Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่7 การฝึกทักษะที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ

บทที่7 การฝึกทักษะที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ

Published by navarat282515, 2021-10-13 08:51:12

Description: บทที่7 การฝึกทักษะที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ

Keywords: ทักษะที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนที่ม,ีความ,ต้องการพิเศษ

Search

Read the Text Version

บทที่ 7 การฝกึ ทกั ษะที่จาเป็นสาหรบั ผ้เู รยี นท่มี คี วามต้องการพิเศษ การจัดการศกึ ษาสาหรบั ผ้เู รยี นทีม่ คี วามตอ้ งการพิเศษ ควรพัฒนาทักษะที่จาเปน็ ใหร้ อบดา้ น เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนทีม่ ีความตอ้ งการพเิ ศษ สามารถดารงชวี ติ ประจาวัน ปรับตวั อยูใ่ นโรงเรยี น สงั คมและ สภาพแวดลอ้ มได้ ทกั ษะทีจ่ าเป็นสาหรับผู้เรยี นทม่ี ีความต้องการพิเศษ ไดแ้ ก่ 1.ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานระดับสูง 2.ทกั ษะการเรียน 3.ทกั ษะทางสงั คม 4.ทกั ษะการใช้ชวี ติ ประจาวัน 1.ความสามารถในการปฏิบตั งิ านระดบั สูง (Executive Functioning) เป็นกลุม่ ของความสามารถทางปญั ญาทเี่ ป็นตวั ควบคมุ และกากบั พฤติกรรมของความสามารถ อน่ื ๆ ความสามารถเหลา่ นเี้ กีย่ วขอ้ งกบั ความสามารถในการรเิ ร่ิมและหยุดการกระทา ควบคมุ และ เปล่ยี นแปลงพฤติกรรม รวมถึงการวางแผนการกระทาตอ่ งานหรอื สถานการณท์ แี่ ปลกใหมใ่ นอนาคต และความสามารถในการปฏบิ ตั งิ านระดบั สูง เป็นความสามารถระดบั สูงทีส่ ง่ ผลตอ่ ความสามารถอื่นๆ เช่น การใสใ่ จ ความจา และความสามารถในการใชก้ ล้ามเนื้อ (ปิยวรรณ วิเศษสวุ รรณภมู ,ิ 2554 อ้าง ถงึ Crawford,1998) Executive Functioning คือ ความสามารถทางปัญญา เป็นทักษะความสามารถในการ ปฏิบัติงานระดับสูง การคิดเป็น ทาเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น และปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่น อย่างมีความสุข คือการฝึกทักษะสมองสาคญั ที่เรียกว่า Executive Functions ทักษะท่ีจาเปน็ ในการ ทากิจกรรมในชีวิตประจาวันที่มีเป้าหมาย หรือเรียกได้ว่าเป็นทักษะการบริหารจัดการตนเองขั้นสูงใน การกากับความคิด อารมณ์ การกระทาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้ จะส่งผลต่อการเรียนรู้และการ ทางาน พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์รวมไปถึงการมีสุขภาพที่ดี ซ่ึงทางานเกี่ยวข้องกับการประมวลผล ขอ้ มูล แรงจูงใจ ประสบการณ์ อารมณ์ แรงกระตุ้นและการดารงพฤติกรรม เปน็ ทักษะที่บุคคลต้อง ใช้และมีอิทธิพลต่อความสาเร็จในชีวิต ซ่ึงมนุษย์ไม่ได้เกิดมาพร้อมทักษะ Executive Functions แต่ สามารถพัฒนาได้ด้วยการฝึกฝนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้ผู้เรียนเติบโตได้อย่างมีคุณภาพ

2 และนาไปสูค่ วามสาเร็จในชีวิต โดยเฉพาะผู้เรียนที่มีความตอ้ งการพเิ ศษ หากไม่ได้รับการฝึกฝนอย่าง ถกู ตอ้ งอาจทาให้มปี ัญหาดา้ นพฤตกิ รรมการใช้ชวี ติ การเรียน และการเขา้ สงั คมในอนาคต (นวลจันทร์ จฑุ าภกั ดีกุล, 2560) ประกอบดว้ ย การวางแผน(planning) ความจา (working memory) การใส่ใจ การแก้ปญั หา การเข้าใจเหตผุ ลการใช้ภาษา(verbal reasoning)การมีสมาธิ(cognitive inhibition) การยดื หยุน่ ทาง ความคิด(cognitive flexibility) การทางานหลายๆงานพร้อมกัน(task switching) การเริ่มและ ตรวจสอบการกระทาตามทฤษฎีทางจิตวิทยา Executive system เป็นตัวควบคุมและบริหาร กระบวนการ Executive Functions ทักษะการบริหาร executive skills ระบบควบคุม/ใส่ใจ supervisory attentional system หรือการควบคุมการรับรู้ cognitive control (Alvarez, J. A. & Emory, E., Julie A.; Emory, Eugene, 2006 ) แผนภาพที่ 7.1 Executive Functioning

3 Executive Function เปน็ การทางานระดับสงู ของสมองทช่ี ว่ ยใหม้ นุษยเ์ ราควบคุมอารมณ์ ความคิด รวมถงึ การตัดสนิ ใจทสี่ ง่ ผลตอ่ การกระทาและการแสดงออกของพฤตกิ รรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กับสถานการณ์และชว่ ยใหเ้ ราทาสง่ิ ต่างๆ ประสบผลสาเร็จได้ตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ ความสามารถใน การควบคุมความคดิ (cognition) การกระทา (action) และอารมณ์ (emotion) เพื่อไปใหถ้ งึ เป้าหมาย (goal) มนุษย์ไม่ไดม้ ที ักษะความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานระดบั สูง (Executive Functions) มาตง้ั แตเ่ กดิ แต่ตอ้ งผ่านการฝกึ ฝนและพัฒนาอยา่ งต่อเน่อื ง รวมท้งั เกดิ จาก กระบวนการแกป้ ัญหาท่ีได้ทดลองทาซ้าๆ องคป์ ระกอบของหลักของ Executive Functions (Anderson, 2002) ประกอบด้วย 1. Cognitive Flexibility = คือ ความสามารถในการยดื หยนุ่ ความคดิ เปลี่ยนจดุ สนใจ เปล่ยี นโฟกสั หรอื เปล่ยี นทิศทางให้เหมาะสม กบั สถานการณ์ท่เี กดิ ขึ้น, ความจาทน่ี ามาใชง้ าน (Working memory) คือ ความสามารถในการเกบ็ ประมวล และดึงข้อมูลทีเ่ ก็บในคลงั สมองของเรา ออกมาใชต้ ามสถานการณ์ทีต่ ้องการ ยกตัวอยา่ งเช่น คณุ ครูบอกให้ด.ช.เอก ไปหยิบรองเท้ามาเพ่อื ใส่ ช่วงระยะเวลาท่ีด.ช.เอก สามารถจาและทาตามคาสั่งที่คุณครูบอกได้ น่ันคือ “การใชค้ วามจาที่ นามาใชง้ าน” 2. Attention Control คือ ความสามารถในการใส่ใจจดจ่อมุง่ ความสนใจอยู่กบั สิง่ ทท่ี าอยา่ ง ตอ่ เนือ่ งในช่วงเวลาหนง่ึ ๆ โดยไม่วอกแวกไปตามปัจจัยไมว่ ่าภายนอกหรือภายในตนเองทเี่ ข้ามา รบกวน ยกตวั อยา่ งเชน่ การทผ่ี ้เู รยี นสามารถสนใจเขียน ก - ฮ ตามที่ครมู อบหมาย ไดอ้ ยา่ งตงั้ ใจ ต่อเนือ่ ง แมว้ ่าจะมีคณุ ครทู ี่กาลังตรวจงานอยูข่ า้ งๆ นั่นคอื “ผู้เรียนมชี ่วงสมาธเิ กดิ ข้นึ ” เปน็ ตน้ 3. Goal setting คือ การตง้ั เป้าหมาย ความพากเพยี รมุ่งสู่เปา้ หมาย เมื่อตัง้ ใจและลงมือทาสงิ่ ใดแล้ว ก็มีความมุ่งมนั่ อดทน เพ่อื ให้ บรรลเุ ป้าหมาย ไมว่ ่าจะมอี ปุ สรรคใดๆก็พรอ้ มฝา่ ฟนั จนถึง ความสาเร็จ ยกตวั อยา่ งเชน่ คุณครกู าลงั พยายามสอนให้ ด.ญ.ใจใส เปิดถุงของเล่น ท่ปี ิดไวด้ ้วยซปิ ขณะท่ี ด.ญ.ใจใส พยายามทาน้นั แม้วา่ จะทาการเปดิ ถงุ ซปิ ไดย้ าก แต่สดุ ทา้ ยกพ็ ยายามทาไดส้ าเรจ็ นนั่ กค็ ือ “การตั้งเปา้ หมาย ทีเ่ กิดขึ้น”

4 4. Information processing คอื การประมวลผลข้อมูลทางสมองทมี่ ีประสทิ ธิภาพ และความ รวดเรว็ ในการประมวลผล ทกั ษะ (Executive Functions) ผู้เรียนที่มี Executive Functions จะชว่ ยให้คิดเป็น ทาเป็น เรียนร้เู ป็น แกป้ ญั หาเป็น อยู่ ร่วมกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ย่างมีความสขุ Executive functions ประกอบดว้ ยทกั ษะ 9 ทักษะ ดังนี้ แผนภาพที่ 7.2 9 ทกั ษะ Executive functions (https://www.google.com/search)

5 1.ทกั ษะความจาที่นามาใช้งาน (Working Memory) คือทกั ษะจาหรอื เกบ็ ข้อมลู จากประสบการณท์ ผ่ี า่ นมา และดึงมาใชป้ ระโยชน์ตามสถานการณ์ ท่ีพบเจอ เดก็ ทีม่ ี Working Memory ดี ไอควิ กจ็ ะดีด้วย เช่น ให้ผเู้ รยี นไดร้ ะลึกถงึ สงิ่ ทพ่ี บเหน็ เมอ่ื ไปเท่ียวสวนสตั ว์ ทดลองให้บอกชอ่ื สตั ว์ที่จาได้ หรอื เลา่ ถงึ กิจกรรมท่ีทา 2.ทักษะการยบั ย้ังช่งั ใจ-คิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) คอื ความสามารถในการควบคุมความต้องการของตนเองให้อยู่ในระดับท่เี หมาะสม หยดุ คดิ ก่อนท่จี ะกระทาได้ เช่น ไปห้างสรรพสินค้า อยากได้ของเล่นชิน้ ใหม่ แตท่ ี่บ้านกม็ ีของเลน่ จานวนมาก อยูแ่ ล้ว ก็ยนิ ยอมทจ่ี ะไมซ่ อ้ื ของเลน่ ชน้ิ ใหม่ 3.ทักษะการยดื หยุ่นความคิด (Shift Cognitive Flexibility) คือความสามารถในการยดื หยุน่ ทางความคดิ แก้ไขปญั หาด้วยวธิ ที ่ีแตกต่างกนั รจู้ กั พลิกแพลง และปรับตัว เปน็ จดุ เริ่มต้นของการมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์และคดิ นอกกรอบ เช่น อยากออกไปปน่ั จักรยานเล่นท่สี นามหน้าบ้าน แต่ฝนตก ก็สามารถยดื หย่นุ มานง่ั เล่นของเลน่ ในบ้านแทนได้ 4.ทกั ษะการใส่ใจจดจ่อ (Focus/Attention) คอื ความสามารถในการใสใ่ จจดจอ่ มุง่ ความสนใจอยู่กับสิง่ ที่ทาอยา่ งต่อเนือ่ งในชว่ งเวลาหนึ่ง โดยไม่ วอกแวก รู้จักการทางานใหเ้ สรจ็ เป็นอย่าง ๆ ไป เช่น เพ่อื นมาชวนออกไปเลน่ ขณะกาลังทา การบ้าน กย็ งั ไม่ไปตามคาชวนแตต่ ั้งใจทาการบ้านใหเ้ สร็จกอ่ นจึงจะออกไป 5.การควบคุมอารมณ์ (Emotion Control) คือ ความสามารถในการควบคมุ แสดงออกทางอารมณใ์ ห้อยู่ในระดับทเี่ หมาะสม จดั การกับ อารมณ์ ตนเองได้ และรู้จักแสดงอารมณ์อยา่ งเหมาะสม ไมโ่ กรธ ฉุนเฉียว เชน่ เมื่อถูกเพ่อื นหรอื นอ้ ง แย่งของเลน่ ไป ก็ไม่โต้ตอบดว้ ยความรนุ แรง แต่รจู้ ักควบคุมอารมณ์และไปหยบิ ของเลน่ อย่างอ่นื มา เลน่ 6.การประเมนิ ตวั เอง (Self-Monitoring) คือ การสะทอ้ นการกระทาของตนเอง รู้จกั ตนเอง รวมถึงการประเมนิ การทางานเพือ่ หา ข้อบกพร่อง แลว้ นามาแก้ไขและพัฒนาขอ้ ดีใหด้ ีข้ึน รูว้ ่าตวั เองกาลังทาอะไร ทาไดต้ รงตามขน้ั ตอน ไหม ผิดพลาดตรงไหน และรู้ว่าใกลจ้ ะเสร็จหรอื เรยี บร้อยแลว้ เชน่ ตรวจสอบว่าตนเองทางานในความ รบั ผดิ ชอบ สาเร็จไปจานวนก่ีอย่างและมงี านอะไรท่ีตอ้ งทาตอ่ ไป

6 7.การริเร่มิ และลงมือทา (Initiating) คือ ความสามารถในการรเิ ริม่ และลงมอื ทาตามทีค่ ดิ กลา้ คดิ กลา้ ทา ลงมอื ทาทันที ไมก่ ลวั ความลม้ เหลว ม่งุ มน่ั ริเร่ิมทาส่ิงใดสง่ิ หนึ่งดว้ ยความต้งั ใจ เชน่ ตงั้ ใจทาการ์ดวนั เกิดให้คุณแม่ 8.การวางแผนและการจดั ระบบดาเนนิ การ (Planning and Organizing) คอื ทกั ษะการทางาน ตงั้ แต่การตั้งเป้าหมาย การวางแผนอย่างเป็นขัน้ ตอน วางเปา้ หมาย การ มองเหน็ ภาพรวม ร้จู กั จดั ลาดบั ความสาคัญ จัดระบบ ดาเนินการ และประเมินผล 9.การมุง่ เปา้ หมาย (Goal-Directed Persistence) คือ การวางเปา้ หมายที่ชัดเจน มคี วามพากเพียรและความมุ่งมั่นในการบรรลเุ ป้าหมาย เมือ่ ตัง้ ใจและ ลงมือทาส่งิ ใดแลว้ ก็มีความมงุ่ ม่นั อดทน รู้จักฝ่าฟันอปุ สรรค พยายามตอ่ สู้เพ่อื ไปใหถ้ งึ เปา้ หมาย ความสามารถในการปฏิบตั ิงานระดบั สูง จงึ เกยี่ วกับการใช้ Metacognition ที่เป็น ความสามารถในการจดั ระเบียบการทากจิ กรรมต่างๆได้แก่ การตระหนกั รู้ การตั้งเป้าหมาย และการ ใช้ความคิดอย่างเปน็ ระบบเพือ่ ทางานไดส้ าเร็จ ลกั ษณะของความสามารถในการปฏิบตั ิงานระดบั สูง 1.กล่มุ ของความสามารถหรอื ทกั ษะท่ีใช้ในการจดั ระเบยี บ ในการทากจิ กรรมตา่ งๆ 2.เปน็ การตระหนักรู้ มีเป้าหมายและการใชค้ วามคิดอยา่ งเปน็ ระบบ 3.เป็นกจิ กรรมท่เี กี่ยวกบั ดแู ลกากบั วเิ คราะห/์ ประเมนิ และปรับปรุงเปล่ียนแปลงกลยุทธใ์ ห้ เหมาะสมกับความซับซ้อนของงาน 4.นาความรูเ้ กา่ มาใช้ประโยชน์ร่วมกบั ความรูใ้ หม่ 5.รวู้ ่าควรทาอยา่ งไรเม่ือต้องเผชญิ หน้ากับกจิ กรรมหรอื งานท่ียงุ ยากซบั ซ้อน 6. มี Metacognition

7 ความสามารถในการปฎบิ ัติงานระดบั สูง ประกอบดว้ ย Response to Inhibition (RI) 1.RESPONSE TO INHIBITION (RI) คือ ความสามารถในการคดิ กอ่ นทจี่ ะกระทาหรอื พูด ตวั อย่างความบกพร่องของทกั ษะ ได้แก่ การพดู สอดแทรก พดู ขัดจงั หวะ การพดู เรอื่ งตา่ งๆโดยไม่คดิ 2.WORKING MEMORY คือ ความสามารถในการรวบรวมขอ้ มลู ในการทากจิ กรรมทซ่ี บั ซอ้ น ตวั อยา่ งของพฤติกรรมที่บกพรอ่ ง ได้แก่ การลืมทศิ ทาง การทง้ิ การบ้านไว้ทบ่ี า้ นลมื นามาส่งครู 3.SELF REGULATORY STRATEGY คือ ความสามารถในการกากับตนเอง เพ่อื ทีจ่ ะทางานให้สาเรจ็ ตวั อย่างของพฤติกรรมที่บกพร่อง เช่น ไม่ทาอะไรเลยระหว่างสอบ ตึงเครียดเมอ่ื ทาผิดพลาด หยดุ ที่ จะพยายามตอ่ ไปเม่อื ต้องทางานยาก 4.SUSTAINED ATTENTION เปน็ ความสามารถที่จะคงสมาธหิ รือจดจอ่ อยู่กับสถานการณห์ รืองานท่ี ทา แมว้ ่าจะมีเรอ่ื งมารบกวน เหนือ่ ยอ่อน หรอื นา่ เบอื่ ตัวอยา่ งของพฤติกรรมทบ่ี กพร่อง เชน่ ทางาน ท่ีครูมอบหมายในหอ้ งไมเ่ สรจ็ ทันเวลา หยดุ ทางานก่อนทีง่ านนัน้ จะเสร็จ 5.TASK INITIATION การเร่ิมตน้ ทางานโดยไมร่ ีรอ ชกั ชา้ และไมผ่ ลดั วันประกนั พรงุ่ ตวั อย่างของ พฤตกิ รรมท่ีบกพรอ่ ง เชน่ ไมท่ าการบ้าน 6.PLANNING / PRIORITIZATION ความสามารถท่ีจะคิดแผนปฏบิ ัติการเป็นลาดบั ข้ันตอนหรอื จดั ลาดบั ของงาน เพอื่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายท่ีวางไว้ หรอื ทางานทย่ี ุ่งยากสาเรจ็ ตวั อย่างของพฤติกรรมที่ บกพรอ่ ง เชน่ ไม่รูว้ ่าจะเรม่ิ ตน้ งานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเมื่อไร ไม่สามารถทจ่ี ะกาหนดเวลาท่ีงานจะเสร็จ เม่อื ตอ้ งทางานทยี่ ุ่งยากซบั ซอ้ น ตอ้ งใชเ้ วลามาก ตอ้ งใหค้ รูบอกทีละขนั้ ว่าตอ้ งทาอะไรและทาได้ทีละ ขั้นตามท่ีบอกเท่านั้น 7.ORGANIZATION คือความสามารถในการจัดระบบการทางาน ตัวอยา่ งของพฤตกิ รรมทบ่ี กพร่อง ไม่สามารถจดั การกับงานทีค่ รมู อบหมายได้ เช่น การเตรียมตวั สอบ ตอ้ งเตรียมตวั อ่านหนงั สอื อยา่ งไร ต้องอ่านอะไรบ้าง

8 8.TIME MANAGEMENT เป็นความสามารถในการคาดการณว์ ่าต้องใชเ้ วลาเท่าไรในการทางาน การ กาหนดเวลา และการตระหนกั รวู้ า่ จะทางานใหเ้ สรจ็ ทนั เวลาได้อย่างไร ตวั อยา่ งของพฤตกิ รรมท่ี บกพร่อง เชน่ จดั ตารางเวลาการทางานเองไมไ่ ด้ ทางานไมเ่ สร็จสกั ทีทาใหไ้ ม่อยากสง่ งาน 9.GOAL DIRECT PERSISTENCE เปน็ ความสามารถทีจ่ ะทางานจนสาเรจ็ โดยไม่วอกแวก ตัวอย่าง ของพฤติกรรมทบ่ี กพรอ่ ง เช่น เปลย่ี นความสนใจบอ่ ย ไม่สามารถจดจอ่ ต่อเรื่องใดๆได้นาน หรือฟัง อาจารย์สอนนานๆไมไ่ ด้ เปน็ ต้น 10.FLEXIBILITY เป็นความสามารถในการปรับเปล่ียนแผนและวิธีการใหเ้ หมาะสมเม่อื พบอุปสรรค หรือเม่ือไดร้ ับข้อมลู ใหม่ๆตวั อยา่ งของพฤติกรรมทีบ่ กพร่อง คดิ แก้ไขปญั หาไม่ได้ เช่น ลืมอปุ กรณ์การ เรียนไวท้ ่ีโรงเรยี น เม่อื ถงึ บ้านไม่พบสง่ิ ทีต่ ้องการหรือเม่อื ผูป้ กครองสอบถามจะกรีดร้อง เดินไปมา ทา อะไรไมถ่ ูก เป็นตน้ 11.METACOGNITION เป็นความสามรถทมี่ องเห็นภาพรวม หรือมคี วามคดิ แบบองคร์ วม การ ควบคุมส่งั การ กระบวนการทางานดว้ ยตนเอง และสามารถท่ีจะประเมนิ ไดด้ ้วยตนเอง ตัวอย่างของ พฤติกรรมท่บี กพรอ่ ง เชน่ เม่ือทาการบ้านผดิ ไมร่ ูว้ ่าผดิ อย่างไร ไม่รู้จะแกไ้ ขปญั หาอยา่ งไร 2. ทักษะการเรียน ทักษะการเรยี น สร้างทักษะทางวิชาการที่นาไปสกู่ ารพ่งึ ตวั เองในชีวติ ประจาวัน มคี วามสาคัญ ตอ่ ความสาเรจ็ และมปี ระโยชนส์ าหรบั การเรียนตลอดชวี ติ ของผ้เู รยี นท่มี คี วามตอ้ งการพิเศษ ทักษะ การเรยี นท่ีจาเปน็ สาหรับผเู้ รียนทม่ี คี วามต้องการพเิ ศษ ได้แก่ ทกั ษะการอา่ น ทกั ษะการฟัง การจด บนั ทึก การเขยี นรายงาน การนาเสนอปากเปลา่ การสอบ การใชห้ อ้ งสมุด การใชแ้ หล่งความรู้ การ จดั การเวลา วิธชี ว่ ยจา (mnemonics) ทกั ษะการเลียนแบบ ทกั ษะการรับรู้ ทกั ษะการชว่ ยเหลอื ตนเอง ทักษะการสื่อสาร

9 การพฒั นาทกั ษะการอา่ น 1.ผสู้ อนอา่ นไปพร้อมๆกันกบั ผ้เู รยี น เพื่อพฒั นาความคล่องในการอ่าน 2.ผู้สอนตงั้ คาถามเกี่ยวกับเรือ่ งทจ่ี ะใหอ้ า่ น และให้อ่านคาถามก่อน จงึ ให้อ่านเน้อื เร่ือง เพอื่ ตอบคาถามทีไ่ ด้จากการอา่ น 3.อ่านซา้ ๆจนเขา้ ใจ 4.เชิญชวนพ่อแม่เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาการอ่านเช่นจดั สภาพแวดล้อมทบ่ี า้ นท่สี ่งเสริม ตอ่ การอ่าน การพฒั นาทักษะการฟัง

10 การเรยี นการสอน • จับคู่ปากเปลา่ กับคาแนะนาดว้ ยภาพ • ให้ข้อมลู /คาแนะนา อธิบายอย่างชดั เจน และใหน้ กั เรยี นทาซา้ • ใชร้ ายการตรวจสอบและกาหนดการ (รวมถึงรายการสว่ นตวั ทแ่ี ตกต่างจากเพื่อน) • พัฒนาและสนบั สนนุ นักเรยี นในการทางานกลมุ่ ด้านสงิ่ แวดล้อม • จดั ทนี่ ัง่ พิเศษเพ่ือหลีกเลี่ยงการรบกวน • ใชส้ ัญญาณภาพและการไดย้ นิ เพอื่ เรยี กรอ้ งความสนใจก่อนพดู • การแสดงผลและกาหนดการให้เห็นชดั เจน การประเมิน • ให้เวลาเพ่ิมเติมสาหรบั การทดสอบและการมอบหมายงาน • จดั เตรียมสาเนาคาแนะนาและเกณฑก์ ารมอบหมายงานเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร • พฒั นาระยะเวลาการศึกษา • การมอบหมายและการทดสอบแบบกลมุ่ • ให้พักระหวา่ งการทดสอบ • อนุญาตให้สอบปากเปลา่ • ตรวจสอบความเขา้ ใจของคาถามในแบบทดสอบ • อนุญาตให้ใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการประมวลผลคา กลวธิ ีในการสอน การให้คาแนะนา 1. ให้เวลาพิเศษในการประมวลผลข้อมลู ด้วยวาจา 2. จบั คู่คาแนะนาด้วยวาจากบั ภาพ (การเขียนหรอื สัญลักษณ์) 3.พฒั นาคาแนะนาให้นกั เรยี นจดจอ่ กบั การฟังกอ่ นทีจ่ ะใหข้ อ้ มูลสาคัญ (“หยุด มองแลว้ ฟัง” หรอื ปดิ ไฟแล้วเปิดใหม่) 4. สอนคาศพั ทใ์ หม่ล่วงหน้าและทบทวนคาศัพทท์ ีส่ อนกอ่ นหน้านเี้ ป็นประจา 5. ตรวจสอบกับนกั เรียนบอ่ ยๆ เพ่อื ความเข้าใจ 6. ใช้ คาแนะนาทแ่ี ตกตา่ ง Differentiated Instruction เพ่อื สอนบทเรยี นในรปู แบบต่างๆ

11 การจดั สิ่งแวดลอ้ ม 1.ลดการรบกวนการไดย้ นิ ในหอ้ งเรยี น 2.ใชท้ ่ีน่ังพิเศษเพื่อจากัดส่ิงรบกวนสมาธิ 3.โพสต์ข้อมูลอ้างอิงสาหรับนกั เรียนทีจ่ ะใช้ (แผนภูมิ กาหนดการ ฯลฯ) การประเมินผล 1.ตรวจสอบให้แนใ่ จวา่ นักเรียนเขา้ ใจคาถามในแบบทดสอบ/เข้าใจคาสงั่ งานทม่ี อบหมาย 2.ใหค้ าแนะนาเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรสาหรับงานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 3.จดั ใหม้ ีกจิ กรรมการประเมินทางเลือกเพ่ือใหน้ ักเรยี นสามารถเลือกกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับ จุดแข็งของตนได้ 4.จัดเตรยี มเอกสารอา้ งองิ หรือคาศพั ท์ หรอื พจนานุกรมสาหรับการทดสอบ การจดั การกบั เวลา เปน็ การสอนและพฒั นาผเู้ รยี นท่ีมคี วามต้องการพเิ ศษใหร้ จู้ ักกการวางแผนการใชเ้ วลาของ ตนเอง ผเู้ รียนที่มีความตอ้ งการพิเศษมกี มคี วามบกพร่องในด้านการบรหิ ารจดั การกบั เวลา ทาให้เกิด ปัญหาทางการเรยี น ทักษะการจดั การกับเวลา ประกอบด้วย การวางแผนการทากจิ กรรมตา่ งๆ ตาม เวลาทีก่ าหนดไว้ ผสู้ อนแนะนา สอนใหผ้ เู้ รียนท่มี คี วามตอ้ งการพเิ ศษทาตารางเวลาของตนเองและ เสริมแรง เมอ่ื ทาได้ตามที่กาหนด 3 ทกั ษะทางสงั คม ทักษะทางสงั คมเป็นทกั ษะสาคญั ในการอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม เป็นกฎกติกา แผนที่ หรอื ทศิ ทางใน การมปี ฏสิ ัมพนั ธท์ างสงั คมกับผ้อู ืน่ ทกั ษะทางสังคมเปน็ พฤติกรรมทีแ่ สดงออกผ่านคาพดู สหี น้า ท่าทาง ซ่ึงสามารถทานายผลทางสังคมได้ เช่น เรายิ้ม เพื่อนกจ็ ะย้ิมตอบ ทกั ษะทางสังคมเปน็ ทักษะ ที่จาเป็นในการสรา้ งและรกั ษาสัมพนั ธภาพกบั เพอื่ น ผเู้ รยี นมักจะเรยี นรทู้ กั ษะทางสังคมผ่านการ สังเกตและการมปี ฏสิ มั พนั ธ์กบั ผอู้ ่ืน โดยเฉพาะการเลน่ กบั เพ่อื น ในสังคมปจั จุบัน ผู้เรยี นอย่กู ับการ เรียนมากขึน้ จงึ มโี อกาสเลน่ กบั เพอื่ นน้อยลง ประกอบกบั โลกดิจทิ ัลท่เี ออื้ ให้ผ้เู รยี นสามารถหาความ

12 บนั เทิงผา่ นการเลน่ เกมออนไลน์หรอื เกมคอมพิวเตอร์ ดูการต์ นู หรือภาพยนตรใ์ น YouTube ดงั นัน้ ผเู้ รียนจงึ มโี อกาสในการเรยี นรทู้ กั ษะทางสงั คมตามธรรมชาตไิ ดน้ อ้ ยลง การพฒั นาและเสริมสร้างทักษะทางสงั คมให้กับผูเ้ รียนทีม่ ีความตอ้ งการพิเศษ เปน็ การสอนให้ ร้จู ักการแสดงออกท่ีเหมาะสมท้งั ทางวาจาและท่าทาง เมอื่ มีปฏิสมั พนั ธก์ ับผูอ้ ่นื ในสังคม เช่น การมี ส่วนรว่ ม การฟงั การสนทนาตอ่ เนอ่ื ง ความใสใ่ จ เขา้ ใจผู้อืน่ และการตอบสนองทางอารมณท์ ี่ เหมาะสม ผเู้ รยี นทม่ี คี วามต้องการเป็นพิเศษ กบั ทักษะทางสงั คม อาจเป็นเร่อื งท่ีท้าทายอยา่ งมาก มัก มผี ูก้ ลา่ วถงึ ผเู้ รียนทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ ว่า “ไม่รู้กาลเทศะ” “ยดึ ตวั เองเป็นศูนยก์ ลาง” “อย่ใู นโลก ของตัวเอง” “ไมส่ นใจผูอ้ ื่น” “ไม่มีเพ่ือน” “แพไ้ มไ่ ด”้ หรือ “แปลก” ความบกพร่องทางทกั ษะทางสงั คมในผูเ้ รียนทมี่ ีความต้องการพเิ ศษ อาจแบง่ เปน็ 5 ดา้ นใหญๆ่ ดังนี้ 1) ทักษะการสอื่ สารเบื้องต้น รวมถึงทักษะการฟังและการใส่ใจ การสนทนา การทาตามคาสัง่ การแสดงออกทางสีหน้า ทา่ ทาง และน้าเสยี ง (nonverbal) และการทาความเข้าใจสหี น้าทา่ ทางและ น้าเสยี งของผู้อ่นื 2) ทักษะการสรา้ งสัมพนั ธภาพและการเขา้ ใจผอู้ ืน่ (Empathy) รวมถึงการเขา้ หาเพอื่ น การ เชื่อมโยงกบั เพ่ือน และการไม่จดจ่อกบั ตนเองหรอื ผู้อ่นื ที่มากหรอื นอ้ ยเกินไป 3) ทักษะเกยี่ วกบั ความสมั พันธร์ ะหว่างบคุ คล รวมถึงการแบ่งปนั การเข้าร่วมกิจกรรม การขอ อนุญาต การรอคิวหรือการสลบั กนั เลน่ การควบคุมตนเอง การจดั การกบั อารมณ์ และมารยาททาง สงั คม 4) ทกั ษะการแก้ไขปญั หา รวมถึงการขอความชว่ ยเหลือ การขอโทษ การตดั สนิ ใจและการ ยอมรับผลของการตัดสนิ ใจของตนเอง การรับมอื กบั การล้อเลียนของเพื่อน การยอมรับความพ่ายแพ้ และการแกไ้ ขข้อขัดแย้ง 5) ทกั ษะเก่ยี วกับการยอมรบั ภาระและความรับผิดชอบ (Accountability รวมถึงการยอมรับ ความผิดพลาดของตนเอง ไมโ่ ทษผอู้ ่ืน และการยอมรบั ข้อคดิ เหน็ คาแนะนา หรือคาวิพากษ์วิจารณ์ ของผอู้ ่ืน

13 ความบกพรอ่ งทางทกั ษะทางสงั คมอาจส่งผลใหเ้ พ่ือนไม่อยากเขา้ หาหรอื เลน่ ด้วย หรือถกู ลอ้ เลยี นจากเพื่อน หรอื กนั ออกจากกลุ่ม เมอ่ื ผเู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการพิเศษได้รบั การฝกึ ให้มที ักษะ ทางสงั คมท่ีเหมาะสม จะช่วยเสรมิ สรา้ งการตระหนกั รู้ในตนเอง (Self-awareness) การจดั การกบั ตนเอง (Self-management) การตระหนกั รทู้ างสังคม (Social awareness) การรับผดิ ชอบตอ่ การ ตดั สินใจ (Responsible decision making) และสัมพนั ธภาพกบั ผอู้ น่ื (Relationship skills) สง่ ผล ให้เด็กมพี ฤติกรรมทางสังคมทเ่ี หมาะสม ลดความเส่ียงท่จี ะมีพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์และปอ้ งกนั ปัญหาสุขภาพจิตในอนาคต (กุลวดี ทองไพบูลย)์ 1.ทกั ษะทางสังคมขน้ั พนื้ ฐาน (th.sainte-anastasie.org. 2021) มคี วามจาเปน็ ในการสรา้ งและรักษาการสอ่ื สารท่ีดี • รวู้ ิธเี ริ่มบทสนทนา. • รู้ว่า มกี ารสนทนา. • ทักษะการฟงั ทใ่ี ชง้ านอยู่ • การสรา้ งคาถาม • แนะนาตวั • ขอบพระคณุ . • ความสามารถในการสร้างคาชม • ทักษะความชานาญ 2. ทกั ษะทางสังคมขน้ั สูง เม่ือบคุ คลนัน้ ไดร้ ับการพัฒนาทกั ษะพ้ืนฐานทางสังคม ทาใหม้ ีทกั ษะในการจดั การกบั ความสัมพนั ธ์ ทางสังคมเพม่ิ ขนึ้ ประเภทของทกั ษะทางสงั คมน้ี • ความสามารถในการเสนอความคิดเห็น • ขอความชว่ ยเหลือ • ความสามารถในการขอโทษ

14 • การมีส่วนรว่ ม • แนะนาและให้คาแนะนา • ทาตามคาแนะนา • ความมนั่ ใจ 3. ทักษะทางสังคมด้านอารมณ์ความรสู้ ึก ทกั ษะประเภทนเ้ี กี่ยวขอ้ งกับความสามารถในการระบุและจดั การอย่างมปี ระสิทธิภาพท้ัง ความรสู้ ึกของเราและความร้สู ึกของผอู้ ื่น • ระบุและรู้อารมณ์และความรู้สึก • เขา้ ใจความรูส้ กึ ของผอู้ น่ื • ความจุของ แสดงความรู้สึกและอารมณ์ • การแสดงออกของผลกระทบ • เคารพความร้สู กึ ของผู้อ่นื • ความจสุ าหรับ ตอ้ งเผชิญกบั ความโกรธของผ้อู ่นื • ความสามารถในการใหร้ างวัลตนเอง • การจัดการความกลวั ในการพูดคยุ กับผูค้ น • ความสามารถในการสนับสนุนผอู้ นื่ • ความจุสาหรับ ปลอบคนอื่น ๆ 4. ทักษะการเจรจาตอ่ รองหรอื ทางเลือกในการรกุ ราน ทักษะทางสงั คมที่เกย่ี วขอ้ งกับการเจรจาต่อรองเปน็ สิ่งทชี่ ่วยให้เราสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแยง้ หรอื จดั การอย่างเหมาะสม ประกอบดว้ ยความสามารถในการแกป้ ญั หาภายในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง บคุ คลโดยไม่ตอ้ งใช้ความกา้ วร้าวหรือความรนุ แรง • รู้วิธีขออนญุ าต • ความสามารถในการแบง่ ปนั

15 • ความสามารถในการช่วยเหลอื ผู้อ่ืน • ความสามารถในการรักตนเอง • ความสามารถในการทนและตอบสนองต่อเร่ืองตลก • ทักษะการเจรจาตอ่ รอง • ความสามารถในการควบคมุ ตนเอง • ความสามารถในการปกป้องสิทธขิ องตน • อย่าเข้าไปต่อสู้ • ความสามารถในการหลีกเลย่ี งปัญหาสาหรับคนอนื่ 5. ทักษะในการรับมือกบั ความเครยี ด ทักษะประเภทน้จี าเปน็ สาหรับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ความตึงเครยี ดหรือความเครยี ด • ความสามารถในการจดั การความรู้สึกอบั อาย. • ความสามารถในการป้องกนั อ่นื ๆ. • ความอดทนตอ่ ความลม้ เหลว. • ความสามารถในการตอบสนองต่อการโน้มน้าวใจ. • ความสามารถในการตอบสนองตอ่ ขอ้ กลา่ วหา. • ความสามารถในการกาหนดขอ้ รอ้ งเรยี น หรือการเรยี กร้อง. • ความสามารถในการตอบสนองต่อการรอ้ งเรยี นหรอื การเรยี กรอ้ ง. • สปอรต์ . • ร้วู ธิ เี ผชญิ หนา้ กบั แรงกดดนั ของกลมุ่ . • จัดการการสนทนาที่ซบั ซ้อน. • ความอดทนที่จะเพิกเฉยหรอื ไมส่ นใจ. • ความสามารถในการเผชญิ หนา้ กับข้อความทข่ี ัดแย้ง.

16 6. ทกั ษะการวางแผน ภายในหมวดหมู่ของทกั ษะทางสงั คมที่เกย่ี วขอ้ งกบั การวางแผนเราสามารถคน้ หา: • การรับรู้ความสามารถของคน ๆ หนึง่ . • ความสามารถในการตดั สนิ ใจ. • การกาหนดวัตถปุ ระสงค์. • ระบุสาเหตุของปัญหาและแกไ้ ข. • การรวบรวมขอ้ มลู . • ความสามารถในการมสี มาธิในงาน. ประเภทของทกั ษะทางสงั คม 1.INTERPERSONAL BEHAVIORS ทกั ษะทางสงั คมประเภทนี้ เป็นทกั ษะทางสงั คมทส่ี รา้ งสมั พนั ธภาพทีด่ ี เป็นการปฏสิ ัมพันธ์ และความเขา้ ใจกนั ระหวา่ งบุคคล เช่น การทากิจกรรมต่างๆร่วมกนั การขอความช่วยเหลือ การให้ ความช่วยเหลือผอู้ ่นื การแสดงความยินดี การขอโทษ การฟงั รับกันหรอื การเข้าใจคนอน่ื (empathy) 2. PEER-RELATED SOCIAL SKILLS ทกั ษะทางสังคมประเภทนี้ เก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาความสัมพันธท์ างสงั คมกับเพื่อน เปน็ ทักษะ และความรูท้ ีจ่ าเปน็ สาหรบั การมปี ฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ บวกและประสบความสาเร็จรว่ มกบั เพ่อื น เช่น การ ทางานรว่ มกัน การมีส่วนรว่ มในการเรยี นรรู้ ว่ มกันที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาตใิ นการมีสว่ นร่วมทางสังคม กับกล่มุ เพ่ือนในวยั เดียวกนั หรอื ใกล้เคียงกัน การให้และขอขอ้ มูล การประเมนิ สภาพอารมณข์ อง บคุ คลอนื่ (HTTPS://WWW.CHILD-ENCYCLOPEDIA.COM/PEER-RELATIONS/ACCORDING- EXPERTS/PEER-RELATED-SOCIAL-COMPETENCE-YOUNG-CHILDREN-DISABILITIES)

17 3.TEACHER-PLEASING SOCIAL SKILLS ทักษะทางสงั คมประเภทน้ี เกยี่ วขอ้ งกบั การยอมรับในโรงเรยี น เชน่ เรียนรู้วธิ ีการปฏบิ ัติตนที่ เหมาะสมกับผอู้ ่ืน การทาตามคาสง่ั การปฏิบตั ติ นไดต้ ามกฎระเบียบขอ้ ตกลงของโรงเรียนของชน้ั เรยี นหรือขอ้ ควรปฏิบัตขิ องสถานท่ีนัน้ และการเช่ือฟงั ครู 4.SELF-RELATED BEHAVIORS ทักษะทางสังคมประเภทนี้ เกี่ยวขอ้ งกับผเู้ รียนทต่ี อ้ งประเมินสถานการณแ์ ละเลือกแสดง พฤติกรรมท่ีเหมาะสม การจัดการกบั ความเครียด การเขา้ ใจอารมณ์ตนเองและควบคุมความโกรธ 5.ASSERTIVENESS SKILLS ทักษะน้ี เก่ียวข้องกบั รปู แบบหนึ่งของการส่อื สารท่แี สดงถงึ ความเหน็ หรอื ส่ิงท่ีคณุ รู้สึก ดว้ ยวธิ ี ที่คุณจะสามารถเคารพทั้งตัวเองแล้วก็คนอื่นด้วย เป็นการกล้ายนื หยัดในความคิดของตัวเอง แสดง ความต้องการของตนเองสามารถสอ่ื สารโดยปราศจากความก้าวร้าว และไม่ทาให้ตัวเองร้สู ึกผิด 6. COMMUNICATION SKILLS ทกั ษะนี้ เกยี่ วขอ้ งกบั การสอ่ื สาร เช่น การเรยี นรทู้ จ่ี ะพดู การเป็นผ้ฟู ังทีด่ ี การให้ความสนใจ กบั ผู้ทก่ี าลังพดู และการพดู สนทนาโตต้ อบกับผพู้ ูด ระมดั ระวังคาพูดท่ลี ะเอียดอ่อน คิดกอ่ นพดู การสอนทกั ษะทางสงั คม (WILLIAM AND REISBERG,2003) 1.การอธิบายและฝกึ ทักษะอย่างเป็นลาดบั ขน้ั ตอน 2.การทาใหด้ เู ป็นตัวอย่าง 3.การชแี้ นะระหวา่ งท่ีนกั เรียนฝกึ 4.การใหน้ กั เรียนฝกึ เอง 5.การแผ่ขยายทักษะน้ีไปในสถานการณ์อน่ื ๆ

18 4 ทกั ษะการใชช้ วี ิตประจาวนั ทกั ษะการใช้ชวี ติ ประจาวัน เป็นหนึง่ ทักษะทีจ่ าเปน็ ทมี่ ีความสาคญั อยา่ งยิง่ สาหรับผู้เรยี นทมี่ ี ความต้องการพิเศษ เพราะเป้าหมายสาคัญของการจัดการศึกษาพิเศษคอื การพัฒนาผทู้ ีม่ คี วาม ตอ้ งการพเิ ศษให้สามารถดารงชีวติ ได้เหมือนหรือใกลเ้ คียงปกตใิ ห้มากทสี่ ุด ดารงชวี ิตอยา่ งปกติสุข สามารถประกอบอาชีพและช่วยเหลือตนเองได้ ม่งุ เน้นกระต้นุ พัฒนาการของผูเ้ รยี นท่มี คี วามต้องการ พเิ ศษ ให้ไดร้ ับการพัฒนาท้ังร่างกาย อารมณ์ สงั คม ตามความแตกตา่ งของแต่ละบคุ คล และสามารถดาเนิน ชวี ติ ได้อยา่ งอิสระ ดงั น้ันทักษะการใช้ชวี ิตประจาวันเปน็ ทักษะหนึง่ ทจ่ี าเปน็ จะตอ้ งฝกึ ฝนสาหรบั ผูเ้ รียน ที่มคี วามต้องการพิเศษ ทกั ษะการใชช้ ีวิตประจาวัน 1.ทกั ษะการสื่อสารและการเขา้ ใจคนอน่ื (Communication and Interpersonal Skills) 2.ทักษะการตดั สนิ ใจและการคิดวเิ คราะห์(Decision – Making and Critical Thinking Skills) 3.ทกั ษะการจดั การกับตนเอง(Coping and Self-Management Skills) แผนภาพท่ี 7.3 บัตรภาพ PECS

19 แผนภาพท่ี 7.4 บัตรภาพ PECS ทักษะทจี่ าเปน็ มุ่งเนน้ กระตุ้นพัฒนาการของผูเ้ รียนท่ีมคี วามต้องการพเิ ศษ ให้ได้รับการ พัฒนาทั้งรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม ตามความแตกตา่ งของแต่ละบุคคล และสามารถดาเนินชวี ิตไดอ้ ย่าง อิสระ โดยครอบครัวมสี ่วนรว่ ม ตามที่กาหนดไว้ในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล

20 1. ทกั ษะการเรียนรู้ 1.1 กลุ่มทกั ษะพ้นื ฐาน (อายแุ รกเกดิ – 6 ป)ี • ทักษะกล้ามเนือ้ มดั ใหญ่ • ทักษะกลา้ มเน้ือมดั เล็ก • ทกั ษะการชว่ ยเหลือตนเองในชวี ิตประจาวัน • ทักษะการรับรแู้ ละแสดงออกทางภาษา • ทักษะทางสังคม • ทักษะทางสตปิ ัญญาหรือการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ 1.2 กลมุ่ ทกั ษะพ้ืนฐาน (อายุ 7 ปขี ึ้นไป) • ทกั ษะการดารงชวี ติ ประจาวัน • ทักษะวชิ าการเพื่อการดารงชวี ติ • ทกั ษะสว่ นบุคคลและสังคม • ทกั ษะการทางานและอาชีพ 1.3 กลุ่มทักษะจาเปน็ เฉพาะความพิการหรือทกั ษะจาเปน็ อน่ื ๆ • ทกั ษะจาเป็นเฉพาะสาหรบั เด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ • ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการได้ยนิ • ทกั ษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเด็กทม่ี คี วามบกพร่องทางสติปัญญา • ทกั ษะจาเป็นเฉพาะสาหรบั เดก็ ที่มคี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกาย หรือการเคล่อื นไหวหรอื สุขภาพ • ทกั ษะจาเป็นเฉพาะสาหรบั เด็กทม่ี คี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ • ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรับเดก็ ที่มคี วามบกพร่องทางการพูดและภาษา

21 • ทกั ษะจาเป็นเฉพาะสาหรบั เด็กท่มี ีความบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ • ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรบั เดก็ ออทิสตกิ • ทักษะจาเป็นเฉพาะสาหรบั เดก็ พกิ ารซ้อน ทกั ษะทจ่ี าเป็นในชวี ิตสาหรับเด็กทีม่ คี วามตอ้ งการพิเศษ (Essential Life Skills for Special Needs Children) หลายคนอาจไมไ่ ดต้ ระหนักถึงวิธีการ หรือทักษะหลายๆอยา่ ง ที่ใช้เป็นประจาในชีวิตประจาวนั เพราะไม่ไดร้ ูส้ กึ เหน่อื ยหรือลาบากในการเรยี นรู้ วธิ กี ารทาสง่ิ ต่างๆในชีวิตประจาวนั ง่ายๆ เช่น การ รบั ประทานอาหาร การแตง่ กายดว้ ยตวั เองหรือการรกั ษาสขุ อนามัยสว่ นบุคคล แต่สาหรบั ผู้เรยี นที่มี ความตอ้ งการพิเศษ ทักษะชีวิตเหล่านี้ต้องได้รับการสอน แนะนาและพฒั นา เป็นความท้าทาย เน่อื งจากความบกพร่องทางปัญญาหรือพัฒนาการของผู้เรยี น ดงั นัน้ การศกึ ษาทักษะท่จี าเปน็ ในชวี ิต สาหรบั เด็กทีม่ ีความตอ้ งการพิเศษ ควรกาหนดเปน็ เป้าหมายในการเรยี นการสอนทกั ษะชีวติ ที่มีคณุ คา่ สาหรบั เดก็ ท่ีมีความต้องการพเิ ศษ เปน็ ลาดบั ต้นๆ ทกั ษะทจ่ี าเป็นในชีวติ สาหรับเด็กทม่ี ีความตอ้ งการพิเศษ เพอ่ื สนบั สนนุ การเรียนรู้ 1.อาหารกบั การดแู ลตนเองใหม้ ีความสมดลุ สอนเดก็ ท่มี ีความตอ้ งการพิเศษเกยี่ วกบั ความสาคญั ของอาหารทรี่ บั ประทาน, การออกกาลงั กาย, นิสยั การรบั ประทานอาหารทีด่ แี ละโภชนาการทีเ่ หมาะสม. มงุ่ เนน้ การพัฒนาสขุ นิสยั และอนามัย สว่ นบุคคล สนับสนนุ ใหป้ ฏิบัตเิ ป็นประจา พดู คยุ เกี่ยวกบั วิธกี ารดแู ลสขุ ภาพและการจดั การกบั ความ เจบ็ ปว่ ยของตนเอง เชน่ เมอื่ มีไข้, โรคภูมิแพ้, ไขห้ วดั ใหญ่ เปน็ ต้น 2.เงินและความสามารถทางคณติ ศาสตร์ สอนใหน้ ับเงนิ รู้จกั ค่าของเงนิ และอตั ราการแลกเปล่ยี น รู้จักการจา่ ยเงินและการรับเงนิ ทอน ใหถ้ ูกต้อง ฝกึ ให้รู้ว่าตนเองมีเงนิ เทา่ ไรและใชไ้ ดใ้ นเงินที่ตนเองมี มีวนิ ยั และความรบั ผิดชอบในการใช้

22 จ่ายเงนิ สอนให้เห็นถงึ ความสาคญั ของการออมเงนิ รูจ้ ักการทาบญั ชีคา่ ใช้จา่ ยทไี่ ด้ใชไ้ ปทั้งหมด รู้ วิธีการป้องกันและการตรวจสอบการเงินของตนเอง สอนวธิ ีการจดั การบัญชีธนาคาร การทาธรุ กรรม ทางการเงนิ 3.สอนทักษะในครัวเรือนและการเลือกซือ้ ของใชท้ ีจ่ าเปน็ ในชวี ิตประจาวนั ผทู้ ่ีมคี วามต้องการพเิ ศษควรไดร้ ับการฝกึ ฝนใหม้ ที ักษะการดารงชวี ติ ในทางปฏบิ ตั ิ เช่น เร่อื ง ความปลอดภัยในการดแู ลตนเองภายในบ้าน เรยี นรวู้ ิธีการดแู ลและซอ่ มแซมอุปกรณง์ ่ายๆไดด้ ้วย ตนเอง ในกรณที จี่ าเป็น การทาความสะอาดบ้าน การซอื้ ของใช้ในรา้ นขายของหรือใน หา้ งสรรพสินคา้ และฝึกใหเ้ รยี นรวู้ ิธกี ารเก็บอาหารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและตรวจสอบวนั หมดอายขุ อง เน้อื สัตว์อาหารกระปอ๋ งและของกนิ อ่ืน เปน็ ต้น 4.การอ่าน เนอื่ งจากอินเทอรเ์ นต็ ไดก้ ลายเป็นสว่ นทขี่ าดไม่ไดใ้ นชีวติ ของคนเราไปแล้ว ผทู้ ่มี ีความ ต้องการพเิ ศษควรฝึกใหร้ ู้วิธีการใชเ้ คร่อื งมือคน้ หา เพอ่ื การสืบค้นข้อมูล และฝึกใหอ้ า่ นแผนที่และปา้ ย, เพ่อื ให้พวกเขาสามารถเดินทางภายในชมุ ชนดว้ ยตัวเอง. นอกจากนี้ยังสามารถเรยี นรทู้ ีจ่ ะอา่ นและ เขา้ ใจเอกสารสาคัญ 5.กิจกรรมสันทนาการและดนตรี ผู้ที่มีความตอ้ งการพิเศษควรไดร้ ับการสนับสนุน ในเรือ่ งท่ีสนใจและพฒั นาพรสวรรคห์ รอื สงิ่ ท่ี ผูท้ มี่ คี วามต้องการพิเศษทาไดด้ ี หรอื แม้ในขณะทสี่ อนทักษะการทางานที่สาคัญให้ ผ้สู อนสามารถ แนะนาพวกเขาให้มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมทางสังคม ทงั้ การฟังเพลงหรือชมภาพยนตรก์ ็ถือวา่ เป็นการ เรยี นรู้ วธิ ีการเข้าถงึ สิง่ ท่ชี ่นื ชอบและความบันเทงิ สอนเกีย่ วกบั วิธีการวางแผนและสนกุ กับวันหยุด 6.การใชช้ ีวติ ในสงั คม ใหค้ วามรู้ สอนและอธบิ ายถึงสทิ ธิของประชาชนกฎหมายและวธิ กี ารปฏบิ ัตติ น วิธีการเปน็ พลเมอื งท่ีดี มีความรับผดิ ชอบและสามารถปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบต่างๆในสงั คมได้ รหู้ มายเลข โทรศพท์ เมอื่ มเี หตกุ ารณท์ ต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลอื กรณฉี กุ เฉิน สาหรบั ตวั เองหรือคนในครอบครวั

23 เพอ่ื ให้ได้รับความชว่ ยเหลอื ทางกฎหมาย สอนและส่งเสรมิ ให้พวกเขาสังเกตการพฒั นาทางการเมอื ง และใช้สทิ ธิออกเสยี งลงคะแนน 7.สัญลกั ษณเ์ ก่ียวกับความปลอดภยั สอนเกี่ยวกับสัญญาณความปลอดภัยและความหมายของป้ายแตล่ ะชนิด แนะนาใหต้ ระหนัก ถึงอนั ตรายจากไฟไหมแ้ ละความปลอดภัยอนื่ ๆ และวิธีการท่ีจะได้รบั การชว่ ยเหลือ เพ่ือความ ปลอดภัยในกรณที ่ีเกิดอบุ ตั เิ หตุ หรอื ในกรณที ่มี ีการอพยพในอาคาร ฝึกให้รจู้ ักสังเกตปา้ ยทางออก ฉกุ เฉนิ บันไดหนีไฟ เปน็ ตน้ 8. การตระหนกั รูแ้ ละความม่ันใจในตนเอง ผทู้ ม่ี คี วามต้องการพเิ ศษควรจะสามารถระบคุ วามตอ้ งการทางอารมณ์ทางกายภาพและจติ ใจ ของพวกเขา กระตุน้ ให้พวกเขารับทราบและรบั รูค้ าชื่นชมและการวจิ ารณ์ มงุ่ เน้นการพฒั นาความรู้สึก ของความนบั ถอื ตนเอง 9. ทักษะอาชพี ควรเตรียมพวกเขาเพ่ือหาโอกาสในการทางานและตระหนักถึงความตอ้ งการของตนเองต่องาน สอนเก่ยี วกับความจาเปน็ ในการเปน็ อสิ ระทางการเงนิ และคณุ คา่ ของการมีอาชพี สอนใหร้ ู้เกีย่ วกบั ความคาดหวงั ในสภาพแวดล้อมการทางานและวิธปี รับตัวใหเ้ ขา้ กบั ความต้องการในการทางาน สอน วธิ ีการเป็นมอื อาชีพในสถานท่ที างาน จาลองประสบการณ์การทางานในโรงเรยี น การฝึกอบรม วชิ าชพี และการฝกึ อบรมในอาชพี ขึ้นอยู่กับความสามารถเฉพาะของพวกเขา. วิธกี ารสอนทกั ษะชีวติ ใหก้ ับผเู้ รียนท่ีมีความต้องการพเิ ศษ การเร่ิมต้น การเรียนรทู้ กุ สิง่ และการจาไวเ้ ป็นความทรงจาตอ้ งใช้เวลา และตอ้ งการการฝกึ ฝน อย่างตอ่ เน่ืองสมา่ เสมอ หนว่ ยความจาเป็นกระบวนการท่ีซบั ซ้อนซึง่ ตอ้ งใช้การดาเนินการหลายอย่าง พรอ้ มกัน การปอ้ นข้อมลู ทางประสาทสัมผสั จากสิ่งแวดลอ้ มไม่วา่ จะทางสายตา เสียง สัมผสั รส หรอื

24 กล่ิน จะกระต้นุ ตวั รบั ความจาในสมอง สมองไดร้ ับข้อมลู ทางประสาทสัมผสั คัดกรองสิง่ ทเ่ี ห็น ก่อนทีจ่ ะถ่ายโอนส่วนท่เี หลอื ไปยงั หน่วยความจาระยะส้ัน จากนน้ั จะส่งไปยังหนว่ ยความจาระยะยาว กลยุทธ์เชงิ ปฏบิ ตั ิ สามประการทสี่ ามารถใชเ้ พือ่ สอน ได้แก:่ ▪ สอนหรือใช้คาส่ังด้วยวาจา - อธบิ ายรายละเอยี ดทลี ะขน้ั ตอนและใหบ้ ุตรหลานของคณุ ทางาน ▪ สอนโดยสาธิต – แสดงให้ดูวธิ ีการทางานให้เสร็จสิน้ พร้อมอธบิ ายส่งิ ทก่ี าลงั ทา จากนัน้ ให้ผเู้ รียน ทาแบบเดียวกัน ▪ สอนทีละขัน้ ตอน – ทาแตล่ ะขนั้ ตอนกบั ผู้เรยี นทีละลาดบั ข้นั จนกว่างานทง้ั หมดจะเสรจ็ สมบูรณ์ การทาซา้ เปน็ ส่งิ สาคญั ในการรกั ษาความทรงจาสาหรับผเู้ รยี นที่มีความตอ้ งการพเิ ศษ (https://raisingchildren.net.au/disability/play-learning/learning-behaviour/teaching- skills-to-children-with-disability) ตวั อยา่ ง เทคนิคช่วยสอนทักษะชวี ติ ให้กับผูเ้ รียนทมี่ ีความต้องการพเิ ศษ ขน้ั ตอนท่ี 1:วิเคราะห์งาน – ทกุ งานมีองคป์ ระกอบท่แี ตกต่างกัน หากตอ้ งการสอนผู้เรยี นทมี่ ี ความต้องการพิเศษใหล้ า้ งมอื ควรต้องเรม่ิ ตน้ ด้วยการสาธติ วธิ ีเปดิ กอ๊ กนา้ โดยอธิบายความแตกตา่ ง ระหวา่ งด้านท่รี ้อนและเยน็ ตอ่ ไป แสดงวิธีการวางมอื ใตน้ ้าไหล วธิ กี ารรบั และใช้สบู่ วธิ กี ารกดสบู่ วิธกี ารล้างสบู่จากมอื การปิดก๊อกน้า และสดุ ท้าย การทาให้แหง้ มอื ด้วยผ้าขนหนู ขั้นตอนที่ 2:สร้าง Visual Guide – การแสดงภาพขน้ั ตอนของงาน จะช่วยใหผ้ ู้เรียนท่มี ีความ ต้องการพเิ ศษจดจาวธิ ีการเข้าใจทกั ษะที่สอน เพมิ่ ขน้ึ รปู ภาพหรอื ภาพถา่ ยของขั้นตอนตา่ งๆ ทาใหด้ ู และสังเกต ส่งิ ทไ่ี ดเ้ รียนรู้ ขน้ั ตอนท่ี 3: Prompt and Fade – การกระตุ้น เตอื นดว้ ยวาจาหรอื ท่าทาง เป็นการชว่ ยใน การทางานใหเ้ สร็จ ผสู้ อนอาจตอ้ งทาเช่นนห้ี ลายครั้งท้ั งนขี้ ึน้ อย่กู ับผเู้ รยี น ประโยชน์ของการกระตุน้ เตือนทางกายและทางวาจาตามปกตเิ มอื่ สอนทกั ษะ จากนนั้ เมือ่ คณุ คอ่ ยๆ คลายความชว่ ยเหลอื ทาง กายภาพ คณุ สามารถใช้การเตอื นดว้ ยวาจาสาหรบั ขนั้ ตอนต่างๆ ไดจ้ นกวา่ จะไม่ต้องแสดงขอ้ ความ แจง้ อีกต่อไป

25 สมดุลแหง่ ชวี ติ หรือ Balanced Life ใน 7 ด้าน (สวุ ทิ ย์ เมษินทรยี ์ ,2562) 1. Learner = Teacher : สอนใหเ้ ดก็ เปน็ ครู และครกู ็ต้องเป็นผู้เรียนรจู้ ากเดก็ เช่นเดียวกัน 2. Leader = Follower : สอนใหเ้ ดก็ เป็นทั้งผู้นาและผู้ตาม 3. Determination = Adaptability : สอนใหเ้ ด็กให้มคี วามมงุ่ มนั่ และพร้อมปรับตัวใหเ้ ขา้ กบั สถานการณ์ 4. Competition = Collaboration : สอนใหเ้ ด็กรจู้ กั การแข่งขนั และรว่ มมือกนั 5. Passion = Compassion : สอนใหเ้ ด็กมีจุดมงุ่ หมายของตัวเอง และใส่ใจต่อผ้อู นื่ /สงั คมรอบตวั 6. Me-in We = We-in Me : สอนให้เดก็ เหน็ คณุ คา่ ตัวเอง และเหน็ คณุ ค่าผู้อน่ื เช่นกนั 7. Local Citizen = Global Citizen : สอนให้เด็กภมู ใิ จในประเทศตัวเอง และอยรู่ ่วมกบั คนท่ัวโลก ได้

26 12 Lessons in Chapter 17: Teaching Life Skills to Students with Special Needs

27 อ้างองิ ภาษาไทย นวลจนั ทร์ จฑุ าภักดกี ุล. (2560) การพฒั นาและหาค่าเกณฑ์มาตราฐานเคร่อื งมือประเมนิ การคิดเชิง บรหิ ารในเดก็ ปฐมวยั ” พมิ พค์ รง้ั ที่ 1. กรุงเทพมหานครฯ:ศนู ยว์ จิ ยั ประสาทวทิ ยาศาสตร์ สถาบนั ชีววิทยาศาสตรโ์ มเลกลุ , มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.229 หน้า. ปิยวรรณ วเิ ศษสวุ รรณภมู .ิ (2554). จิตวิทยาการสอนเด็กทม่ี ีความต้องการพเิ ศษ. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ภาษาอังกฤษ Alvarez, J. A. & Emory, E., Julie A.; Emory, Eugene (2006). \"Executive function and the frontal lobes: A meta-analytic review\". Neuropsychology Review. 16 (1): 17–42. doi:10.1007/s11065-006- 9002-x. PMID 16794878 Di Lieto MC, Castro E, Pecini C, Inguaggiato E, Cecchi F, Dario P, Cioni G และ Sgandurra G (2020). Improving Executive Functions at School in Children With Special Needs by Educational Robotics. Front. Psychol.10:2813. doi: 10.3389/fpsyg.2019.02813 เวป็ ไซด์ https://www.avazapp.com/blog/9-essential-life-skills-for-special-needs-children/ DEC 03, 2019 https://www.bangkokhospital.com/content/executive-functions-develop-childrens-concentration https://blog.mindvalley.com/what-are-interpersonal-skills/ https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fpsyg.2019.02813/full https://www.google.com/search https://www.indeed.com/career-advice/career-development/importance-of-interpersonal- communication https://www.manarom.com/blog/Why_are_Social_Skills_Important.html https://www.planforkids.com/kids_corner/ef-executive-functions-9-group http://psycho.bru.ac.th/2021/05/14/life-skill https://th.sainte-anastasie.org/articles/psicologa/los-6-tipos-de-habilidades-sociales-y-para-qu- sirven.html https://www.skillsyouneed.com/interpersonal-skills.html https://smarterlifebypsychology.com/2020/03/10/

28 https://www.thaihealth.or.th/Books/616 https://www.who.int/mental_health/media/en/30.pdf

29