติของระบบการทางานของสมองบางส่วน ซง่ึ สง่ ผลตอ่ ความบกพรอ่ งทางพฒั นาการดา้ นภาษา ด้านสงั คมและการปฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คม และมี

ข้อจากัดด้านพฤติกรรม หรือมีความสนใจจากัดเฉพาะเรอื่ งใดเร่ืองหนง่ึ โดยความผิดปกติน้ันคน้ พบได้ ก่อนอายุ 30 เดอื น 9. บุคคลพกิ ารซ้อน ได้แก่ บุคคลท่มี ีสภาพความบกพรอ่ งหรือความพิการมากกวา่ หนึง่ ประเภท ในบุคคลเดียวกัน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ม่ันคงของมนุษย์,2555) กลา่ วถึงเรื่องประเภทและหลกั เกณฑค์ วามพกิ าร (ฉบับที่2) ออกตามความใน พระราชบญั ญตั ิส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพกิ าร พ.ศ. 2550ประกอบพระราชบญั ญัตสิ ง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ (ฉบับท2่ี ) พ.ศ. 2556 กาหนดลกั ษณะ คนพกิ ารไว้ 7 ประเภท ดงั น้ี 1.ความพิการทางการเห็น 1.1 ตาบอด หมายถึง การท่บี คุ คลมขี ้อจากดั ในการปฏบิ ัติกิจกรรมในชวี ติ ประจาวันหรอื การ เข้าไปมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องในการเห็น เมื่อตรวจวัด การเหน็ ของสายตาข้างที่ดกี วา่ เมอื่ ใชแ้ วน่ สายตาธรรมดาแลว้ อยใู่ นระดับแย่กวา่ 3 สว่ น 60 เมตร (3/60) หรือ 20 สว่ น 400 ฟตุ (20/400) ลงมาจนกระทง่ั มองไมเ่ หน็ แม้แต่แสงสว่าง หรอื มลี านสายตา แคบกว่า 10 องศา 1.2 ตาเหน็ เลือนราง หมายถงึ การท่ีบุคคลมขี อ้ จากัดในการปฏบิ ัติกิจกรรมในชีวิตประจาวนั หรอื การเข้าไปมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมทางสังคม ซ่งึ เป็นผลมาจากการมคี วามบกพร่องในการเหน็ เม่อื ตรวจวดั การเหน็ ของสายตาขา้ งที่ดกี ว่า เม่ือใชแ้ ว่นสายตาธรรมดาแล้ว อยใู่ นระดบั ตัง้ แต่ 3 ส่วน 60 เมตร (3/60) หรือ 20สว่ น 400 ฟตุ (20/400) ไปจนถงึ แยก่ ว่า 6 สว่ น18 เมตร (6/18) หรือ 20 ส่วน 70 ฟุต (20/70) หรือมลี านสายตาแคบกวา่ 30องศา

2.ความพกิ ารทางการได้ยนิ หรอื สื่อความหมาย 2.1 หูหนวก หมายถงึ การท่บี คุ คลมขี ้อจากัดในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในชวี ิตประจาวันหรือการ เข้าไปมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปน็ ผลมาจากการมีความบกพร่องในการได้ยินจนไมส่ ามารถ รับขอ้ มลู ผา่ นทางการไดย้ นิ เมื่อตรวจการได้ยนิ โดยใชค้ ล่ืนความถ่ีท่ี 500 เฮริ ตซ์ 1,000 เฮริ ตซ์ และ 2,000 เฮริ ตซ์ ในหูข้างท่ีไดย้ ินดีกว่าจะสูญเสียการได้ยินท่คี วามดังของเสยี ง 90 เดซิเบลข้นึ ไป 2.2 หตู ึง หมายถึง การทบี่ คุ คลมีขอ้ จากัดในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมในชวี ติ ประจาวนั หรือการเข้า ไปมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมทางสงั คม ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการมีความบกพรอ่ งในการไดย้ ิน เมือ่ ตรวจวดั การ ได้ยิน โดยใช้คลืน่ ความถท่ี ่ี 500 เฮริ ตซ์ 1,000 เฮิรตซ์ และ 2,000เฮิรตซ์ ในหขู ้างทไี่ ด้ยนิ ดกี วา่ จะ สญู เสยี การได้ยินที่ความดงั ของเสียงนอ้ ยกวา่ 90 เดซิเบลลงมาจนถึง 40 เดซิเบล 2.3 ความพกิ ารทางการสอื่ ความหมาย หมายถึง การทบ่ี ุคคลมขี อ้ จากัดในการปฏิบัติกจิ กรรม ในชีวิตประจาวนั หรอื การเข้าไปมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากการมีความบกพร่อง ทางการส่ือความหมาย เชน่ พูดไมไ่ ด้ พดู หรือฟงั แลว้ ผู้อ่ืนไม่เข้าใจ เป็นตน้ 3.ความพกิ ารทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย 3.1 ความพกิ ารทางการเคล่อื นไหว หมายถึง การทบี่ ุคคลมีขอ้ จากดั ในการปฏิบัติกิจกรรมใน ชีวิตประจาวันหรือการเข้าไปมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมทางสังคม ซ่งึ เป็นผลมาจากการมคี วามบกพร่อง หรือการสูญเสยี ความสามารถของอวยั วะในการเคลอื่ นไหว ได้แก่ มอื เท้า แขน ขา อาจมาจากสาเหตุ อัมพาต แขน ขา ออ่ นแรง แขน ขาขาด หรอื ภาวะเจบ็ ปว่ ยเรอ้ื รงั จนมผี ลกระทบตอ่ การทางานมือ เทา้ แขน ขา 3.2 ความพกิ ารทางรา่ งกาย หมายถงึ การที่บคุ คลมขี อ้ จากัดในการปฏิบัตกิ จิ กรรม ใน ชีวิตประจาวันหรือการเขา้ ไปมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมทางสังคม ซึ่งเปน็ ผลมาจากการมคี วามบกพรอ่ ง หรือความผิดปกตขิ องศรี ษะ ใบหน้า ลาตวั และภาพลักษณ์ภายนอกของรา่ งกายทเ่ี ห็นไดอ้ ย่างชัดเจน

4.ความพกิ ารทางจติ ใจหรอื พฤตกิ รรม 4.1 ความพิการทางจิตใจหรอื พฤติกรรม หมายถงึ การที่บคุ คลมีข้อจากัดในการปฏิบตั ิ กิจกรรมในชีวติ ประจาวันหรอื การเข้าไปมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมทางสังคม ซง่ึ เป็นผลมาจากความ บกพร่องหรือความผิดปกติทางจิตใจหรอื สมองในสว่ นของการรบั รู้ อารมณ์ หรอื ความคิด 4.2ความพิการออทิสตกิ หมายถงึ การทบี่ ุคคลมขี อ้ จา กดั ในการปฏิบัตกิ ิจกรรมใน ชวี ติ ประจาวนั หรอื การเขา้ ไปมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมทางสังคม ซ่ึงเปน็ ผลมาจากความบกพร่องทาง พฒั นาการดา้ นสังคม ภาษาและการส่ือความหมาย พฤติกรรมและอารมณ์ โดยมสี าเหตมุ าจากความ ผิดปกติของสมอง และความผดิ ปกตินน้ั แสดงกอ่ นอายุ ๒ ปคี ร่ึง ทัง้ นี้ ให้รวมถงึ การวินจิ ฉัยกลุ่มออทิ สตกิ สเปกตรัมอ่นื ๆ เชน่ แอสเปอเกอร์ (Asperger) 5.ความพกิ ารทางสตปิ ญั ญา การทีบ่ ุคคลมขี อ้ จากัดในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมใน ชีวติ ประจาวันหรือการเข้าไปมีสว่ นรว่ มใน กจิ กรรมทางสังคม ซง่ึ เป็นผลมาจากการมพี ฒั นาการช้ากวา่ ปกติ หรอื มีระดับเชาวป์ ัญญาตา่ กว่าบคุ คล ท่ัวไป โดยความผิดปกตินั้นแสดงกอ่ นอายุ 18 ปี 6.ความพิการทางการเรียนรู้ การท่บี คุ คลมีข้อจากัดในการปฏิบตั ิกจิ กรรมในชวี ิตประจาวนั หรอื การเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มใน กิจกรรมทางสังคมโดยเฉพาะด้านการเรยี นรู้ ซึ่งเปน็ ผลมาจากความบกพร่องทางสมอง ทาให้เกิดความ บกพรอ่ งในด้านการอา่ นการเขียน การคดิ คานวณ หรือกระบวนการเรยี นรู้พ้ืนฐานอนื่ ในระดบั ความสามารถที่ต่ากว่าเกณฑม์ าตรฐานตามชว่ งอายแุ ละระดับสตปิ ญั ญา 7.ออทสิ ตกิ ออทิสติก เป็นประเภทความพิการลา่ สดุ ท่ีกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ กาหนดใหเ้ ป็นความพกิ าร ประเภทที่ 7โดยมีผลตง้ั แตว่ ันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 หลกั เกณฑ์ กาหนดความพิการทางออทสิ ติก ได้แก่ การทีบ่ คุ คลมีขอ้ จากดั ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมในชีวติ ประจาวัน หรือการเขา้ ไปมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากความบกพร่องทางพฒั นาการดา้ น สังคม ภาษา และการส่ือความหมาย พฤตกิ รรมและอารมณ์ โดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของ

สมองและความผดิ ปกตนิ ้นั แสดงกอ่ นอายุสองปคี ร่ึง ทัง้ น้ี ให้รวมถงึ การวินจิ ฉยั กล่มุ ออทสิ ติกสเปกตรัม อน่ื ๆ เชน่ แอสเปอเกอร์ (Asperger)” เดก็ พิเศษหรือเด็กท่ีมคี วามตอ้ งการพิเศษ หมายถงึ เดก็ กลมุ่ ทจ่ี าเป็นต้องไดร้ ับการดูแล ชว่ ยเหลือเป็นพิเศษ เพ่มิ เตมิ จากวธิ ีการตามปกติ ทง้ั ในด้าน การใช้ชวี ิตประจาวัน การเรยี นรู้ และการ เขา้ สงั คม เพือ่ ใหเ้ ด็กไดร้ บั การพฒั นาเต็มตามศักยภาพของเขาเอง โดยออกแบบการดูแล ชว่ ยเหลอื เด็ก ตามลกั ษณะความจาเป็น และความตอ้ งการของเด็กแต่ละคน (สถาบนั ราชานกุ ลู กรมสุขภาพจิต 2019 อ้างถึง ทวีศกั ด์ิ สิรริ ตั น์เรขา) แบ่งเดก็ ท่ีมคี วามต้องการพิเศษ ออกเป็น 3 กลมุ่ ดังนี้ 1. เดก็ ท่มี ีความสามารถพิเศษ เด็กกลุ่มนมี้ ักไมไ่ ดร้ บั การชว่ ยเหลอื อยา่ งจริงจัง เพราะคดิ ว่า เด็กมีความฉลาด เกง่ วธิ กี ารเรยี นร้ใู นแบบปกติบางคร้งั ไม่ตอบสนองต่อความต้องการในเรียนร้ขู อง เดก็ และความสามารถพิเศษท่มี ีไม่ไดแ้ สดงออกอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ เด็กท่ีมคี วามสามารถพเิ ศษแบ่ง ออกเป็น 3 กลมุ่ คือ 1.เดก็ ที่มรี ะดบั สติปญั ญาสูง (IQ) ตั้งแต่ 130 ขึ้นไป 2.เดก็ ที่มคี วามสามารถ พเิ ศษเฉพาะด้าน อาจไมใ่ ช่ผูเ้ รียนทม่ี รี ะดบั สตปิ ัญญาสงู แต่มีความสามารถพิเศษเฉพาะดา้ นท่ีโดดเดน่ เชน่ ดา้ น คณิตศาสตร์ - ตรรกศาสตร์ การใชภ้ าษา ศลิ ปะ ดนตรี กีฬา การแสดง ฯลฯ 3.เด็กท่ีมี ความคิดสร้างสรรค์ 2. เดก็ ท่ีมีความบกพรอ่ ง กระทรวงศกึ ษาธิการ แบ่งออกเปน็ 9 กลุ่ม ดงั นี้ เดก็ ทมี่ คี วาม บกพร่องทางการมองเหน็ เดก็ ท่ีมีความบกพร่องทางการไดย้ ิน เด็กทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการส่อื สาร เด็กท่ีมีความบกพร่องทางรา่ งกาย และการเคลือ่ นไหว เดก็ ที่มีความบกพรอ่ งทางอารมณ์ และ พฤตกิ รรม เดก็ ทีม่ คี วามบกพร่องทางสตปิ ัญญา เดก็ ท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ เดก็ ออทิสตกิ และเดก็ ท่มี ีความพกิ ารซอ้ น 3. เด็กยากจนและด้อยโอกาส คอื เดก็ ทีอ่ ยู่ในครอบครวั ทมี่ ีฐานะยากจน ขาดแคลนปจั จยั ที่ จาเป็นในการเจรญิ เติบโต และการเรียนรู้ของเด็ก และรวมถึงกลุ่มเด็กท่ีดอ้ ยโอกาสทางการศกึ ษาจาก สาเหตอุ ื่นๆ เช่น เดก็ เร่ร่อน เดก็ ถูกใช้แรงงาน เด็กตา่ งดา้ ว ฯลฯ เดก็ แตล่ ะกลุ่ม มีความจาเปน็ ตอ้ งได้รับการดแู ลช่วยเหลอื เปน็ พเิ ศษเหมือนกนั แตด่ ้วยวธิ กี ารท่ี แตกตา่ งกันตามความเหมาะสมของเด็กแต่ละกลุม่ แต่ละคน ผเู้ รียนที่มคี วามต้องการพิเศษ ควร

ได้รับการดแู ลเพิม่ เติมด้วยวิธกี ารพิเศษ ซึง่ ตา่ งไปจากวธิ กี ารตามปกติ เพ่อื ช่วยให้สามารถพฒั นาไดเ้ ต็ม ตามศกั ยภาพทมี่ อี ยู่ เพือ่ ใหม้ สี ขุ ภาพกาย สุขภาพจิตท่ดี ี มีโอกาสทางการศกึ ษาทเ่ี ท่าเทยี ม และไดร้ บั การยอมรบั ในสงั คม 3.3 ข้อจากัดและความต้องการทางการศึกษาของผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ ตามลักษณะ ความบกพร่อง แบ่งประเภทของผเู้ รียนที่มีความต้องการพิเศษ ตามลักษณะความบกพร่องและข้อจากัด แบ่ง ได้เปน็ 6กล่มุ ดงั น้ี 1.กลุ่มท่ีมีขอ้ จากดั ทางปญั ญา (Intellectual limitation) 2.กลุม่ ทีม่ ีขอ้ จากัดทางดา้ นร่างกาย (Physical limitation) 3.กลุ่มท่ีมีข้อจากัดทางด้านการสือ่ สารและภาษา ( Communication limitation) 4.กลมุ่ ที่มขี ้อจากัดทางการเรียนรู้ (Learning limitation) 5กลมุ่ ที่มขี ้อจากดั ทางการปฏสิ มั พันธ์ทางสงั คม( Social interaction limitation) 6กล่มุ ท่มี ีข้อจากัดทางวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ (limitation of Emotional maturity ) ลักษณะความตอ้ งการช่วยเหลอื ของผ้เู รียน แตล่ ะกลุ่ม ดงั นี้ 1 กล่มุ ท่มี ีขอ้ จากัดทางปัญญา (Intellectual limitation) ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษในกลุ่มน้ี คือ ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา (Intellectual Disability) ผู้เรียนกลมุ่ น้ีจะมีข้อจากัดอย่างชัดเจนในการปฏิบัติตน(Functioning) ซ่ึง มีลักษณะเฉพาะคือความสามารถทางสติปัญญาต่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ย อย่างมีนัยสาคัญ ร่วมกับข้อจากัด ของทักษะการปรับตัว อย่างน้อย 2 ทักษะข้ึนไป เช่น การสื่อความหมาย (Communication) การ ดูแลตนเอง(Self-care) การดารงชีวิตภายในบา้ น(Home-living) ทักษะสงั คม (Social Skills) การมี ปฏิสมั พันธก์ ับผอู้ ่ืน การร้จู ักดแู ลควบคมุ ตนเอง(Self-Direction) การนาความรูม้ าใชใ้ นชวี ิตประจาวัน การใช้เวลาว่าง(Leisure) การรักษาสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย(Health and Safety) ทักษะ ทางวิชาการ (Functional Academics) การทางาน การรู้จักใช้ทรัพยากรในชุมชน(Community Use) มีข้อจากัดด้านความสามารถในการเรียนรู้ ขาดทักษะในการเรียน เรียนรู้ช้ากว่าเด็กปกติ มี พัฒนาการทางกายล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย มีความสามารถจากัดในการปรับตัวต่อส่ิงแวดล้อมและ

สังคม การทากิจกรรมการเรียน การทางานและการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน มีระดับ สติปัญญา(IQ) ต่ากว่า70 และแสดงอาการก่อนอายุ 18 ปี ผเู้ รยี นท่มี ีข้อจากัดทางปญั ญาจะอย่ใู นกลมุ่ อาการดงั นี้ - กลุ่มอาการดาวน์ซินโดรม - กลุ่มอาการเวโลคาร์ดโิ อเฟเชียล - กลมุ่ อาการของทารกที่ถือกาเนิดจากมารดาทีด่ มื่ แอลกอฮอล์ - โรคท้าวแสนปม - ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแตก่ าเนดิ - กลุม่ อาการวลิ เลี่ยม - กลุ่มอาการฟีนิลคีโตนูเรีย(Phenylketonuria) - กลุม่ อาการพราเดอร์-วลิ ล่ี(Prader-Willi Syndrome:PWS) ความต้องการพิเศษสาหรับผูเ้ รียนทีม่ ีข้อจากดั ทางปัญญา ด้านการเรียนการสอน วิเคราะห์งาน (Task analysis) แยกย่อยเน้ือหา สอนที่ละข้ันตอน ปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น การสอน แบบ 3R’ S คือ Repetition การสอนซ้า ทบทวนของเดิมก่อนเร่ิมสอนเรื่องใหม่ Relaxation การสอนแบบเรียนปน เล่น ผู้เรียนรู้สึกสนุกสนานพร้อมกับการเรียนรู้ Routine คือ การสอนให้เป็นกิจวัตรประจาวัน สอน โดยการทาจริง ใช้ของจริง สอนส่ิงท่ีมีความหมายนาไปใช้จริง ให้รับประสบการณ์ใหม่ๆ ให้แรงเสริม และปรบั พฤติกรรมทีไ่ มเ่ หมาะสม 2.กลมุ่ ท่มี ีข้อจากดั ทางดา้ นร่างกาย (Physical limitation) ผู้เรียนในกลุ่มนี้ ได้แก่ ผู้ที่ร่างกายบกพร่อง เช่น ผู้เรียนท่ีร่างกายพิการ ผู้เรียนท่ีมีความ บกพรอ่ งทางการไดย้ ิน ผูเ้ รียนท่มี ีความบกพร่องทางการมองเห็น ผเู้ รียนกลมุ่ นี้มีขอ้ จากัดด้านร่างกาย ซ่ึงมีระดับเชาวน์ปัญญาปกติ ความจากัดของผู้เรียนกลุ่มนี้ จะแยกตามความต้องการพิเศษในแต่ละ ประเภท 1) ผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคล่ือนไหว (Physical and Health limitation) หมายถึง ผู้ท่ีมีอวัยวะไม่สมส่วน อวัยวะส่วนใด ส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนหายไป กระดูก

กล้ามเนื้อพิการ เจ็บป่วยเรื้อรังรุนแรงหรือเฉียบพลัน มีความพิการทางระบบประสาทสมอง มีความ ลาบากในการเคลือ่ นไหวจนเป็นอปุ สรรคตอ่ การเรียน และการทากิจกรรม ความต้องการพิเศษสาหรับผู้เรียนทีข่ อ้ จากดั ทางดา้ นร่างกาย การออกแบบอาคารสถานที่ท่ีอานวยความสะดวกในการเคลื่อนไหว มีความปลอดภัย ฝึก ทักษะทางสังคม ทักษะการอยู่ร่วมกับผู้อื่น การแสวงหาความรู้ และฝึกเรื่องระเบียบวินัย จัดกลุ่ม เพื่อนพี่เล้ียง เพื่อช่วยในการเรียน ทากิจกรรมและอยู่ร่วมกันในโรงเรียน ใช้อุปกรณ์ที่ช่วยอานวย ความสะดวกในการเคลื่อนไหวและทากิจกรรมต่างๆ แนะนาช่วยเหลือให้ผู้เรียนทางานอดิเรกที่ เหมาะสมกับข้อจากัดของร่างกาย ฝึกการอยู่กับตนเอง ได้ค้นพบความถนัดของตนเองและเกิดความ มัน่ ใจในตนเอง ขอขอบคุณ ภาพจาก สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี งานกายภาพบาบัด กลุ่มงานเวชศาสตร์ ฟน้ื ฟู

2)ผ้เู รยี นท่ีมีความบกพร่องทางการไดย้ นิ (Children with Hearing Impaired) ความจากัด เบื้องต้นมีความบกพร่องหรือสูญเสียการได้ยิน เป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่าง ๆ ได้ไม่ชัดเจน มี 2 ประเภท คือ สญู เสียการได้ยนิ ทั้งหมดและสญู เสียการไดย้ ินบางส่วน ผเู้ รียนท่ีสญู เสยี การได้ยินท้ังหมด จะไม่สามารถได้ยินเสียง ทาให้หมดโอกาสที่จะเขา้ ใจภาษา พูดจากการไดย้ นิ ทาใหผ้ เู้ รยี นมีความยากลาบากจนไม่สามารถเขา้ ใจคาพูดและการสนทนาได้ สูญเสียการได้ยินบางส่วน สามารถได้ยินเสียงเพยี งเล็กน้อย ได้ยินไม่ชัดเจน ต้องใช้เครื่องช่วย ฟงั แบ่งตามระดบั การได้ยิน ซ่ึงอาศัยเกณฑก์ ารพิจารณาอตั ราความบกพร่องของหู โดยใช้ค่าเฉล่ียการ ไดย้ นิ ทค่ี วามถ่ี 500, 1000 และ 2000 รอบตอ่ วินาที (เฮริ ท์ : Hz) ในหูขา้ งทีด่ ีกว่า ความต้องการพเิ ศษสาหรับผู้เรยี นทมี่ ขี อ้ จากดั ทางการได้ยิน การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการได้ยินและการพูด การช่วยกระตุ้นให้อยากพูดมากข้ึน ถ้า สามารถพดู ได้บ้างแต่ไมช่ ดั และไม่สมวัย ควรเรยี นในโรงเรยี นทีม่ ีครูการศกึ ษาพเิ ศษ คอยช่วยหรือเรียน ในชน้ั เรียนพิเศษ หรอื ใช้ระบบ FM ในการเรียน จดั กลุ่มเพื่อนเพอ่ื ชว่ ยเหลือในการเรยี น ถ้ามีข้อจากดั มาก เช่น หูหนวก ไม่สามารถพูดได้ ฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางการได้ยินไม่ได้ผล ควรเข้าศึกษาในโรงเรียน โสตศกึ ษาเพอื่ เรียนภาษามือ 3)ผเู้ รียนท่ีมีความบกพร่องทางการมองเห็น ผ้เู รยี นกล่มุ น้ีไม่สามารถใชส้ ายตา ไดม้ ี ประสิทธภิ าพในการเห็นเท่าปกติ ซึ่งเปน็ ผู้ทสี่ ูญเสียการเห็นตั้งแตร่ ะดบั เลก็ น้อยจนถึงตาบอดสนทิ ผเู้ รยี นท่รี ะดบั การมองเห็นเลอื นราง มีความจากัดในการเห็น อยู่ในระดบั 6 สว่ น 60 (6/60) หรือ 20 สว่ น 200 (20/200) จนถงึ ไม่สามารถรบั ร้จู ะมองเห็นแสงหรอื วตั ถขุ นาดใหญ่ แต่มองไม่เห็น ตวั หนังสอื ขนาดปกติ มองไมเ่ ห็นในทมี่ ดื การเคล่ือนไหวไม่สะดวก ผู้เรียนท่ตี าบอดสนทิ คอื ผู้ท่สี ญู เสียการมองเหน็ ไมส่ ามารถมองเห็นสิง่ ต่างๆได้ มีความจากัดใน การเคลอ่ื นไหว

ความต้องการพเิ ศษสาหรบั ผูเ้ รยี นทม่ี ีขอ้ จากดั ทางการเห็น จัดหลักสตู รและกระบวนการเรยี นรู้ การทดสอบทางการศกึ ษาทเี่ หมาะสม สอดคล้องกบั ความ ต้องการจาเปน็ พิเศษของผูเ้ รยี น ใชอ้ ุปกรณ์และส่อื เพื่อให้การสอื่ สารดว้ ยเสยี งที่ชัดเจน เช่น หนังสือ เสียง ใช้หนังสอื อักษรเบรลล(์ Braille) เครอ่ื งอเิ ล็คทรอนิกส์ขยายขอ้ ความแบบมือถอื และบรกิ าร เสริมเช่น การนาทาง การจดคาบรรยาย การแนะแนวการศกึ ษา กลมุ่ ทมี่ ีข้อจากดั ในการเห็นแต่ยัง สามารถอา่ นอกั ษรได้ ชว่ ยโดยใช้ตัวอกั ษรขนาดใหญ่ ใชส้ ่ือสมั ผัสและส่อื เสยี งช่วยสนับสนุน 3.กลมุ่ ที่มีขอ้ จากัดทางดา้ นการสอ่ื สารและภาษา ( Communication limitation) ผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางการสื่อสารและภาษา (Children with Speech and Language disorders) หมายถึง ความผดิ ปกติด้านการออกเสียง ออกเสยี งผดิ เพ้ยี นไปจากมาตรฐาน ของภาษา ลีลาจังหวะการพดู ผดิ ปกติ เช่น การพูดรัว การพดู ติดอ่าง การพูดเสียงสูงเกินไป ตา่ เกินไป หรือพูดระดบั เสียงเดยี วกันหมดความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมอง โดยท่ัวไปเรียกว่า Dysphasia หรือ aphasia พูดไม่ชัด และ อวัยวะที่ใช้ในการพูดไม่สามารถเป็นไป ตามลาดบั ขั้น การพดู น้ันผิดแปลกไปจากการพูดของคนทั่วไป ทาให้ฟงั ไม่รู้เร่ือง ส่ือความหมายต่อกัน ไม่ได้ หรือมีอากปั กริ ยิ าทผี่ ดิ ปกติขณะพดู ซงึ่ ความบกพรอ่ งทางการพูด บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการพูดและภาษาได้แก่ บุคคลที่มีความบกพร่องในการเปล่ง เสียงพูด เช่น เสียงผิดปกติ อัตราความเร็วและจังหวะการพูดผิดปกติ หรือบุคคลที่มีความบกพร่อง ใน เร่ืองความเข้าใจหรือการใช้ภาษาพูด การเขียนหรือระบบสัญลักษณ์อ่ืนท่ีใช้ในการติดต่อสื่อสาร ซ่ึง อาจ เกย่ี วกับรูปแบบ เนอ้ื หาและหน้าท่ีของภาษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552) ความตอ้ งการพเิ ศษสาหรับผเู้ รียนท่ีมีความบกพร่องทางการส่อื สารและภาษา การปรับหลักสูตรการเรียนให้เหมาะกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล ปรับกิจกรรมเพ่ือช่วยอานวย ความสะดวกในการสื่อสารหรือการใช้เทคโนโลยีช่วยในการสื่อสาร ฝึกให้ส่ือสารเพ่ือบอกความ ต้องการ สอนคาศัพท์ในชีวิตประจาวันและการสนทนา บริหารกล้ามเนื้อและพัฒนาอวัยวะท่ีใช้ใน การพูด เช่น เป่าลิ้น นวดล้ิน นวดปาก กระพุ้งแก้ม ได้รับคาแนะนาจากนักแก้ไขการพูดเรื่องการ หายใจเพื่อใช้เปล่งเสียงและควบคุมจังหวะในการพูด แก้ไขเสียงพูด พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ให้

ชัดเจนรวมถึงความสัมพันธ์ในการพูด สอนการสื่อสารทางเลือกอื่น เช่น การใช้ภาพสื่อสาร ฝึกการ คดิ การจา (สานักงานส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ, 2553) 4.กลุ่มทมี่ ขี ้อจากัดทางการเรยี นรู้ (Learning limitation) ผู้เรียนที่มีข้อจากัดทางการเรียนรู้ หรือเรียกว่า ภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้เฉพาะดา้ นหรือ แอลดี(L.D. /Learning Disorder)หรือปัจจุบนั ตามเกณฑก์ ารวินิจฉยั ใหม่ เรียกว่า Specific Learning Disorder หรือ Dyslexia หมายถึง ผู้ท่ีมีข้อจากัดทางการเรียนรู้ ทางการใช้ภาษา หรือการพูด การ เขียน อ่านหนังสือไม่ได้หรือสะกดคาลาบาก จาพยัญชนะไม่ได้ สับสน ผสมคาผิด สะกดคาไม่คล่อง อ่านตะกุกตะกัก อ่านช้า อ่านผิดและจับประเด็นในการอ่าน ไม่ได้ ความสามารถในการอ่านหนังสือ โดยรวมต่ากว่าเด็กในวัยเดียวกันชัดเจน พูดช้า ฟังและแยกเสียงได้ลาบาก สับสน หรืออ่านได้ แต่ไม่ เข้าใจ ตีความไม่ได้ เขียนหนังสือไม่ได้ เขียนผิด สะกดคาไม่ได้หรือสะกดผิด เขียนคาเป็นรูปประโยค ไม่ได้ ใช้หลักไวยากรณ์ผิด แบ่งแยกวรรคตอนผิดพลาด หรือเขียนหนังสือแล้วอ่านไม่รู้เร่ือง คิดเลข ไม่ได้ สับสนเก่ียวกับตัวเลข ไม่เข้าใจหลักการคานวณพื้นฐาน บวก ลบ คูณหรือหารสับสน อดทนต่า แทนค่าด้วยการเขียนสัญลักษณ์เลขไม่ ได้ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อการเรียน การทางานและการใช้ ชีวิตประจาวัน ไปตลอดชีวิต เป็นผู้ที่มีระดับสติปัญญาปกติ แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าปกติ และไม่มีความบกพร่องในด้านตา่ ง ๆ ทง้ั ดา้ นร่างกาย สขุ ภาพอนามยั ระบบประสาทการสัมผัส ความตอ้ งการพเิ ศษสาหรับผู้เรยี นท่มี ขี อ้ จากัดทางการเรยี นรู้ การสอนซ่อมเสริม การเพ่ิมเวลาในการสอน ใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลาย สอนทีละ ข้ันตอน สอนซ้าๆจนผู้เรียนมีความก้าวหน้าทีละขั้น สอนสนุกและมีความสุขในการเรียน เน้น proactive learning, group participation ใช้ประสบการณ์ตรงเสริมการเรยี นรู้ในปัจจุบัน ให้เรียนรู้ ตามความสามารถของผู้เรียน กระตุ้นให้คิด ใช้แรงเสริมอย่างมีประสิทธิภาพ จัดห้องเรียนให้เอ้ือต่อ การเรียน ใช้คาสั่งที่ส้ันและเข้าใจง่าย และใช้เทคโนโลยีช่วยในการจัดการศึกษา ทบทวนบทเรียน บ่อยๆ อ่านหนังสือเพิ่มเติม (remediation therapy) การเรียนแบบตัวต่อตัว หรือเป็นกลุ่มย่อยใน ห้องเรียนพิเศษ (Resource Room) เขียนแผนการเรียนรายบุคคล (Individualized Educational Plan-IEP)สอนให้ตรงกับช่องทาง(channel) ที่เด็กรับรู้ได้ เด็กมีปัญหาในการ รับฟัง ก็ใช้ภาพในการ สอนเพม่ิ ขน้ึ หากเด็กมีปัญหาในการเห็นภาพ(เชน่ อา่ นไมไ่ ด)้ กส็ อนโดยอา่ นหนงั สอื ให้ ฟงั หรอื ใหศ้ ึกษา จากสื่อ VDO ที่มีท้ังภาพและเสียง เป็นต้น สอนชัดเจนและวัดผลได้ตรง ให้กาลังใจและชมเชยเป็น

ระยะ และ ใชว้ ธิ กี ารสอนหลาย รปู แบบ สง่ เสริมใหโ้ รงเรยี นมที ีมการประเมนิ ผลการช่วยเหลือเด็กที่มี ความต้องการพิเศษ เช่น นักจิตวิทยาโรงเรียน ครูประจาชั้น ครูการศึกษาพิเศษ ให้ความรู้และ ช่วยเหลือโดยทางานร่วมกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และติดตามประเมินผลจากการให้ความช่วยเหลือ ใช้ อุปกรณ์ช่วยเรียน ในกลุม่ ทีม่ ปี ญั หาการเขยี น ใชเ้ ครอ่ื งพิมพ์ดดี คอมพวิ เตอร์ มาช่วย ในกลุม่ ทม่ี ปี ัญหา การอ่านใช้คอมพิวเตอร์ เทป VDO, MP 3 หรือ กลุ่มท่ีมีปัญหาคานวณ ให้ใช้คอมพิวเตอร์ เคร่ืองคิด เลข เปน็ ต้น 5.กลมุ่ ทีม่ ีข้อจากดั ทางการปฏสิ ัมพันธท์ างสงั คม( Social interaction limitation) วินัดดา ปิยะศิลป์ และวันดี นิงสานนท2558 อ้างถึง เกณฑ์การวินิจฉัยโรคทางจิตเวชฉบับที่ 5 (DSM-V) สมาคมจิตแพทย์อเมริกัน (the American Psychiatrist Association) กล่าวว่า ผู้เรียนท่ีมี ภาวะออทิสติกสเปกตรัม (Autistic Spectrum Disorder) มีความบกพร่องอย่างถาวรในเรื่องการ ส่ือสารทางสงั คมและการมีปฏสิ มั พันธท์ างสงั คม (Social communication and social interaction) ผู้เรียนกลุ่มน้ีมีความผดิ ปกตขิ องสมองที่สง่ ผลต่อพัฒนาการทาให้เกิดพัฒนาการล่าช้าในด้านของสงั คม และการสื่อภาษา มีความซ้าซากของพฤติกรรมและมีความสนใจในเรื่องท่ีจากัด และหมกมุ่นกับเร่ือง นั้นมาก มีข้อจากัดในการตอบสนองทางอารมณ์สังคม การเข้าสังคมและการสนทนาโต้ตอบ, มีความ สนใจร่วมกับผู้อ่ืนน้อย ไม่สามารถเร่ิมหรือตอบสนอง ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมได้ อย่างเหมาะสม มี ข้อจากัดในการสื่อสารด้วยสีหน้าและท่าทาง (nonverbal communicative)ไม่มองสบตา มีแบบ แผนหรือลักษณะซ้าซากของการเคล่ือนไหวร่างกาย, การใช้วัตถุ หรือภาษา (เช่น การเคลื่อนไหว ร่างกายซ้าๆ การเรียกของเล่นหรือการสะบัดวัตถุ, การพูดตามโดยไม่เข้าใจความหมาย (echolalia), การพดู วลีซ้า) มักทาสง่ิ หน่ึงสิ่งใดซ้าๆไม่ยอมเปล่ียนแปลง, ไม่ยืดหยุ่น เช่น รู้สึกหงุดหงดิ มากเมื่อมกี าร เปลยี่ นแปลง รปู แบบความคดิ ท่ไี มย่ ดื หย่นุ , ตอ้ งเดนิ ทางในเสน้ ทางเดิมทุกวนั , กนิ อาหารซ้าๆแบบเดิม ทุกวัน มีความสนใจท่ีจากัดและยึดติดอย่างมาก มีการตอบสนองท่ีมากหรือน้อยเกินไปต่อการ ประมวลรบั ความร้สู กึ , หรือมีความผดิ ปกติ ของการประมวลรบั ความรสู้ กึ จากสิ่งแวดล้อม เช่น มคี วาม ทนทานตอ่ ความรสู้ กึ เจ็บปวดหรืออณุ หภมู ิ ในวัยเดก็ เลก็ พบปญั หาพูดช้า ไม่สบตา ไม่หันหาเสยี งเรียกช่ือ บางคนสามารถพูดไดแ้ ตจ่ ะ พดู เปน็ ภาษาตวั เองไมส่ ามารถสอ่ื สารบอกความตอ้ งการได้ อาการทแี่ สดงออกทางสงั คมและการสื่อภาษา

มี หลายรูปแบบ ผู้เรียนกลุ่มนี้จะมีอาการท่ีไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้และปรากฏอาการตลอดช่ัว ชวี ติ ความตอ้ งการพเิ ศษสาหรับผเู้ รียนที่มีข้อจากดั ทางการปฏสิ ัมพนั ธท์ างสังคม การกระตุ้น พัฒนาการท่ีบกพร่องให้ใกล้เคียงปกติให้มากที่สุด ใช้หลายวิธีร่วมกัน ใช้เทคนิค การปรบั พฤติกรรม การให้แรงเสริมทางบวก เพม่ิ พฤติกรรมทีด่ ีและเสริมการคงอยู่ ปรบั ลดพฤตกิ รรม ท่ีไม่พึงประสงค์ การช่วยเหลือที่ดีที่สุด ควรปรับเปล่ียนให้เหมาะสมกับข้อจากัดของผู้เรียนเป็น สาคัญ 6. กลมุ่ ทม่ี ขี อ้ จากดั ทางวุฒภิ าวะทางอารมณ์ (limitation of Emotional maturity ) ผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษในกลุ่มน้ี มีข้อจากัดในการควบคุมอารมณ์และการแสดง พฤติกรรมที่เหมาะสม ซ่งึ เกิดจากความบกพร่องหรือผิดปกติทางจิตใจหรือสมอง ในสว่ นของการรับรู้ อารมณ์ หรอื ความคดิ จนสง่ ผลตอ่ การควบคุมพฤติกรรม อารมณ์ และการมสี มาธิ ความตอ้ งการพเิ ศษสาหรบั ผเู้ รยี นท่ีมีข้อจากัดทางวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ จัดสิ่งแวดล้อม จัดบรรยากาศช้ันเรียนที่เงียบสงบและไม่รบกวนสมาธิ ลดสิ่งเร้าท่ีกระตุ้น มี ระเบียบกาหนดท่ีชัดเจน ใช้การปรบั พฤติกรรมเพื่อใหม้ พี ฤตกิ รรมท่ีพึงประสงค์เพ่ิมขึ้น ลดพฤติกรรมที่ ไม่เหมาะสม ใช้เทคนิควิธีการสอนท่ีหลากหลาด ช่วยลดปัญหา ลดอุปสรรคในการเรียนรู้ เพ่ิมเวลาใน การทางานหรือทาข้อสอบ ความสัมพันธ์ของความบกพร่อง(impairment) ความพิการ(Disability)และความเสียเปรียบ (Handicap) ผู้เรียนท่ีมีความต้องการการพิเศษ มีข้อจากัดในการทากิจกรรมต่างๆและต้องการการ ช่วยเหลือพิเศษแตกต่างจากผู้เรียนปกติ ข้อจากัดเหล่าน้ีส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีมีความ ต้องการพิเศษ ภาวะของผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ อาจอธิบายได้จากคา 3คาน้ี ได้แก่ ความ บกพร่อง(impairment)ความพกิ าร(Disability)และความเสยี เปรยี บ (Handicap)

องค์การอนามัยโลก The International Classification of Functioning Disability and Health (ICF) ได้กาหนดคานยิ ามท่ีเกี่ยวขอ้ งกับสุขภาพ ดงั น้ี 1.ความบกพร่อง (Impairment) หมายถึง การสูญเสียหรือความผิดปกติของโครงสร้างของ ร่างกาย หรอื การใชง้ านของรา่ งกาย (รวมถึงการทางานดา้ นจิตใจ) ที่สังเกตหรือเหน็ ได้ชดั ดังน้ัน ความ บกพร่อง จะพิจารณาที่ “อวัยวะ” หรือ “ระบบการทางาน” ของส่วนต่างๆ ของมนุษย์ การสูญเสีย หรือการขาดหายของอวัยวะ เช่น ตาบอด หูหนวก เป็นใบ้ อัมพาต กล้ามเนื้ออ่อนแรง ออทิสติก เป็น ต้น 2. ความพิการ (Disability) หมายถึง ความจากัดหรือสูญเสียความสามารถในการประกอบ กจิ กรรมตา่ งๆ ทส่ี ง่ ผลใหบ้ ุคคลไม่สามารถทากจิ กรรมตา่ งๆ ได้เหมือนบคุ คลทว่ั ไป 3. ความเสียเปรียบ (Handicap) หมายถึง ความเสียเปรียบท่ีเกิดขึ้นกับบุคคลท่ีมีความ บกพร่องของอวัยวะ หรือมีภาวะทุพพลภาพ ท่ีทาให้เป็นอุปสรรคในการทากิจกรรม หรือดาเนินชีวิต เชน่ เดียวกบั บุคคลทัว่ ไป ความบกพร่อง (impairment) นาไปสู่ความพิการ (disability) และความเสยี เปรยี บ (handicap) ที่มา: Kleijn-de Vrankrijker MW. The long way from the International Classification of Impairments, Disabilities and Handicaps (ICIDH) to the International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF). Disabil Rehabil. 2003; 25: 561-4.

บุคคลหน่งึ อาจมคี วามบกพร่อง โดยไม่พิการและพกิ ารโดยไมเ่ กดิ การเสยี เปรยี บก็ได้ หากได้รับ การสนับสนุนจากครอบครัวหรือมีส่ิงอานวยความสะดวกทางกายภาพ สิ่งเหล่านี้สามารถเยียวยา ความบกพร่องท่ีมีอยู่ได้และจะไม่ส่งผลทาให้บคุ คลนั้นเกิดความเสยี เปรียบในการดารงชีวิตเช่น คนตา บอดทางาน ที่ใช้สายตาไม่ได้แต่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ท่ีมีเสียงประกอบ สามารถเล่นดนตรีหรือเป็น นกั กีฬาได้ หรอื การส่งเสริมใหค้ นพิการได้รบั โอกาสเทา่ เทยี มกบั ผอู้ ื่นในสงั คม สรุปความสัมพันธ์ของคา 3 คาน้ี ความเสียเปรียบ (Handicap), ความพิการ (Disability), และความบกพร่อง (Impairment) สามารถอธิบายได้ว่า ความบกพร่องของอวัยวะและความผิดปกติ ต่างๆในร่างกาย ทาให้ความบกพร่องนี้ เป็นสาเหตุให้ผู้ท่ีมีความต้องการพิเศษเกิดความพิการ และ ขาดความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆได้เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป และทาให้ผู้ที่มีความ ตอ้ งการพเิ ศษเกิดความดอ้ ยโอกาสหรือความเสียเปรียบ ซง่ึ ทาให้ผู้เรียนมีข้อจากัดในการทากิจกรรม ต่างๆ ผู้เรียนเหล่าน้ีจึงมีความต้องการการช่วยเหลือพิเศษ ท้ังด้านการดูแล การฟื้นฟูสมรรถภาพ รวมทั้งการจดั การศึกษาในรูปแบบพิเศษ 3.5 ปจั จัยที่ส่งผลตอ่ การเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีความตอ้ งการพิเศษ ภาวะความบกพร่องของผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ ส่งผลให้ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ มีข้อจากัด ขาดความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆได้เช่นเดียวกับเพ่ือน มีความยากลาบากใน การเรยี นรู้ สง่ ผลต่อพฤตกิ รรมการเรียน การรบั รตู้ นเอง และการรบั รผู้ อู้ ื่น 3.5.1ภาวะความบกพรอ่ งของผ้เู รยี นที่มีความตอ้ งการพิเศษ ข้อจากัดของผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ แบ่งเป็น 6 กลุ่ม ได้แก่ ข้อจากัดทางปัญญา (Intellectual limitation) ข้อจากัดทางด้านร่างกาย (Physical limitation) ข้อจากัดทางด้านการ สื่อสารและภาษา ( Communication limitation) ข้อจากัดทางการเรียนรู้ (Learning limitation) ข้อจากัดทางการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม( limitation of Social interaction) ข้อจากัดทางวุฒิภาวะ ทางอารมณ์ (limitation of Emotional maturity ) ซึ่งความบกพร่องจาแนกตามกลุ่มข้อจากัด ดัง ตารางต่อไปน้ี

ข้อจากัด ความบกพรอ่ ง ความพิการ ข้อจากัดทางปญั ญา สมองพิการ สมองติดเช้ือ เรียนรู้ช้า พัฒนาการล่าช้า ขาด (Intellectual limitation) สมองขาดออกซิเจน สมอง ทักษะ มีความสามารถจากัดใน ได้รับการกระทบการะเทือน ด้านการปรบั ตัว เกิดโรคที่เก่ียวกับสมองและ ระบบประสาท ขอ้ จากัดทางด้านร่างกาย ความบกพร่องของระบบ มองไม่เหน็ หรอื เห็นไมช่ ัด (Physical limitation) ประสาท ไม่ได้ยนิ หรอื ได้ยนิ ไม่ชดั ความบกพร่องทางสขุ ภาพ เคล่ือนไหวไม่ได้/เคลื่อนไหวไม่ ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ร ะ บ บ ปกติ กลา้ มเนอ้ื และกระดกู เจ็บป่วยเร้ือรัง ทากิจกรรม บางอยา่ งไม่ได้ ข้อจากัดทางด้านการสื่อสารและ ความบกพร่องของสมองและ มีความผิดปกติทางการออก ภาษา ระบบประสาท การสูญเสีย เสียง (Communication limitation) การได้ยิน ออทิซึม ความ ไม่สามารถส่ือสารกับผู้อ่ืนได้ บกพร่องของสมองที่ควบคุม เข้าใจและไม่เข้าใจท่ีผู้อื่น โปรแกรมการพูด ภาวะไม่พดู สอ่ื สาร บางสถานการณ์ (Selective Mutism) ขอ้ จากัดทางการเรยี นรู้ บกพรอ่ งทางการอา่ น อ่านไม่ได้ ไม่เข้าใจส่ิงท่ีอ่าน (Learning limitation) บกพรอ่ งทางการเขียน เขียนไม่ได้ เขียนผิดบ่อย ไม่ บกพร่องทางการคิดคานวณ เข้าใจหลักการทางคณิตศาสตร์ คดิ คานวณไม่ได้ ข้อจากัดทางการปฏิสัมพันธ์ทาง บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ก า ร แ ส ด ง ก า ร เ ข้ า ใ จ ผู้ อื่ น แ ล ะ ก า ร มี สังคม ความรู้สึกและการเข้าใจ ปฏิสัมพนั ธก์ ับบคุ คลในสงั คม ( limitationof Socia ความรู้สึกผู้อ่นื interaction)

ข้อจากัด ความบกพร่อง ความพิการ ข้ อ จ า กั ด ท า ง วุ ฒิ ภ า ว ะ ท า ง ความผิดปกติของสารเคมีใน ควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้ อ า ร ม ณ์ ( limitation of สมอง บกพร่องทางจิต ภาวะ ขาดเหตุผลในการคิด ประสาท Emotional maturity ) ซึมเศรา้ ความเครียดเรอ้ื รงั หลอน มีอารมณ์หุนหันพลัน แล่น เกร้ียวกราด ภาวะความบกพร่องของผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ ส่งผลให้ผู้เรียนมีข้อจากัดในด้านต่างๆ ตามลักษณะของความบกพร่อง จากสิ่งท่ีผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษได้รับ ส่งผลต่อการรับรู้ตนเอง การเรยี นรูแ้ ละสัมฤทธผิ ลทางการเรยี น ภาวะเหล่านี้สง่ ผลกระทบต่อ 1.Self-Esteem (การเหน็ คุณค่าในตวั เอง) ปัจจยั ที่สง่ ผลต่อ Self-Esteem มาจากปญั หาสุขภาพรา่ งกายหรอื จิตใจ Self-Esteem คอื ความคิดและความรูส้ กึ ที่มตี อ่ ตัวเอง ซึง่ มีผลกระทบต่อความกระตอื รอื ร้นในการใช้ชีวติ ในทุก ๆ ด้าน สญั ญาณทบ่ี ง่ บอก เชน่ เบอื่ อาหาร นอนไม่หลับ ไม่มสี มาธิในการทากิจกรรม รวมถงึ สง่ ผลถงึ ความ มนั่ คงทางอารมณ์ ทาใหไ้ ม่สามารถเผชิญหน้ากบั ความทา้ ทายหรือปัญหาในชีวิตได้ 2. Self-Efficacy หรอื การรบั รู้ความสามารถของตนเอง Self-Efficacy หมายถงึ ความเช่อื ในความสามารถของตนเองในการกระทาหรอื ปฏิบตั ิงาน ให้ สาเรจ็ ตามทไ่ี ด้ตงั้ เปา้ หมายไว้ ซ่ึง Self-Efficacy ไม่ได้ขนึ้ อยูก่ ับทกั ษะที่มีเพียงอย่างเดียว แตย่ ังข้ึนอยู่ กบั การที่เราพจิ ารณาตดั สนิ วา่ ตนเองจะสามารถทาอะไรได้จากทกั ษะทม่ี ี ซึง่ ส่งผลตอ่ แรงจูงใจ ความ พยายาม และความอดทนตอ่ อปุ สรรค 3. self-confidence ความมน่ั ใจในตนเอง หมายถงึ ความรู้สกึ เชอ่ื มน่ั ในความสามารถของตนเอง ความมัน่ ใจในตนเองมีความสาคัญต่อ สขุ ภาพและสขุ ภาพจติ ที่ดี การมีความมั่นใจในตนเองในระดบั ท่ีดีสามารถชว่ ยให้ประสบความสาเร็จใน ชีวิต

4. Self concept รบั รคู้ วามสามารถของตนเอง การรบั รู้ความความสามารถของตนเอง เช่น สวย เกง่ ข้ีอาย ชา่ งพูด เกบ็ ตวั เงยี บ เป็นตน้ ผู้เรียนท่มี ีความตอ้ งการพเิ ศษ หรอื Negative Self-Concept มคี วามจากดั ในการรบั รู้ความเป็น ตวั เอง ไมส่ ามารถพัฒนาใหต้ วั เองกา้ วผา่ นคาจากดั ความนั้นออกไปได้ เช่น เดก็ ทเ่ี คยสอบตกวิชา คณติ ศาสตร์ ก็อาจจะโตมากบั Self-concept ที่เชื่อว่าตัวเองเป็นคนไม่เก่งเลข ซึ่งสามารถทาให้เขาไม่ ชอบการคิดเลข ต่อไปในอนาคต 5.Learning motivation แรงจงู ใจในการเรียน คอื ผ้เู รยี นทไ่ี ม่มีแรงขบั เคลือ่ นท่ีอยภู่ ายในตวั บคุ คล ต้องกระตุ้นใหบ้ คุ คลนัน้ เกิดการเรยี นรู้ พยายามเพื่อให้บรรลุผลสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์ 6.Learned Helplessness ความสิ้นหวงั อนั เกดิ จากการเรยี นรู้ คอื ภาวะทเี่ รยี นรทู้ จ่ี ะประพฤตติ นอย่างสน้ิ หวงั แมจ้ ะมโี อกาสทจี่ ะหลกี เลี่ยงเหตกุ ารณท์ ไี่ ม่พงึ ปรารถนาหรือเปน็ อันตรายได้ มักมองโลกในแงร่ ้าย มองเหตกุ ารณท์ ่ีไม่พึงประสงคว์ า่ เปน็ ส่งิ ถาวร ไมม่ ี การเปลีย่ นแปลง เปน็ ความผดิ ของตนเอง ผเู้ รยี นทมี่ ีความต้องการพิเศษ มีประสบการณท์ ่ีลม้ เหลว จากการเรยี น รับรเู้ ก่ียวกับตนเองว่าไม่มคี วามสามารถ มักจะตกอยูใ่ นภาวะสน้ิ หวงั อันเกดิ จากการ เรียนรู้และภาวะซึมเศรา้ ได้ง่าย ภาวะบกพรอ่ งท่สี ่งผลต่อพฤตกิ รรมการเรยี น ได้แก่ • ควบคมุ ตนเองไมไ่ ด้ • ขาดสมาธใิ นการเรยี น • พฤตกิ รรม รบกวนช้ันเรียน • พัฒนาการท่ีจากดั เช่น ทกั ษะการคิดพน้ื ฐาน การคิดระดบั สูง ทักษะการเข้าใจสิ่งตา่ งๆ การแสดงออกของผ้เู รียนท่ีมีความต้องการพิเศษ อาจสง่ ผลตอ่ ความสัมพันธท์ างสงั คม • ครแู ละเพื่อน ไมเ่ ข้าใจในสิ่งทีผ่ ้เู รียนทม่ี ีความต้องการพิเศษเปน็ • ครแู ละเพ่อื นไมย่ อมรับ ภาวะความบกพรอ่ งของผูเ้ รยี นที่มคี วามต้องการพเิ ศษ อาจสง่ ผลกระทบและเปน็ สาเหตหุ ลกั ที่ ทาให้มปี ระสบการณท์ ี่ล้มเหลวในการเรยี น ซึ่งทาใหเ่ กิดทัศนคตทิ ีไ่ มด่ ี ต่อตนเองและการเรยี น ทาใหม้ ี

แรงจงู ใจในการเรียนต่า และมคี วามบกพรอ่ งบางอย่างเช่น ความบกพรอ่ งทางพฤติกรรมและอารมณ์ ความบกพร่องทางการปฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คม ทาใหผ้ ู้เรียนแสดงพฤติกรรมบางอยา่ งท่ีส่งผลกระทบต่อ การเรยี นและการยอมรับของเพ่ือนและครู ดังนั้นจิตวิทยาการสอนผเู้ รียนทมี่ คี วามต้องการพิเศษจงึ เป็นสงิ่ ที่สาคัญท่ผี ทู้ ส่ี อนจะนามาใช้ในการจัดการเรยี นการสอน เพ่อื ใหก้ ารจดั การเรยี นการสอน สอดคล้องตามความตอ้ งการจาเปน็ และศักยภาพของแตล่ ะบุคคล เสรมิ สรา้ งทัศนคติทีด่ ีและแรงจูงใจ ในการเรียน เพ่ือนาไปสกู่ ารพฒั นาการเรียนร้สู าหรบั ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ