Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความแตกต่างระหว่างบุคคล Individual differences

ความแตกต่างระหว่างบุคคล Individual differences

Published by navarat282515, 2021-09-07 06:53:22

Description: ความแตกต่างระหว่างบุคคล Individual differences

Keywords: ความ,แตกต่างระหว่างบุคคล

Search

Read the Text Version

ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล (Individual Differences) วิชาการดแู ลและช่วยเหลือผเู้ รยี น (Car Support Student) ผู้สอน ผู้ช่วยศาตราจารยน์ วรัตน์ หสั ดี

2 ความแตกต่างระหว่างบคุ คล (Individual Differences) การศึกษาความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Differences) เพื่อให้มีความเข้าใจ เกี่ยวกับความแตกต่างของบุคคลทางเชาวน์ปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ ลีลาการรู้คิด รวมท้ังความ แตกต่างทางบุคลิกภาพและความแตกต่างทางเพศ สาหรับเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลน้ีจดั เป็น ประเด็นพ้ืนฐานที่ผูส้ อนควรใหค้ วามตระหนกั และทาความเขา้ ใจ ในห้องเรียนประกอบไปด้วยผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย ความแตกต่าง เหลา่ นั้นเป็นตวั แปรสาคัญที่มอี ิทธิพลต่อประสทิ ธิภาพในการจัดการเรียนการสอน ผูส้ อนควรตระหนกั ถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน ซ่ึงมีปัจจัยท่ีสาคัญหลายด้าน เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีความ แตกต่างกันทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา หากสามารถจัดการเรียนการ สอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละบุคคล ให้เกิดการเรียนรู้หรือเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ท้ังด้านความรู้ ด้านเจตคติ และด้านทักษะ ก็จะสามารถตอบสนองต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนาศักยภาพ ผู้เรียนไดอ้ ย่างเต็มที่ วตั ถุประสงคใ์ นการเรยี นรู้ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล (Individual Differences) 1.เพอื่ ให้ทราบถึงปัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล 2.เพอื่ ใหม้ ีแนวทางในการจัดการเรียนในช้ันเรียน โดยคานึงถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล นกั จิตวทิ ยาและนักการศึกษากล่าวถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ไวด้ ังน้ี แนวความคดิ เรือ่ งสง่ิ เรา้ และการตอบสนอง (stimulus-response) หรือทฤษฎี เอส-อาร์ (S-R theory) และนามาประยุกต์ใช้ (Defleur, 1989, p. 173) อธิบายว่า บุคคล มีความแตกตา่ งกนั หลาย ประการ เชน่ บุคลกิ ภาพ ทัศนคติ สตปิ ัญญา และความสนใจ เปน็ ต้น และความแตกตา่ งน้ียงั ข้ึนอยู่ กับสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทาให้มพี ฤติกรรมการสื่อสารและการเลอื กเปิดรบั สารทีแ่ ตกต่างกัน หลกั การพืน้ ฐานท่สี าคญั คือ 1. บคุ คลมีความแตกตา่ งกนั ในดา้ นบคุ ลิกภาพและสภาพจิตวทิ ยา 2. ความแตกตา่ งกนั นีเ้ ป็นเพราะบคุ คลมกี ารเรยี นรู้ 3. บคุ คลท่ีอยตู่ า่ งสภาพแวดลอ้ มกนั จะไดร้ บั การเรยี นรูท้ ่แี ตกตา่ งกนั 4. การเรยี นรูจ้ ากสภาพแวดลอ้ มท่ีแตกตา่ งกนั ทาใหบ้ คุ คลมที ศั นคติ คา่ นิยม ความเช่ือถือ และบคุ ลกิ ภาพท่ีแตกตา่ งกนั

3 ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจท์ ได้อธิบายว่าการพัฒนาสติปัญญาและความคิดของผู้เรียนน้ัน เกิดจากการปรับตัวกับส่ิงแวดล้อม และผู้สอนควรจะต้องจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนการสอน ให้ สอดคล้องกับความพร้อมของผเู้ รียน ทฤษฎีพัฒนาการของบรูนเนอร์ มีแนวคิดว่าความพรอ้ มของเดก็ สามารถจะปรับได้ แต่จะต้อง รู้จักการจัดเน้ือหาและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กเหล่านั้น ดังนั้นผู้สอนจึงจาเป็น จะต้องเข้าใจเด็ก และรู้จักกระตุ้นโดยการจัดสภาพการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับความต้องการ ของเดก็ ทฤษฎีพัฒนาการของอิริคสัน มีแนวคิดว่า การพัฒนาการทางบุคลิกภาพย่อมข้ึนอยู่กับการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างอินทรีย์กับสภาพสังคมท่ีมีอิทธิพลมาเป็นลาดับขั้นของการพัฒนาและจะสืบเน่ือง ต่อๆไป เด็กทมี่ ีสภาพสงั คมทดี่ ีกจ็ ะมีผลต่อการพฒั นาบคุ ลิกภาพที่ดดี ว้ ย ทฤษฎีพัฒนาการของกีเซล มีแนวคิดว่าพฤติกรรมของบุคคลจะขึ้นอยู่กับพัฒนาการซึ่งจะ เป็นไปตามธรรมชาติเม่ือถึงวัย ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนจะต้องคานึงถึงความพร้อม ความสามารถ ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน Kuzgun and Deryakulu 2004 กลา่ วว่า มีความแตกต่างระหว่างบุคคลจานวนมากที่มีผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพและทัศนคตขิ องผูเ้ รยี นระหว่างการสอนและการเรียนรู้ ความแตกตา่ งทีพ่ บบอ่ ยท่ีสดุ ของ ผู้เรียนคือเพศ อายุสติปัญญา ความสามารถ ความสนใจ พ้ืนความรู้ สไตล์การเรียน แรงจูงใจ การ กากับและควบคมุ ตนเองที่มปี ระสทิ ธภิ าพและอิทธพิ ลทางความเช่อื ของบคุ คล สุรางค์ โคว้ ตระกลู (2544) กล่าวถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลในเรือ่ งต่อไปน้ี 1. ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลทางเชาวนป์ ญั ญา 2. ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลทางความคิดสร้างสรรค์ 3. ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลทางลีลาการรคู้ ิด (Cognitive styles) 4. ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลเกีย่ วกบั ลลี าการเรียนรู้ (Learning styles) 5. ความแตกตา่ งระหว่างเพศ

4 อารี พันธ์มณี (2546) ได้กล่าวถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล หมายถึง ลักษณะของคนแต่ละคน ซ่ึงไม่เหมือนกัน มีลักษณะท่ีไม่ซ้าแบบใครและไม่เหมือนใคร ได้แก่ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ทางกาย อารมณ์ สงั คมและสติปญั ญา ซึง่ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลทาใหบ้ ุคคลมเี อกลกั ษณข์ องตน จากแนวคิดและทฤษฏีของนักจิตวิทยาและนักการศึกษาสรุปได้ว่า ความแตกต่างระหว่าง บุคคลท้ังทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา และด้านบุคลิกภาพอื่นๆ ความ แตกต่างดังกล่าว ล้วนส่งผลต่อการเรียนรู้ของบุคคลท้ังทางตรงและทางอ้อม โดยกล่าวถึงลักษณะ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลทส่ี าคญั ของผเู้ รียนจะส่งผลตอ่ การจัดการเรียนการสอนทัง้ ส้ิน ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อความแตกต่างระหว่างบคุ คล (กนั ยารตั น์ สอาดเย็น, 2558) ดังน้ี 1.พันธุกรรม ( Heredity)หมายถงึ ลกั ษณะต่างๆท่ีถา่ ยทอดจากบรรพบรุ ุษมาสู่ลูกหลาน โดย ผ่านทางยีน ลักษณะต่างๆที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม มีดังนี้ 1.ลักษณะบุคคลตามเชื้อชาติ 2.เพศ 3.อายุ 4.กลุ่มโลหิต 5.ความบกพร่องทางกายและโรคบางชนิด 6. การเจริญเติบโตของร่ายกาย 7.บคุ ลิกภาพ 8.สตปิ ัญญา 2.ส่ิงแวดล้อม (Environment) หมายถึง ผลรวมของสิ่งต่างๆท่ีบุคคลได้รับตั้งแต่ปฏิสนธิ จน กระทั้งตายและมีอิทธิพลทาให้บคุ คลแตกต่างกัน เช่น การอบรมเล้ยี งดู ของครอบครัว สงั คม ศาสนา วัฒนธรรม การศึกษาและระบบเศรษฐกิจ เป็นตน้ นอกจากน้ี ส่งิ แวดล้อมภายในครรภ์และส่งิ แวดลอ้ ม ภายหลงั การเกิดยงั มคี วามสาคัญอีกด้วย 2.1 สง่ิ แวดล้อมภายในครรภ์ คือผลรวมของสิ่งต่างๆที่มีผลต่อทารก ซ่ึงเป็นระยะของการอยู่ ในครรภ์มารดา ดังนั้น สุขภาพร่างกายของมารดา การเจ็บป่วย การบริโภคอาหารของมารดา สารอาหาร รวมถงึ ภาวะสุขภาพจิต เช่นความเครยี ด ความวิตกกงั วล เศรา้ โกรธ หงุดหงิด ของมารดา จะสง่ ผลต่อทารกได้ 2.2 ส่ิงแวดล้อมภายหลังการเกิด เช่น การตอบสนองความต้องการของทารกอย่างทันท่วงที การอบรมเล้ียงดูจากครอบครัว การส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง ได้รับสารอาหารดี มี คุณค่า ปลอดภัยจากโรคต่างๆ และได้รับการอบรมสั่งสอนด้วยความรัก ความเอาใจใส่ การให้เด็ก ได้รับแนวคิดและปฏิบัติตนตามหลักของเหตุผล ส่งเสริมประสบการณ์ท่ีเหมาะสมตามวัย มุ่งเน้นการ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ เปน็ ผู้มกี ารเจรญิ เตบิ โตทางกาย อารมณ์ สังคมและสติปญั ญาอยา่ งสมบูรณ์

5 ทั้งน้ีส่ิงแวดล้อมเป็นปัจจัยหนึ่งที่สาคัญต่อพัฒนาการของมนุษย์โดยทาให้มนุษย์แต่ละคนมี ความแตกต่างกัน การส่งเสริมด้านการศึกษา จัดเป็นส่ิงสาคัญ เน่ืองจากเด็กที่ได้รับโอกาสทาง การศึกษา ย่อมเป็นคนท่ีมีโอกาสพัฒนาด้านความรู้ ความสามารถ ดังน้ันผู้สอนจึงมีบทบาทสาคัญใน การส่งเสริมความรู้และปลูกฝังเกี่ยวกับค่านิยม วิถีการประพฤติปฏิบัติที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ ความต้องการของสงั คม ลกั ษณะความแตกต่างท่สี าคญั ของผ้เู รยี นซึง่ มีผลตอ่ การจัดการเรยี นการสอน 1. ความแตกตา่ งทางดา้ นร่างกาย 2. ความแตกต่างทางดา้ นอารมณ์ 3. ความแตกตา่ งทางดา้ นสังคม 4. ความแตกตา่ งทางดา้ นสตปิ ญั ญา 1.ความแตกต่างทางดา้ นรา่ งกาย สามารถแบ่งได้ 2 ลกั ษณะ คือ 1.ลักษณะทางร่างกายซ่ึงสามารถมองเห็นได้เด่นชัด เช่น รูปร่าง หน้าตา อายุ เพศ ลักษณะ ของสผี วิ เส้นผม เลบ็ ฯลฯ และลกั ษณะอวัยวะตา่ งๆ ของรา่ งกาย ซ่งึ จะแตกต่างกนั ไปในแตล่ ะบคุ คล 2.ลักษณะทางร่างกายซ่ึงไม่สามารถมองเห็นได้เด่นชัด เช่น การทางานของระบบต่างๆ ใน รา่ งกาย การเต้นของหวั ใจ ความดันโลหิต กลมุ่ เลอื ด ปฏกิ ิริยาทม่ี ีตอ่ ยาและสารเคมอี ่ืนๆ ฯลฯ 2. ความแตกต่างทางด้านอารมณ์ อารมณ์ หมายถึงความรู้สึกที่เกิดข้ึนเมื่อบุคคลท่ีถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทั้งสิ่งเร้าภายในและ ภายนอกและความรู้สึกที่เกิดขึ้นน้ี มีผลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคล โดยทั่วไปอารมณ์จะมี ลกั ษณะอารมณ์ดา้ นบวก คือ อารมณ์ดี พอใจ สบายใจ สขุ ใจฯลฯ และอารมณ์ด้านลบ คือ อารมณ์ไม่ ดี ไม่พอใจ หงุดหงิด ทุกข์ใจ ฯลฯ คนแต่ละคนมีอารมณ์แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังมีความสามารถใน การควบคุมอารมณ์ได้แตกต่างกันด้วย ซึ่งลักษณะดังกล่าวอาจจะช่วยส่งเสริมให้บุคคลมีชีวิตที่มี ความสุขหรืออาจเป็นตวั บัน่ ทอนความสขุ ในชีวติ ก็ได้ นักจติ วิทยาเช่ือว่าอารมณ์เป็นส่ิงท่ีสามารถปลูกฝงั ให้เกดิ ขึน้ ได้ เพราะสาเหตุที่ทาให้คนเราเกิด อารมณต์ ่างๆ น้นั เปน็ ผลจากการท่ีบุคคลเรยี นรู้ตั้งแต่แรกเกิด เชน่ วิธกี ารอบรมเลี้ยงลกู ในวัยเด็ก ซ่งึ

6 ส่งผลอยา่ งมากตอ่ ลกั ษณะอารมณ์ของบคุ คล นอกจากนย้ี ังมีสงิ่ แวดลอ้ มอื่นๆ ท่ีมีอิทธพิ ลทาให้บุคคลมี อารมณ์แตกต่างกัน ได้แก่การศึกษาจากครอบครัว โรงเรียน สภาพของสังคมที่บุคคลอาศัยอยู่ ขนบธรรมเนยี มและวัฒนธรรม ฐานะทางเศรษฐกิจและสงั คม ตลอดจนส่อื มวลชนตา่ งๆ 3. ความแตกตา่ งทางดา้ นสงั คม บุคคลแต่ละบุคคลมีพฤติกรรมด้านสังคมแตกต่างกัน นับตั้งแต่ลักษณะการพูดจาส่ือสาร การ แต่งกาย การคบเพ่ือน และบุคลิกภาพทางสังคมอื่นๆ ท้ังนี้เพราะแต่ละบุคคลมาจากสังคมที่แตกต่าง กัน เช่น มาจากครอบครัวที่แตกต่างกัน ซึ่งหมายถึงได้รับการอบรมเล้ียงดูที่แตกต่างกัน บิดามารดามี อาชีพการศึกษา ฐานทางเศรษฐกิจและลกั ษณะอ่ืนๆ ท่ีแตกตา่ งกนั ย่อมส่งผลใหบ้ คุ คลมลี กั ษณะสังคม ทีไ่ ม่เหมือนกนั นอกจากครอบครวั แล้วยังมีหน่วยสงั คมอ่นื ๆ ที่มอี ิทธพิ ลทาให้บคุ คลมีความแตกตา่ งกนั ทางด้านสงั คม เช่น กลมุ่ เพื่อน ผู้รว่ มงาน โรงเรยี น ชมุ ชนทบ่ี คุ คลอาศัยอยู่ และบคุ คลที่เก่ียวข้อง ฯลฯ และความแตกต่างทางด้านสังคมดังกล่าวจะส่งผลให้บุคคลมีแนวโน้มท่ีจะมีลักษณะของความสนใจ ความต้องการ ค่านิยมและแรงจูงใจในการทาพฤตกิ รรมต่างๆ แตกตา่ งกันไปดว้ ย 4. ความแตกต่างทางด้านสติปัญญา ความแตกต่างทางด้านสติปัญญา ได้แก่ ความสามารถของบุคคลในการจา การคิด การ ตัดสินใจ การแก้ปัญหา การเรียนรู้ และการกระทาส่ิงต่างๆ รวมท้ังความสามารถในการปรับตัว ถ้า บคุ คลใดทาสิ่งเหลา่ นไ้ี ดด้ ี แสดงว่าบคุ คลน้ันมีสติปญั ญาสงู นักจิตวิทยาและนักการศึกษาคน้ พบว่า คนเรามีระดับสตปิ ัญญาแตกต่างกัน ตัง้ แต่ระดับสูง-ต่า ซ่ึงมีผลทาให้เกิดความแตกต่างในด้านประสิทธิภาพของบุคคล ท้ังในแง่ของการทางานและการทา พฤติกรรมอ่ืนๆในชีวิต ความสามารถทางสติปัญญาเป็นตัวแปรสาคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ เรียนรู้ของบุคคล ระดับสติปญั ญาของคนเรามีความแตกต่างกันต้ังแตร่ ะดับสูง (อจั ฉริยะ) จนถึงระดับ ต่า (เชาวน์ปัญญาต่ากว่าปานกลาง) ในการเรียนการสอนครูส่วนมากจะคิดถึงผู้เรียนทั้งห้องเป็น ภาพรวม และคาดหวังให้ผู้เรียนส่วนมากซง่ึ มีสติปัญญาระดบั ปานกลางเกิดการเรียนรู้ แต่ในความเปน็ จริงในห้องเรียนหน่ึงๆ มักจะมีผู้เรียนสติปัญญาระดับสูง และระดับต่ากว่าปานกลางรวมอยู่ด้วยเสมอ ซึ่งผู้เรียนทั้งสองประเภทนี้ต้องการความช่วยเหลือจากครูเป็นพิเศษ เพราะการสอนรวมกับผู้อื่น ตามปกติเป็นอปุ สรรคต่อการเรียนรูข้ องผเู้ รยี นทงั้ สองประเภท กลา่ วคอื

7 ผู้เรียนระดับสติปัญญาสูงจะเกิดความเบื่อหน่ายและอาจแสดงออกในรูปแบบต่างๆ เช่น ขาดความสนใจในบทเรียน ทาพฤติกรรมก่อกวนชั้นเรียนเนื่องจากทางานเสร็จและไม่มีอะไรทา ขาดแรงจูงใจในการเรียน เพราะงานท่ีครูให้ทา ง่ายเกินไปและไม่ท้าทาย ดังน้ันครูจึงควรจัดกิจกรรม พิเศษเพื่อส่งเสริมผู้เรียนประเภทน้ีให้มีโอกาสได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มท่ี และเพ่ือป้องกันการเกิด พฤตกิ รรมทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ในการเรยี น โปรแกรมที่นกั การศกึ ษาของประเทศสหรฐั อเมรกิ าจัดให้ผูเ้ รียน ท่มี สี ตปิ ญั ญาสูงมี 3 ประเภท คือ 1. การเรียนข้ามชนั้ 2. การจดั โปรแกรมพเิ ศษเพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 3. การแบ่งเรียนเปน็ กลุ่ม สอนตามความสามารถ สาหรบั ประเทศไทย มีการจัดโปรแกรมพิเศษเพ่อื ส่งเสรมิ การเรียนรู้ และจดั สอนเสรมิ เปน็ กลมุ่ สอนตามความสามารถสาหรบั ผู้เรียนทมี่ รี ะดบั สตปิ ัญญาสูงหรอื ผเู้ รยี นที่มคี วามสามารถพเิ ศษเฉพาะ ด้าน และเปดิ โอกาสใหส้ อบเทยี บความรใู้ นระดบั ประถมศึกษาและระดบั มธั ยมศกึ ษา สาหรบั ผูเ้ รยี นทีม่ สี ติปญั ญาต่ากวา่ ปานกลางหรือเด็กเรยี นชา้ ซ่ึงมกั มีพฤติกรรมแตกตา่ งไปจาก เด็กปกติ คือ ขาดความมน่ั ใจในตนเอง มคี วามจาระยะสนั้ มคี วามสนใจส้ัน ไมส่ ามารถสารวมความคิด และพฤติกรรมได้นาน และเมอ่ื เผชญิ กบั สภาพท่เี ปน็ ปัญหามักจะเกดิ ความท้อถอ้ ยหรือคบั ข้องใจ การ สอนเดก็ เรียนชา้ หรอื ผ้เู รียนทม่ี ีความตอ้ งการพเิ ศษ เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนมีพัฒนาการตามความสามารถ พัฒนาตนตามศกั ยภาพ อาจใช้การสอนเป็นรายบุคคลหรอื สอนเปน็ กลุ่มเล็กๆ หลกั ในการสอนเดก็ เรียนช้า (สุรางค์ โคว้ ตระกูล) ได้เสนอ ดังนี้ 1.ครจู ะตอ้ งแสดงใหน้ กั เรยี นทราบว่า ครูเต็มใจท่จี ะชว่ ยนกั เรยี นให้เกดิ การเรียนรู้ 2.หลีกเลีย่ งสภาวะท่ีกอ่ ให้นกั เรยี นทเี่ รยี นชา้ เกดิ ความคับข้องใจ โดยการจดั บทเรยี นให้ เหมาะสมกบั ความสามารถเชน่ เลือกงานทงี่ า่ ยและมอบหมายให้ทางานนอ้ ยกว่าเพื่อน 3.ครูควรเลอื กถามคาถามทนี่ ักเรยี นสามารถตอบได้ และใหเ้ วลาในการตอบ 4.จดั หน่วยเรยี นให้สนั้ และจบไดใ้ นตวั 5.ครูควรทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแลว้ ทกุ ครงั้ ก่อนจะเริม่ บทเรียนใหม่ 6.ใหข้ ้อมลู ย้อนกลบั ทนั ทีจะช่วยให้นกั เรียนรู้ถงึ ความก้าวหนา้ ทางการเรียนของตนเอง เพอ่ื ให้ มีกาลังใจ

8 ความแตกตา่ งทางด้านบคุ ลกิ ภาพอนื่ ๆ นอกจากบุคคลจะแตกตา่ งกนั ในดา้ นต่างๆ ดงั ที่กลา่ วมาแล้ว ยังมีความแตกตา่ งกันด้าน บุคลกิ ภาพอนื่ ๆ เช่น ความถนัดตาธรรมชาติ ความสนใจ ทัศนคติ แรงจูงใจ ความคดิ สร้างสรรค์ ความ รบั ผดิ ชอบ วิธีคิดและแบบของการเรียนรู้ ฯลฯ ซง่ึ ลักษณะดงั กลา่ วมผี ลต่อการเรยี นทั้งส้ิน โดนเฉพาะ อย่างยิ่ง รปู แบบการเรียนรซู้ ่งึ จะแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะบุคคล เช่น คนบางคนเรียนรู้ไดด้ ดี ้วยการใช้ สายตาหรือการสงั เกต (Visual) บางคนเรยี นรไู้ ด้ดดี ้วยการฟัง (Auditory) บางคนเรียนรไู้ ด้ดีด้วยการ พูด (Talking) และบางคนเรียนรู้ได้ดโี ดยการใชม้ อื หรือการสัมผัส (Touching) นอกจากน้ีผ้เู รยี นบาง คนเรยี นรไู้ ด้ดี ถ้ามกี ารกาหนดเวลาท่ีแนน่ อน แต่บางคนจะทาไดไ้ มด่ ี บางคนต้องการใหค้ อยดูแลหรอื ติดตามตรวจสอบ แตบ่ างคนชอบอิสระ เปน็ ต้น ในหอ้ งเรยี นหน่ึงๆ ประกอบด้วยนักเรียนทีม่ คี วาม แตกต่างกันอย่างหลากหลาย และความแตกตา่ งเหล่าน้นั เป็นตัวแปรสาคัญทม่ี ีอิทธิพลตอ่ ประสิทธภิ าพ ในการจัดการเรียนการสอน ถ้าครูตระหนกั ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งผู้เรียนอย่างจริงจัง ก็สามารถ จัดการเรยี นการสอนเพอ่ื ตอบสนองผเู้ รยี นและพฒั นาศักยภาพผู้เรียนไดอ้ ยา่ งเต็มที่

9 การจัดการเรียนการสอนให้เหมาะกับผู้เรียนในแต่ละวัย ควรคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคล ในเรื่องของความคิด การเรียนรู้ ความสามารถ แรงจูงใจ สมรรถภาพทางกายหลายๆเรื่อง ประกอบกัน ซ่ึงความแตกต่างนี้ถ้าเรามองในเร่ืองของช่วงวัย เช่น วัยเด็ก วัยรุ่น ก็จะมีความแตกตา่ ง ระหว่างวัยเกิดข้ึน เราอาจจะใช้ในเรือ่ งของทฤษฏีทางพฒั นาการเข้ามาเกย่ี วข้อง โดยมองในเรื่องของ พัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา 4 อยา่ งนี้มาประกอบกัน พฒั นาการทางกาย เราต้องมีการสังเกต ในฐานะผู้สอนว่าผู้เรียนในแต่ละวัยน้ีมีพัฒนาการในแต่ละช่วงวัยเป็น อย่างไร เช่นผู้เรียนในระดับประถม การเคล่ือนไหวของร่างกายเป็นส่ิงสาคัญจะไม่หยุดน่ิง อยู่กับที่ เพราะฉะน้ันในการจัดการเรียนการสอนคงจะต้องมีการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงออก มีการ เคล่อื นไหว ออกมาหนา้ ชัน้ เรยี น พูดส่ือสารหรือไดท้ ากจิ กรรมรว่ มกับเพ่อื นๆ พฒั นาการทางด้านอารมณ์ จะมีภาวะที่เปลี่ยนแปลงต่อสภาพแวดล้อมได้ง่าย เช่น มีความวิตกกังวล มีความคิด กังวลใจ ในเรื่องต่างๆ เช่น เค้าจะปฏิบัติตัวต่อเพื่อนอย่างไร ส่ิงสาคัญในฐานะผู้สอน จะต้องเสริมสร้างให้ ผูเ้ รยี นมคี วามกล้าแสดงออก มีความมัน่ ใจ สามารถทากิจกรรมร่วมกับเพ่ือนๆได้เปน็ อยา่ งดี พฒั นาการทางด้านสังคม เด็กในวัยน้ีจะมีความอยากรู้อยากเห็น การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าเผชิญโลกกว้าง โดย ผูส้ อนควรเป็นผู้สังเกตหรอื อยใู่ นความดูแลของผู้สอน เพื่อไมใ่ หเ้ กิดอนั ตรายกับตัวเด็กนนั่ เอง สงิ่ สาคญั ผเู้ รียนจะสามารถเรียนรใู้ นการปรบั ตัวสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธร์ ว่ มกับผู้อ่ืน แม้ว่าจะเป็นเพื่อนตา่ งเพศหรอื เพอื่ นเพศเดียวกันกต็ าม พัฒนาการทางสตปิ ญั ญา ผูเ้ รียนในวัยระดับประถมศึกษา เรื่องของความคิดในเชิงนามธรรมหรือการคิดวิเคราะห์ในเชิงลึก อาจจะยังไม่สมบูรณม์ ากนัก ผสู้ อนอาจจะต้องกระตนุ้ ให้คิดในระดับแรกเริม่ เช่น มสี ื่อประกอบให้เหน็ เปน็ รปู ธรรมมากขนึ้ เพอื่ เชื่อมโยงระบบความคิดของผ้เู รยี นได้อย่างชัดเจน เพ่อื พฒั นาชว่ งวยั ตอ่ ไป

10 ผู้เรียนวัยรุ่น ในเร่ืองของความคิดเชิงนามธรรมก็จะมีพัฒนาการเกิดขึ้นแบบต่อเน่ือง ผู้สอน ควรพิจารณาว่าผู้เรียนแต่ละคนจะมีความแตกต่างกันในด้านใด บางคนเรียนรู้ได้เร็ว บางคนอาจจะ เรียนรู้ได้ช้า การจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน ก็เป็นอีกสิ่งหน่ึงที่จะช่วยให้เด็กๆมีความมั่นใจ พร้อมที่จะเผชิญกับส่ิงต่างๆท่ีเกิดขึ้นในช่วงวัยได้อย่างเข้มแข็ง ความคิดในลักษณะเป็นการคิด วิเคราะห์ การคิดเช่ือมโยง สามารถท่ีจะจัดการรับมือกับปัญหาต่างๆได้อย่างมีเหตุมีผล พร้อมท้ัง ส่งเสริมในเร่ืองของการคิด สติปัญญาเหล่านี้ท่ีทาให้เขาได้ร่วมสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ สามารถที่จะ แสดงออกหรือว่าวางแผนสิ่งต่างๆได้ด้วยตัวเอง เพ่ือนจะเป็นบุคคลท่ีมีอิทธิพลสูงกับวัยรุ่น เช่น เวลา เผชิญปัญหาต่างๆบุคคลแรกท่ีจะนึกถึงก็คือเพื่อนท่ีอยากจะพูดคุย ปรึกษา ขอข้อมูลเพิ่มเติมหรือ แม้แต่ระบายความในใจก็จะเป็นกับกลุ่มเพื่อนด้วยกันเอง อารมณ์ของผู้เรียนในช่วงวัยรุ่นจะมีความ เปลี่ยนแปลงได้โดยง่าย เป็นวัยท่ีมีอารมณ์แปรปรวนง่าย เนื่องจากจะต้องเผชิญกับสภาวะการ เปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดข้ึนท้ังกับภายในตัวและภายนอกตัว ครู พ่อแม่ เป็นบุคคลท่ีจะส่งเสริมหรือ เป็นคนสาคัญท่ีคอยอยู่เบ้ืองหลัง และก็สนับสนุนให้ตัวเด็กและวัยรุ่นที่เราเรียกโดยรวมว่าผู้เรียน สามารถเผชญิ กบั ส่งิ ต่างๆท่เี กิดขน้ึ ได้ การศึกษาความแตกต่างระหว่างบุคคล นาไปสู่การศึกษาหลักวิธีการสอน กระบวนการสอน และทาความเข้าใจธรรมชาตขิ องผ้เู รยี นเพื่อใหเ้ ป็นประโยชนใ์ นการจดั การเรยี นการสอนตอ่ ไป 1.ชว่ ยให้รู้จักลักษณะนิสยั (Characteristics) ของนกั เรยี นทต่ี อ้ งสอนโดยทราบหลักพฒั นาการ ทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สงั คม และบคุ ลกิ ภาพเปน็ สว่ นรวม 2.ช่วยให้มีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน เช่น อัตมโนทัศน์ (Self concept) วา่ จะเกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร และเรียนรู้ถงึ บทบาทของครูในการทจ่ี ะชว่ ยนกั เรยี นใหม้ ี อตั มโนทัศน์ ท่ดี แี ละถกู ตอ้ งไดอ้ ยา่ งไร 3. ชว่ ยใหม้ ีความเข้าใจในความแตกตา่ งระหว่างบุคคล เพอ่ื จะไดช้ ว่ ยนกั เรียนเป็นรายบคุ คลให้ พฒั นาตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล

11 4.ช่วยให้รู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัย และข้ันพัฒนาการของ นกั เรียน เพ่ือจูงใจใหน้ กั เรยี นมีความสนใจและอยากจะเรียนรู้ 5.ช่วยให้ทราบถึงตัวแปรต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น แรงจูงใจ และการ ตัง้ ความคาดหวังของครทู ม่ี ตี ่อนักเรยี น 6.ช่วยในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน เพื่อทาให้การสอนมีประสิทธิภาพสามารถช่วย ให้นักเรยี นทกุ คนเรยี นรู้ตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล โดยคานึงหวั ข้อต่อไปน้ี 6.1 ช่วยเลอื กวัตถุประสงค์ของบทเรยี นโดยคานึงถึงลักษณะนิสยั และความแตกตา่ งระหวา่ ง บุคคลของนักเรียนทีจ่ ะตอ้ งสอน และสามารถทจ่ี ะเขียนวัตถปุ ระสงค์ให้นกั เรยี นเข้าใจว่าส่งิ ท่คี รู คาดหวังให้นักเรียนรู้มีอะไรบ้าง โดยถือว่าวัตถุประสงค์ของบทเรียนคือส่ิงท่ีจะช่วยให้นักเรียนทราบ วา่ เมื่อจบบทเรยี นแล้วนักเรียนจะสามารถทาอะไรไดบ้ ้าง 6.2 ช่วยในการเลือกหลักการสอนและวิธีสอนท่ีเหมาะสม โดยคานึงถึงลักษณะนิสัยของ นักเรยี นและวชิ าท่ีสอนและกระบวนการเรียนรขู้ องนกั เรยี น 6.3 ช่วยในการประเมินผล ไม่เพียงแต่เฉพาะเวลาครูได้สอนจนจบบทเรียนเท่าน้ันแต่ใช้ ประเมินความพร้อมของนักเรียนก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังจากเรียนแล้ว เพ่ือจะทราบว่า นักเรียนมีความก้าวหนา้ หรอื มีปญั หาในการเรยี นรู้อะไรบ้าง 7.ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้ที่นกั จิตวิทยา ได้พสิ ูจน์แล้ววา่ ได้ผลดี เชน่ การเรยี นรู้จากการสังเกตหรอื การเลยี นแบบ (Observational learning หรอื Modeling) 8.ช่วยให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนท่ีมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพฤติกรรมของครูที่มีการ สอนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพว่ามอี ะไรบา้ ง เชน่ การใชค้ าถาม การใหแ้ รงเสริม และการทาตนเป็นตน้ แบบ 9.ชว่ ยให้ทราบวา่ นักเรยี นท่ีมีผลการเรยี นดี ไม่ไดเ้ ปน็ เพราะระดับเชาวนป์ ัญญาเพยี งอยา่ งเดยี ว แต่มีองค์ประกอบอ่ืนๆ เช่น แรงจูงใจ (Motivation) ทัศนคติ ความเข้าใจของนักเรียนและความ คาดหวังของครทู ่ีมตี อ่ ตัวนักเรียน

12 10.ช่วยให้การดูแลในชั้นเรียนและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียนเอื้อต่อการเรียนรู้และ เสรมิ สรา้ งบุคลิกภาพของนกั เรยี น ครูและนักเรยี นมีความรกั และไว้วางใจซึ่งกนั และกนั นกั เรียนต่างก็ ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ทาให้ห้องเรียนเป็นสถานท่ีที่ทุกคนมีความสุขและนักเรียนรักโรงเรียน อยาก มาโรงเรียน จากส่ิงท่ีกล่าวมาแล้วน้ัน ช่วยให้ผู้สอนสามารถนาไปใช้ในการออกแบบหรือวางแผนการสอน ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน เพราะส่ิงน้ีย่อมส่งผลต่อรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม ซงึ่ จะเกิดประโยชน์สงู สุดต่อผ้เู รยี น 1.การจดั หลักสูตรการเรยี น (Curriculum) เพื่อให้ผู้สอนเข้าใจว่า ผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สังคมและ สติปัญญา ผูส้ อนควรมีการประเมินความต้องการ ความสนใจ ทักษะและความสามารถของผู้เรียน จึง ตัดสินใจว่าจะจัดการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมอะไรกับผู้เรียนและผู้สอนต้องคานึ งถึงเรื่องของ สภาพแวดล้อม ท้องถ่ินทอ่ี าศัย วิถีชวี ติ วฒั นธรรมและประเพณี เปน็ ควรนามาพิจารณาประกอบการ จดั การเรยี นการสอนดว้ ย 2.วธิ ีการสอน (Method of Teaching) เพ่ือให้เหมาะกับหลักสูตรการสอนที่จัด ผู้สอนควรพิจารณาวิธีการสอนท่ีเหมาะสมกับหัวข้อ เรื่องที่สอนและเหมาะสมกับผู้เรียน เช่นวิธีการสอนโดยใช้การบรรยาย การสาธิต การทดลอง การ แสดงบทบาทสมมติ การใช้สถานการณจ์ าลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย ซึ่งในการเลือกวธิ ีการสอน ควร คานงึ ถงึ ควาแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผู้เรยี นในแตล่ ะระดบั ชน้ั ท่มี ีความแตกต่างกันด้วย 3.อุปกรณแ์ ละสง่ิ ช่วยสอน (Teaching Aids) ควรมีอุปกรณ์ช่วยสอนอย่างเพียงพอและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกใช้อย่างเต็มท่ี อุปกรณ์ การสอนตอ้ งเหมาะกับวัยของผเู้ รยี น

13 4.การวัดผล (Evaluation) การวัดผลควรใช้วิธีการที่หลากหลาย เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีใกล้เคียงกับความเป็นจริงและให้ความ เป็นธรรมกับผู้เรียน ซึ่งจะช่วยให้ผู้สอนเข้าใจสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน จึงสามารถหารูปแบบ การจัดการเรยี นการสอนทเ่ี หมาะสมกบั ผูเ้ รียนได้ 5.การจัดกจิ กรรมพเิ ศษ(Extra Activities) ผู้สอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้ความสามารถของตนอย่างเต็มท่ี เช่นการเข้าร่วม กิจกรรมนอกชั้นเรียน เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักการทางานร่วมกัน รู้จักการวางแผน การคิดอย่างมี เหตุผล สามารถแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักเป็นผู้นาและผู้ตาม เป็นต้น การสง่ เสริมการเรียนรู้เปน็ รายบุคคลหรอื รายกลุม่ ผู้สอนควรพจิ ารณาถงึ ความถนดั และความสามารถ ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ความสามารถพิเศษในด้านอื่นๆ เช่นความถนัดทางด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ เปน็ ต้น เพื่อเปน็ การส่งเสริมความสามารถของผู้เรียนในด้านนัน้ ๆอย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ บทบาทของครูผู้สอนควรได้ช่วยส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนในด้านความสนใจ แรงจูงใจในการ เรียน และความสามารถของผู้เรียนแต่ละคนตามศักยภาพท่ีแตกต่างกันในแต่ละบุคคล เพื่อเป็น ประโยชน์ในแนวทางการพฒั นาผู้เรยี นตอ่ ไป

14 อ้างอิง ภาษาไทย กันยารัตน์ สอาดเย็น, 2558 ความแตกต่างระหว่างบุคคล, ระบบออนไลน์ สานักงานคณะกรรมการ การอดุ มศึกษา สรุ างค์ โคว้ ตระกลู , 2544 จิตวิทยาการศึกษา สานักพมิ พ์จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ,กรุงเทพมหานคร ภาษาองั กฤษ Buss,D.M.,& Greiling,H.(1999). Adaptive individual differences. Journal of Personality, 67, 209–243. Journal of Psychology and Education 2020 “Learning and Individual Differences” See also Elsevier Educational Research Programme home Editor: P. Cirino ISSN: 1041-6080 Kuzgun, Y., & Deryakulu, D. (Eds.). (2004). Egitimde bireysel farkliliklar [Individual differences in education]. Ankara: Nobel. ออนไลน์ https://www.journals.elsevier.com/learning-and-individual-differences https://link.springer.com/referenceworkentry/10.1007%2F978-1-4419-1428-6_370

15


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook