Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลักษณะผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ การดูแลช่วยเหลือผู้เรียน

ลักษณะผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ การดูแลช่วยเหลือผู้เรียน

Published by navarat282515, 2021-09-07 08:45:06

Description: Ebook ลักษณะผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ วิชาการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน

Keywords: ผู้เรียนที่ม,ีความ,ต้องการพิเศษ

Search

Read the Text Version

ผเู้ รียนทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ Children with Special Needs วชิ า การดแู ลและชว่ ยเหลือผูเ้ รียน (Caring and Supporting Students) ผู้สอน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์นวรัตน์ หัสดี

2 ผู้เรยี นทม่ี ีความตอ้ งการพิเศษ (Children with Special Needs) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 10 ระบุว่า การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษา ข้ันพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ท่ีรัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย การ จัดการศึกษาสาหรับบุคคลซ่ึงมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การ ส่ือสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปน็ พเิ ศษ (กระทรวงศึกษาธกิ าร สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ, 2563) นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (กระทรวงศกึ ษาธิการ,2564) ตระหนกั ถึง ความสาคญั ของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นา และเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต การสร้าง สภาพแวดลอ้ มที่เอ้อื ต่อการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพมนุษย์ทกุ ชว่ งวัย เพื่อพัฒนาการเรยี นร้ทู ี่ ตอบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหปุ ัญญาของมนษุ ย์ที่หลากหลาย ซึง่ ผู้เรยี นท่ีมี ความต้องการพเิ ศษ ต้องไดร้ ับการศกึ ษาทจ่ี ดั โดยเฉพาะ มีหลกั สตู รทย่ี ืดหยุ่น มสี ือ่ การเรียนการสอน และวิธกี ารวดั และประเมินทเ่ี หมาะสมกบั ผู้เรียน นโยบายระยะเร่งด่วน (Quick Win) ของ กระทรวงศกึ ษาธิการ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2564) ในข้อที่ 7 กล่าวถึง การจดั การศกึ ษาสาหรับผูท้ มี่ ี ความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ สง่ เสริมการจดั การศึกษาให้ผ้ทู ่มี ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษไดร้ ับการ พฒั นาอยา่ งเต็มศักยภาพ สามารถดารงชีวติ ในสงั คมอยา่ งมีเกียรติ ศกั ดศิ์ รเี ท่าเทยี มกับผอู้ ่นื ในสังคม สามารถชว่ ยเหลอื ตนเอง และมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาประเทศ

3 ความหมายของผเู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ หมายถึง ผู้เรียนกลุ่มท่ีจาเป็นต้องได้รับการดูแล ช่วยเหลือเป็น พิเศษ เพิ่มเติมจากวิธีการตามปกติ ท้ังในด้าน การใช้ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ และการเข้าสังคม เพื่อให้ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพของตนเอง โดยออกแบบการดูแล ช่วยเหลือ ตามลักษณะ ความจาเป็นและความตอ้ งการของผูเ้ รียนแต่ละคน แบง่ เด็กทมี่ ีความตอ้ งการพิเศษ ออกเปน็ 3 กลมุ่ หลัก (ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา,กรมสุขภาพจิต: https://th.rajanukul.go.th/preview-5033.html ) ดังนี้ 1. เดก็ ท่ีมคี วามสามารถพเิ ศษ 2. เด็กทม่ี คี วามบกพร่อง 3. เด็กยากจนและด้อยโอกาส เดก็ แตล่ ะกล่มุ มคี วามจาเปน็ ต้องได้รบั การดูแลช่วยเหลอื เป็นพเิ ศษเหมือนกัน แต่ด้วยวิธกี ารท่ี แตกต่างกนั ตามความเหมาะสมของเด็กแตล่ ะกลมุ่ แต่ละคน 1 เด็กท่ีมีความสามารถพิเศษ เดก็ กลุม่ นี้มักไมไ่ ด้รับการดูแล ชว่ ยเหลอื อยา่ งจริงจงั เนอ่ื งจาก ผทู้ เ่ี ก่ยี วข้องมักคดิ วา่ พวกเขา เกง่ สามารถเอาตวั รอดได้ และเพ่ิมความกดดันด้วยการคดิ ว่านา่ จะทาได้มากกว่าทเ่ี ป็นอยู่ วธิ กี าร เรียนร้ใู นแบบปกตทิ ่ัวไป บางครั้งอาจไม่ตอบสนองต่อความตอ้ งการในเรียนร้ขู องเดก็ ทาใหเ้ กดิ ความ เบ่ือหนา่ ย และความสามารถพเิ ศษที่มีอยไู่ มไ่ ด้แสดงออกอย่างเตม็ ศักยภาพ เดก็ ท่ีมคี วามสามารถพิเศษ แบง่ ออกเปน็ 3 กลุ่ม ดังนี้ 1) เด็กทมี่ รี ะดับสติปญั ญาสงู คือ กล่มุ เด็กที่มี ระดับสตปิ ัญญา (IQ) ต้ังแต่ 130 ขน้ึ ไป 2) เด็กทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษเฉพาะด้าน อาจไมใ่ ชผ่ ู้เรยี นที่มรี ะดบั สตปิ ัญญาสูง แตม่ ี ความสามารถพเิ ศษเฉพาะด้านทโ่ี ดดเด่นกวา่ คนอ่นื ในวยั เดยี วกนั อาจเปน็ ด้าน คณติ ศาสตร์ - ตรรกศาสตร์ การใช้ภาษา ศิลปะ ดนตรี กีฬา การแสดง ฯลฯ 3) เด็กที่มีความคิดสรา้ งสรรค์

4 2 เด็กที่มคี วามบกพร่อง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กาหนดประเภทและหลกั เกณฑข์ องคนพกิ ารทางการศึกษา พ.ศ. 2552 ตามมาตรา 3และมาตรา 4 แห่งพระราชบญั ญัตกิ ารจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ จดั ประเภท เปน็ 9 ประเภท กาหนดลักษณะของคนพิการในแตล่ ะประเภทดงั น้ี (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2552) 1.บคุ คลทม่ี คี วามบกพร่องทางการเหน็ ได้แก่ บุคคลทส่ี ญู เสยี การเหน็ ต้งั แตร่ ะดบั เล็กน้อยจนถงึ ตาบอดสนิท ซ่ึงแบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้ 1.1 ระดบั ตาบอด หมายถงึ บคุ คลทส่ี ูญเสียการเห็นมาก จนต้องใชส้ ่ือสมั ผสั และส่ือเสยี ง หาก ตรวจวัดความชดั ของสายตาขา้ งดเี ม่อื แกไ้ ขแล้ว อย่ใู นระดับ 6 ส่วน 60 (6/60) หรือ 20 สว่ น 200 (20/200) จนถงึ ไมส่ ามารถรับรู้เร่อื งแสง 1.2 ระดับมองเห็นเลอื นราง หมายถงึ บคุ คลทสี่ ญู เสียการเห็น แตย่ ังสามารถอา่ นอักษร ตวั พิมพข์ ยายใหญด่ ว้ ยอปุ กรณ์เครอื่ งชว่ ยความพิการ หรือเทคโนโลยีสงิ่ อานวยความสะดวก หากวัด ความชัดเจนของสายตาข้างดเี มอ่ื แกไ้ ขแล้วอยูใ่ นระดับ 6 ส่วน 18 (6/18) หรอื 20 สว่ น 70 (20/70) 2. บุคคลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการได้ยิน ได้แก่ บคุ คลทส่ี ญู เสยี การได้ยินตง้ั แต่ระดับหูตงึ น้อย จนถึงหูหนวก ซง่ึ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 2.1.หูหนวก หมายถงึ บคุ คลทส่ี ญู เสยี การไดย้ นิ มากจนไม่สามารถเข้าใจการพูดผา่ นทางการได้ ยนิ ไมว่ า่ จะใสห่ รอื ไม่ใส่เครื่องชว่ ยฟัง ซึง่ โดยทั่วไปหากตรวจการได้ยินจะมกี ารสญู เสียการไดย้ นิ 90 เด ซเิ บลขึน้ ไป 2.2.หูตึง หมายถึง บุคคลท่มี ีการไดย้ ินเหลืออยเู่ พยี งพอที่จะได้ยินการพดู ผ่านทางการได้ยนิ โดยท่วั ไปจะใส่เคร่ืองชว่ ยฟงั ซ่งึ หากตรวจวัดการไดย้ ินจะมีการสญู เสียการได้ยินนอ้ ยกวา่ 90 เดซเิ บล ลงมาถงึ 26 เดซิเบล 3. บคุ คลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางสติปัญญา ไดแ้ ก่ บุคคลท่มี ีความจากัดอย่างชัดเจนในการปฏิบตั ิ ตน (Functioning) ในปจั จุบัน ซึ่งมลี ักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญาตา่ กว่าเกณฑ์เฉลย่ี อยา่ งมีนยั สาคญั รว่ มกับความจากัดของทักษะการปรับตัวอีกอย่างนอ้ ย 2 ทักษะจาก 10 ทกั ษะ ไดแ้ ก่

5 การส่อื ความหมาย การดูแลตนเอง การดารงชีวติ ภายในบา้ นทกั ษะทางสงั คม/การมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู้ น่ื การรู้จกั ใช้ทรพั ยากรในชมุ ชน การรจู้ ักดแู ลควบคมุ ตนเอง การนาความรู้มาใชใ้ นชวี ิตประจาวนั การทางาน การใชเ้ วลาว่าง การรกั ษาสขุ ภาพอนามัยและความปลอดภยั ทง้ั นี้ ได้แสดงอาการดงั กลา่ ว ก่อนอายุ 18 ปี 4.บคุ คลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย หรอื การเคล่อื นไหว หรือสขุ ภาพ ซึง่ แบง่ เปน็ 2 ประเภท ดังนี้ 4.1 บคุ คลทมี่ ีความบกพร่องทางรา่ งกาย หรอื การเคลื่อนไหว ไดแ้ ก่ บคุ คลที่มอี วัยวะไมส่ ม ส่วนหรอื ขาดหายไป กระดูกหรอื กล้ามเน้ือผิดปกติ มอี ุปสรรคในการเคล่ือนไหว ความบกพรอ่ ง ดงั กล่าวอาจเกดิ จากโรคทางระบบประสาท โรคของระบบกลา้ มเนอื้ และกระดกู การไม่สมประกอบ มาแตก่ าเนดิ อุบตั ิเหตแุ ละโรคติดต่อ 4.2 บคุ คลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางสุขภาพ ได้แก่ บุคคลท่มี ีความเจ็บป่วยเรื้อรังหรอื มีโรค ประจาตัวซึง่ จาเป็นต้องได้รบั การรกั ษาอย่างตอ่ เนือ่ ง และเป็นอปุ สรรคต่อการศึกษา ซ่ึงมีผลทาให้เกดิ ความจาเปน็ ตอ้ งได้รับการศกึ ษาพิเศษ 5. บคุ คลที่มคี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ ได้แก่ บคุ คลทีม่ คี วามผิดปกติในการทางานของสมอง บางสว่ นท่ีแสดงถึงความบกพร่องในกระบวนการเรียนรทู้ อี่ าจเกิดขึน้ เฉพาะความสามารถดา้ นใดด้าน หนงึ่ หรอื หลายด้าน คือ การอา่ น การเขยี น การคิดคานวณ ซงึ่ ไม่สามารถเรียนรู้ในด้านทบ่ี กพร่องได้ ทัง้ ท่มี ีระดับสติปัญญาปกติ 6. บคุ คลที่มคี วามบกพรอ่ งทางการพูดและภาษา ได้แก่ บคุ คลท่มี คี วามบกพร่องในการเปล่ง เสยี งพดู เช่น เสยี งผดิ ปกติ อตั ราความเรว็ และจงั หวะการพูดผดิ ปกติ หรอื บุคคลทีม่ คี วามบกพรอ่ ง ใน เรอื่ งความเขา้ ใจหรอื การใชภ้ าษาพดู การเขียนหรอื ระบบสญั ลกั ษณ์อน่ื ทีใ่ ช้ในการตดิ ต่อส่อื สาร ซ่งึ อาจเก่ียวกับรปู แบบ เน้อื หาและหน้าท่ขี องภาษา 7. บคุ คลที่มคี วามบกพร่องทางพฤตกิ รรม หรืออารมณ์ ได้แก่ บคุ คลท่ีมพี ฤติกรรมเบยี่ งเบนไป จากปกตเิ ป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมนนั้ เปน็ ไปอยา่ งต่อเนือ่ ง ซ่งึ เปน็ ผลจากความ บกพรอ่ งหรือความผดิ ปกติทางจิตใจหรอื สมองในสว่ นของการรับรู้ อารมณห์ รือความคดิ เชน่ โรคจิต เภท โรคซึมเศร้า โรคสมองเสื่อม เป็นตน้

6 8. บุคคลออทิสติก ไดแ้ ก่ บคุ คลทีม่ คี วามผิดปกตขิ องระบบการทางานของสมองบางส่วน ซง่ึ ส่งผลตอ่ ความบกพรอ่ งทางพัฒนาการดา้ นภาษา ด้านสงั คมและการปฏสิ ัมพนั ธ์ทางสังคม และมี ขอ้ จากดั ด้านพฤติกรรม หรือมคี วามสนใจจากัดเฉพาะเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่ง โดยความผิดปกตนิ ั้นคน้ พบได้ ก่อนอายุ 30 เดอื น 9. บุคคลพกิ ารซอ้ น ได้แก่ บคุ คลที่มสี ภาพความบกพร่องหรอื ความพิการมากกวา่ หนง่ึ ประเภท ในบคุ คลเดียวกนั 3 เดก็ ยากจนและดอ้ ยโอกาส คอื เด็กท่อี ยู่ในครอบครวั ท่ีมฐี านะยากจน ขาดแคลนปจั จยั ท่จี าเป็นในการเจรญิ เติบโต และ การเรยี นรู้ของเด็ก และรวมถึงกลมุ่ เด็กท่ดี ้อยโอกาสทางการศกึ ษาจากสาเหตุอ่นื ๆ เช่น เด็กเร่รอ่ น เดก็ ถูกใช้แรงงาน เด็กตา่ งด้าว ฯลฯ เดก็ กลุม่ ต่างๆทีก่ ล่าวถึง เป็นเดก็ ทีม่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ ควรไดร้ ับการดูแลเพ่ิมเติมด้วยวธิ ีการ พิเศษ ซงึ่ ตา่ งไปจากวิธีการตามปกติ เพอ่ื ชว่ ยให้สามารถพัฒนาได้เต็มตามศกั ยภาพที่มอี ยูไ่ ด้ เพอื่ ให้มี สุขภาพกาย สขุ ภาพจติ ทีด่ ี มโี อกาสทางการศึกษาทีเ่ ท่าเทียม และไดร้ ับการยอมรับในสงั คม ลกั ษณะของผเู้ รียนทม่ี ีความต้องการพเิ ศษ ลักษณะผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ ประเภทต่างๆ (นวรัตน์ หัสดี, 2559 อ้างถึง ผดุง อารยะวญิ ญู, 2542) ได้อธบิ าย ดงั นี้ 1 เด็กท่ีบกพร่องทางสติปัญญา (Children with Intellectual Disabilities) หมายถึง เด็กท่มี ีระดับสติปัญญาหรอื เชาว์ปญั ญาตา่ กว่าเกณฑ์เฉล่ียเมือ่ เทยี บเด็กในระดับอายุเดยี วกนั มี 2 กลมุ่ คือ 1.1 เดก็ เรียนช้า หมายถงึ เดก็ ท่ีมีความสามารถในการเรียนลา่ ช้ากว่าเดก็ ปกติ จดั เป็น พวกขาดทักษะในการเรียนรู้ หรือมีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย เด็กเหล่านี้จะมีระดับ สตปิ ญั ญา (IQ) ประมาณ 71-90

7 1.2 เด็กปัญญาอ่อน หมายถึง เด็กท่ีมีภาวะพัฒนาการเจริญเติบโตไม่เต็มท่ี ซ่ึงแสดง ลักษณะเฉพาะ คือ มีระดบั สติปญั ญาต่า มีความสามารถในการเรียนรู้น้อย มีพฒั นาการทางกายล่าช้า ไม่เหมาะสมกับวัย มีความสามารถจากัดในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม แบ่งตามระดับ สติปัญญา (IQ) ได้ 4 กลุม่ คอื 1). เดก็ ปญั ญาออ่ นขนาดหนักมาก มรี ะดบั สตปิ ัญญาตา่ กว่า (IQ) 20 ลงไป 2). เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก มีระดบั สตปิ ญั ญา (IQ) ระหวา่ ง 20-34 3). เดก็ ปัญญาออ่ นขนาดปานกลาง มีระดบั สติปญั ญา (IQ) ระหว่าง 35-49 4). เดก็ ปญั ญาออ่ นขนาดนอ้ ย มีระดบั สตปิ ัญญา (IQ) ระหวา่ ง 50 -70 2 เดก็ ทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางการได้ยิน(Children with Hearing Impaired) หมายถึง ผ้ทู ่ีมคี วามบกพร่อง หรอื สูญเสยี การไดย้ ิน เปน็ เหตใุ หก้ ารรบั ฟงั เสยี งตา่ งๆ ได้ไมช่ ดั เจน มี 2 ประเภท 2.1 เด็กหูตึง หมายถึง ผู้ท่ีสูญเสียการได้ยินถึงขนาดท่ีทาให้มีความยากลาบากจนไม่ สามารถเขา้ ใจคาพูดและการสนทนาได้ แตไ่ ม่ถึงกับหมดโอกาสทีจ่ ะเขา้ ใจภาษาพดู จากการได้ยินดว้ ยหู เพียงอย่างเดียว โดยไม่มีเคร่ืองช่วยฟัง แบ่งตามระดับการได้ยิน ซึ่งอาศัยเกณฑ์การพิจารณาอัตรา ความบกพร่องของหู โดยใช้ค่าเฉล่ียการได้ยินท่ีความถ่ี 500, 1000 และ 2000 รอบต่อวินาที (เฮิร์ท: Hz) ในหูขา้ งที่ดกี ว่าจาแนกได้ 4 กลุ่ม คอื 1) เด็กหูตึงระดบั นอ้ ย มีการไดย้ ินเฉลยี่ ระหว่าง 26 -40 เดซิเบล (dB) 2) เดก็ หูตงึ ระดบั ปานกลาง มีการได้ยินเฉลี่ย 41 - 55 เดซเิ บล (dB) 3) เดก็ หตู ึงระดบั มาก มกี ารไดย้ นิ เฉลีย่ ระหว่าง 56 - 70 เดซิเบล (dB)

8 4) เดก็ หตู งึ ระดับรนุ แรง มกี ารได้ยินเฉลีย่ ระหว่าง 71 - 90 เดซเิ บล (dB) https://abnormalbehaviorchild.com 2.2 เด็กหูหนวก หมายถึง เด็กท่ีสูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทาให้หมดโอกาสท่ีจะ เข้าใจภาษาพูดจากการได้ยินด้วยหูเพียงอย่างเดียว โดยไม่มีหรือมีเครื่องช่วยฟังจนเป็นเหตุให้ไม่ สามารถเขา้ ใจหรือใช้ภาษาพูดได้ หากไม่ได้รับการฝึกฝนเป็นพเิ ศษ ถ้าวัดระดับการได้ยินแลว้ จะมีการ ไดย้ ินต้งั แต่ 91 เดซิเบล (dB) ขนึ้ ไป 3 เดก็ ทีม่ ีความบกพร่องทางรา่ งกายและสุขภาพ (Children with Physical and Health Impairments) หมายถึง ผู้ที่มีอวัยวะไม่สมส่วน อวัยวะส่วนใด ส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนหายไป กระดูกกล้ามเนื้อพิการ เจ็บป่วยเรื้อรังรุนแรงหรือเฉียบพลัน มีความพิการทางระบบประสาทสมอง มี ความลาบากในการเคลอ่ื นไหวจนเป็นอุปสรรคตอ่ การศึกษาเลา่ เรียน และทากิจกรรมของเดก็ จาแนก ได้ดังน้ี 3.1 อาการบกพร่องทางร่างกาย ทีม่ กั พบบอ่ ย ได้แก่ ขอขอบคณุ ภาพจาก สถาบนั สขุ ภาพเดก็ แห่งชาตมิ หาราชนิ ี งานกายภาพบาบัด กลมุ่ งานเวชศาสตรฟ์ น้ื ฟู

9 1) ซีพี ( Cerebral Passy) หมายถึง การเป็นอัมพาตเน่ืองจากระบบประสาทสมอง พิการหรือเป็นผลมาจากสมองที่กาลังพัฒนาถูกทาลายก่อนคลอด อันเน่ืองมาจากการขาด อากาศ ออกซิเจน เด็กซีพี มีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่าง ๆ ของสมองแตกต่างกัน ที่พบ ส่วนใหญ่ คือ 1.1) อัมพาตเกรง็ ของแขนขา หรอื ครึง่ ซีก (Spastic) 1.2) อัมพาตลีลาการเคล่ือนไหวผิดปกติ (Athetoid) ควบคุมการเคล่ือนไหว และบงั คับไปในทิศทางท่ตี ้องการไม่ได้ 1.3) อมั พาตสูญเสยี การทรงตัว (Ataxia) การประสานงานของอวยั วะไม่ดี 1.4) อมั พาตตึงแข็ง (Rigid) การเคลื่อนไหวแขง็ /ช้า ร่างกายสน่ั กระตกุ 1.5) อัมพาตแบบผสม (Mixed) 2) กล้ามเน้ืออ่อนแรง (Muscular Distrophy) เกิดจากประสาทสมองที่ควบคุมส่วน ของกลา้ มเน้อื สว่ นนน้ั ๆ เส่อื มสลายตัว โดยไม่ทราบสาเหตุ ทาให้กล้ามเน้อื แขนขาจะคอ่ ยๆ อ่อนกาลัง เดก็ จะเดินหกล้มบอ่ ย 3) โรคทางระบบกระดกู กลา้ มเนื้อ (Orthopedic) ท่พี บบอ่ ย ไดแ้ ก่ 3.1) ระบบกระดูกกล้ามเนือ้ พิการแตก่ าเนดิ เชน่ เท้าปุก (Club Foot) กระดกู ขอ้ สะโพกเคล่อื น อัมพาตครึ่งทอ่ นเนื่องจากกระดูกไขสันหลังส่วนลา่ งไมต่ ดิ 3.2) ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการด้วยโรคติดเชื้อ (Infection) เช่น วัณโรค กระดูกหลงั โกง กระดกู ผุ เป็นแผลเรื้อรงั มหี นอง 3.3) กระดกู หกั ข้อเคล่ือน ข้ออักเสบ พิการเนื่องจากไม่ไดร้ ักษาอยา่ งถูกต้อง 4) โปลิโอ (Poliomyelitis) เกิดจากเช้ือไวรัสชนิดหน่ึงเข้าสู่ร่างกายทางปาก แล้วไป เจริญที่ต่อมน้าเหลืองในลาคอ ลาไส้เล็ก และเข้าสู่กระแสเลือดจนถึงระบบประสาทส่วนกลาง เมื่อ เซลลป์ ระสาทบังคบั กลา้ มเน้ือถูกทาลาย แขนหรอื ขาจะไม่มีกาลงั ในการเคลื่อนไหว 5) แขนขาด้วนแต่กาเนิด (Limb Deficiency) รวมถึงเด็กท่ีเกิดมาด้วยลักษณะของ อวัยวะที่มีความเจริญเติบโตผิดปกติ เช่น น้ิวมือติดกัน 3-4 น้ิว มีแค่แขนท่อนบนต่อกับน้ิวมือ ไม่มี ข้อศอก หรอื เดก็ ทแี่ ขนขาด้วนเนอ่ื งจากประสบอบุ ัตเิ หตุ และการเกดิ อนั ตรายในวยั เด็ก

10 6) โรคกระดูกอ่อน (Osteogenesis Imperfeta) เด็กไม่เจริญเติบโตสมวัย ตัวเต้ีย มี ลักษณะกระดูกผดิ ปกติ กระดกู ยาวบดิ เบีย้ วเห็นได้ชัดจากระดูกหนา้ แข้ง 3.2. ความบกพร่องทางสุขภาพ ทม่ี ักพบบอ่ ย ไดแ้ ก่ 1) โรคลมชกั (Epilepsy) อาการจากความผดิ ปกติของระบบสมอง ทพ่ี บบ่อยมีดงั น้ี 1.1) ลมบ้าหมู (Grand Mal) 1.2) การชกั ในชว่ งเวลาส้ัน ๆ (Petit Mal) 1.3) การชกั แบบรนุ แรง (Grand Mal) 1.4) อาการชักแบบพารช์ ัล คอมเพลก็ ซ์ (Partial Complex) 1.5) อาการไมร่ สู้ ึกตวั (Focal Partial) 2) โรคระบบทางเดนิ หายใจ มีอาการเรือ้ รงั ของโรคปอด เชน่ หอบหืด วณั โรค ปอดบวม 3) โรคเบาหวานในเด็ก รา่ งกายไม่สามารถใชก้ ลโู คสได้อยา่ งปกติ เพราะขาดอินชูลนิ 4) โรคขอ้ อักเสบรมู าตอย มีอาการปวดตามขอ้ เข่า ขอ้ เทา้ ขอ้ ศอก ขอ้ นว้ิ มอื 5) โรคศีรษะโต เนื่องมาจากน้าค่ังในสมอง มักเป็นมาแต่กาเนิด ถ้าวินิจฉัยโรคเร็วและ รับการรักษาอย่างถูกต้อง สภาพความพิการจะไม่รุนแรง เด็กสามารถปรับสภาพได้และมีพื้นฐานทาง สมรรถภาพดเี ช่นเดก็ ปกติ 6) โรคหัวใจ (Cardiac Conditions) ส่วนมากเป็นตัง้ แต่กาเนิด เดก็ จะตัวเล็กเติบโตไม่ สมอายุ ซีดเซียว เหนอ่ื ยหอบงา่ ย ออ่ นเพลยี ไม่แขง็ แรงตง้ั แตก่ าเนิด 7) โรคมะเร็ง (Cancer) ส่วนมากเป็นมะเร็งเม็ดโลหิต และเนื้องอกในดวงตา สมอง กระดกู และไต 8) บาดเจ็บแล้วเลือดไหลไมห่ ยุด (Hemophilia) 4 เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการพดู และภาษา (Children with Speech and Language disorders) หมายถึง ผู้ท่ีพูดไม่ชัด และลีลาจังหวะการพูดผิดปกติ ออกเสียงผิดเพ้ียน อวัยวะท่ีใช้ใน การพูดไม่สามารถเป็นไปตามลาดับขั้น การใช้อวัยวะเพ่ือการพูดไม่เป็นไปดังที่ต้ังใจ คาพูดที่ยากหรือ ซับซ้อนหรือยาวจะยิ่งมีปัญหามากหรือมีอาการพูดและใช้ภาษาท่ีผิดปกติ โดยการพูดนั้นเห็นได้ชัดว่า ผิดแปลกไปจากการพูดของคนทั่วไป ทาให้ฟังไม่รู้เร่ือง สื่อความหมายต่อกันไม่ได้ หรือมีอากัปกิริยาที่ ผิดปกตขิ ณะพดู ซ่ึงความบกพรอ่ งทางการพูดและภาษาสามารถจาแนกได้ ดงั นี้ คอื

11 4.1 ความผดิ ปกตดิ ้านการออกเสยี ง 1) ออกเสยี งผิดเพ้ยี นไปจากมาตรฐานของภาษา เชน่ พูดเสยี งขึ้นจมกู 2) เพ่มิ หน่วยเสยี งเข้าในคาโดยไมจ่ าเปน็ 3) เอาเสียงหนง่ึ มาแทนอีกเสียงหนึ่ง เช่น กวาด -> ฟาด 4.2 ความผดิ ปกติด้านจังหวะเวลาของการพดู เช่น การพดู รวั การพูดติดอ่าง 4.3 ความผดิ ปกติด้านเสยี ง 1) ระดบั เสียง เชน่ การพูดเสียงสูงเกนิ ไป ต่าเกนิ ไป หรือพดู ระดบั เสียงเดยี วกนั หมด 2) ความดัง เช่น พูดเสียงดังมาก หรอื เบามากจนเกินไป 3) คุณภาพของเสยี ง เชน่ พูดเสยี งแตกพร่า เสียงแหบ เสยี งหอบ 4.4 ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า Dysphasia หรอื aphasia ทคี่ วรรู้ ไดแ้ ก่ 1) Motor aphasia (Expressive หรือ Broca's apasia) 2) Wemicke's aphasia (Sensory หรือ Receptive apasia) 3) Conduction aphasia 4) Nominal aphasia (Anomic aphasia) 5) Global aphasia 6) Sensory agraphia 7) Motor agraphia 8) Cortical alexia (Sensory alexia) 9) Motor alexia 10) Gerstmann's syndrome 11) Visual agnosia 12) Auditory agnosia http://pasinee235.blogspot.com/2009/09/blog-post_2526.html

12 5 เด็กท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotional Disorders) หมายถึง ผู้ที่มีการควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสภาพปกติเช่นคนปกตินานๆ ไม่ได้ หรือผู้ท่ีควบคุมพฤติกรรมบางอย่างของตนเองไม่ได้ ซึ่งพฤติกรรมที่แสดงออกมานั้นไม่เป็นที่ ยอมรับและพอใจของมาตรฐานความประพฤติปฏิบัติของสังคม ทาให้ไม่สามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างเรียบร้อยสอดคล้องกับสภาพการณ์ ซึ่งการจะจัดว่าใครมีความบกพร่องทางพฤติกรรม และอารมณต์ ้องคานึงถงึ องค์ประกอบต่าง ๆ ดังน้ี 1) สภาพแวดล้อม พฤตกิ รรมและอารมณ์ทเ่ี ป็นทย่ี อมรบั ในสถานการณ์อย่างหนง่ึ 2) ความคิดเหน็ ของแตล่ ะบคุ คล ทม่ี ตี อ่ พฤติกรรมอย่างเดยี วกนั ย่อมไม่เหมอื นกัน 3) เป้าหมายของแต่ละบุคคล เปน็ ตวั กาหนดใหก้ ารมองพฤติกรรมเดยี วกันไดม้ มุ มองต่างกนั https://fcdthailand.org/library-type/ เด็กท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรม ซ่ึงจัดว่ามีความรุนแรงมาก และกาลังได้รับความสนใจ จากทางการแพทย์ ทางจิตวทิ ยาและทางการศกึ ษา ไดแ้ ก่ 1. เดก็ สมาธสิ ้ัน (Children with Attention Deficit and Hyperactivity Disorders) 2. เดก็ ออทสิ ติก (Autistic) หรือบางคนเรยี กว่า ออทิสซ่มึ (Autism)

13 6 เด็กออทิสติก (Autistic) หรือ ออทิสซึ่ม (Autisum) หมายถึง เด็กท่ีมีความบกพร่อง อย่างรุนแรงในการสื่อความหมาย พฤติกรรม สังคม และความสามารถทางสติปัญญาในการรับรู้ อาการต่างๆ จะมกี ารเปลยี่ นแปลงไม่แนน่ อนเปน็ ระยะๆ ไป เด็กออทสิ ตกิ แตล่ ะคนจะมเี อกลักษณ์ของ ตนเอง และยอ่ มแตกต่างไปจากเด็กออทิสติกอ่นื ๆ ทง้ั นเ้ี ป็นเพราะอาการทีเ่ ป็นออทิสติกนั้นจะคงอยู่ไป จนตลอดทั้งชีวิต ไม่สามารถรักษาให้หายได้ หากพิจารณาเปรียบเทียบด้านพัฒนาการของทักษะของ เด็กออทิสติกใน 4 ด้าน คือ ด้านทักษะการเคลื่อนไหว ด้านทักษะการรับรู้เก่ียวกับรูปทรง ขนาดและ พ้ืนท่ี ด้านทักษะภาษาและการส่ือความหมาย และด้านทักษะทางสังคม จะพบว่าเด็กออทิสติกมี พัฒนาการด้านภาษาและพัฒนาการด้านสังคมต่ามาก แต่มีพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว การรับรู้ รูปทรง ขนาดและพ้ืนที่โดยเฉล่ียสูง ถ้าความแตกต่างระหว่างทักษะด้านภาษาและสังคมยิ่งต่ากว่า ทักษะด้านการเคล่ือนไหว และการรับรู้รูปทรงมากเท่าใด ความเป็นไปได้ของออทิสติกก็ย่ิงสูงข้ึน เท่านั้น พัฒนาการที่ผิดปกตนิ ี้ ก่อให้เกิดความเสยี หายอย่างรุนแรงตลอดชีวิต https://th.theasianparent.com/ พีดีดี หรือ ความบกพร่องของพัฒนาการแบบรอบด้าน (Pervasive Developmental Disorders; PDDs) เทียบเคียงได้กับคาว่า “ออทิสติก สเป็กตรัม” (Autistic Spectrum Disorder) แบง่ เปน็ 5 กลมุ่ คอื 1) ออทิสตกิ (Autistic Disorder) 2) เรท็ ท์ (Rett’s Disorder) 3) ซีดดี ี (Childhood Disintegrative Disorder)

14 4) แอสเพอร์เกอร์ (Asperger’s Disorder) 5) พดี ดี -ี เอ็นโอเอส (Pervasive Developmental Disorder Not Otherwise Specified) 7 เด็กท่ีมีปัญหาทางการเรียนรู้ (Children with Learning Disabilities) หรือเรียกย่อๆ ว่า L.D. (Learning Disability) หมายถึง ผู้ที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เฉพาะอย่าง โดยมีความบกพร่อง ปัญหาหน่ึงหรือมากกว่าหนึ่งอย่าง ในกระบวนการทางจิตวิทยาทาให้เด็กเหล่านี้มีปัญหาทางการใช้ ภาษา หรือการพดู การเขยี น โดยจะแสดงออกมาในลักษณะของการนาไปปฏิบัติ ท้ังน้ีไม่นับรวมเด็กท่ี มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียน ซ่ึงอาจมีสาเหตุมาจากการขาดแรงเสริม ด้อยโอกาสทาง สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม หรือเป็นเพราะครูสอนไม่มีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุน้ีในการพิจารณาเรื่อง ปัญหาทางการเรียนรู้จึงต้องอาศัยลักษณะร่วมกันคือ เป็นผู้ท่ีมีระดับสติปัญญาปกติ หรือมีสติปัญญา อยู่ในช่วงเช่นเดียวกับเด็กปกติแต่ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจะต่ากว่าปกติ และจะต้องไม่มีความพิการ หรือความบกพร่องในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สุขภาพอนามัย ระบบประสาทการสัมผัส และวฒั นธรรมเข้ามาเก่ยี วข้อง

15 8 เด็กพิการซ้อน (Children with Multiple Handicaps) หมายถึง ผู้ท่ีมีความบกพร่องที่ มากกว่าหน่ึงอย่าง เป็นเหตุให้เกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก เช่น ปัญญาอ่อน-ตาบอด ปัญญาอ่อน-ร่างกายพกิ าร หูหนวก-ตาบอด ฯลฯ 9 ดาวน์ซินโดรม (Down syndrome ) หมายถึง เด็กท่ีมีภาวะปัญญาอ่อนซ่ึงมีสาเหตุมา จากพนั ธุกรรมหรือความผิดปกติของโครโมโซมคู่ท่ี 21 มีจานวนเกนิ มา 1 แท่ง โดยแบง่ เปน็ 3 กลมุ่ 1) กลุ่มอาการดาวน์แบบทรานสโลเคชั่น (Translocation) คือ โครโมโซมคู่ท่ี 14 มายึด ติดกับค่ทู ี่ 21 ซงึ่ เปน็ ความผิดปกตทิ างโครงสรา้ ง เกิดจากพันธกุ รรม 2) กลุ่มอาการดาวน์แบบไตรโซมี 21 (Trisomy 21) คือ โครโมโซมคู่ท่ี 21 มี 3 แท่ง เกิดข้นึ เองโดยธรรมชาติ ซึง่ ความผิดปกตนิ เ้ี ป็นผลจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม

16 3) กลุ่มอาการดาวน์แบบโมเซอิก (Mosaicism) คือ มีเซลล์ในร่างกายที่มีจานวน โครโมโซมต้ังแต่ 2 แบบขึ้นไป คือโครโมโซมปกติผสมอยู่กับโครโมโซมแบบไตรโซมี คู่ท่ี 21 เกิดจาก การแบ่งตัวของเซลล์ หรือการแยกตัวของโครโมโซมผิดปกติ ซ่ึงอาจเกิดจากบิดา มารดามีความผิดปกติ แต่ไม่แสดงอาการ เด็กกลุ่มอาการดาวน์มีระดับสติปัญญา (IQ) ต่ากว่าเด็กปกติ แต่เด็กท่ีมีโครโมโซม แบบ Mosaic จะมรี ะดับสตปิ ัญญาสูงกว่า อาการดาวน์ดว้ ยกนั ลักษณะอาการดาวน์ คือ ศรี ษะเล็ก หนา้ แบน สนั จมูกแบน ตาเล็กเฉียงขึ้น หูเลก็ ชอ่ งปากเล็ก เพดานปากสูง ลิ้นมักยื่นออกมา คอส้ัน แขนขาส้ัน มือแบนกว้าง นิ้วมือ นิ้วเท้าสั้น ฝ่าเท้าส้ันและแบน ราบ กล้ามเนื้ออ่อนน่ิม ข้อต่อยืดได้มาก ผิวหนังแห้งแตกง่าย มีรอยจ้าเป็นลาย กล้ามเนื้อ หูรูดของ กระเพาะอาหารไม่แข็งแรง ระบบหัวใจ และหลอดเลือดมีปัญหา ตาเข สายตาส้ัน มีปัญหา การไดย้ ิน มีประสาทรับความรู้สึกต่างๆ น้อยกว่าปกติ ระบบหายใจ ติดเช้ือง่าย เน่ืองจากภูมิต้านทานต่า และขับ เสมหะไม่ดี มีพัฒนาการลา่ ช้า ท้ังการเคล่อื นไหว และพฒั นาการทางภาษาล่าช้า เด็กกลมุ่ นี้จะมีหน้าตา คลา้ ยคลึงกันทุกคน ซง่ึ จะวินิจฉัยได้ทันทีตั้งแตแ่ รกคลอด 10 วิลเล่ียมซินโดรม (Williams Syndrome) หรือ Williams – Beuren คือ เด็กกลุ่มที่มี ภาวะความบกพร่องของโครโมโซมคู่ท่ี 7 มีความผิดปกติของ Elastic gene (ELN) ซึ่งอยู่บนแขนยาว ของโครโมโซมคู่ที่ 7 บริเวณ 7p 11.23 ซึ่งตรวจพบได้ด้วยเทคนิค FISH (Fluorescent in Situ Hybridigation) กลุ่มอาการวิลเลียมส์ เป็นโรคทางพันธุกรรมท่ีพบได้น้อย รายงานครั้งแรก โดย วิล เลียมส์ (William) และคณะในปี ค.ศ. 1961 โรค “วิลเล่ยี มซนิ โดรม” ถือเปน็ อาการท่ีมักจะเกิดข้ึนกับ เด็กที่เรียกกันว่า “โรคนางฟ้า” เด็กที่เป็นโรคนางฟ้าน้ัน จะถูกจัดอยู่ในกลุ่มเด็กพิเศษท่ีต้องได้รับการ

17 รักษาเฉพาะทาง โรคนี้เกิดจากความผิดปกติทางโครโมโซม มักจะเกิดขึ้น 1 ใน 10,000 คนของ ประชากรท่ัวโลก ซ่งึ มโี อกาสเกิดขึน้ ไดเ้ ท่าๆกัน ทัง้ เพศหญิงหรือเพศชาย ปีค.ศ. 1962 บูเรน (Beuren) และคณะได้รายงานเพ่ิมเติม จึงเป็นท่ีมาของช่ือกลุ่มอาการ Williams – Beuren ลักษณะที่สาคัญของกลุ่มอาการนี้ คือ ใบหน้าผิดปกติ การเจริญเติบโตล่าช้า มีโรคหัวใจและ หลอดเลือด พัฒนาการช้าหรือปัญญาอ่อนและภาวะแคลเซียมในเลือดสูง บุคคล ที่มีภาวะน้ีจะมีการ ขาดโครโมโซมคู่ท่ี7 รวมถึงยีนส์อีลาสติค(Gene Elastic) อีลาสติคเกิดข้ึนเฉพาะในช่วงพัฒนาการของ ตัวอ่อนและวัยเด็กเท่านั้น เมื่อเส้นเลือดได้มีการสร้างตัวขึ้นมาแล้วส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต รูปร่างหน้าตาและพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก (Special Child Center, 2552) ซึ่งพบการเกิดใน เพศชาย-หญิงเท่าๆกัน พบได้ทุกเช้ือชาติทั่วโลก ความผิดปกติของกลุ่มอาการน้ีส่วนใหญ่ร้อยละ 70 จะ เกิดข้นึ เอง แต่ถา่ ยทอดไปส่ลู กู ได้ (ยุก้ ฟองศรปี ระสาธน์, 2549) ภาวะวิลเลียม (วิลเลียมซินโดรม, 2552) ลักษณะทางร่างกาย จะมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา หัวใจผิดปกติและมีลักษณะของใบหน้าท่ีแปลกๆ คือมีจมูกเล็กที่หงายข้ึน ปากกว้างริมฝีปากอิ่มเต็ม คางเล็กและฟันซี่ห่างๆ เนื้อรอบตาตุ่ย (Periorbital fullness) ม่านตามีลักษณะแบบรัศมีของดวงดาว (Satellite iris) แต่มักไม่เห็นในม่านตา สีน้าตาลของคนไทย ดั้งจมูกแบน แก้มยุ้ย ริมฝีปากอิ่ม (Full lip) ปากกว้าง ร่องริมฝปี ากบน ยาวเรียบ (Philtrum) ความผดิ ปกติของใบหน้าเหล่านี้จะเห็นชัดเจนขนึ้ เม่ืออายุมากขึ้น (ยุ้กฟอง ศรีประสาธน์, 2549: 8) ตัวเล็กกว่าปกติ มีระดับเสียงต่า มีปัญหาเรื่องการได้

18 ยินค่อนข้างมาก มีความกังวลใจ ทุกข์ใจหรือหวาดกลัวมากเกินปกติมีความสนใจในช่วงเวลาสั้นๆ มี อาการอยู่ไม่นิ่ง มนุษยสัมพันธ์ดีเกินเหตุ ไม่มีความอายต่อคนแปลกหน้า มีทักษะการใช้ภาษาช้า มี ปัญหาเรื่องมิติของภาพที่มอง มีความไวต่อเสียงมากเกินไป เป็นมิตรกับคนง่าย สุภาพ ไม่กลัวคน แปลกหน้าและมักแสดงออกว่าสนใจผใู้ หญม่ ากกวา่ เด็กๆวัยเดยี วกัน (ยกุ้ ฟอง ศรปี ระสาธน.์ 2549: 10) ด้านสังคม เด็กกลุ่มน้ี รักเป็น เข้าสังคมได้และใส่ใจความรู้สึกของคนอื่นมาก พวกเขามักจะพูด แบบไม่หยุด มีอาการใกล้เคียงกับเด็กที่มีความกังวลใจหรือทุกข์ใจมาก (Special Child Center, 2552: Online) มีการปรับตัวบกพร่อง (Maladaptive behaviors) หลายประการ ท้ังความวิตกกังวล และความกลัว (Anxiety and fears) การหมกมุ่นกับสิ่งใดส่ิงหนึ่งมากเกินไปจนกลายเป็นคนเซื่องซึม (Preoccupations) อยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity) วอกแวกง่าย(Distract ability) และอ่อนไหวอย่างมาก ต่อเสียงบางประเภท (Heightened sensitivities) และแม้จะชอบสังคมมาก (Very sociable personality style) แต่ก็พบว่ามีปัญหาด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหลายประการ (Interpersonal difficulties) เช่น เป็นมิตรเกินไป (Overfriendliness) ขาดความยับยั้งช่ังใจทางสังคม (Social disinhibition) และความสัมพันธ์กับเพื่อนไม่ดี (Poor peer relationships) ดังน้ันจะมุ่งไปหากิจกรรม เก่ียวกับภาษาและดนตรี (Rosner, Ly &Sagun. 2004: 346-358) มักบกพร่องทางสติปัญญาและมี ปัญหาพัฒนาการช้า ไม่มีสมาธิ ขาดความสามารถในการเรียน การเดิน การพูด มีทักษะทางสังคมท่ีดี แต่ความสามารถในเร่ืองการใช้กล้ามเน้ือมัดเล็กและความสัมพันธ์ของการกะระยะยังบกพร่องอย่าง ชัดเจน ซ่ึงเกี่ยวข้องกับการขาดหายไปของยีนส์ LIM – Kinase (LIMK) ซ่ึงเป็นส่วนประกอบสาคัญของ การส่งสัญญาณภายในเซลล์และการพัฒนาของสมอง โดยเฉล่ยี อยู่ในเกณฑ์ปัญญาอ่อนระดับเลก็ น้อย พัฒนาการทางด้านภาษา ด้านการส่ือสารไม่ดี มีพัฒนาการช้าทุกด้านและเรียนรู้ได้ยากจากระดับน้อย ไปจนถึงระดับรุนแรงด้านภาษา ทักษะด้านการใช้ภาษาของเด็กกลุ่มอาการวิลเลียมส์จะค่อนข้างช้าใน ระยะแรกๆ แต่พอเข้าโรงเรียนแล้วจะทาได้ดีกว่าเด็กคนอ่ืนๆ สามารถพูดได้คล่อง ไหลล่ืนและถูกต้อง ใช้คาศัพท์ได้ดี มีความสามารถต่าในการโต้ตอบประโยคสนทนาในหัวข้อเรื่องเดิม (Special Child Center. 2552: Online) ลักษณะการรู้คิดที่น่าทึ่งของคนกลุ่มนี้ (Intriguing cognitive profile) คือ IQ แค่ 50-60 แตม่ ีข้อเด่นด้านทักษะการใช้ภาษา (Expressive vocabulary) โครงสร้างความสมั พันธ์ ทางไวยากรณ์ (Syntax) และเรื่องความหมายทางภาษาศาสตร์ (Semantics )รายงานกรณศี กึ ษาพบว่า บุคคลในกลุ่มอาการวิลเลียมส์ มีพรสวรรค์พิเศษด้านดนตรี ซ่ึงระดับไม่เท่ากัน แต่ในทางตรงกันข้าม

19 ด้อยในกิจกรรมท่ีใช้สายตา - จินตนาการ(Visual-spatial) เช่น การวาดรูปเป็นอย่างมาก (Rosner, 2004: 346-347) สรุปลกั ษณะและพฤตกิ รรมของเด็กที่เปน็ โรควลิ เลย่ี มซินโดรม เด็กส่วนใหญ่ทีเ่ ป็นโรควลิ เล่ยี มซนิ โดมจะมีลกั ษณะพิเศษบนใบหนา้ พวกเขามกั จะมีจมกู ขนาด เลก็ มปี ากกว้างกว่าปกติ คางตน้ื ตามอี าการบวม มีมา่ นตาท่ีโดดเดน่ พฤติกรรมของเดก็ มกั จะมอี าการ คล้ายกบั เด็กออทสิ ติก น่ันทาให้เดก็ เหล่านีม้ ีปัญหาในดา้ นพฒั นาการทางสมอง ร่างกายและภาษาได้ ชา้ กว่าปกติ มีความรู้สกึ ไวตอ่ เสยี งมาก เวลากนิ ข้าวก็มักจะมปี ัญหาเพราะไมย่ อมกนิ ง่ายๆ และยงั มีอีก หลายเร่อื งท่เี ราควรรู้ดังนี้ 1.คนทเ่ี ปน็ โรคนางฟา้ จะมคี วามยากลาบากในการจดจาการเรยี นร้ยู ากกว่าคนอนื่ 2.เดก็ จะมีพฒั นาการท่ชี า้ อยา่ งเห็นไดช้ ดั ตง้ั แต่การหดั เดนิ ฝกึ เขา้ ห้องนา้ หรอื หดั พดู 3.เดก็ จะมีอาการไวตอ่ เสียงเปน็ พเิ ศษ โดยเฉพาะคลืน่ ความถีส่ งู หรอื เสียงสญั ญาณรบกวน อาจ ทาเดก็ รสู้ ึกปวดหัวหรือแย่กวา่ อาการนีจ้ ะค่อยๆดขี ึ้นตามอายุของพวกเขา 4.ส่วนใหญจ่ ะมีความตึงตวั ของกล้ามเนื้อตา่ ตั้งแต่เดก็ เมอื่ อายุสงู ขน้ึ อาจทาเปน็ โรคข้อแข็ง ทา ใหเ้ คลื่อนไหวไดต้ ิดขัด ดังนัน้ การพาไปทากายภาพบาบัดจะช่วยรักษาสภาพกล้ามเนื้อให้อย่ใู นสภาพดี อยู่ตลอดเวลา 5.อาจจะเปน็ สิ่งเดยี วท่ตี รงกันขา้ มกับเดก็ ออทิสติก เพราะเด็กเหลา่ นเี้ ปน็ มติ รกบั สมาชกิ ใน ครอบครวั และคนอื่นเปน็ พเิ ศษ ไม่กลวั คนแปลกหน้าและมักใชท้ า่ ทางที่สภุ าพในการเขา้ หา 6.โครงสร้างไตของพวกเขาผิดปกตจิ ากคนทั่วไป และมักจะเกดิ โรคท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั ไตมากเปน็ พิเศษ 7.มีภาวะแคลเซยี มในเลือดสงู สาเหตุทแี่ ทจ้ รงิ ยังมผี ใู้ ดทราบ แต่เม่ือระดับแคลเซยี มในเลือดสูง จะสง่ ผลใหเ้ กดิ ความหงดุ หงดิ ได้ง่าย เปน็ ปญั หาทต่ี ้องรักษาอย่างจริงจงั ถึงแมว้ า่ จะหายดขี ้นึ ในอนาคต อย่างไรกต็ ามยังคงต้องหมัน่ ตรวจสขุ ภาพอย่างสมา่ เสมอเพราะเดก็ เหลา่ น้เี ปน็ มติ รกับสมาชกิ ใน ครอบครัว

20 11. เพรเดอร-์ วลิ ลี่ ซินโดรม PRADER –WILLI SYNDROME พราเดอร์ - วิลลี่ ซินโดรม (Prader-Willi Syndrome)หมายถึง เด็กท่ีมีภาวะของโรคทาง พันธุกรรม ที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมคู่ท่ี 15 ทาให้มีรูปร่างอ้วนมาก มือและเท้าเล็ก กินจุ มคี วามบกพร่องทางสตปิ ัญญา มีพฤติกรรมแปลกๆ เช่น พดู ช้า เป็นออทิสติก มอี าการอยากอาหารไม่ สนิ้ สดุ โรคเพรเดอร์ - วิลลี่ จะมีกล้ามเน้ืออ่อนแอ อัตราเผาผลาญอาหารในร่างกายตา่ มือ เท้า และ อวัยวะเพศมีขนาดเล็ก และปากจะเป็นรูปสามเหลีย่ มอย่างเห็นได้ชัด มักจะมีรูปร่างเตยี้ ผิวหนังซูบซดี และมีแนวโนม้ วา่ ความสามารถในการเรยี นรู้ตา่ มักมพี ฤตกิ รรม ชอบแคะ แกะ เกาผวิ หนัง ถามคาถาม ซ้าซาก จัดข้าวของหลายๆ คร้ัง และดื้อรั้นมาก แต่บางครั้งมีความจาที่แม่นเป็นพิเศษและบางคนมี พรสวรรคท์ ีไ่ มธ่ รรมดา จากลักษณะของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with Special Needs)ที่กล่าวมาแล้ว น้ัน ยังมีลักษณะของเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษหรือร่องรอยของโรคอุบัติใหม่ในปัจจุบันเกิดขึ้นอีก มากมาย และมีการศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ ต่อไป เพื่อช่วยเหลือและพัฒนาให้เดก็ สามารถดารงชีวติ อยู่ ทากิจกรรมหรือใช้ชีวิตได้เหมือนหรือใกล้เคียงปกติให้มากที่สุด โดยร่วมมือกับสหวิชาชีพเพื่อ ประโยชน์ในการรกั ษาและศึกษาร่วมมือกนั ต่อไป

21 อ้างองิ ภาษาไทย กระทรวงศึกษาธกิ าร.(2552). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการ ทางการศกึ ษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 80ง. 45-47. ทวศี ักด์ิ สริ ริ ัตน์เรขา. เดก็ พเิ ศษ. [Online] 2562; Available from: URL: http://www.happyhomeclinic.com/sp01-specialchild.htm นวรตั น์ หัสด.ี (2559). ผลของการใชอ้ าชาบาบดั ที่มีตอ่ พฒั นาการดา้ นพฤติกรรมของนกั เรยี นท่มี ีความต้องการ พิเศษซึ่งมลี ักษณะต่างกนั .(รายงานผลการวจิ ัย). กรงุ เทพมหานคร: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ผดุง อารยะวิญญู. (2542). การศกึ ษาสาหรบั เด็กที่มคี วามตอ้ งการพเิ ศษ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แวน่ แก้ว พระราชบญั ญตั ิสง่ เสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ และ ประกาศกระทรวงการพัฒนาสงั คมและ ความมนั่ คงของมนุษยเ์ รือ่ ง ประเภทและหลกั เกณฑค์ วามพิการ ลงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2552 ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๒๖/ตอนพเิ ศษ ๘๐ ง/หนา้ ๔๕/๘ มิถุนายน ๒๕๕๒ ราชภัฏนครราชสีมา, มหาวิทยาลัย. 2557. ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ จาก http://web.nrru.ac.th/web/special_edu/2-2.html เมื่อ 6 มถิ นุ ายน 2557. ภาษาองั กฤษ Barbara, R. P. (2010). Williams-Beuren Syndrome. The new England Journal of Medicine, 362(3) :239-252 World Health Organization. ( 1980) . International Classification of impairment, Disabilities, and Handicaps. Geneva: World Health Organization. ออนไลน์ https://fcdthailand.org/library-type/ https://www.happyhomeclinic.com/thaweesak-book.html http://pasinee235.blogspot.com/2009/09/blog-post_2526.html https://th.rajanukul.go.th/preview-5035.html https://th.theasianparent.com/ https: / / www. who. int/ docs/ default- source/ searo/ thailand/ disability- considerations- during- the- covid19outbreakthai21apr2020final20c40477774b4f0bb1c0ec6104472d44.pdf?sfvrsn=bb8f4b38_0