Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารทรัพยากรบุคคลรัฐสภา ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม - กันยายน 2561)

วารสารทรัพยากรบุคคลรัฐสภา ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม - กันยายน 2561)

Published by flowerz_uk, 2019-12-04 00:43:00

Description: วารสารทรัพยากรบุคคลรัฐสภา ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม - กันยายน 2561)

Search

Read the Text Version

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ ในรชั กาลท่ี ๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานคําขวญั วันแมแ่ หง่ ชาติ ประจ�ำ ปี ๒๕๖๑ เมื่อเรารวมก�ำ ลงั กนั ทัง้ ชาติ ยอ่ มสามารถช่วยไทยไขปญั หา ผนึกแรงหลอมรวมร่วมปัญญา จักน�ำ พาชาติตนรอดพ้นภยั

ท่ปี รกึ ษาบรรณาธกิ าร HUMAN วารสาร นายจรี พงศ์ วัฒนะรตั น์ ทป่ี รกึ ษาดา้ นกฎหมาย ทรพั ยากรบุคคลรฐั สภา ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร นายศโิ รจน์ แพทยพ์ ันธุ์ RESOURCES JOURNAL ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั งานเลขานุการ ก.ร. นายกฤษณะ จ้วงสนิ ธุ์ ปที ี่ ๕ ฉบบั ที่ ๓ เดอื นกรกฎาคม -กนั ยายน ๒๕๖๑ ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นักงานบรหิ ารงานกลาง วารสาร HR เพือ่ ชาวสภา นายชูพงศ์ นิลสกลุ ผ้อู �ำ นวยการส�ำ นกั พฒั นาบคุ ลากร ทปี่ รึกษา สำ�นกั งานเลขาธกิ ารวุฒิสภา นายสรศกั ด์ิ เพยี รเวช เลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร นางปณั ณิตา สท้านไตรภพ นายนฑั ผาสขุ เลขาธิการวฒุ สิ ภา ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักบริหารงานกลาง วา่ ท่รี ้อยตรี วนิ ัย ชาครยิ านโุ ยค อดีตรองเลขาธกิ าร ก.พ. นายชาญวิทย์ ไกรฤกษ์ อดีตรองเลขาธกิ าร ก.พ. นายสมใบ มูลจันที ผ้อู �ำ นวยการส�ำ นกั พัฒนาทรพั ยากรบคุ คล คณะผู้จดั ท�ำ บรรณาธิการอาวโุ ส คณะอนุกรรมการจัดทำ�วารสารทรัพยากรบุคคล นางบญุ พา เผ่าส�ำ ราญ ของส่วนราชการสงั กดั รฐั สภา บรรณาธิการ วตั ถุประสงค์ นายภรี ภทั ร์ ดษิ ฐากรณ์ เพอ่ื เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ดา้ นการบริหารทรพั ยากรบคุ คล กองบรรณาธกิ าร เพื่อเสรมิ สรา้ งความรแู้ ละความเขา้ ใจแกบ่ คุ ลากรเก่ยี วกบั นายบรรหาร ก�ำ ลา กฎระเบยี บใหม่ ๆ ใหท้ ันต่อสถานการณ์ปจั จบุ นั นางสาววลั ลภา แกว้ วบิ ูลย์พันธุ์ เพ่ือเปน็ ช่องทางในการสือ่ สารความเคลอ่ื นไหว สบิ เอก อธิคมร์ ไกรชติ ดา้ นการบริหารทรัพยากรบุคคล นางสาวสิรธิ ร ลิมปพยอม เพอ่ื เป็นสื่อกลางให้บคุ ลากรเกดิ การสื่อสารร่วมกัน นายอำ�พล ไทรสังขเฉลาพร และสร้างทศั นคติที่ดี นายนวิ ฒั น์ งามวลิ ยั เพือ่ เสรมิ สร้างความเข้มแข็งด้านการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล นายพศิ ิษฐ รัตนวงศ์ ใหแ้ ก่ผูบ้ รหิ ารและบคุ ลากรทุกระดับ นางสาวอรญา อิศรพันธุ์ เพื่อสร้างเครือข่ายดา้ นการบริหารทรพั ยากรบคุ คลภายในและ นางเพทาย เรือนเรือง ภายนอกส่วนราชการสงั กัดรฐั สภา นายวินัย แยม้ วงษ์ นางสาวศิวะพร ทองพูน นายภรี ภทั ร์ ดษิ ฐากรณ์ นางสาวสดุ ธิดา มงคลรตั น์ นางสาวทศพาณี ทศิธร นายรตั นะ โพธิสวุ รรณ นางสาวรุ่งนภา สุวรรณไชย นางสาวกรกช จันทร์ธรี สกุล นายพสธร คงเถลิงศิริวัฒนา ติดต่อกองบรรณาธิการ ส�ำ นักงานเลขานุการ ก.ร. โทร. ๐ ๒๓๕๗ ๓๑๐๐ ตอ่ ๓๑๐๐, ๓๑๘๘ โทรสาร ๐ ๒๓๕๗ ๓๑๙๒ สำ�นกั บริหารงานกลาง โทร./โทรสาร ๐ ๒๓๕๗ ๓๑๐๐ ต่อ ๓๑๑๓ ส�ำ นกั พฒั นาบุคลากร โทร. ๐ ๒๓๕๗ ๓๑๐๐ ต่อ ๓๒๑๒ โทรสาร ๐ ๒๓๕๗ ๓๑๔๖

สารบญั ขา่ วเดน่ ประเดน็ HR ๔ : วนั สถาปนารัฐสภาครบรอบ ๘๖ ปี : ความกา้ วหนา้ การด�ำ เนินการด้านการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คลของส่วนราชการสงั กดั รฐั สภา ๑๒ โตะ๊ รบั แขก ๑๘ ๒๓ : บทสมั ภาษณพ์ เิ ศษ นายฉตั รชยั คณุ ปิติลักษณ์ ๒๗ รองผู้อ�ำ นวยการ (กลมุ่ งานเศรษฐกิจดจิ ิทัล) สำ�นักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล (depa) กฎ กติกาท่คี วรรู้ : ความผิดเกย่ี วกับคอมพวิ เตอรท์ ี่เกย่ี วข้องกับข้าราชการโดยท่วั ไป หากรสู้ ักนิด ความผดิ ไม่เกิด : ใชโ้ ซเชยี ลมีเดียไม่สร้างสรรค์ อาจผิดวินัย ? ขอ้ คดิ ข้อแนะ : เตรียมตัวอย่างไรเพอ่ื กา้ วสู่ Digital และ Smart Parliament นานาสาระ ๓๒ : เทคโนโลยดี จิ ิทัลกบั ความผกู พันในองคก์ ร ๓๕ ถามมา ตอบไป ประมวลภาพ HR ๓๘ ๑๒ ๓๔

บทบรรณาธิการ Editor’s talk สวสั ดผี อู้ า่ นทกุ ทา่ นครบั วารสาร HRJ ฉบบั น้ี ถอื เปน็ ฉบบั ทอ่ี ยใู่ นชว่ งเวลามหามงคลยง่ิ นน่ั คอื เปน็ วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ๖๖ พรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทร เทพยวรางกรู และวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ๘๖ พรรษา ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๖๑ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ในรชั กาลท่ี ๙ ในยคุ ปจั จบุ นั กระแสแหง่ การเปลย่ี นแปลงตา่ ง ๆ ของโลก นบั วนั ยง่ิ รวดเรว็ และมคี วามซบั ซอ้ นมากขนึ้ หากใครก็ตามที่อยู่กับที่ หรือเดินช้าไปกว่าการเปลี่ยนแปลง ก็อาจเปรียบได้กับการเดินถอยหลังเลยทีเดียว ซ่ึงประเทศไทยของเราก็ไดต้ ระหนกั และให้ความส�ำ คัญถงึ สง่ิ เหล่านี้ จะเห็นไดจ้ ากการที่ประเทศไทยไดก้ �ำ หนด นโยบายหรอื แผนต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง อาทิ นโยบายประเทศไทย ๔.๐ แผนยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ ๒๐ ปี แผน ดิจิทัลไทยแลนด์ หรือแม้แต่ระบบราชการไทย ๔.๐ การกำ�หนดนโยบายหรือแผนดังกล่าวได้คำ�นึงถึงสภาวะ การเปลย่ี นแปลงของสงั คมโลกกบั บรบิ ทของประเทศ เพอ่ื ใหป้ ระเทศไทยของเราสามารถพฒั นาใหม้ คี วามก้าวหนา้ และแข่งขันไดใ้ นระดบั สากล หากพดู ถงึ การพฒั นา อาจไมใ่ ชเ่ พยี งแคม่ ติ ทิ างดา้ นเทคโนโลยหี รอื ความเปน็ ดจิ ทิ ลั เทา่ นน้ั แตก่ ารพฒั นา ท่ีสมบูรณ์จะต้องพัฒนาในมิตติ ่าง ๆ อย่างรอบดา้ น โดยเฉพาะมิตขิ องทรพั ยากรบคุ คลท่จี ะตอ้ งเทา่ ทันความ ก้าวหน้าของยุคดิจิทัล ทั้งในส่วนของการพัฒนาทักษะ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี รวมไปถึงการใช้ เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งเนื้อหาของวารสาร HRJ ฉบับนี้ ก็ได้เสนอบทความที่มีความเกี่ยวข้องและ นา่ สนใจเปน็ อย่างมาก เริ่มตัง้ แต่ ในคอลัมน์ “โต๊ะรับแขก” ซ่ึงเราไดร้ ับเกียรตจิ ากนายฉตั รชัย คณุ ปิติลักษณ์ รองผ้อู �ำ นวยการสำ�นักงาน (กลมุ่ งานเศรษฐกิจดจิ ิทัล) สำ�นักงานสง่ เสรมิ เศรษฐกิจดิจทิ ัล (depa) ท่ีทา่ นจะมา ใหม้ มุ มองกบั เราเกย่ี วกบั “ยคุ ดจิ ทิ ลั กบั ระบบราชการ” รวมไปถงึ คอลมั น์ “กฎ กตกิ า ทค่ี วรร”ู้ และ “หากรสู้ กั นดิ ความผิดไมเ่ กิด” ไดเ้ สนอบทความท่นี า่ สนใจเป็นอย่างยงิ่ เพราะเป็นเรือ่ งใกลต้ ัวกับพวกเรา ได้แก่ บทความ “ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอรท์ เ่ี กย่ี วกบั ขา้ ราชการโดยทว่ั ไป” และ “ใชโ้ ซเชยี ลมเี ดยี ไมส่ รา้ งสรรค์ อาจผดิ วนิ ยั ” ไม่เพียงเท่านี้ ในช่วงเวลาที่องค์กรของเราจะมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นดิจิทัลเช่นเดียวกันนั้น บทความ “เตรยี มตวั อยา่ งไรเพอ่ื กา้ วสู่ Digital และ Smart Parliament” ในคอลมั น์ “ขอ้ คดิ ขอ้ แนะ” จะได้ น�ำ เสนอเนอ้ื หาเก่ยี วกับทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั ที่ข้าราชการควรจะต้องมี และในคอลัมน์ “นานาสาระ” ก็ไดน้ �ำ เสนอบทความ “เทคโนโลยดี จิ ิทัลกับการสรา้ งความผกู พนั ในองคก์ ร” ซ่งึ จะสะท้อนให้ เห็นประโยชน์ของเทคโนโลยีในการนำ�มาสร้างความผูกพันของบคุ ลากรได้ นอกเหนือจากบทความท่ผี มไดย้ กตวั อย่างไปแลว้ บทความในคอลัมน์ประจ�ำ อื่น ๆ ของวารสาร HRJ ฉบับนี้ ก็นา่ สนใจและอดั แน่นไปด้วยเนอ้ื หาสาระทม่ี ีคณุ ภาพเช่นเคย ซึ่งทมี งานวารสาร HRJ ทกุ คนหวงั เปน็ อย่างยิ่งว่า ความตั้งใจในการจัดทำ�วารสารทุกฉบับของพวกเรานั้น จะได้มอบประโยชน์ มอบความสุขให้กับ ผู้อา่ นทกุ ท่าน และในระยะน้ี อากาศเปลย่ี นแปลงค่อนข้างบอ่ ย เดยี๋ วร้อน เดย๋ี วฝน ทีมงานวารสาร HRJ ก็ขอให้ ผู้อา่ นของเราดูแลสขุ ภาพรา่ งกายใหแ้ ขง็ แรงกนั ด้วยนะครบั บรรณาธกิ าร ภรี ภทั ร์ ดิษฐากรณ์ Share นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ ส�ำ นกั นโยบายและแผน สำ�นักงานเลขาธิการวุฒิสภา

ข่าวเดน่ ประเด็น HR วนั สถาปนารัฐสภา ครบรอบ ๘๖ ปี สิบเอก อธคิ มร์ ไกรชิต ผ้บู งั คบั บัญชากล่มุ งานยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบคุ คล สำ�นักงานเลขานุการ ก.ร. สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร สำ�หรับข่าวเด่นประเด็น HR ฉบับนี้ ขอเริ่มด้วยข่าวอันเป็นมงคลของพวกเราชาวรัฐสภา โดยในวันที่ ๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๖๑ รัฐสภาของเราได้สถาปนามาครบรอบปีที่ ๘๖ แลว้ ในวนั ดังกล่าวเร่มิ จาก พิธบี วงสรวงพระวิญญาณอดตี พระมหากษตั ริย์ พธิ ีสงฆ์ พธิ ีมอบเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ และพธิ มี อบโลร่ างวลั ให้หน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติราชการดีเด่นตามตัวชี้วัดและหน่วยงานที่ให้การส่งเสริม สนับสนุนผลการ ปฏบิ ัตริ าชการดีเด่นของส่วนราชการสงั กัดรฐั สภา ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ในโอกาสนี้ ขอแสดงความยินดีกับเพื่อนข้าราชการรัฐสภาสามัญ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาทุกคนที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และขอ แสดงความยินดีกับหน่วยงานที่ได้รับโล่รางวัล   4 วารสารทรัพยากรบคุ คลรฐั สภา

ความก้าวหนา้ การดำ�เนินการ ด้านการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล ของส่วนราชการสังกดั รัฐสภา เริ่มกันที่ การดำ�เนินการตามยุทธศาสตร์ สังกัดรัฐสภาได้มีการดำ�เนินการและรายงานผลการ การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัด ดำ�เนินการตามแผนดังกล่าวมาเป็นลำ�ดับโดยมี รัฐสภา ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ประจ�ำ ปี แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ได้ดำ�เนินการแล้ว งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งได้มีการดำ�เนินการ เช่น การส่งเสริมให้ผบู้ รหิ ารทกุ ระดับเป็นต้นแบบ ตามแผนงาน/โครงการที่กำ�หนดไว้ มีความคืบหน้า ในการปฏบิ ตั งิ านตามหลกั คณุ ธรรม การสรา้ งผนู้ �ำ ทมี ตามลำ�ดับ เช่น คณะอนุกรรมการจัดทำ�แผนปฏิบัติ ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ โดยมีการตดิ ตามการน�ำ ปฏิญญา การตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของ ความดขี องกลมุ่ งานมาปฏบิ ตั ใิ หเ้ หน็ ผลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม สว่ นราชการสงั กดั รฐั สภา และก�ำ กบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ รวมท้ังมีการกำ�หนดปฏิญญาของแต่ละหน่วยงานเพื่อ ประเมนิ ผลผลติ ผลลพั ธก์ ารด�ำ เนนิ การตามยทุ ธศาสตรฯ์ นำ�มาสู่ปฏิญญาขององค์กรต่อไป การศึกษาดูงาน ได้ติดตามการดำ�เนินการตามยุทธศาสตร์การ หน่วยงานต้นแบบด้านการต่อต้านการทุจริต และ บรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลฯ ในรอบ ๙ เดอื น โดยมีผล หน่วยงานที่เป็นต้นแบบการบริหารจัดการตามหลัก การด�ำ เนนิ การคบื หนา้ ตามล�ำ ดบั รวมทง้ั ไดม้ ขี อ้ แนะน�ำ ธรรมาธิบาล เพื่อเป็นแนวทางให้ข้าราชการและ และเร่งรัดให้มีการดำ�เนินการเพื่อให้บรรลุตาม หนว่ ยงานภายในสว่ นราชการสงั กดั รฐั สภาไดน้ �ำ แนวทาง เป้าหมายทกี่ ำ�หนดไว้ มาปรบั ใชอ้ ยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป สว่ นราชการสงั กดั รฐั สภา ทง้ั น้ี คณะอนกุ รรมการจดั ท�ำ แผนปฏบิ ตั กิ าร ได้มีการรายงานผลการดำ�เนินการตามแผนดังกล่าว ตามยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของ ในรอบ ๙ เดือน โดยมีผลการดำ�เนินการคืบหน้า สว่ นราชการสงั กดั รฐั สภา และก�ำ กบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ ตามล�ำ ดบั เชน่ เดยี วกนั รวมทง้ั มขี อ้ แนะน�ำ ใหส้ ว่ นราชการ ประเมนิ ผลผลติ ผลลพั ธก์ ารด�ำ เนนิ การตามยทุ ธศาสตรฯ์ สังกัดรฐั สภามกี ารศกึ ษา วเิ คราะห์ ผลลพั ธข์ องการ ไดม้ ีการกำ�กับ ตดิ ตาม รวมทงั้ ให้ขอ้ แนะน�ำ และเร่งรดั ด�ำ เนนิ การตามแผนดังกล่าว โดยเฉพาะในกจิ กรรม/ ให้มีการดำ�เนินการให้บรรลตุ ามเปา้ หมายทกี่ �ำ หนดไว้ โครงการที่สำ�คัญ ส่งผลต่อบุคลากรในด้านส่งเสริม ส่วนอีกเร่ืองหนึ่งเป็นการดำ�เนินการตาม คุณธรรมและความโปร่งใสในการปฏิบัติงานอย่างไร แผนส่งเสริม สนับสนุนการดำ�เนินการด้านคุณธรรม บา้ ง และจะไดน้ �ำ มาเสนอในโอกาสต่อไป และความโปร่งใสของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ส่วนราชการ วารสารทรพั ยากรบุคคลรฐั สภา 5

โครงการอบรมสมั มนาของสว่ นราชการสงั กดั รฐั สภา ตอ่ กันด้วยการนำ�เสนอโครงการอบรม สัมมนา ที่สำ�คัญของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา เริ่มต้นกันที่ โครงการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจด้านกิจกรรมเพื่อสังคมและกิจกรรม เพอ่ื รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม (CSR) โครงการนด้ี �ำ เนนิ การ โดยคณะอนุกรรมการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม เพ่ือสังคมและกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ซึ่งได้ดำ�เนินการไปเมื่อ วนั จนั ทรท์ ่ี ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ในโอกาสน้ี ไดร้ บั เกียรติ จาก ดร.วรฒุ ิ ไชยศร ผู้เชยี่ วชาญฝา่ ยกจิ กรรมองค์กร เพ่อื สังคมกล่มุ บริษทั ทรู คอรป์ อเรชน่ั จ�ำ กัด (มหาชน) และนางเยาวลักษณ์ ตั้งบุญญะศิริ ผู้อำ�นวยการ สำ�นักเลขาธิการ สำ�นักงาน ก.พ.ร. มาให้ความรู้ แนวทางในการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมทั้งในภาคเอกชน และภาคราชการ ขา้ ราชการรฐั สภาและส่วนราชการ สังกัดรัฐสภาจะได้นำ�ความรู้ความเข้าใจไปปรับใช้ให้ เกิดประโยชนแ์ ก่สว่ นรวมในโอกาสตอ่ ไป 6 วารสารทรพั ยากรบุคคลรัฐสภา

ล�ำ ดบั ตอ่ มาเปน็ โครงการก�ำ หนดแนวทางและ มาตรการทางกฎหมาย ในการก�ำ กบั ตดิ ตามมาตรฐาน ทางจริยธรรมของสมาชิกรัฐสภาและเจ้าหน้าที่รัฐ ให้ปลอดจากการทุจริตพ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อตอบสนอง นโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมการบริหารราชการ แผน่ ดนิ ใหม้ ธี รรมาภบิ าลและการปอ้ งกนั ปราบปรามการ ทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ ซึ่งเป็นไปตาม แผนงานการบรู ณาการปอ้ งกนั ปราบปรามการทจุ รติ และ ประพฤตมิ ชิ อบปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยเปน็ การ ให้ความร้เู ก่ยี วกับบทบาทของข้าราชการรัฐสภาตาม มาตรฐานทางจริยธรรมจากกรรมการจริยธรรม ข้าราชการรัฐสภา รวมทั้งการรับฟังและระดมความ เห็นเก่ยี วกับมาตรฐานทางจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา ตามร่างพระราชบัญญัติจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ โดยจัดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวดั นนทบรุ ี วารสารทรัพยากรบุคคลรัฐสภา 7

นอกจากน้ี ยงั มอี กี หนง่ึ โครงการทส่ี �ำ คญั คอื โครงการเสรมิ สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั วนิ ยั และโทษทางวนิ ยั ตามกฎ ก.ร. วา่ ดว้ ยวนิ ยั ข้าราชการ รัฐสภาสามัญ พร้อมกรณีตัวอย่าง โดยจัดขึ้นใน วันองั คารท่ี ๒๑ และวันองั คารท่ี ๒๘ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ซงึ่ ไดร้ บั เกยี รติจากผทู้ รงคุณวุฒจิ าก อ.ก.ร. อทุ ธรณ์ และร้องทุกข์ มาให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ระเบยี บ วินัยขา้ ราชการ และกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในการ ปฏิบัติราชการ พร้อมยกตัวอย่างกรณีท่ีเกิดข้ึน รวมทงั้ ได้มกี ารแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ทั้งน้ี ความรู้ ความ เข้าใจต่าง ๆ เป็นกรณีศึกษาเพื่อป้องกันข้าราชการ รัฐสภากระท�ำ ผดิ วินัยตอ่ ตนเองและต่อหน้าท่รี าชการ 8 วารสารทรพั ยากรบคุ คลรัฐสภา

ผม้เูทุ กิตษยีาจณิตอาแยกรุ ่ขาา้ชรกาาชรกาปรีงแบลปะรละมกู จาณ้างป๒ร๕ะจ๖ำ๑� วนั จันทรท์ ่ี ๒๔ กันยายน ๒๕๖๑ ณ หอ้ งประชมุ รฐั สภา ช้นั ๒ อาคารรัฐสภา สำ�นกั งานเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร และวันพุธที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๑ ณ อาคารสุขประพฤติ สำ�นักงานเลขาธิการวุฒิสภา ได้จัดพิธีแสดงมุทิตาจิตแก่ข้าราชการรัฐสภาสามัญ และลูกจ้างประจำ� ผู้เกษียณอายุราชการประจำ�ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยมีศาสตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีแสดงมุทิตาจิต โดยมีบุคลากรของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาเข้าร่วมงานด้วย ความรัก ความผูกพัน และความอาลัยแก่บุคลากร ตามคำ�ขวัญที่ว่า “วันวารที่พากเพียร วัยเกษียณ ที่ภาคภูมิ” ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ มีข้าราชการและลูกจ้างประจำ�ของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ท่เี กษียณอายุราชการ จ�ำ นวน ๕๐ คน ตามรายช่อื ดงั น้ี ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารวุฒิสภา สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร ๑. นางละออ ภูธรใจ ๑. นางบุษกร อมั พรประภา ที่ปรกึ ษาด้านระบบงานนิติบัญญัติ รองเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร ๒. นางสาวมาลี พลิ าหอม ๒. นายอาคม วฒุ พิ งษ์ ทีป่ รกึ ษาด้านระบบงานนิติบญั ญัติ ผูบ้ ังคบั บญั ชากลุม่ งานผูน้ ำ�ฝา่ ยค้าน ๓. นางภาณุมาศ วราหะไพฑรู ย์ ในสภาผแู้ ทนราษฎร ที่ปรึกษาดา้ นกฎหมาย ๓. นางนวษร เทพหสั ดนิ ณ อยธุ ยา ๔. นางสาววันทนีย์ สายพมิ พิน ผ้บู ังคับบญั ชากล่มุ งานสารนิเทศ ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นกั ภาษาต่างประเทศ ส�ำ นักประชาสมั พนั ธ์ ๔. นางสาวขวัญเรือน สงั ข์ประไพ ๕. นายกติ ติ เจรญิ ยงค ์ ผู้บังคับบัญชากลุ่มงานเผยแพร่ประชาธิปไตยและ ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั กรรมาธกิ าร ๑ กจิ กรรมสภาผู้แทนราษฎร ๖. นายวนั นพ ศรีประภาภรณ์ ส�ำ นักประชาสมั พันธ์ ผู้บงั คบั บญั ชากลมุ่ งานคณะกรรมาธิการวิสามญั ๑ ๕. นางสาววราภรณ์ สขุ ประเสริฐ สำ�นกั กรรมาธกิ าร ๑ ผู้บังคับบัญชากลุ่มงานคณะกรรมาธิการการพัฒนา ๗. นายสุนทร อินทรอ์ ่ํา เศรษฐกิจ ส�ำ นกั กรรมาธกิ าร ๑ ผู้บงั คับบัญชากลมุ่ งานคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ๕ ๖. นางสาวผอ่ งศรี เอื้อบญุ กนก สำ�นักกรรมาธกิ าร ๓ ผู้บังคับบัญชากลุ่มงานคณะกรรมาธิการส่งเสริมราคา ๘. นางสาวอไุ รวรรณ ท่งั เพชร ผลิตผลเกษตรกรรม สำ�นักกรรมาธิการ ๑ นกั จัดการงานทว่ั ไปช�ำ นาญการพิเศษ ๗. นางสาวสโรชา โพธิวัฒน์ กลมุ่ ชว่ ยอ�ำ นวยการนกั บริหาร ผู้บังคบั บญั ชากลุ่มงานคณะกรรมาธิการการปกครอง สำ�นักกรรมาธิการ ๒ ๘. นายบ�ำ รงุ พนั ธ์อุ ุบล ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า ก ลุ่ ม ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม า ธิ ก า ร ก า ร สาธารณสขุ ส�ำ นกั กรรมาธิการ ๓ วารสารทรัพยากรบุคคลรฐั สภา 9

สำ�นักงานเลขาธิการวฒุ สิ ภา ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร ๙. นางชสิ า พรประเสริฐ ๙. นายสรุ สีห์ ลานนท์ ผู้บังคบั บัญชากลุม่ งานบริหารท่ัวไป วิทยากร ระดับเชยี่ วชาญ ส�ำ นกั วิชาการ สำ�นกั งานประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร ๑๐. นางสุทิพย์ นมุ่ นก ๑๐. นายศศพล สายะเสวี ผบู้ งั คบั บญั ชากลมุ่ งานบรหิ ารทั่วไป นักประชาสัมพนั ธ์ ระดับเช่ยี วชาญ ส�ำ นกั กรรมาธิการ ๒ สถานีวทิ ยุกระจายเสยี งและวิทยุโทรทัศนร์ ฐั สภา ๑๑. นางทพิ รัตน์ แก้วสขุ โข ๑๑. นายสเุ ทพ ลรี พงษ์กลุ ผบู้ ังคบั บญั ชากลมุ่ งานชวเลข ๓ นติ กิ ร ระดับเช่ียวชาญ ส�ำ นกั รายงานการประชุมและชวเลข สำ�นกั กฎหมาย ๑๒. นางภารดี ปัญญยาหพ์ ันธุ ์ ๑๒. นายเสรี กอวงษ์ เจา้ พนกั งานธรุ การอาวุโส ผบู้ ังคับบัญชากลุ่มงานบริการพสั ดุสงิ่ พมิ พ์ ส�ำ นักวชิ าการ และคลงั สง่ิ พิมพ์ สำ�นักการพมิ พ์ ๑๓. นางสาวปณุ ฑิกา สทุ ธิวไิ ล ๑๓. นางสาวสุดคะนงึ ติษยาธคิ ม เจา้ พนักงานธุรการอาวโุ ส วทิ ยากร ระดบั ช�ำ นาญการพิเศษ ส�ำ นกั รายงานการประชมุ และชวเลข สำ�นกั งานประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ๑๔. นางสาวสุชาดา ภมะราภา ๑๔. นางจุรีพร ไชยจรัส เจ้าพนักงานชวเลขอาวุโส ส�ำ นักรายงานการประชมุ นกั วิชาการชา่ งศิลป์ ระดับชำ�นาญการพิเศษ และชวเลข ส�ำ นกั พฒั นาบคุ ลากร ๑๕. นายกฤตพล คำ�ลา ๑๕. นางสาวพจนา ธริ ามนตร์ นกั ประชาสัมพันธช์ �ำ นาญการ สำ�นักประชาสัมพนั ธ์ วิทยากร ระดบั ชำ�นาญการพิเศษ ส�ำ นกั วิชาการ ๑๖. นางสาวสปุ ระวีณ์ นพศุทธิพัฒน์ ๑๖. นายนรชัย ชิดบุรี เจ้าพนกั งานการเงนิ และบญั ชชี �ำ นาญงาน นติ กิ ร ระดบั ช�ำ นาญการพเิ ศษ ส�ำ นกั การคลังและงบประมาณ ส�ำ นักการประชุม ๑๗. นายด�ำ รสั ออ่ นฉาย ๑๗. นางสาวนงลกั ษณ์ ศรศี ลิ ปะ คนสวน ระดับ บ ๒ นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ ระดับชำ�นาญการ ส�ำ นกั บริหารงานกลาง ส�ำ นักสารสนเทศ ๑๘. นายทองอนิ ทร์ หนั ชะนา ๑๘. นางธญั มน จ�ำ รสั ศรี พนักงานขับรถยนต์ ระดบั ส ๒ ผู้บงั คบั บัญชากล่มุ งานบรหิ ารทว่ั ไป ส�ำ นักการคลงั และงบประมาณ สำ�นักการพิมพ์ ๑๙. นางสติมา จันทรไ์ พจิตร ผู้บงั คบั บัญชากลมุ่ งานชวเลข ๔ ส�ำ นักรายงานการประชุมและชวเลข ๒๐. นางวัฒนี อดุ มภกั ดี เจ้าพนักงานชวเลข ระดับอาวโุ ส ส�ำ นักรายงานการประชมุ และชวเลข 10 วารสารทรพั ยากรบุคคลรัฐสภา

สำ�นกั งานเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร ๒๑. นางสาวกรรณกิ า สายสชุ น เจา้ พนกั งานธรุ การ ระดับอาวุโส ส�ำ นักการพมิ พ์ ๒๒. นายรังสรรค์ พุม่ โสภา เจ้าหนา้ ที่ตำ�รวจรัฐสภา ระดบั อาวโุ ส ส�ำ นกั รักษาความปลอดภัย ๒๓. สิบเอก วีระ ทับหลักสนิ ธ์ุ เจ้าหนา้ ทต่ี ำ�รวจรฐั สภา ระดบั อาวโุ ส ส�ำ นกั รักษาความปลอดภยั ๒๔. นางณชิ พรรณ สงวนทองค�ำ เจา้ พนักงานบันทึกข้อมลู ระดับอาวโุ ส ส�ำ นกั วิชาการ ๒๕. นางรัชนี สุวรรณพินจิ เจา้ พนักงานบนั ทึกขอ้ มูล ระดับอาวโุ ส ส�ำ นักการประชมุ ๒๖. นางวงเดอื น จนั ทรครธุ เจ้าพนกั งานธุรการ ระดับอาวุโส ส�ำ นักการประชมุ ๒๗. นายไชโย มนูธรรม เจ้าหนา้ ท่ีต�ำ รวจรฐั สภา ระดับช�ำ นาญงาน ส�ำ นกั รักษาความปลอดภยั ๒๘. นายชัยพงษ์ ผกู ประดษิ ฐ พนักงานขับรถโดยสาร ระดบั ส ๒ ส�ำ นกั การคลังและงบประมาณ ๒๙. นางสชุ าดา ปทุมเมือง พนกั งานสถานที่ ระดบั บ ๒ ส�ำ นกั รกั ษาความปลอดภยั ๓๐. นายแดง ผลอาหาร ผดู้ ูแลหมวดสถานที่ ระดบั บ ๒/หวั หน้า ส�ำ นักรกั ษาความปลอดภยั ๓๑. นายสมพศิ อารีกิจ พนกั งานพิมพอ์ อฟเซท ระดบั ส ๒ ส�ำ นักการพมิ พ์ ๓๒. นางเกตน์ชญาน์ ดินม่วง พนกั งานพมิ พ์ออฟเซท ระดบั ส ๒ ส�ำ นักการพิมพ์ วารสารทรัพยากรบุคคลรฐั สภา 11

โต๊ะรบั แขก นายวินยั แย้มวงษ์ นิติกรชำ�นาญการ ส�ำ นักบริหารงานกลาง สำ�นกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร ฉัตรชยั คุณปติ ิลักษณ์ รองผูอ้ ำ�นวยการ (กลุม่ งานเศรษฐกิจดิจิทัล) ส�ำ นักงานสง่ เสริมเศรษฐกิจดจิ ิทลั (depa) “ยุค Digital กบั ระบบราชการ” ยคุ Digital คอื อะไร และยคุ Digital ได้ ท่ีเป็น Digital ทำ�ใหก้ ิจกรรมหลาย ๆ อย่างสามารถ เปลยี่ นแปลงเร่อื งใดบ้างในสงั คมไทย กระจายไปได้เร็วทั้ง Speed และการทำ�ซํ้าได้เร็วขึ้น เพราะฉะน้ันตรงน้ีจะเปน็ บรบิ ทหลาย ๆ อยา่ งท่ีเปลย่ี น ยคุ Digital เป็นแค่ค�ำ ทีเ่ รยี กข้ึนมา แตผ่ มมอง ไปเยอะ ผมพูดในหลายเวทีก็จะพูดเรื่องการค้าขาย ว่า Digital ตอนนี้เป็นสื่อกลาง เมื่อก่อนเวลาที่เราจะ ถา้ เปน็ เศรษฐกิจดิจิทัลขึ้นมาแล้วจะมีการเปล่ียนแปลง ทำ�หนังสือหรือท�ำ อะไรหลาย ๆ อยา่ งออกมา เรามกี าร อยา่ งไร จะปรบั เปลย่ี นกระบวนทศั นอ์ ยา่ งไร สมยั กอ่ นเรา ส่งต่อความรู้หรือว่าส่งต่อข้อมูลซ่ึงต้องเอาไปผูกไว้กับ ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมนํ้า ไปไหนก็ทางนํ้า เพราะฉะนั้น เอกสาร ผูกไว้กับอะไรที่เป็น Physical ที่เป็นกายภาพ ก็จะทำ�การค้าขายทางนํ้า พอต่อมามีคนคิดเรื่องระบบ ซง่ึ กายภาพมขี อ้ จ�ำ กดั ของการทจ่ี ะสอ่ื สารออกไป จะตอ้ ง เครื่องยนต์ที่สามารถใช้กับทางบก ทางนํ้าก็มีความ มกี ารพมิ พเ์ อกสารเยอะ ๆ และใชก้ ระบวนการท�ำ ซํา้ เพอ่ื สำ�คัญน้อยลง การค้าขายทางบกมีความสำ�คัญเพิ่ม ทจ่ี ะกระจายออกไป แตต่ อนนต้ี วั สอ่ื กลางไดเ้ ปลย่ี นไปแลว้ มากขน้ึ เพราะฉะนน้ั การทเ่ี ราตดิ กระบวนทศั นแ์ บบเดมิ แทนท่จี ะใชก้ ระดาษก็ใช้ระบบไฟฟ้า ระบบอิเลก็ ตรอน บางทีทำ�ให้เราเสียโอกาสหลายอย่างไป อันนี้เป็น 12 วารสารทรัพยากรบุคคลรัฐสภา

Digital แบบงา่ ย ๆ วา่ ระบบ Digital ที่เกยี่ วขอ้ งกบั สงั คมตอนนี้ไดก้ นิ เข้าไปลึกในหลาย ๆ สว่ น รุน่ ผมหรือ รุ่นก่อนหน้าน้ันมีการประกวดเรียงความซึ่งเป็นการเอา ความคิดสอ่ื สารออกมาเปน็ ตัวหนงั สอื เวลาจะท�ำ บอรด์ นิทรรศการก็ต้องรวมกันท้ังห้องเรียนช่วยกันทำ�บอร์ด นิทรรศการขึ้นมา แต่เดี๋ยวนี้ไม่ใช่แล้วเพราะว่าสื่อ ของมนษุ ย์รบั ได้มากกวา่ การอา่ น การเขยี น โดยมีสื่อ ด้านการฟังการพดู เพิ่มขนึ้ มา และออกมาเปน็ สือ่ ผสม ไม่จำ�เป็นต้องอ่านหรือฟังอย่างเดียว เดี๋ยวนี้จะมี บรกิ ารในหนว่ ยงานภาครฐั กจ็ ะคนุ้ ชนิ ในความรวดเร็ว บทความหรอื อะไรออกมาทางส่อื ผสมเยอะมาก ท้ังใน แล้วก็จะคาดหวังในแบบเดียวกันจากท่ีเขาเคยได้จาก YouTube และใน Facebook และสื่อผสมพวกนี้ ภาคเอกชนมา ก็จะมีหน่วยงานภาครัฐบางหน่วยงาน ท�ำ คอ่ นขา้ งไว ท�ำ ใหส้ ามารถท�ำ Content ตา่ ง ๆ ออกมา ทส่ี ามารถปรบั ตวั ไดค้ อ่ นขา้ งเรว็ และมกี ารท�ำ บรกิ ารหลาย ๆ ได้ภายในเวลาไม่กี่นาที แต่ขณะเดียวกันในแง่ลบ อยา่ งทางออนไลนข์ น้ึ มา พอเปน็ Digital แลว้ ความคนุ้ ชนิ ของสื่อผสมเหล่านี้ คือเมื่อก่อนการทำ�หนังสือเรามี ในความรวดเร็วในการได้รับบริการก็จะเริ่มเยอะขึ้น บรรณาธกิ ารรับผิดชอบในการตรวจ ขอ้ มูลบางอย่าง ทำ�ให้เกิดชอ่ งวา่ งในความคาดหวงั เยอะขน้ึ ท่ีเขา้ มาเราสามารถเชอ่ื โลโก้ เชือ่ สังกดั หรือว่าเชอื่ ท่านคิดว่าหน่วยงานภาครัฐควรท่ีจะมีการปรับ กองบรรณาธกิ ารได้ แต่ว่าสื่อปัจจุบันเราไม่สามารถ ตัวอย่างไรบ้าง เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ทจ่ี ะเชอ่ื ใครได้ เราตอ้ งมภี มู คิ มุ้ กนั ทางดา้ นนค้ี อ่ นขา้ งเยอะ ในยคุ Digital การเปลย่ี นผา่ นของสงั คมไทยเข้าสู่ยคุ Digital ในค�ำ ถามแรกผมพดู วา่ Digital เปน็ สอ่ื กลาง ส่งผลอย่างไรบา้ งกับระบบการบรหิ ารราชการ เปน็ เหมือนยานพาหนะในการขนสง่ การท่ีเราอยบู่ น ของหน่วยงานภาครฐั สื่อหรือยานพาหนะที่เป็นกระดาษ เราขยับตัวเร็ว จริง ๆ ระบบบริหารราชการของภาครัฐ อยา่ งไรกแ็ ล้วแต่ ก็ไปเร็วมากท่ีสดุ เทา่ กับยานพาหนะ โดนท้าทายมาตั้งแต่สมัยการมีอินเทอร์เน็ต ตอนที่ยัง ที่เคลื่อนที่ไป สมมุติว่าถ้าภาครัฐบางหน่วยงาน ไมเ่ ปน็ ยคุ Digital แตพ่ อมาเป็นยุค Digital คอื ทกุ คน สามารถท่ีจะขยับข้ึนมาอยู่ในยานพาหนะท่ีเป็น สามารถรับข่าวสารได้เร็วมาก แต่ก่อนเวลาที่เราจะรับ Digital ซึ่งตวั Digital ความเรว็ สงู อยู่แลว้ การทีไ่ ม่ ข่าวสารเราต้องเอาคอมพิวเตอร์เข้าไปต่อโมเด็มแล้วก็ ตอ้ งท�ำ อะไรเลยแตว่ า่ เราองิ ไปกบั ความเรว็ ของ Digital โหลดข้อมลู ต่าง ๆ เขา้ มา ซ่งึ ตอนท่ผี มรบั ราชการผมเริม่ อย่แู ล้ว มันกจ็ ะชว่ ยได้ เพราะฉะนนั้ การเปลย่ี นผ่าน เห็นว่าประชาชนผู้รับบริการเร่ิมคุ้นชินกับการได้รับการ ตรงนี้ผมคิดว่าจะต้องทำ�โดยที่ใช้มุมมองแบบใหม่ ปฏิบัติจากภาคเอกชนซึ่งรวดเร็ว ไปธนาคารก็เริ่มมี หนว่ ยงานภาครัฐมกี ฎระเบยี บตา่ ง ๆ ทีส่ รา้ งมาเพ่อื E-Banking บรษิ ทั มอื ถอื กส็ ามารถดงึ ขอ้ มลู เบอร์โทรศพั ท์ ตรวจสอบเอกสารทเี่ ปน็ กระดาษ แต่ไมส่ ามารถตรวจ หรอื ขอ้ มลู การใชง้ านของเรา ท�ำ ใหไ้ ปใชบ้ รกิ ารสาขาไหน สอบทกุ อย่างทเี่ ป็น Digital ได้ เช่น ลายเซน็ ถกู ไหม ก็ได้ ผมเข้าใจว่าเมื่อประชาชนผู้รับบริการเข้ามาใช้ เอกสารช้ินนีอ้ า่ นเมือ่ ไร เป็นตน้ ซ่ึงตรงนจ้ี ะเป็นข้อ ท่ีทางกายภาพคอ่ นขา้ งเสยี เปรียบ แต่การใชเ้ อกสาร วารสารทรัพยากรบคุ คลรัฐสภา 13

...เพราะฉะนัน้ คนรุ่นใหม่ ๆ บางที ที่เป็นกระดาษในหน่วยงานภาครัฐก็มีข้อได้เปรียบ เขาก็จะมีความอึดอัดกับระบบและ เหมือนกัน คือ การ Backdate ได้ ทำ�ให้เรายังติดอยู่ บางทไี มเ่ ข้าใจวา่ ตรงนี้เกดิ ขึ้น กบั การใชก้ ระดาษ แตว่ า่ ถา้ หนว่ ยงานภาครฐั สามารถ เพราะอะไร เพราะวา่ เขามาในระบบ เปลี่ยนมาใชอ้ ะไรที่เปน็ Digital ได้โดยท่ไี มต่ อ้ งพึ่ง Floppy disk... กระดาษ ผมคดิ วา่ อยา่ งไรบรกิ ารทร่ี วดเรว็ กจ็ ะตามมา ยคุ Digital ท�ำ ใหร้ ะบบ HR ของหนว่ ยงานภาครฐั ตอ้ งมกี ารเปลย่ี นแปลงทส่ี �ำ คญั ในเรอ่ื งใดบา้ ง จรงิ ๆ แลว้ ไม่ใชอ่ ยูท่ ีก่ ระบวนการ อยูท่ ีค่ นรุน่ ใหมด่ ว้ ย เราลองนับดคู นทอ่ี ายุประมาณ ๒๕ ปี ในปนี ้ี กค็ อื คนทเ่ี กดิ ชว่ งปลาย ๆ ๑๙๙๐ คนเหลา่ นเ้ี กดิ มาสมยั ที่ Yahoo และ Google เกิดแล้ว พอเขาโตขึ้นสมัย ปี ๒๐๐๐ ตน้ ๆ ชว่ งนน้ั YouTube เกดิ แล้ว มคี วาม ต่างของรุ่นบางอย่างท่ีเขาก็คาดหวังกับระบบเหมือน กนั ซ่ึงทางระบบ HR เองมรี ะเบยี บบางอยา่ งท่สี ร้างขน้ึ มาดว้ ยเงอ่ื นไขของสภาพแวดล้อมในอดีต ไมส่ ามารถ นำ�มาปรบั ใชใ้ หท้ นั กับยุคปัจจุบนั เพราะฉะนัน้ คนรุ่น ใหม่ ๆ บางทเี ขาก็จะมีความอดึ อดั กบั ระบบและบางที ไม่เข้าใจว่าตรงนี้เกิดขึ้นเพราะอะไร เพราะว่าเขามา ในระบบ Floppy disk แต่ว่าเขาไม่ทนั ระบบเอกสาร ของ HR ทงั้ HRD กบั HRM และตวั Management คือการบริหารทรัพยากรบุคคล ในเร่ืองปว่ ย ลา ขาด สาย และการประเมนิ ซึง่ ปหี นงึ่ ต้องทำ� ๒ คร้งั เราใช้ เวลาประมาณ ๔ เดอื นในการประเมนิ บางทเี ราก็ไม่ ได้ก�ำ หนดว่าเวลาการประเมินรอบละ ๖ เดอื น เราจะ ท�ำ อะไรบา้ งเพราะว่ามีงานเขา้ มาเรอ่ื ย ๆ ซงึ่ เราไดต้ งั้ คำ�ถามกับกระบวนการ KPI ตัง้ แต่ ๒๐ ปที ี่แล้ววา่ ใช่ หรือเปล่า เพราะว่าจะเป็นตัวที่แสดงว่าคนนี้ทำ�งาน มีประสิทธิภาพมากน้อยแค่ไหนใช่หรือเปล่า เพราะ วา่ ตัว KPI จริง ๆ ทำ�มาตง้ั แตส่ มยั ทำ�งานในโรงงาน วา่ วันนพ้ี ับเสอื้ ไดก้ ตี่ วั ใสถ่ ุงไดก้ ่ตี ัวแลว้ พยายามท�ำ ให้ กระบวนการมีการพัฒนาหรือมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน ตอนหลัง ๆ เราก็จะมาดูเร่ือง OKR มากขน้ึ แตว่ ่า บางที OKR ก็จะโดนยดึ เหนยี่ วอยูก่ บั คนตรวจสอบ คือ 14 วารสารทรพั ยากรบคุ คลรัฐสภา

...บคุ ลากรจะต้องมีความรู้เรอ่ื ง น้ัน ๆ เพราะว่าจะ Promote อะไรก็จะ ตอ้ งรูเ้ รื่องนน้ั อาจจะไมใ่ ช่คนทเี่ กง่ ท่ีสุดในน้ันแต่น่าจะรู้ว่าสามารถเอา ไปท�ำ อะไรได้บา้ ง ... ถา้ เราจะเปลย่ี นระบบเปน็ อะไรกแ็ ลว้ แต่ ถา้ คนตรวจสอบ บอกวา่ ยงั ใชก้ ตกิ าเดมิ ตรงนก้ี ไ็ มส่ ามารถจะไปตอ่ ได้ อกี อนั หน่งึ คอื ตัว HRD ผมคดิ ว่าตรงน้นี า่ จะ มีความสำ�คัญมาก เพราะว่าภาครัฐเองก็มีบุคลากร มคี วามหลากหลายคอ่ นขา้ งเยอะ เพราะฉะนน้ั การท่ีจะ ข้าม Generation Gap หรอื วา่ Technology Gab จะตอ้ งมีการใหค้ วามร้แู ละพฒั นาคนกลุม่ นัน้ เพมิ่ เตมิ เช่น สำ�นักงานฯ ของผมที่ทำ�หน้าที่เกี่ยวกับการ เป็น Promoter ในการส่งเสริมเทคโนโลยีหลาย ๆ อย่าง บุคลากรจะต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เพราะว่า จะ Promot อะไรก็จะต้องรู้เรื่องนั้น อาจจะไม่ใช่คน ท่ีเก่งที่สุดในนั้นแต่น่าจะรู้ว่าสามารถเอาไปทำ�อะไร ไดบ้ ้าง ผมพยายามท่จี ะทำ�ให้ HRD เฉพาะเจาะจง LINE ไปให้ได้ แต่ปรากฏว่ากระบวนการของการ มากข้ึนกบั งานท่เี ราจะทำ� เมอ่ื ก่อนผมกย็ งั จะตอ้ งพึ่ง Approve หรือการสร้างเอกสารนี้ไม่ได้เข้าไปอยู่ใน ระบบ HR ใหญ่ วา่ ปีนส้ี ำ�นกั งานฯ จะมกี ารอบรม กระบวนการปกติ ถา้ เราสามารถทจ่ี ะดงึ กระบวนการนี้ เรื่องอะไร อย่างไรบ้าง สุดท้ายก็มีการอบรมเรื่อง หรอื สามารถอา้ งองิ ตรงนไี้ ด้ เชน่ ภายในสำ�นักงานฯ กระบวนการในการทำ� KPI กระบวนการขอ ผมมีการเสนอเอกสารให้ผมลงนามทาง LINE แล้วผม งบประมาณ กระบวนการตรวจสอบตา่ ง ๆ เป็นต้น จะลงนามผ่านหรือสั่งการอะไรก็แล้วแต่ ผมก็จะมี แต่ว่าเราสามารถปรับ HRD ได้อีก ก็คอื เราทำ� HRD ข้อความเฉพาะว่าลงนามผ่านหรือว่าสั่งการแล้ว ซึ่ง กลุม่ เลก็ ๆ ว่าคนกลุ่มนต้ี อ้ งการเรียนเรอ่ื งการขาย ภายในกันเองจะรู้ว่าผมทราบแล้ว หรือได้มีการ ทาง Digital เพม่ิ ขึ้น เรากจ็ ดั สัมมนาให้เขาเฉพาะ พิจารณาแล้ว ก็จะลดเรอ่ื งเอกสารไปไดเ้ ยอะ สุดทา้ ย พอกลับมาที่สำ�นักงานฯ ผมก็มาลงนามเอกสารโดย ลงวันทตี่ ามวนั ทีผ่ มส่งขอ้ ความกลับมาทาง LINE ซ่ึง ท่านคิดว่าข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของ ผมคิดว่าถ้าเราสามารถเอากระบวนการในการ รฐั ในยุค Digital ควรท่จี ะมกี ารเปลี่ยนแปลงหรือ ศึกษาท่เี ราใช้ในชีวิตประจำ�วันมาใช้ในการทำ�งานได้ อปยรบัา่ งปไรรบงุ ต้าวังเองดา้ นความรู้ ทักษะ หรอื สมรรถนะ น่าจะช่วยไดเ้ ยอะในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ียุค Digital ผมวา่ ความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะ ข้าราชการ และเจา้ หนา้ ทเ่ี ขามอี ยแู่ ลว้ ทกุ คนในนใ้ี ช้ LINE เปน็ หมด สามารถถ่ายรูปเอกสารหรือร่างเอกสาร แล้วส่งทาง วารสารทรัพยากรบคุ คลรฐั สภา 15

รัฐสภากำ�ลังพัฒนาเพื่อเข้าสู่ Digital Parliament ท่านคดิ ว่าส่ิงใดหรอื เรอ่ื งใดทส่ี �ำ คญั ทจ่ี ะทำ�ใหก้ ารด�ำ เนนิ การดังกลา่ วประสบผลส�ำ เร็จ ผมคิดว่ามันเป็นเรื่องท้าทายมากเพราะ ทุกครั้งที่เราไปประชุมหรือไป Defend งบประมาณ ที่รัฐสภาเราก็จะเห็นเอกสารเยอะมาก ผมเคยไปเป็น อนุกรรมาธิการซึ่งมีเอกสารที่ใช้ในการประชุมเยอะ มาก ถ้าจะทำ�ตรงนี้ใหม้ มี รรคมีผล ผมคิดวา่ เรากลับไป ทีส่ อ่ื กลางก่อนวา่ ถา้ เราต้งั ใจจะท�ำ ใหเ้ ป็น Digital แล้ว เครื่องมือที่จะเอามาให้คนส่งเอกสารชิ้นหนึ่งจาก คนหนึ่งไปอีกที่หนึ่ง เรามีแล้วหรือยัง แน่นอนไม่ใช่ ออกมาในรูปของ Line Facebook หรือ WhatsApp จะต้องเป็นระบบที่มีความปลอดภัยเพียงพอในการ ทจ่ี ะส่งเอกสารแผน่ ไหนก็ได้ไปทีป่ ลายทาง สมมตุ ิถา้ ท�ำ แบบนัน้ ไดแ้ ลว้ ผมคิดว่าเราใช้ระบบทพ่ี ัฒนาแบบ รวดเรว็ ทำ�แล้วลอง แล้วปรับไปเรื่อย ๆ จนเป็นวิธี ในการส่งเอกสารที่ดีที่สุด ผมคิดว่าอนาคตสามารถ นา่ จะใชเ้ วลานานพอสมควร แต่วา่ ถา้ เปน็ Digital แล้ว เปลย่ี นได้ แตว่ า่ ถา้ เปน็ Startup จะเรยี กพวก Pinpoint สามารถแก้เอกสารได้เลย ถา้ ทำ�ได้ผมคิดวา่ การพึ่งพา ออกมากอ่ นวา่ ขอ้ เสยี ของกระดาษมอี ะไรบา้ ง ขอ้ ไดเ้ ปรยี บ เอกสารที่เป็นกระดาษก็จะน้อยลง ทุกคนสามารถ มอี ะไรบ้าง เชน่ ผมมีอยู่ ๑ ไฟล์ หนา ๒ หนา้ Icon เตรียมเอกสารใน Word ไม่ต้อง Print ออกมาเป็น ขนาดน้ี หนา ๔๐๐ หน้า Icon ขนาดเดียวกนั เพราะ กระดาษ สร้างเอกสารออกมาเปน็ PDF สามารถเซน็ ฉะนั้นมุมมองของคนที่จะต้องอนุมัติหรือพิจารณา ลงนามต่อได้ เดี๋ยวนี้มีเทคโนโลยีที่สนับสนุนเยอะ เขาไม่รเู้ ลยวา่ เขาต้องพลิกอะไร ถา้ เราเห็นแฟม้ บนโต๊ะ ข้ึนมาเรอ่ื ย ๆ เมอื่ ๒-๓ ปีท่ีแล้วอาจจะไม่มีระบบที่ จะเป็นว่าเอกสารมากขนาดนี้ต้องใช้เวลาในการ ใช้ปากกาเซ็นลงนามได้ แต่ตอนนี้สามารถทำ�ได้แล้ว พิจารณา แต่ทางด้าน Digital จะไม่มีวา่ เอกสารส�ำ คญั เพียงแต่เรายอมที่จะลงทุนในระบบตรงนี้หรือเปล่า ไมส่ �ำ คญั จะใชเ้ วลาเยอะ หรอื ไมเ่ ยอะขนาดไหนในการ ผมเขา้ ใจว่าในรฐั สภามี iPad แจกใหส้ มาชกิ รฐั สภา พจิ ารณา เพราะบน Icon ไมไ่ ดบ้ อกอะไรเลย ถา้ มี อย่แู ลว้ แต่วา่ กอ่ นท่ีจะแจก iPad ถา้ ระบบสามารถ ระบบที่สามารถบอกว่าเอกสารน้ีมีความหนาเท่าไร รนั ได้อย่กู อ่ นแลว้ เมอ่ื สมาชิกรฐั สภา กรรมาธิการ วาระการประชุมน้ีหนามากน้อยเท่าไรก็จะช่วยเร่ืองน้ี อนุกรรมาธิการ ที่ปรึกษา หรือว่าบุคคลภายนอก ได้ ผมว่าระบบจัดการบรหิ ารงานประชมุ ของรัฐสภา เขา้ มาใชบ้ รกิ ารในรฐั สภา กจ็ ะสามารถบอกไดว้ า่ ระบบ ใชก้ ระดาษคอ่ นขา้ งเยอะ ขอ้ ดคี อื ถา้ มเี อกสารฉบบั หนึ่ง เอกสารของรฐั สภาจะตอ้ งใชร้ ะบบน้ี เปดิ Application ท่ีผดิ ผมวา่ ท่รี ฐั สภานา่ จะเป็น Professional ทาง แล้วสามารถรู้และเห็นเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงาน ดา้ นน้ี จะแกเ้ อกสารกันอย่างไร จะเอาเอกสารท่ีแก้ ของรัฐสภาไดท้ ั้งหมด ตัวนีก้ ็ชว่ ยในการเปน็ Digital แลว้ เข้าไปอยูใ่ นแฟม้ การประชมุ อย่างไรไดบ้ า้ ง ตรงนี้ Parliament ได้ 16 วารสารทรัพยากรบคุ คลรฐั สภา

ขอให้ท่านฝากข้อคิด ข้อแนะนำ� ถึงข้าราชการและเจ้าหน้าทขี่ องรัฐสภา เพือ่ ให้การ ปฏิบัติงานยุค Digital และการเข้าสู่ Digital Parliament ประสบผลสำ�เร็จ ...ผมเอาใจช่วยรัฐสภาคอ่ นข้าง ผมคิดวา่ เป็นจุดท่จี ะตอ้ งท�ำ เม่อื ๑๐ ปที ีแ่ ลว้ ถามว่าตกลงเราจะใชอ้ ิเลก็ ทรอนิกสก์ นั ไหม เราจะไป เยอะ เพราะวา่ มคี วามทา้ ทายหลาย ๆ Digital กนั หรอื เปล่า มาตอนนค้ี �ำ ถามคงเปลี่ยนไป อย่าง ทั้งเป็น Audience หรือว่า แล้วว่าจะเปน็ เมื่อไร การที่ถามว่าเม่อื ไรกจ็ ะประจวบ เหมาะกบั การทร่ี ฐั สภาจะมกี ารยา้ ยไปอยทู่ ใ่ี หม่ นา่ จะ ผ้ชู ม หรอื ลกู คา้ ของรัฐสภาเอง ... เป็นโอกาสทดี่ พี อสมควร จรงิ ๆ ผมเอาใจชว่ ยรฐั สภา ค่อนข้างเยอะเพราะวา่ มคี วามทา้ ทายหลาย ๆ อย่าง ทั้งเป็น Audience หรอื วา่ ผู้ชม หรือลูกคา้ ของรฐั สภา เอง เริม่ ต้งั แต่สมาชิกรัฐสภา ผเู้ ชี่ยวชาญประจำ�ตัว สมาชกิ ข้าราชการทุกคนของรัฐสภา จนกระทง่ั ลูกค้า รายอน่ื ๆ ทเ่ี ขา้ มา เพรารฐั สภาเองกต็ อ้ งมี Back Office อยู่เหมือนกัน ก็จะต้องไปซื้อเอกสาร จัดจ้างทำ� โน่นทำ�นี่ ถ้ามีการทำ�งานให้เป็น Digital ได้แล้ว ผมคดิ วา่ รฐั สภาสามารถทจ่ี ะเปน็ คนน�ำ ไดเ้ ปน็ คนแรก ๆ เพราะว่ารัฐสภาเองถึงแม้จะมีลูกค้าเยอะ แต่ว่า รัฐสภามีข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถเพียงพอ และอยูใ่ กล้กบั คนท่ีสามารถให้ Influence หรือว่า ให้อิทธพิ ลทางดา้ นการเปลย่ี นแปลงไดเ้ ยอะ ซึง่ การ ที่ทำ�งานร่วมกับคนท่ีมีอิทธิพลทางความคิดของ ประเทศเยอะ ๆ ผมคิดว่ารัฐสภาสามารถที่จะใช้ อทิ ธิพลทางความคิดต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นประโยชน์ กบั การปรบั เปล่ยี นรัฐสภาไปสู่ยุค Digital ไดเ้ ราจะ ตอ้ งสรา้ งวัฒนธรรมให้ได้ วารสารทรพั ยากรบุคคลรฐั สภา 17

กฎ กตกิ าทค่ี วรรู้ นายนวิ ฒั น์ งามวิลัย นิตกิ รช�ำ นาญการพเิ ศษ ส�ำ นกั งานเลขานกุ าร ก.ร. สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร ในการดำ�เนินชีวิตในยุคปัจจุบัน นอกจาก ปัจจัยสี่แล้วคนส่วนใหญ่มักจะต้องมีอุปกรณ์สื่อสาร ทสี่ ามารถพกพาไปไหนมาไหนได้สะดวก ไม่วา่ จะเป็น Smartphones หรือ Tablets หรอื Smartwatches หรืออะไรก็แล้วแต่ที่สามารถประมวลข้อมูลโดย อตั โนมัติและเชือ่ มต่อผ่านระบบ Internet โดยตง้ั แต่ ตนื่ เชา้ มากอ่ นที่จะทำ�กจิ กรรมตา่ ง ๆ หลายคนมักจะ หยิบอุปกรณ์ท่ีว่าน้ีข้ึนมาตรวจดูความเป็นไปในช่วง เวลาทต่ี วั เองหลบั และใชเ้ วลาอยกู่ บั มนั มากบา้ งนอ้ ยบา้ ง ความผดิ เกี่ยวกบั แล้วแต่ความสนใจและความเร่งรีบของแตล่ ะคน และ คอมพิวเตอร์ท่ีเก่ียวข้อง ตลอดระยะเวลาท้ังวันก็มักจะพกพาติดตัวอยู่ตลอด เวลาจนกล่าวได้ว่าเปน็ ปจั จยั ท่หี ้าส�ำ หรับใครหลายคน กับขา้ ราชการโดยท่วั ไปไปแล้ว แต่พวกเรารู้กันหรือไม่ว่ารูปแบบการติดต่อ ส่ือสารท่ีเปล่ียนแปลงไปรวดเร็วโดยการใช้งาน อุปกรณ์เหลา่ นผ้ี า่ นเครอื ข่าย Internet เชน่ นี้ ทำ�ให้ เรามีโอกาสที่จะกระทำ�ความผดิ ไดง้ ่ายและรวดเรว็ ข้นึ และปัจจุบันก็มีกฎ กติกาใหม่ ๆ ที่เข้ามามีบทบาท ค ร อ บ ค ลุ ม ไ ป ถึ ง ค ว า ม ผิ ด ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ร ะ บ บ กับวถิ ีชวี ติ ทเ่ี ปลี่ยนแปลงไปสู่ Digital life คอมพิวเตอร์อ่ืนที่กระจัดกระจายอยู่ตามกฎหมาย คอลัมน์ “กฎ กตกิ าท่คี วรรู”้ ในเล่มนีจ้ งึ ขอ เฉพาะในแต่ละเรื่อง ประกอบกับการจะพิจารณา กล่าวถึงหลักเกณฑ์ว่าด้วยการกระทำ�ความผิด ความผดิ ในทางอาญาไดน้ น้ั จะตอ้ งพจิ ารณาองค์ประกอบ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการ ความผิดภายนอกและองค์ประกอบภายในให้ กระทำ�ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ครบถ้วนด้วย ดังนั้น บทความนี้จึงไม่อาจนำ�ไปใช้ และมกี ารแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ในฉบบั ท่ี ๒ ตามพระราชบญั ญตั ิ อ้างอิงเพื่อพิจารณาองค์ประกอบในการกระทำ�ความ ว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ ผิดอาญาตามกฎหมายว่าด้วยการกระทำ�ความผิด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ แต่ด้วยข้อจ�ำ กดั เก่ยี วกับ เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ได้อย่างสมบูรณ์ ผู้เขียนจึงจะขอ ความรู้และหน้าที่ของผู้เขียนเองท่ีไม่อาจจะกล่าวถึง กล่าวเฉพาะท่ีน่าจะเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ หลักเกณฑ์ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวได้ครอบคลุม เทา่ นน้ั ทง้ั น้ี เพอ่ื ใหช้ าวรฐั สภาไดร้ บั ทราบไวเ้ ปน็ เบอ้ื งตน้ ทกุ ประเดน็ และไมอ่ าจกลา่ วครอบคลมุ ไปถงึ กฎหมาย และอย่างน้อยก็ถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้อยู่ ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งรองรับการทำ� ในกรอบความประพฤตใิ นฐานะเจ้าหนา้ ที่ของรฐั ธุรกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนไม่อาจกล่าว ความหมาย ก่อนท่ีจะทราบถึงฐานความผิดเกี่ยวกับ 18 วารสารทรพั ยากรบุคคลรัฐสภา

คอมพวิ เตอร์ เราจำ�เปน็ จะตอ้ งทราบถอ้ ยค�ำ พืน้ ฐาน ...การกระทำ�ความผดิ นีเ้ ปน็ การ และถอื เป็น Keyword ส�ำ คัญเพอ่ื ทีจ่ ะทำ�ความเข้าใจ ลักษณะของการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กระทำ�ในทางเทคนิคซึ่งอาจต้องใช้ ไดอ้ ย่างชดั เจน โดยผเู้ ขียนขออธบิ ายขอ้ ความส�ำ คญั อปุ กรณห์ รือวิธกี ารต่าง ๆ เพอื่ ให้ ๒ ข้อความ คอื “ระบบคอมพิวเตอร”์ และ “ขอ้ มลู รับทราบข้อมูลท่ีมีการส่งกันในระบบ คอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร”์ โดยสามารถอธบิ ายความหมายในภาษา ระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำ�ขึ้นเป็นการเฉพาะ ทั่วไปเพ่ือให้เข้าใจงา่ ยได้ ดังนี้ “ระบบคอมพวิ เตอร์” หมายถงึ อปุ กรณท์ ีไ่ ด้ โดยมิชอบในประการท่นี ่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อ่ืน มีการพัฒนาให้มีการทำ�งานประมวลผลข้อมูลโดย เช่น การรู้ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านบัญชีของผู้อื่นและนำ� อัตโนมัติและมีการเชื่อมต่อเข้าด้วยกันผ่านระบบ ไปเปิดเผยใหค้ นอื่นไดร้ บั รู้ ซง่ึ อาจจะท�ำ ให้คนอ่ืนเข้าสู่ เครอื ขา่ ยได้ เชน่ คอมพวิ เตอรท์ ม่ี กี ารเชอ่ื มตอ่ Internet บัญชนี นั้ ได้ หรือโทรศัพท์มือถือที่สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ผ่าน ๓. การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ระบบ Internet หรือที่เราเรียกว่า Smartphones ทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งการสง่ ในระบบคอมพวิ เตอร์ และข้อมูล เปน็ ต้น คอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะ “ขอ้ มลู คอมพวิ เตอร”์ หมายถงึ ขอ้ มลู ทกุ อยา่ ง หรอื ใหบ้ คุ คลทว่ั ไปใชป้ ระโยชน ์ โดยการกระท�ำ ความผิด ท่อี ยูใ่ นระบบคอมพวิ เตอร์ น้ีเป็นการกระทำ�ในทางเทคนิคซ่ึงอาจต้องใช้อุปกรณ์ ลักษณะความผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ หรอื วธิ กี ารต่าง ๆ เพอ่ื ให้รบั ทราบขอ้ มลู ที่มกี ารสง่ กัน ลักษณะและตัวอย่างการกระทำ�ความผิด ในระบบคอมพวิ เตอร์ เก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ ผู้เขียนอา้ งอิงหวั ขอ้ และตวั อยา่ ง ๔. การท�ำ ใหเ้ สยี หาย ท�ำ ลาย แกไ้ ขเปลี่ยนแปลง การกระทำ�ความผิดบางส่วนจากคู่มือการปฏิบัติและ เพิ่มเติมข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ เช่น เแกนี่ยววทกาับงกคาอรมปพ้อิวงเกตันอเรพ์๑่อื แหลละีกเเหล็น่ยี งวก่าานร่ากจระะเทกำยี่�ควขวาอ้ มงกผับิด การป้อนโปรแกรมที่มี Virus เข้าระบบคอมพิวเตอร์ ทำ�ให้ข้อมูลคอมพิวเตอร์เสียหาย การเข้าไปขโมย ข้าราชการหรือบุคคลทั่วไปในฐานะผู้ใช้งานทั่วไป รหัสผ่านบญั ชขี องผูอ้ ืน่ ที่อาจตกต้องอยู่ในฐานะผกู้ ระทำ�ความผิดได้ ดงั น้ี ๕. การท�ำ ใหก้ ารท�ำ งานของระบบคอมพวิ เตอร์ ๑. การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือข้อมูล ของผูอ้ น่ื ถกู ระงบั ชะลอ ขดั ขวาง หรอื รบกวนจนไม่ คอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง สามารถทำ�งานตามปกตไิ ด้ เช่น การใชโ้ ปรแกรมส่ง โดยเฉพาะและมาตรการนน้ั มิได้มีไว้ส�ำ หรับตน เช่น e-mail จำ�นวนมากไปยังคอมพิวเตอร์ผู้อื่นทำ�ให้ การเข้าไปใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือ Smartphones ไม่สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อยา่ งปกติ ที่มีการต้ังรหัสผ่านไว้เพื่อมิให้บุคคลอื่นสามารถเปิดใช้ ๖. การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือ e-mail งานได้ หรือการใช้ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านสำ�หรับ โดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่ง e-mail, Facebook, Twitter, Instagram, YouTube ข้อมูลดังกล่าวรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของ ของผอู้ นื่ เพ่ือเขา้ ใช้งานในบญั ชนี น้ั บุคคลอื่นโดยปกติสุข และถ้าการกระทำ�นั้นก่อให้ ๒. การเปิดเผยมาตรการป้องกันการเข้าถึง เกิดความเดือนร้อนรำ�คาญแก่ผู้รับโดยไม่เปิดโอกาส ๑ ส�ำ นกั ก�ำ กบั การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร, ค่มู อื การปฏบิ ตั แิ ละแนวทางการปอ้ งกันเพื่อหลกี เลีย่ งการกระทำ�ความ ผิดเก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร,์ (กรงุ เทพฯ : กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (MICT), ๒๕๕๑) น.๓๖ - ๔๖. วารสารทรัพยากรบุคคลรฐั สภา 19

ให้ผู้รับสามารถบอกเลิกได้หรือแจ้งปฏิเสธการตอบรับ ...การใส่ความบคุ คลใดในประการ ได้โดยง่ายก็รับโทษเพิ่มขึ้นอีก ซึ่งลักษณะของการ กระท�ำ ความผิดมกั จะเป็นการส่ง e-mail ในลักษณะ ทน่ี า่ จะทำ�ใหผ้ อู้ ืน่ นนั้ เสยี ช่ือเสียง ถกู โฆษณาให้แกผ่ รู้ บั ดูหมิ่น หรอื ถูกเกลยี ดชังผา่ นหน้า โดยการกระทำ�ความผดิ ในข้อ ๑ - ๖ ขา้ งตน้ Facebook หรอื Twitter ที่เป็นความ ถ้าเป็นการกระทำ�ต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบ ผิดฐานหมิ่นประมาท... คอมพิวเตอร์ท่ีเก่ียวกับการรักษาความม่ันคงปลอดภัย ของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคง หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะ ในทางเศรษฐกจิ ของประเทศ หรือโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ของประเทศ หรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนก อันเปน็ ประโยชนส์ าธารณะ หรือเป็นเหตใุ หเ้ กดิ ความ แกป่ ระชาชน เสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ (๓) น�ำ เขา้ ขอ้ มูลคอมพิวเตอรใ์ ด ๆ อันเปน็ หรือเป็นเหตุให้บุคคลอื่นถึงแก่ความตาย ก็จะทำ�ให้ ความผิดเก่ียวกับความม่ันคงแห่งราชอาณาจักร ผกู้ ระท�ำ ความผิดรบั โทษมากขน้ึ ตามแตก่ รณอี ีกดว้ ย หรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวล และการจำ�หน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำ�สั่ง กฎหมายอาญา ที่จัดท�ำ ขึ้นโดยเฉพาะเพอ่ื นำ�ไปใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือในการ (๔) นำ�เข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันมี กระท�ำ ความผดิ ในขอ้ ๑ - ๖ ขา้ งตน้ กเ็ ปน็ ความผดิ อกี ลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ัน ในฐานจัดจำ�หน่าย เผยแพร่ชุดคำ�สั่งที่ใช้ในการ ประชาชนท่ัวไปอาจเขา้ ถึงได้ กระทำ�ความผิด ซึ่งชุดคำ�สั่งดังกล่าวจะมีลักษณะ (๕) เผยแพรห่ รอื สง่ ตอ่ ซง่ึ ขอ้ มลู ตาม (๑) ถงึ (๔) เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ก่อให้เกิดความเสียหาย โดยลักษณะของการกระทำ�ความผิดในกรณีนี้มิใช่ หรอื อนั ตรายได้ เชน่ Trojan horse, bombs, rabbit, เป็นการกระทำ�ท่สี ่งผลกระทบต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง sniffer เปน็ ต้น โดยเฉพาะ แต่ผลของการกระทำ�นั้นจะต้องเป็น ๗. การนำ�เข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์สู่ระบบ ประการท่ีน่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ห รื อ เ ผ ย แ พ ร่ ห รื อ ส่ ง ต่ อ ข้ อ มู ล สาธารณะ หรือประเทศ ดังนั้น ความผิดดังกล่าว คอมพิวเตอร์อันไม่เหมาะสมสู่ระบบคอมพิวเตอร์ จงึ ไมร่ วมไปถงึ การหมน่ิ ประมาทตามประมวลกฎหมาย ไดแ้ ก่ อาญาแต่อย่างใด การใส่ความบุคคลใดในประการ (๑) น�ำ เข้าขอ้ มูลคอมพิวเตอรท์ บ่ี ิดเบือน ทนี่ า่ จะทำ�ใหผ้ อู้ ่ืนนน้ั เสยี ชอื่ เสยี ง ถูกดหู มิ่น หรือถูก หรอื ปลอม หรอื เปน็ เทจ็ โดยประการทน่ี า่ จะเกดิ ความ เกลยี ดชังผ่านหน้า Facebook หรือ Twitter ทเี่ ป็น เสยี หายแกป่ ระชาชน อนั มใิ ชค่ วามผดิ ฐานหมน่ิ ประมาท ความผิดฐานหม่ินประมาทตามประมวลกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญา อาญา เป็นกรณีนอกเหนือจากความผิดเกี่ยวกับ (๒) นำ�เข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ คอมพวิ เตอรท์ ต่ี อ้ งไปว่ากนั ในเร่อื งอนื่ ต่อไป โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อการรักษา ๘. การนำ�เข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏ ความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัย เป็นภาพของผู้อื่นสู่ระบบคอมพิวเตอร์ และภาพนั้น สาธารณะ ความมนั่ คงในทางเศรษฐกิจของประเทศ เปน็ ภาพทเ่ี กดิ จากการสรา้ งขน้ึ ตดั ตอ่ เตมิ หรอื ดดั แปลง 20 วารสารทรพั ยากรบุคคลรัฐสภา

ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด พฤติกรรมการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับ โดยประการทน่ี า่ จะท�ำ ใหผ้ อู้ น่ื นน้ั เสยี ชอ่ื เสยี ง ถกู ดูหมิ่น คอมพิวเตอร์ข้างตน้ หากน�ำ มาพจิ ารณาความผดิ ทาง ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย แต่ไม่รวมถึง วนิ ยั กอ็ าจจะเปน็ ความผดิ วนิ ยั ไดห้ ลายกรณแี ละอาจเปน็ กรณีนำ�เข้าโดยสุจริตอันเป็นการติชมด้วยความ การฝ่าฝืนข้อปฏิบัติทางจริยธรรมของข้าราชการได้ เป็นธรรมซง่ึ บุคคลหรอื ส่งิ ใดอันเปน็ วิสยั ของประชาชน โ ดย ผู้ เขียนเห็นว่าลักษณะความผิดเก่ียวกับ ย่อมกระทำ� โดยความผิดในกรณีนี้มีลักษณะทำ�นอง คอมพิวเตอร์ข้างต้นที่อาจเกี่ยวข้องกับข้าราชการ เดียวกับความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวล ในฐานะของผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไปที่ไม่มีความ กฎหมายอาญาและมีบทยกเว้นความผิดทำ�นอง รู้ทางเทคนิคช้ันสูงเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์มากนัก เดยี วกนั ดว้ ย แต่กรณีความผิดเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ คอื ลักษณะความผิดตามขอ้ ๗ และข้อ ๘ คอื การนำ� นี้ได้กล่าวถึงเฉพาะเพียงการทำ�ให้ปรากฏเป็นภาพ เข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์สู่ระบบคอมพิวเตอร์หรือ ของผู้อ่ืนเท่านั้นไม่ได้กำ�หนดไว้ในลักษณะอื่นด้วย เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์อันไม่เหมาะสม และกำ�หนดบทยกเว้นความผิดไว้เพียงประการเดียว สรู่ ะบบคอมพวิ เตอรแ์ ละการน�ำ เขา้ ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ เท่านั้น ดงั นนั้ หากมีกรณหี ม่ินประมาทนอกเหนอื จาก ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อ่นื สรู่ ะบบคอมพวิ เตอร์ การหมิ่นประมาทด้วยภาพแล้ว ก็ต้องไปพิจารณา โดยขอยกตัวอย่างให้เขา้ ใจงา่ ยขึ้น เชน่ ตามกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งอน่ื เชน่ ประมวลกฎหมายอาญา - การแชร์ข้อความหรือหนังสือราชการ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ เปน็ ตน้ ทไ่ี มเ่ ปน็ ความจรงิ หรอื มกี ารบดิ เบอื นจนท�ำ ใหป้ ระชาชน ลักษณะความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ท่ีเก่ียวข้อง เกิดความเข้าใจผิดและเกิดความเสียหายขึ้น หรือก่อ กับข้าราชการโดยทวั่ ไป ให้เกิดความตนื่ ตระหนกขึ้น ๑. พิจารณาจากพฤติกรรมการกระทำ�ผิด - เปดิ เผยขอ้ มลู ความลบั ของราชการทเ่ี กย่ี วกบั ความผิดเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ ความมั่นคงของประเทศซึ่งอาจเป็นความผิดวินัย ในกรณีที่ข้าราชการมีพฤติกรรมการกระทำ� ฐานไม่ปฏิบัติหน้าท่ีราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ความผดิ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์แล้ว นอกจากพนกั งาน กฎ ระเบียบของทางราชการ หรือแบบธรรมเนียม สอบสวน พนักงานอัยการ และศาลจะตอ้ งพจิ ารณา ของทางราชการ ฐานไมร่ กั ษาความลบั ของทางราชการ องค์ประกอบความผิดทางอาญาตามพระราชบัญญัติ หรอื ฐานกระท�ำ การใด ๆ อนั ไดช้ อ่ื วา่ เปน็ ผปู้ ระพฤติชั่ว ว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เปน็ ต้น พ.ศ. ๒๕๕๐ และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เตมิ แลว้ สว่ นราชการ นอกจากนน้ั เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั บางสว่ นก็อาศัย ต้นสังกัดของข้าราชการผู้กระทำ�ความผิดน้ันก็ต้อง ช่องทางการสื่อสารในสื่อสังคมออนไลน์เพื่อช่วย พิจารณาองค์ประกอบความผิดเกี่ยวกับวินัยของ ให้การปฏิบัติหน้าที่ของตนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ข้าราชการผนู้ ้นั อกี สว่ นหน่ึงดว้ ย โดยการดำ�เนินการ ทั้งในแง่การเผยแพร่ความรู้ การประชาสัมพันธ์ ทางวินัยและการดำ�เนินคดีอาญามีความมุ่งหมาย การทำ�ความเข้าใจต่อสาธารณะ ก็ต้องระมัดระวัง และกระบวนวธิ พี จิ ารณาทแ่ี ตกตา่ งกนั การด�ำ เนนิ การ การดำ�เนินการในสว่ นนีด้ ้วยเชน่ กัน ทางวินัยไม่จำ�ต้องสอดคล้องหรือถือตามผลการ สว่ นการกระท�ำ การใด ๆ ในทางสว่ นตวั ผา่ นสอ่ื ดำ�เนนิ คดีอาญาแต่อย่างใด ๒ สงั คมออนไลนใ์ นระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใชง้ าน Facebook, Twitter, Instagram, YouTube ๒ คำ�พพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ท่ี อ.๘๔๙/๒๕๕๕ และบนั ทึกสำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรอ่ื ง การแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงและเพกิ ถอนค�ำ ส่งั ลงโทษไล่ออกจากราชการ... เรือ่ งเสรจ็ ท่ี ๑๔๐๖/๒๕๕๙ วารสารทรพั ยากรบุคคลรฐั สภา 21

ซง่ึ ถอื เปน็ การใชง้ านโดยปกติ และถงึ แมว้ า่ สว่ นราชการ ๒. พจิ ารณาจากผลของการไดร้ บั โทษอาญา สังกัดรัฐสภาจะไม่มีข้อห้ามให้ข้าราชการใช้ส่ือสังคม แม้ว่าข้าราชการผู้นั้นจะได้รับโทษทางวินัยจากการ ออนไลน์หรือแสดงตนในสื่อสังคมออนไลน์ก็ตาม พิจารณาพฤติกรรมการกระทำ�ผิดอาญาไปแล้วก็ตาม แต่การใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ ก็อาจเกิด แต่ส่วนราชการก็สามารถนำ�ผลของการได้รับโทษ กรณีความผิดได้ เช่น การส่งรูปภาพลามกอนาจาร ทางอาญาในความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอรน์ น้ั มาพิจารณา ให้เพอ่ื น ๆ ผ่าน LINE กอ็ าจผดิ ฐานลว่ งละเมดิ หรือ เปน็ ความผดิ วนิ ยั อกี ฐานหนง่ึ ไดอ้ กี โดยอาจเปน็ ความผดิ คุกคามทางเพศได้ หรือการใชง้ านหรือแสดงตนวา่ เป็น ฐานไม่รักษาชื่อเสียงและเกียรติศักด์ิของตำ�แหน่ง ข้าราชการหรอื เจา้ หนา้ ทร่ี ฐั กเ็ ปน็ เรอ่ื งทต่ี อ้ งระมดั ระวงั หรือความผิดฐานได้รับโทษจำ�คุกโดยคำ�พิพากษา เช่นกัน หากการใช้งานหรอื แสดงตนน้นั ประกอบด้วย ถึงทสี่ ุดให้จำ�คกุ พฤติการณ์ที่อาจจะทำ�ให้เสื่อมเสียชื่อเสียงและ และนอกจากนั้นในระหว่างพิจารณาคดี เกียรติศักดิ์ของตำ�แหน่งหน้าที่ราชการแล้ว ก็อาจ อาญาเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ หากข้าราชการผูน้ ้นั ไมไ่ ด้ มีความผิดวินัยฐานไม่รักษาช่ือเสียงและเกียรติศักดิ์ รับการประกันตัวและถูกควบคุมหรือขังโดยเป็นผู้ถูก ของตำ�แหน่งได้ และหากมีการรับผลประโยชน์จาก จับในคดีอาญา หรือถูกจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาที่ยัง การแสดงตนดังกลา่ วด้วย ก็อาจจะมคี วามผิดวนิ ยั ฐาน ไม่ถึงที่สุดก็อาจถูกส่ังพักราชการหรือถูกส่ังให้ออก อาศัยตำ�แหน่งหน้าท่ีราชการหาประโยชน์โดยมิชอบ จากราชการไว้กอ่ นได้ หรอื ฐานหาประโยชนอ์ นั อาจท�ำ ใหเ้ สยี ความเทย่ี งธรรม บทสง่ ทา้ ย หรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ได้ และประการสำ�คัญอีก ถึงแม้ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์จะเป็น ประการหนึ่งคือการใช้สื่อสังคมออนไลน์ซึ่งถือเป็น ความผิดทางอาญาก็ตาม แต่ผลจากการกระทำ�ผิดนั้น กิจกรรมหนึ่งในเวลาราชการโดยไม่เก่ียวข้องกับ ก็อาจเป็นความผิดในทางวินัยหรือการฝ่าฝืนข้อปฏิบัติ การปฏิบัติหน้าที่ราชการ ก็อาจเป็นความผิดวินัย ทางจริยธรรมของข้าราชการได้โดยตรง แต่การดำ�รง ฐานไม่ตั้งใจปฏิบัติหน้าท่ีราชการด้วยความตั้งใจ ชีวิตปกติส่วนตัวหรือการปฏิบัติราชการจะต้อง อตุ สาหะ และฐานทอดท้ิงหนา้ ท่ีราชการได้ เกี่ยวข้องเช่ือมโยงกับระบบ เหล่านี้เป็นเพียงตัวอย่างของความผิดวินัย คอมพิวเตอร์อยู่ตลอดเวลา บางส่วนเท่านั้น โดยถึงแม้ว่าลักษณะการกระทำ� จงึ เปน็ เรอ่ื งทเ่ี ราตอ้ งตระหนัก บางกรณีจะไม่เป็นความผิดอาญาตามพระราชบัญญัติ ถึงกฎ กติกาส่วนนี้ไว้ด้วย วา่ ด้วยการกระทำ�ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. และเม่ือเราเข้าใจเทคโนโลยี ๒๕๕๐ และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ แตก่ ใ็ ชว่ า่ และเข้าใจ กฎกติกา ที่ การกระท�ำ น้ันจะไม่เป็นความผดิ ทางวินยั เนือ่ งจาก เกี่ยวข้องแล้ว ผู้เขียนเชื่อว่า การพจิ ารณาความผดิ ทางวนิ ัยนนั้ มุง่ ควบคมุ ก�ำ กบั เราจะใช้เทคโนโลยีเ พื่ อ พฤติกรรมของข้าราชการให้เหมาะสมตามระเบียบ อำ�นวยความสะดวกในชีวิต แบบแผนของทางราชการ ดงั นัน้ การกระทำ�ใดถงึ แม้ ประจ�ำ วนั และสง่ เสริมให้การ จะไมเ่ ปน็ ความผดิ เกีย่ วกับคอมพวิ เตอร์ หรอื ความผดิ ปฏิบัติหน้าท่ีราชการเป็นไป ทางอาญาอื่น หรือเปน็ การกระทำ�ผดิ ในทางแพง่ กต็ าม อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ แต่การกระทำ�นั้นก็อาจเป็นความผิดทางวินัยได้ โดยการกระท�ำ นน้ั จะกระท�ำ ผา่ นทางระบบคอมพิวเตอร์ หรือไมก่ ต็ าม 22 วารสารทรพั ยากรบคุ คลรัฐสภา

หากรูส้ ักนิด ความผิดไมเ่ กิด นายพสธร คงเถลงิ ศิริวัฒนา นติ ิกรปฏบิ ตั กิ าร ส�ำ นักบริหารงานกลาง สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร ใช้โซเชยี ลมีเดยี ไมส่ ร้างสรรค์ อาจผิดวนิ ยั ? Bonjour! คอลมั นห์ ากรสู้ กั นดิ ความผิดไม่เกิด สำ�หรบั ข้าราชการทุกคน แต่เน่ืองจากยังมกี รณศี ึกษา ฉบับนี้ ขอเริ่มต้นทักทายเพื่อน ๆ ด้วยภาษาฝรั่งเศส ที่เกดิ ข้ึนในประเทศไทยคอ่ นข้างน้อย ผเู้ ขียนจึงจะขอ เน่ืองจากผู้เขียนจะพาทุกท่านเปล่ียนบรรยากาศไป ยกตัวอย่างกรณีที่เกิดขึ้นในประเทศฝรั่งเศส ว่ากรณี เยือนเมืองนํ้าหอมเพ่ือศึกษาตัวอย่างการดำ�เนินการ ใดบ้างเป็นความผิดวินัย และมีกรณีใดบ้างที่ไม่เป็น ทางวินัยของเจ้าหน้าที่ของรัฐในต่างประเทศ โดย ความผิดวินัย ซึ่งก่อนที่จะกล่าวถึงกรณีตัวอย่างนั้น ผ้เู ขียนจะหยิบยกตัวอย่างการกระทำ�ผิดวินัยท่ีเกย่ี วขอ้ ง ผู้เขียนจะนำ�เสนอในเบื้องต้นว่าโซเชียลมีเดียเป็นพื้นที่ กับการใช้ “สื่อสังคมออนไลน์” หรือ “โซเชียลมีเดีย” สาธารณะหรอื พน้ื ท่สี ่วนบุคคล ซง่ึ เป็นประเดน็ ที่จะส่ง ที่เกิดขึ้นในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งน่าจะเป็นประโยชน์ ผลต่อการพิจารณาว่าการกระทำ�ใดเป็นความผิดวินัย สำ�หรับเพ่อื น ๆ ในการปรบั ตวั เขา้ ส่กู ารเปน็ ขา้ ราชการ บา้ ง ได้ ในยุค Thailand 4.0 โซเชยี ลมเี ดยี เป็นเป็นพ้นื ท่ีสว่ นบคุ คล ? บทนำ� การแสดงออกต่าง ๆ บนโซเชียลมีเดีย ปจั จบุ ัน “โซเชียลมเี ดยี ” อาทิ Facebook ไม่ว่าจะเป็นการเขียนบล็อก (Blog) การใช้สังคม Line Twitter Youtube Instagram Snapchat ได้ ออนไลน์ (Social Network) ตา่ ง ๆ เชน่ Facebook เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำ�วันของผู้คน Twitter เปน็ ต้น น้นั ขา้ ราชการหลายคนมักจะเข้าใจ ทว่ั โลก โดยขอ้ มลู จาก “Hootsuite” ผใู้ หบ้ รกิ ารระบบ ว่าเป็นการแสดงออกในพนื้ ที่ส่วนบคุ คล จึงมีเสรีภาพ จดั การโซเชยี ลมเี ดยี พบวา่ ในเดอื นมกราคม ๒๕๖๑ มี ในการแสดงออกได้อย่างอิสระ ซ่ึงในประเทศฝร่ังเศส ผใู้ ช้งานโซเชียลมีเดยี ท่วั โลกกว่า ๓.๒ พันลา้ นคน โดย ได้มีสมาชิกวุฒิสภาตั้งกระทู้ถามผู้ช่วยรัฐมนตรี ๕ใน๑ปลร้าะนเทคศนไเทลยยทมีเีผดู้ใียชว้ง๑าซนึ่งโใซนเจชำ�ียนลวมนีเนดี้กีย็นจ่าำ�จนะวรนวกมวถ่าึง ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับระบบราชการ ว่า “การเขียน บล็อกของข้าราชการซ่ึงมีลักษณะเป็นหนังสือพิมพ์ เพื่อน ๆ ข้าราชการรัฐสภาจำ�นวนไม่น้อย ดังนัน้ การ ส่วนบุคคลประเภทหน่ึงท่ีทุกคนสามารถเข้าถึงได้ ใชโ้ ซเชยี ลมเี ดยี ใหเ้ หมาะสม จงึ เปน็ สง่ิ ทจ่ี �ำ เปน็ อยา่ งย่งิ ข้าราชการผู้นั้นจะมีหน้าที่ในการงดเว้นจากการแสดง ๑WP. สถติ ผิ ู้ใชด้ ิจทิ ัลท่วั โลก “ไทย” เสพติดเน็ตมากสุดในโลก-“กรงุ เทพ” เมอื งผใู้ ช้ Facebook สูงสุด. สบื ค้น ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ จาก https://www.brandbuffet. in.th/๒๐๑๘/๐๒/global-and-thailand-digital-report-๒๐๑๘/ วารสารทรพั ยากรบุคคลรฐั สภา 23

“ข้าราชการควรใช้ความระมัดระวังในการ “ แสดงความเห็นทางโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็นการแสดงความเห็นในทาง สว่ นตวั หรอื ในต�ำ แหนง่ หน้าทอ่ี น่ื ความเห็นซึ่งอาจกระทบต่อการทำ�งานหรือระบบ ความเห็นทางโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็นการแสดง ราชการหรือไม่” โดยผู้ช่วยรัฐมนตรีฯ ได้ให้คำ�ตอบ ความเห็นในทางส่วนตัว หรือในตำ�แหน่งหน้าที่อื่น สรุปได้ว่า “หน้าที่ของข้าราชการในการงดเว้นจาก เช่น สมาชกิ สมาคม เปน็ ตน้ ขา้ ราชการผู้นน้ั จะตอ้ ง การแสดงความคิดเห็นซ่ึงอาจกระทบต่อการทำ�งาน ไม่แสดงถึงความเป็นข้าราชการของตนประกอบการ หรอื ระบบราชการ ไมใ่ ชห่ นา้ ทที่ ่ีกำ�หนดไว้ในกฎหมาย แสดงความเหน็ ลายลักษณ์อกั ษร แตเ่ ป็นหลักกฎหมายทเ่ี กดิ ขึน้ จาก คำ�พิพากษาของศาล ซึ่งมีหลักเกณฑ์ในการวินิจฉัย ตัวอย่างการใช้โซเชียลมีเดียที่เป็นการกระทำ�ผิด หลายประการ อาทิ หน้าที่ที่ข้าราชการผู้นั้นได้รับ วนิ ยั ในประเทศฝรัง่ เศส มอบหมาย ระดับตำ�แหน่งของข้าราชการผู้นั้น โดย - ลูกจ้างของสำ�นักงานตำ�รวจเทศบาล ข้าราชการจะต้องไม่ฝ่าฝืนข้อห้ามดังกล่าวท้ังในและ ต�ำ แหน่งผชู้ ว่ ยเจา้ หน้าท่ีเทคนคิ โพสต์รปู ภาพเกยี่ วกับ นอกเวลาราชการ สำ�หรับกรณีการเขียนบล็อกนั้น การทำ�งานโดยแสดงตราสัญลักษณ์เจ้าหน้าที่ตำ�รวจ เป็นการกระทำ�ในพ้ืนที่สาธารณะอย่างไม่ต้องสงสัย รวมทง้ั โพสตร์ ปู ภาพและขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั จดุ ตดิ ตง้ั อย่างไรก็ดี จะต้องพิจารณาถึงเนื้อหาของบล็อก กล้องวงจรปิดและกล้องตรวจจับการกระทำ�ผิดกฎ ดังกลา่ วดว้ ย โดยเปน็ หน้าที่ของผ้บู งั คับบญั ชาทจี่ ะ จราจรของเทศบาล ลงบนบล็อกส่วนตัวของตน และ พหริจอื าไรมณ่”า๒ว่าจะดำ�เนินการทางวินัยกับข้าราชการผู้น้ัน สงั คมออนไลนอ์ กี จ�ำ นวน ๓ ระบบ การกระท�ำ ดงั กลา่ ว เป็นความผิดวินัยฐานเปิดเผยข้อมูลท่ีได้จากการ จากค�ำ ตอบของผชู้ ว่ ยรฐั มนตรดี งั กลา่ วขา้ งตน้ ปฏิบตั ิราชการ ๓ แมจ้ ะเปน็ การตอบในสว่ นของการเขยี นบลอ็ ก แตก่ อ็ าจ - เจ้าหน้าที่เทศบาลโพสต์คลิปวิดีโอ อนมุ านไดว้ า่ การแสดงออกของขา้ ราชการบนโซเชยี ลมีเดีย เหตุการณ์ไฟไหม้ในเมือง พร้อมวิพากษ์วิจารณ์การ หากโซเชียลมีเดียน้ันสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีโดย ท�ำ งานของเจา้ หน้าทตี่ �ำ รวจเทศบาล เป็นความผิดฐาน สาธารณชน ก็ย่อมเป็นการแสดงออกต่อสาธารณะ ไกมา่งรดทเำ�วง้นาจนาหกรกือารระแบสบดรงาคชวกาามรค๔ิดเห็นซ่ึงอาจกระทบต่อ มิใช่การแสดงออกในพื้นที่ส่วนบุคคลแต่อย่างใด ดงั น้นั ขา้ ราชการควรใชค้ วามระมดั ระวังในการแสดง - ครโู รงเรยี นมธั ยมศกึ ษาโพสต์ข้อความ ๒ รายงานการประชุมวฒุ ิสภา เลขท่ี ๑๗๐๙ ลงวันท่ี ๑๗ เมษายน ๒๕๕๑ หน้า ๗๗๖. สบื ค้น ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ จาก http://www.senat.fr/ b๔๓aคคsiำำ��leวว/นิินvจจิิisฉฉioยยัั .dสศoภา?ลาidปแ=หกqค่งSรรEฐัอQงล0เงม7วือ0ัน8งทต01่ีลู ๒7ง0๐ล9งมวีนันาทคี่ม๔ ๒ก๕มุ ๖ภ๐าพเันลธข์ท๒ ่ี ๕๓๕๙๔๓๓เล๒ข๐ที่ ๑๐๐๑๒๘๓ 24 วารสารทรัพยากรบุคคลรฐั สภา

ในบล็อกส่วนตัวต่อว่าระบบการบริหารงานและ . . . โ ด ย ห้ า ม บุ ค ล า ก ร ใ ช้ ผู้บังคับบัญชาของตนด้วยถ้อยคำ�รุนแรงหลายครั้ง คอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือ ศาลพิพากษาว่าการส่ังย้ายข้าราชการคนดังกล่าวไป สื่อสารของทางราชการไปใช้ใน ปกฎฏหิบมัตาิงยาแนลท้ว่ีอ๕่ืนเป็นการลงโทษทางวินัยที่ชอบด้วย ทางส่วนตวั ... - เจ้าหน้าที่ของรัฐโพสต์ข้อความลงใน Facebook ส่วนตวั ซึง่ ตัง้ คา่ การเขา้ ถงึ โพสต์ดงั กล่าว เปน็ สาธารณะ วพิ ากษว์ จิ ารณผ์ ู้บังคบั บญั ชา สมาชกิ ลงโทษวา่ กล่าวตักเตือนเป็นหนังสอื ศาลพิพากษาให้ สภาทอ้ งถิ่น และการบริหารงานของสว่ นราชการ โดย เพกิ ถอนการลงโทษดังกล่าว โดยใหเ้ หตผุ ลวา่ เม่อื ใช้ถ้อยคำ�หยาบคายและก้าวร้าวเป็นจำ�นวนหลายคร้ัง คำ�นึงถึงระดับตำ�แหน่งของข้าราชการรายดังกล่าว จนถูกลงโทษพกั งาน ๒ ปี แต่ใหร้ อการลงโทษไว้ ๖ การกระทำ�ดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบต่อการให้บริการ เดด้วือยนกฎหศามลาพยแิพลา้วก๖ษาวา่ เปน็ การลงโทษทางวินยั ทช่ี อบ การบรหิ ารราชการในภาพรวม และแนวนโยบายของ เมืองแต่อย่างใด จึงถือไม่ได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนหน้าที่ - เจา้ หนา้ ท่รี าชทัณฑ์เปดิ บญั ชี Facebook ในการงดเวน้ จากการแสดงความคดิ เหน็ ซง่ึ อาจกระทบ โดยใช้ชื่อซึ่งคล้ายกับชื่อของผู้บังคับบัญชาเรือนจำ�ท่ี ตอ่ การท�ำ งานหรือระบบราชการ รวมทง้ั ไมฝ่ ่าฝืนหลัก ตนสงั กดั แลว้ ใช้ Facebook น้นั เผยแพรข่ อ้ ความซ่ึงมี ความเปน็ กลางทางการเมอื งของขา้ ราชการแตอ่ ยา่ งใด๙ เนอ้ื หาเหยยี ดเช้ือชาตแิ กเ่ พ่ือนร่วมงานของตน การสั่ง ทใหา้ขงว้านิ รัยาทชีช่กอาบรผดู้นว้ ยั้นกพฎ้นหจมาากยรแาลช้ว๗การเป็นการลงโทษ การใชโ้ ซเชยี ลมีเดียของขา้ ราชการในประเทศไทย ส�ำ หรบั ประเทศไทยนน้ั สว่ นราชการตา่ ง ๆ เร่ิมให้ความสำ�คัญกับการกำ�หนดหลักเกณฑ์การ ตัวอย่างการใช้โซเชียลมีเดียที่ไม่เป็นการกระทำ�ผิด ใช้โซเชยี ลมเี ดียของบุคคลากรมากขึ้น เช่น กรมการ วินยั ปกครอง กระทรวงมหาดไทย มหี นงั สอื ท่ี มท ๐๓๐๔/ - เจา้ หนา้ ท่เี ทศบาลโพสต์ Facebook ในเชงิ ว ๑๕๑๕ ลงวนั ที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๘ ก�ำ หนด ต่อต้านโลกาภิวัตน์ และวิพากษ์วิจารณ์ระบบ แนวทางการใช้คอมพิวเตอร์และเคร่ืองมือสื่อสารของ เศรษฐกิจทุนนิยม โดยใช้นามแฝงและกระทำ� ทางราชการ โดยห้ามบุคลากรใช้คอมพิวเตอร์หรือ ไนมอเ่ กปเ็นวคลวาราามชผกดิ าวรินัย๘ศาลพพิ ากษาวา่ การกระท�ำ ดงั กลา่ ว เครื่องมือสื่อสารของทางราชการไปใช้ในทางส่วนตัว ที่ใช้โปรแกรมโซเชียลมีเดีย ในลักษณะที่อาจ - ขา้ ราชการประเภท C (ระดบั ตา่ํ สดุ ในระบบ เข้าข่ายความผิดอาญาหรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ ราชการฝรง่ั เศส) โพสตใ์ น Facebook สว่ นตวั เชญิ ชวนให้ ผู้อื่นกองทะเบียนพล สำ�นักงานกำ�ลังพล สำ�นักงาน ลงคะแนนให้ผูส้ มคั รรับเลือกตงั้ ทอ้ งถ่ินรายหนึ่ง จงึ ถูก ตำ�รวจแห่งชาติ มีหนังสือสำ�นักงานกำ�ลังพล ๘๙๗๖๕คคคคคำำำำ����ำ�วววววนินินินิ ินิิจิจจิจิจฉฉฉฉฉยัััยยยั ยั ศศศศศาาาาาลลลลลปปปปปกกกกกคคคคครรรรรออออองงงงงเเเเมมมมเมออืืืือออื งงงงงดสสมเตตฌิงมเรรอปงาาลอสสลังล์บบ์งิเวลูรรูยันง์กก์ ตวท์ันลลล่ี ๑งงทงวว๗วี่ ัันน๒ันททพ ทพีี่่ฤ่ี๘๔ฤ๒ศศ  ๑จพมจกิ ีนฤกิกาาษานัยคยภนยมนาาค๒ย๒๒มน๕๕๕๔๒๖๒๕๗๕๐๕๓๕๕เเลเล๙๙ลขขขทเเททลลี่ ่ี ข๐ี่ข๑๐ทท๓๕๖ี่่ี ๑๑๐๑๐๙๔๐๕๕๔๐๑๐๗๑๖๖๒๓๕๙๐๙๔๘/๕๒๕ วารสารทรพั ยากรบุคคลรัฐสภา 25

ท่ี ๐๐๐๙.๐๙/๘๙๘๘ ลงวันท่ี ๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ ในภาพรวมไดม้ ากกวา่ การกระท�ำ ของขา้ ราชการชน้ั ผนู้ ้อย ห้ามมิให้ข้าราชการตำ�รวจในสังกัดกองทะเบียนพล สำ�หรับประเทศไทยนั้น แม้จะยังมีกรณี ถ่ายภาพขณะแต่งเคร่ืองแบบตำ�รวจเผยแพร่ในสื่อ การลงโทษทางวินัยท่เี กย่ี วขอ้ งกับการใชโ้ ซเชียลมีเดีย สงั คมออนไลนท์ ุกกรณี เปน็ ต้น ที่ได้รับการเผยแพร่ค่อนข้างน้อย แต่ข้าราชการ นอกจากน้ี ส�ำ นกั งานศาลยตุ ธิ รรมยงั เผยแพร่ ก็ต้องพึงระมดั ระวังในการใช้โซเชยี ลมีเดีย โดยควรใช้ ตัวอย่างการลงโทษข้าราชการซ่ึงโพสต์ต่อว่าผู้ร้อง โซเชียลมีเดียอย่างสร้างสรรค์ ไม่สร้างความเสียหาย เรยี นใน Facebook ดว้ ยถอ้ ยค�ำ หยาบคาย โดยถอื เป็น ใหแ้ กท่ างราชการหรือบุคคลอื่น เพราะนอกจากการ ไคดว้ชาือ่มวผ่าิดเวปินน็ ัยผอู้ปยรา่ ะงพไมฤ่รตา้ ิชยว่ั แรใหงล้ ฐงาโนทกษรภะาทคำ�ทกณัารฑใด์๑๐ๆ อนั ใช้โซเชียลมีเดียไม่สร้างสรรค์อาจจะเป็นความผิดวินัย แล้ว ก็ยังอาจเป็นความผิดตามประมวลกฎหมาย อาญา หรือพระราชบญั ญัติวา่ ด้วยการกระท�ำ ความผดิ บทสรุป เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ด้วย อาจกล่าวโดยสรปุ ไดว้ า่ การใชโ้ ซเชียลมีเดยี สุดท้ายนี้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การ ของขา้ ราชการฝรัง่ เศสนนั้ แม้ขา้ ราชการจะมีสทิ ธใิ ช้ ศึกษากรณีตัวอย่างของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งก็มี โซเชยี ลมเี ดยี ได้ และมเี สรภี าพในการแสดงออกเฉกเช่น ความคล้ายคลึงกับพฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดียของ ประชาชนทั่วไป แต่ข้าราชการก็จะต้องอยู่ภายใต้ ข้าราชการรัฐสภาบางส่วนเช่นกัน จะมีส่วนช่วยให้ กฎระเบียบว่าด้วยวินัย โดยจะต้องใช้โซเชียลมีเดีย เพอื่ น ๆ ใช้โซเชยี ลมีเดียกนั อย่างสร้างสรรค์ และ อย่างระมัดระวัง ซึ่งการพิจารณาว่าการกระทำ�ใด ได้รับมุมมองใหม่ ๆ อันจะส่งผลให้การรักษาวินัย จะเปน็ ความผดิ วินัยหรือไมน่ นั้ นอกจากจะต้องดูถึง ของข้าราชการรัฐสภามีการพัฒนาให้ก้าวทันความ เน้ือหาท่ีต้องไม่เปน็ การฝา่ ฝืนข้อห้ามตา่ ง ๆ เช่น ต้อง เปลยี่ นแปลงของโลกมากยงิ่ ขึ้น ไม่เป็นการต่อว่าผ้บู ังคับบัญชาหรือส่วนราชการอย่าง ร้ายแรง จะต้องรักษาความเป็นกลางทางการเมือง จะต้องรักษาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้รับจากการ ปฏิบัติหน้าที่ เป็นต้น แล้ว ระดับตำ�แหน่งของ ข้าราชการก็มีผลในการพิจารณาเช่นกัน โดย ข ้ า ร า ช ก า ร ร ะ ด ั บ ส ู ง จ ะ ต้องใช้ความระมัดระวัง มากกว่าข้าราชการชั้นผู้น้อย เนื่องจากการกระทำ� ของข้าราชการระดับสูงย่อมส่งผลต่อองค์กรราชการ ๑๐ผลการประชมุ ก.ศ. คร้ังท่ี ๑/๒๕๕๗ วันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๗ 26 วารสารทรัพยากรบคุ คลรฐั สภา

ขอ้ คิด ขอ้ แนะ DigitalSmarเตtรยี Pมตaวั อrยlา่iaงไรmเพแื่อeกลn้าวะtสู่ นางสาวสดุ ธิดา มงคลรัตน์ นักทรัพยากรบคุ คลช�ำ นาญการพิเศษ ส�ำ นักงานเลขานุการ ก.ร. สำ�นักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร พวกเราคงคุ้นเคยกับคำ�ว่า Digital และ ความหมายของ Digital literacy สำ�นักงาน Smart Parliament ซง่ึ เปน็ ยทุ ธศาสตรข์ ององคก์ รเรา ก.พ. กำ�หนดความหมาย ทักษะความเข้าใจและใช้ ภาพท่เี ราอาจจะนึกฝนั คือเราชาวรัฐสภาจะมเี คร่อื งมือ เทคโนโลยดี ิจทิ ัล หรือ Digital literacy ไวว้ า่ “ทักษะ เครื่องใช้ที่ทันสมัย เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ ในการน�ำ เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทม่ี อี ยู่ Tablet โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ Tablet ทจ่ี ะอ�ำ นวยความสะดวกในการท�ำ งานของเรา แตค่ วาม โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ และสอ่ื ออนไลน์ มาใช้ใหเ้ กิด หมายของ Digital Parliament และ Smart Parliament ประโยชน์สูงสดุ ในการสอื่ สาร การปฏบิ ตั งิ าน และ มีมากกว่านั้น แผนพัฒนา Digital Parliament ของ การทำ�งานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการ รฐั สภา ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) กลา่ วว่า ทำ�งาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัย “รัฐสภาดิจิทัล (Digital Parliament) หมายถึง และมปี ระสทิ ธภิ าพ” โดยเปน็ ทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั พน้ื ฐาน องค์กรท่ีสามารถสร้างสรรค์และใช้ประโยชน์จาก ทจ่ี ะเปน็ ตวั ชว่ ยส�ำ คญั ส�ำ หรบั ขา้ ราชการในการปฏบิ ตั ิงาน เทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนา คอื ท�ำ นอ้ ย ไดม้ าก (Work less but get more impact) โครงสรา้ งพ้นื ฐาน นวตั กรรม ข้อมลู ทุนมนุษย์ และ ชว่ ยสว่ นราชการสรา้ งคณุ คา่ (Value Co-creation) ทรัพยากรอื่นใด เพื่อสนับสนุนงานด้านนิติบัญญัติ” และความคุ้มค่าในการดำ�เนินงาน (Economy of สำ�หรับความหมายของ Smart Parliament คือ Scale) “การนำ�ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทำ�ไมเราตอ้ งมี Digital Literacy? บางคน มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน” จากความ อาจจะคิดว่าทุกวันนี้ทักษะที่เรามีก็ทำ�งานได้แล้ว หมายท่ีกล่าวมา เราจะเหน็ ว่าการมีเครื่องมอื เครื่องใช้ จะตอ้ งรูอ้ ะไรมากกว่าน้ี ? ขอยกตัวอยา่ งบรษิ ทั โกดกั ทที่ นั สมยั ไม่เพียงพอจะนำ�องคก์ รเราไปสู่ Digital และ (Kodak) คนวัยสามสิบกว่า ๆ ขึ้นไปต้องรู้จักบริษัท Smart Parliament แต่ยังมีองค์ประกอบส�ำ คัญอื่น ๆ โกดัก ซึ่งผลิตฟิล์มถ่ายรูป ในช่วงการเปลี่ยนผ่าน โดยเฉพาะข้าราชการรัฐสภาซึ่งถือเป็นกลไกหลัก เข้าสู่ยุคที่คนเริ่มใช้กล้องดิจิทัล บริษัทได้รับทราบถึง ในการขบั เคลอ่ื นรัฐสภาใหเ้ ท่าทันกบั การเปล่ียนแปลง การเปลี่ยนแปลงแต่ไม่ยอมปรับเปลี่ยนตัวเองเข้าสู่ ของโลกที่ได้เข้าสู่ยุคระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล วฒั นธรรมดจิ ิทลั ยังคงยนื ยนั ผลิตฟลิ ์มถ่ายรูปซง่ึ เป็น และบริบทของภาครฐั ตามแนวคิดประเทศไทย ๔.๐ สินค้าที่บริษัทเป็นผู้เช่ียวชาญและมีประสบการณ์ใน เราจึงจำ�เป็นต้องเตรียมความพร้อมด้วยการพัฒนา การผลิตมากที่สุด เมื่อบริษัทตระหนักถึงความ “ทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digital เปลี่ยนแปลงว่าการถ่ายรูปด้วยการใช้ฟิล์มและ Literacy)” ล้างอัดรูปไม่เป็นที่นิยมอีกต่อไป จึงเริ่มปรับตัว วารสารทรัพยากรบคุ คลรัฐสภา 27

๑ ๔.๐ ทีม่ า : www.ocsc.go.th/DLP Project/mean-dlp ครั้งใหญ่ซึ่ง ในขณะนั้นโทรศัพท์มอื ถือกว็ ิวฒั นาการ เมื่อถึง วันหนึ่งเราใช้เทคโนโลยีดิจิทัลไม่ได้หรือใช้ ตัวเองโดยรวมกล้องดิจิทัลไว้ในโทรศัพท์ ผลของ ไม่เป็น ผู้บังคับบัญชาอาจจะไม่มอบงานให้ทำ� และ การไม่ตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงครั้งน้ันทำ�ให้ จะส่งผลต่อการประเมินผลการปฏิบัติงานอาจไม่ดี บริษัทประสบการขาดทุนครั้งใหญ่ สำ�หรับรัฐสภา เทา่ คนอ่นื ๆ และอาจจะส่งผลถึงความก้าวหนา้ ทาง ซึ่งเป็นองค์กรภาครัฐถึงไม่จำ�เป็นต้องหารายได้เพื่อ ราชการในอนาคต สำ�หรับองค์กรหากไม่ให้ความ ความอยู่รอดแต่เราต้องเรียนรู้เพื่อปรับตัวให้ทันการ สำ�คัญในการพัฒนาบุคลากรด้านทักษะดิจิทัลอาจจะ เปลี่ยนแปลงและต้ังรับการเปล่ียนผ่านของเทคโนโลยี เกิดปัญหาในการเลือกสรรผูบ้ ริหาร เพราะผ้บู ริหารใน เพื่อให้เราสามารถใช้เทคโนโลยีทำ�งานได้อย่างมี อนาคตไม่ใช่เพียงมีความรู้ความเชี่ยวชาญในงานของ ประสทิ ธิภาพ ถา้ พวกเราไมพ่ ัฒนาทักษะความรู้ทเี่ รามี องค์กรเท่านั้น แต่ต้องสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการบริหารจัดการไดด้ ว้ ย 28 วารสารทรพั ยากรบคุ คลรัฐสภา

เราตอ้ งรูเ้ รื่องอะไรบา้ ง? ในฐานะท่ีเราเป็น ผ้ใู ชเ้ ทคโนโลยี ทักษะ Digital literacy ที่เราต้องมี สามารถแบ่งได้ออกเป็นสามกลุ่มคือ ๑) ทักษะขั้น พ้นื ฐาน ๒) ทักษะขัน้ ตน้ สำ�หรบั การทำ�งาน ๓) ทกั ษะประยกุ ตส์ ำ�หรับการท�ำ งาน ทกั ษะขน้ั พน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ • การใช้งานคอมพิวเตอร์ • การใช้งานอนิ เทอรเ์ นต็ • การใชง้ านเพ่ือความปลอดภัย โดยเปน็ การเรยี นรู้เกีย่ วกับการใช้ดิจิทัล การ ใชง้ านอปุ กรณไ์ อทีและติดตอ่ สอื่ สารบนสอ่ื ปฏิทินได้อย่างถูกต้อง สร้างตารางนัดหมายบน อนิ เทอร์เน็ต รวมทั้งรจู้ ักและเขา้ ใชบ้ รกิ ารพืน้ ฐาน ปฏิทินได้ การเลือกใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ได้ และทำ�ธุรกรรมออนไลนข์ ั้นต้นได้ ถูกตอ้ งตามประเภทของการติดตอ่ สื่อสาร ถูกต้องตาม หลกั ความปลอดภัย ใชโ้ ปรแกรมสือ่ สารได้เหมาะสม • การใชง้ านคอมพวิ เตอร์คืออปุ กรณพ์ นื้ ฐาน กับวัตถุประสงค์ การใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ที่เราต้องใช้ทำ�งานต้องสามารถใช้ฮาร์ดแวร์ เช่น ใช้งานการซื้อหรือขายสินค้าออนไลน์ ชำ�ระเงินทาง คอมพวิ เตอร์ พร้ินเตอร์ เชื่อมตอ่ อุปกรณต์ า่ ง ๆ และ อิเล็กทรอนกิ ส์ได้ถูกตอ้ งตามหลักความปลอดภัย อปุ กรณ์แสดงผล เชน่ จอภาพ แกป้ ญั หาการใช้งาน • การใชง้ านเพอื่ ความปลอดภยั คือการใช้ ฮาร์ดแวร์เบื้องต้นได้ ใช้งานโปรแกรมต่าง ๆ บัญชีรายชื่อบุคคล โดยการสร้างบัญชีรายชื่อบุคคล และโปรแกรมประยุกต์ได้ แก้ไขปัญหาการใช้ระบบ ได้ถกู ตอ้ ง ก�ำ หนดรหัสผ่านไดถ้ กู ต้องตามหลักเกณฑ์ ปฏิบตั ิการได้ สามารถจดั การขอ้ มูลแฟ้มขอ้ มูลได้ ใช้ ความมั่นคงปลอดภัย ใช้อัตลักษณ์ของบุคคลในการ แฟม้ งานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง สามารถใชง้ านอปุ กรณเ์ คลื่อนท่ี ยนื ยนั ตวั ตนเพอ่ื เขา้ สรู่ ะบบ สามารถปอ้ งกนั ภยั คุกคาม เช่น โน้ตบุ๊ก เชื่อมต่ออุปกรณ์เคลื่อนที่กับระบบ ก�ำ หนดคา่ ไฟรว์ อลลส์ ว่ นบคุ คล (Personal Firewall) ได้ เครือข่ายได้ สามารถใช้งานคลาวด์คอมพิวติ้ง และ ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำ�หนด การป้องกันมัลแวร์ แบง่ ปันทรัพยากรบนคลาวดค์ อมพิวติ้งได้ โดยการใช้ซอฟต์แวร์ป้องกันมัลแวร์ได้ หลีกเลี่ยง • การใช้งานอินเทอร์เน็ต คือใช้งานเว็บ พฤติกรรมการใช้งานท่ีเสี่ยงต่อความปลอดภัยได้ เบราวเ์ ซอร์ เช่น Internet Explorer หรอื Chrome เหมาะสมตามเกณฑก์ ารใชง้ าน ตรวจสอบอาการผดิ ปกติ โดยการเลือกใช้เครือข่ายได้อย่างถูกต้อง การสืบค้น จากมัลแวร์ได้ สามารถเลือกใช้ระบบรหัสลับได้ ข้อมูลได้ถูกต้องตามคำ�ค้นที่กำ�หนดได้อย่างรวดเร็ว เหมาะสมกับการใช้งานถูกต้องตามข้อกำ�หนดด้าน ใช้งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์โดยการสร้างอีเมลและ ความปลอดภัย ใช้เนื้อหาออนไลน์ได้ถูกต้องตาม จดั การอีเมลไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง จดั การรายชื่อผู้ตดิ ต่อบน ขอ้ ก�ำ หนดดา้ นลิขสิทธ์ิ และใช้อนิ เทอรเ์ น็ตได้ถูกตอ้ ง อีเมลได้ สามารถใช้งานปฏิทินโดยการแสดงผลใน ตามกฎหมาย วารสารทรัพยากรบคุ คลรฐั สภา 29

แผ่นงาน พิมพแ์ ผ่นงาน ใช้สตู รฟังก์ชันเพือ่ การคำ�นวณ สามารถแทรกวัตถุลงบนแผน่ งาน • การใช้โปรแกรมนำ�เสนอ หรือ Power Point สามารถจดั การงานนำ�เสนอ โดยการนำ�เสนอ งานถูกสรา้ งใหม่ สามารถใชง้ านขอ้ ความบนสไลด์ จดั รูปแบบข้อความงาน ใช้เครื่องหมายบนข้อความ บนงานทน่ี �ำ เสนอ สามารถแทรกวตั ถลุ งบนงานน�ำ เสนอ สามารถกำ�หนดการเคล่อื นไหว สามารถตั้งคา่ งานน�ำ เสนอ โดยการกำ�หนดสไลด์สำ�หรับการนำ�เสนองาน ตั้งค่าการน�ำ เสนองานได้ ทกั ษะขน้ั ตน้ ส�ำ หรบั การท�ำ งาน • การใช้โปรแกรมประมวลผลค�ำ • การใชโ้ ปรแกรมตารางค�ำ นวณ • การใชโ้ ปรแกรมน�ำ เสนอโดยเป็นการเรยี นรู้ เก่ยี วกับการใชง้ านเครอื่ งมอื ด้านดิจิทลั หรือ แอปพลิเคชันขน้ั ต้นส�ำ หรับการทำ�งาน • การใช้โปรแกรมประมวลผลค�ำ หรือ Word ทกั ษะประยกุ ตส์ �ำ หรบั การท�ำ งาน processing จัดการงานเอกสารโดยการจัดการ • การทำ�งานร่วมกนั แบบออนไลน์ เอกสารได้ การใช้งานแสดงมมุ มองของเอกสาร ใชง้ าน • การใชโ้ ปรแกรมสร้างสื่อดจิ ิทัล ค้นหาข้อความบนเอกสารและการแทนที่ได้ เคลื่อน • การใชด้ ิจทิ ัลเพื่อความมัน่ คงปลอดภยั ยา้ ยข้อมลู บนเอกสารได้ ใชง้ านยกเลกิ การกระท�ำ บน โดยเป็นการเรียนรเู้ กยี่ วกับการเลือกใชง้ าน เอกสารได้ตามคู่มือการใช้งาน จัดรูปแบบข้อความ เครือ่ งมอื ต่าง ๆ ดา้ นดจิ ิทลั ได้หลากหลายและ โดยการปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรในเอกสาร แทรก ประยกุ ต์ใชใ้ นงานไดม้ ากข้ึน วตั ถลุ งบนงานเอกสารจดั รปู แบบเอกสาร พมิ พเ์ อกสาร ตรวจทานงานเอกสาร • การใช้โปรแกรมตารางคำ�นวณ หรือ Excel worksheet จัดการตารางคำ�นวณ โดยการจัดการ แผ่นงานได้ สามารถปรับแต่งข้อมูลในแผ่นงาน ป้อน ข้อมูลเรียงลำ�ดับข้อมูล สามารถจัดรูปแบบข้อมูลใน 30 วารสารทรัพยากรบคุ คลรฐั สภา

“การใช้ดจิ ทิ ลั เพื่อความม่นั คง ซึ่งมีข้อมูลมากมายให้เราได้ศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับ ปลอดภัย สามารถจัดการ Digital Literacy รวมถึงวิธีการขั้นตอนการพัฒนา ภั ย คุ ก ค า ม ด้ า น ค ว า ม ม่ั น ค ง บุคลากรให้มี Digital Literacy ตามนโยบายของ ปลอดภยั โดยการจัดการข้อมูล รัฐบาล ส�ำ หรับนกั ทรัพยากรบคุ คลศกึ ษารายละเอยี ด จากภัยคุกคามความม่นั คง” เพิ่มเติมเกี่ยวกับ “ทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐเพ่ือการปรับเปล่ียนเป็นรัฐบาล ดิจิทัล” สามารถหาข้อมูลที่ https://www.ocsc. • การท�ำ งานรว่ มกนั แบบออนไลน์ ใช้งาน go.th/circular และใช้ค�ำ ค้นหา ว6/2561 พื้นที่ทำ�งานแบบออนไลน์ โดยการทำ�งานบนพื้นที่ เมื่อองค์กรเราตั้งเป้าหมายจะเป็น Digital ทำ�งานแบบออนไลน์ สามารถใช้งานพื้นที่เพื่อการ และ Smart Parliament ถึงเวลาทเี่ ราต้องทบทวน ทำ�งานแบบออนไลน์ได้ แบ่งปันพื้นที่เพื่อการทำ�งาน ตัวเองว่ามีทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล แบบออนไลน์ ใชง้ านพ้นื ที่แบ่งปนั ข้อมลู ออนไลน์ โดย เพียงพอหรือยัง เราจะสังเกตเห็นสัญญาณการ การแบ่งปันพ้ืนท่ีข้อมูลออนไลน์ได้ตามวัตถุประสงค์ เปลี่ยนแปลงเริ่มจากการแสกนลายนิ้วมือตอนเช้า การใชง้ าน ใชง้ านโปรแกรมแบง่ ปันหนา้ จอได้ ใชง้ าน แทนการเซน็ ชื่อการใช้ระบบส�ำ นกั งานอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมประชมุ ทางไกลผา่ นจอภาพ แทนการใช้กระดาษ และขณะนี้การปฏิบัติงานของ • การใช้โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล สามารถ เราก็เริ่มมีการใช้เทคโนโลยีมากขึ้นทุกวัน ดังนั้นเรา ใช้โปรแกรมสร้างเว็บ ใช้สื่อดิจิทัลเพื่อการทำ�งาน ทุกคนตอ้ งเตรยี มความพรอ้ มรองรับการเปล่ียนแปลง โดยการเลือกใช้ส่ือดิจิทัลได้ตามวัตถุประสงค์การใช้ ครั้งนี้แม้ว่าจะอยู่ในวัยใกล้เกษียณ แต่ถ้าวันนี้ยัง งาน ใช้งานสื่อดิจิทัลได้ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ทำ�งานอยู่ก็ต้องสามารถใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติ สามารถใช้โปรแกรมตกแต่งภาพ ปรับแต่งรูปภาพ งานให้ได้ สำ�หรับข้าราชการรุ่นใหม่ที่มีความคุ้นชิน ได้ ใช้โปรแกรมจับการทำ�งานของหนา้ จอ โดยการใช้ กับการใช้เทคโนโลยีอยู่แล้วก็ต้องเรียนรู้ว่าจะ โปรแกรมตัดตอ่ ส่อื ภาพเคลือ่ นไหว ใช้อย่างไรให้เหมาะสมกับงานของเรา การพัฒนา • การใช้ดิจิทัลเพื่อความมั่นคงปลอดภัย ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลไม่จำ�เป็น สามารถจัดการภัยคุกคามด้านความมั่นคงปลอดภัย ตอ้ งรอให้มกี ารจัดฝึกอบรม เพราะเราสามารถเรียนรู้ โดยการจัดการข้อมูลจากภัยคุกคามความม่ันคง ไดจ้ ากการใชง้ านจรงิ เรยี นรจู้ ากเพอ่ื นรว่ มงาน หรอื ผา่ น ป้องกันโปรแกรมจากภัยคุกคาม ป้องกันอุปกรณ์ เว็ปไซต์ของ ก.พ. ถึงวันนี้เราทุกคนควรตระหนักถึง คอมพวิ เตอร์จากภัยคุกคาม ปฏบิ ัติตามหลักการเพือ่ การพัฒนาตัวเองเข้าสู่วัฒนธรรมดิจิทัลเพราะ รักษาความปลอดภัยโดยการรักษาข้อมูลให้มีความ ผลที่ได้รับจากการเรียนรู้ไม่เพียงจะช่วยให้เรา ปลอดภัยตามคู่มือการใช้งานรักษาความปลอดภัย ทำ�งานได้ดีขึ้น มปี ระสทิ ธภิ าพขน้ึ แตเ่ รายงั สามารถ ปฏิบัติตามหลักการใช้งานเว็บเบราว์เซอร์อย่าง ชว่ ยผลกั ดนั รฐั สภาของเราก้าวสู่ Digital และ Smart ปลอดภัย จัดการรูปแบบการพิสูจนต์ ัวตน Parliament ได้อย่างสมบรู ณ์แบบ เราจะหาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ไดท้ ไ่ี หน? หากสนใจ สามารถหาข้อมูลไดท้ ่หี นา้ เว็ปไซต์ของส�ำ นกั งาน ก.พ. https://www.ocsc.go.th/DLProject/about-dlp โครงการพัฒนาทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Literacy Project) .สืบค้น ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๑. https://www.ocsc.go.th/DLProject/ 31 about-dlp “โกดกั ”ยังอยู่ .สบื คน้ ๖ กันยายน ๒๕๖๑.https://www. positioningmag.com/๑๔๕๘๙ วารสารทรัพยากรบุคคลรฐั สภา

นานาสาระ เทคโนโลยดี จิ ิทัล นางสาวกรกช จันทร์ธีรสกุล กบั ความผกู พนั ในองคก์ ร นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัติการ ส�ำ นักบรหิ ารงานกลาง ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร กลับมาพบกันอีกครั้งนะคะในคอลัมน์นานา จะช่วยให้บุคลากรพร้อมปรับตัวเองก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัล สาระ ผู้เขียนก็มีเรื่องราวที่น่าสนใจมาเล่าสู่กันฟัง ดว้ ยเช่นกนั เหมือนเช่นเคย นานาสาระฉบับน้ี ผเู้ ขียนขอเสนอ ผู้เขียนขออ้าง อิ ง ผ ล สำ � ร ว จ ข อ ง บ20ร2ิ ษ0ั ท”๒ เรื่องการนำ�เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในที่ทำ�งาน เพื่อ ไมโครซอฟต์ “Microsoft Asia Workplace เสริมสร้างความผูกพันในองค์กร อย่างที่ทราบกันว่า ที่พบว่า พนักงานบรษิ ทั ในประเทศไทยสว่ นใหญ่ยังไม่ องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ภาคการเงินหรือธุรกิจ รสู้ ึกว่าพวกเขาได้รับการเตรียมพร้อมสำ�หรับสถานที่ ในปจั จบุ นั ไดเ้ รม่ิ เดนิ หนา้ เขา้ สยู่ คุ แหง่ การปฏริ ปู องค์กร ท�ำ งานแบบดิจิทลั เทา่ ทค่ี วร มเี พียงร้อยละ ๔๕ ทเ่ี หน็ ด้วยดิจิทัล โดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ มาพลิกรูปแบบ วา่ องค์กรของพวกเขามเี คร่อื งมอื ท่ีชว่ ยใหก้ ารท�ำ งาน การทำ�งาน Hเพaื่rอvใaหrd้เกBิดuคsวinาeมsคsลS่cอhงoตoัว๑lในไดกเ้าปรดิ ทเำผ�งยาวนา่ ในแต่ละวนั ง่ายขึน้ ซ่ึงสถติ ิน้ีจึงบง่ ช้วี ่า แมว้ ่าองค์กร งานวจิ ยั จาก ตา่ ง ๆ มีความพร้อมกว่าในอดตี แตย่ งั มอี กี หลายสิง่ ที่ องค์กรทม่ี ีเครือ่ งมือดิจิทัลพรอ้ ม จะสามารถเพมิ่ ความ องค์กรต้องปรับ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ ผูกพันในองค์กรและลดช่องว่างท่ีเกิดข้ึนในที่ทำ�งานได้ ดีขน้ึ คอลมั นน์ านาสาระในฉบบั น้ี จงึ ขอพาเพอ่ื น ๆ พ่ี ๆ ในขณะเดียวกัน ในทางกลบั กัน ความผกู พันในองคก์ ร ขา้ ราชการทุกทา่ นไปทราบวา่ องค์กรตา่ ง ๆ มีวิธีการ สรา้ งความผกู พนั ในองคก์ รดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใดบ้าง ที่องค์กรรัฐสภาของเราสามารถนำ�ไปปรับใช้ ซึ่งจะ ส่งผลต่อทั้งผลลัพธ์ของการทำ�งาน และพัฒนา ความสมั พันธ์กับผูบ้ งั คบั บญั ชา และเพ่ือนร่วมงานของ เพื่อน ๆ พ่ี ๆ ข้าราชการทกุ ทา่ นค่ะ ๑. รายงานปัญหาที่บุคลากรพบในการ ทำ�งาน ด้วยแชทบอท (Chatbot) ปัจจุบันองค์กร หลาย ๆ องค์กรต่างก็ได้สร้างแชทบอท หรือสร้าง โปรแกรมโต้ตอบ เป็นตัวกลางการสื่อสารระหว่าง ระบบหรือบริษัทกับผู้ใช้งานผ่านการแชทได้ เช่น เว็บไซต์ค้นหาร้านอาหาร (Wongnai) หรือซื้อขาย สินค้า (eBay) ก็จะมีกล่องโต้ตอบนี้ โปรแกรมนี้ ๑ Baldoni, J. (2013). Employee Engagement Does More than Boost Productivity. [online] Harvard Business Review. ๒งAาvนaวilจิaัยbไlมeโaคtร:ซhอtฟtpทsพ์ :/บ/h๓brป.oจั rจgยั/2ห0ล1กั 3ท/0ีพ่ 7น/กั eงmานpตloอ้ yงeกeา-รeมnาgกaทgส่ีeุดm.eสnบื tค-d้นo๑e๕s-mพoฤษreภ[าAคcมce๒s๕se๖d๐.1h0tJtupl:/./2w0w18w]..thansettakij.com/ content/150028 32 วารสารทรัพยากรบคุ คลรัฐสภา

ยังพัฒนาขึ้นจนสามารถสนทนาโต้ตอบได้อย่าง บรรยากาศการทำ�งานในรูปแบบของชุมชนออนไลน์ ไหลลน่ื ไมถ่ ามค�ำ ถามทว่ี กไปวนมาและฉลาดมากพอ อภายย่าใงนPองWคCก์ ร๓ใเหปม้ ็นากกขรน้ึณีศสึกว่ ษนาบทรษิี่ปทั รทะป่ีสรบกึ คษวาารมะดสบัำ�โเลร็กจ ท่ีจะอัพเดทความคืบหน้าเพ่ือเข้าปรึกษาในคร้ังต่อไป การใช้โปรแกรมแชทบอทในองค์กรจะเข้ามาช่วยใน ทนี่ �ำ เครือขา่ ยผา่ นระบบโซเชียลมเี ดยี เรียกวา่ Spark สถานการณ์ท่ีบุคลากรสามารถรายงานปัญหาผ่าน เป็นช่องทางให้พนักงานและผู้บริหารสามารถติดต่อ โทรศัพท์มือถือได้อย่างสะดวก แทนที่จะต้องกรอก สอ่ื สาร แบง่ ปนั ความรู้ ประสบการณก์ ารปฏบิ ตั งิ าน แบบฟอร์มยาว ๆ ทั้งยังช่วยผู้ที่มีหน้าที่แก้ไขปัญหา ทำ�ให้พนักงานสื่อสารกันได้อย่างรวดเร็ว และ ใหไ้ ดร้ ับขอ้ มูลรอบดา้ นจากฝ่ายตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างรวดเรว็ ใกล้ชิดมากยิ่งกว่าที่เคยเป็นมาก่อน ซึ่งก็ช่วยให้ ๒. ยกระดับการสื่อสารระหว่างผู้บริหาร พวกเขาสามารถต่อยอดความคิด และนำ�ไป กบั บุคลากรในองค์กรด้วยคลปิ วิดโี อสัน้ ๆ ปจั จบุ นั สร้างสรรค์ไอเดียใหม่ ๆ หลายองค์กรได้ใช้ประโยชน์จากวิดีโอในการประกาศ ซึ่งในบางองค์กรอาจจะลังเลไม่อยากให้ หรือส่งข้อความเพื่อกระตุ้นให้เกิดการร่วมมือของ บุคลากรใช้แอปพลิเคชั่นสื่อสารเหล่านี้ในเวลางาน คนในองคก์ ร (Employee Onboarding Tools) เท่าไหร่นัก เพราะอาจทำ�ให้ประสิทธิภาพในการ เช่น การรณรงคห์ รือขอความร่วมมอื ในบางเรอื่ ง ซ่ึง ทำ�งานลดลง แต่ในความจริงแล้ว หากบุคลากร รูปแบบของการส่ือสารผ่านวิดีโอจะทำ�ให้การส่ือสาร ต้องการจะแชทหรือเล่นโซเชียลมีเดีย พวกเขาก็จะ ระหวา่ งกันมคี วามสนุกสนาน น่าสนใจ เปน็ กันเอง สามารถหาวิธีเล่นได้อยู่ดี ฉะนั้น การจำ�กัดเครื่องมือ และเชิญชวนให้ทุกคนมีส่วนร่วมมากกว่าการเชื้อเชิญ หรือการเข้าถึงช่องทางการสื่อสารเหล่านี้ อาจ ผ่านเอกสาร บางองค์กรในต่างประเทศ เชน่ Nextiva ส่งผลเสียต่อขวัญกำ�ลังใจของบุคลากรก็เป็นได้ บริษัทเทคโนโลยีการสื่อสารในสหรัฐอเมริกาถึงกับทำ� ๔. สนับสนุนให้บุคลากรเรียนรู้และ เป็นวิดีโอซีรีส์ออกอากาศตอนใหม่ทุกสัปดาห์โดยให้ พัฒนาตนเอง (Self-learning) โดยอาศัยการนำ� บคุ ลากรเปน็ แขกรบั เชญิ ในตอนตา่ ง ๆ ซง่ึ ไดผ้ ลตอบรับ เป็นอย่างดี ทำ�ให้บุคลากรรู้สึกว่าได้มีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างกันเพ่มิ มากขน้ึ ๓. สอ่ื สารกนั ผ่านเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ (Shared Space) เพ่ือเพมิ่ ความสุขในการทำ�งาน องค์กรท่ีประสบความสำ�เร็จจะตระหนักถึงความ สำ�คัญของการสื่อสาร ซึ่งเป็นเครื่องมือสำ�คัญใน การสร้างความผูกพัน ยิ่งสื่อสาร ยิ่งเข้าใจ ทำ�ให้ เกดิ ความสมั พนั ธท์ ่ีดใี นทที่ ำ�งานและการร่วมมอื ร่วมใจ ของเพอ่ื นรว่ มงานจากผลส�ำ รวจของบรษิ ทั ไมโครซอฟต์ ที่ผ้เู ขยี นได้ยกมาในข้างต้น บุคลากรส่วนใหญ่มคี วาม เห็นว่าองค์กรควรจะประชุมให้น้อยลง แต่ไปมุ่งเน้น ๓ กรงุ เทพธรุ กจิ .ผกู ใจพนกั งานดว้ ย Social Media. .สบื คน้ ๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖. เขา้ ถงึ ไดจ้ ากhttp://www.bangkokbiznews. com/news/detail/489078 วารสารทรพั ยากรบคุ คลรัฐสภา 33

รปู แบบ กลไก หรือวิธคี ดิ แบบในเกม (Gamification) มาเพ่อื กระตุ้นและดึงดูดความสนใจ บริษัทต่าง ๆ เรมิ่ นำ�กลไก หรือวิธีคิดแบบในเกมมาดึงดูดเสริมแรงให้ ลูกค้ามาเข้ารว่ มกจิ กรรม เพ่มิ ความสนกุ นา่ ติดตาม แตบ่ ทความเกี่ยวกบั องคก์ รยุคใหมห่ ลาย ๆ บทความ ก็ได้แนะนำ�ให้องค์กรใช้เทคนิค Gamification๔ ใน การกระตุ้นให้พนักงานมาเข้าร่วมกิจกรรมหรือการ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเองในระยะยาว ไมว่ า่ จะเปน็ การเรียนรู้ ดว้ ย e-learning หรือ mobile learning โดยสรา้ ง เส้นเร่ือง (Storyline) หรอื จ�ำ ลองสถานการณว์ า่ แตล่ ะ คนกำ�ลังอยู่ในสนามประลองเกม แบ่งบทเรียนออก ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั องค์กรตา่ ง ๆ ยังสามารถใช้ เปน็ ระดบั ต่าง ๆ ท�ำ แผนท่ี มีกระดานโชว์คะแนนของ ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อทำ�ความเข้าใจบุคลากร ผู้เขา้ รว่ มแตล่ ะคน มกี ารใหเ้ หรียญรางวัลเม่ืออบรมได้ ใsนpอreงคa์กdรsมhาeกeข๕tึ้นหดร้วือยแเชบ่นบฟในอบรา์มงทอี่ไงมค่์ซกรับซก้็ไอดน้สเรพ้าื่อง จ�ำ นวนกี่ครงั้ ขึ้นไป หรือการอบรมในบางหัวขอ้ อาจ ให้บุคลากรเข้าไปกรอกความคบื หนา้ การท�ำ งาน และ จะตอ้ งให้บุคลากรร่วมมือกนั เปน็ ทีม การท่ที ำ�การฝึก ผลลพั ธ์ของงานท่ีพวกเขารบั ผดิ ชอบ ซง่ึ จะอัพเดทให้ อบรมให้เหมือนกับการเล่นเกม จะทำ�ให้การพัฒนา ตนเองอยเู่ สมอของขา้ ราชการยคุ ดจิ ทิ ลั ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งนา่ เบ่ือ ทุกคนเหน็ ทุก ๆ สัปดาห์ ซงึ่ จะส่งผลดตี อ่ ก�ำ ลงั ใจ และ อกี ต่อไป ความภาคภูมใิ จเกย่ี วกบั งาน นอกจากนี้ ยงั ชว่ ยในการ ๕. สนับสนุนฐานข้อมูลและวัฒนธรรม ตดั สินใจของผบู้ รหิ ารไดอ้ ยา่ งแม่นย�ำ ยิ่งข้ึน การใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู (Data Driven Culture) จะเห็นได้ว่า เครื่องมือที่ทันสมัยในการ ผลสำ�รวจของบริษัทไมโครซอฟต์ข้างต้นยังบ่งชี้ว่า ทำ�งานร่วมกันทั้ง ๕ เครื่องมือที่ผู้เขียนเสนอมานั้น บุคลากรในสาขาต่าง ๆ ต้องการใช้เอกสารแบบ ไม่จ�ำ เปน็ ตอ้ งใช้การลงทุนงบประมาณมาก อยา่ งเช่น เรยี ลไทมท์ ช่ี ว่ ยใหพ้ วกเขาตดั สนิ ใจไดถ้ กู ตอ้ ง และทนั เวลา การสื่อสารของผู้บริหารโดยวิดีโอ นอกจากจะทำ�ให้ ฉะนน้ั เครอ่ื งมอื ดจิ ทิ ลั ประเภทระบบการจดั เกบ็ ขอ้ มลู บุคลากรทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นแล้ว ที่ได้ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสม และ ยงั ช่วยเสริมสร้างทมี ที่แข็งแกรง่ และสร้างบรรยากาศ ถูกต้อง เป็นหมวดหมู่ ที่ทำ�ให้พอรู้คร่าว ๆ ว่าข้อมูล ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเปน็ บคุ ลากรภาครฐั ในยคุ ดจิ ทิ ลั (Digital เกยี่ วกบั เรอื่ งนี้อยู่ตรงไหน จงึ เป็นสิ่งสำ�คัญ ทำ�ให้เมือ่ Government Workforce) ทง้ั น้ี องค์กรรฐั สภาของ ได้รับคำ�ถาม บุคลากรก็สามารถหาคำ�ตอบได้อย่าง เรายังสามารถสำ�รวจความต้องการของบุคลากรเพ่ิม รวดเร็ว สามารถตอบคำ�ถามได้หลากหลายกว่าเดิม เติมได้ เพ่อื ร่วมกันคิดทบทวนว่าเทคโนโลยใี ดจะชว่ ย เมอื่ เริม่ เหน็ ว่าค�ำ ถามบางอยา่ งมีคนถามซํ้า ๆ ทุกวนั ก็ ตอบโจทย์ขององค์กร และยกระดับความผูกพัน มกี ารเตรยี มคำ�ตอบส�ำ หรับค�ำ ถามเหล่านนั้ ท�ำ ให้ตอบ ในองคก์ รได้ หากมเี รอ่ื งราวเกย่ี วกบั เทคโนโลยที ส่ี ามารถ ค�ำ ถามได้เรว็ ข้ึน สรา้ งความสขุ และแรงกระตนุ้ ในการท�ำ งานไดอ้ กี ผเู้ ขียน จะน�ำ มาบอกเลา่ ให้ฟงั เพ่มิ เตมิ ในวารสาร HRJ ฉบบั ตอ่ ๆ ไปค่ะ ๔ ๕ Bdeucstkr,yJ.c. o(2m01/a7r)t.icGlaems/ilfeicaartnioinng:-tAedcdhinnogloGgaimesi/nggamEleifimcaetniotns-taoddYoinugr-gTarmaininingg-eSletrmateengtys--toT-ryaoinuinr-gtrIanindiunsgt-rsyt.raRteetgriye/ved from https://trainingin- Anand, M. (2017). How A Data-Driven Culture Enables Innovation And Empowerment In An Adaptive Enterprise. [online] Digitalist- mmeagn.tc-oinm-a.dAavpatiilvaeb-leenatet:rphrtitspes-0:/4/w98w3w01.d8ig[iAtaclcisetsmseadg.c1o6mJu/flu. t2u0r1e8-o].f-work/2017/04/03/data-driven-culture-enables-innovation-empower- 34 วารสารทรพั ยากรบคุ คลรฐั สภา

ถามมาตอบไป นนสส��ำำักานนงทสกักั รางงัพาาวยนนทาเเศกลลพรขขบาาาธนุคณิกคกุ ีาาลทรรชศสำ�กธิภน.ราราผ.ญแู้ กทานรรพาิเษศฎษร Q: : ช่วงหลงั ๆ มีเพอ่ื น ๆ หลาย คนสอบถามวา่ digital 4.0 มันคอื อะไร เพราะเปน็ ประเด็นฮอ๊ ตในปัจจุบนั ที่พวก เรามักได้ยินเสมอตามโทรทัศน์ งาน สมั มนา หรอื อา่ นผา่ น ๆ ตาบน facebook Thailand 3.0 เรียกว่าเป็นยุคของ แตพ่ อรคู้ รา่ ว ๆ วา่ มนั เกย่ี วกบั เทคโนโลยี อุตสาหกรรมหนัก ผลิตและขายส่งออกเหล็กกล้า แตเ่ ปน็ ยงั ไงมายงั ไง แลว้ ท�ำ ไมอยู่ ๆ ถงึ มี รถยนต์ ก๊าซธรรมชาติ ปูนซีเมนต์ เป็นต้น โดยใช้ เทคโนโลยจี ากตา่ งประเทศ เพื่อเน้นการสง่ ออก 4.0 มนั เคยมี 1.0 2.0 3.0 หรอื เปลา่ หรือ Thailand 4.0 เป็นยุคการผลิตสินค้า/ มีแค่ 4.0 วันน้พี ท่ี ีมงานวารสารจะพา ผลิตภัณฑ์ในเชิงนวัตกรรม และเปลี่ยนจากการ เพอื่ น ๆ ไปท�ำ ความเข้าใจพรอ้ ม ๆ กนั ขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การ ที่จรงิ แล้ว พวกเราก็ใกลช้ ดิ และผกู พัน ขบั เคลอ่ื นดว้ ยเทคโนโลยี เพอ่ื สรา้ งสรรคพ์ ฒั นาสง่ิ ใหม่ ๆ กบั ดิจทิ ัลมานานแลว้ ไม่ว่าการซ้ือของ โดยใช้ “Digital 4.0” การจองที่พัก/โรงแรม online การใช้ ด้วยเหตุนี้ Digital 4.0 จึงเป็นเครื่องมือ Internet การทำ�ธุรกรรมทางการเงิน หรือกลไกท่ีช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้การพัฒนา ผา่ นแอปพลเิ คชนั แลว้ Digital 4.0 คอื เศรษฐกิจของประเทศในยคุ ไทยแลนด์ ๔.๐ ประสบ A:อะไร แลว้ เก่ยี วข้องกบั Thailand 4.0 ความสำ�เรจ็ ในแบบทีเ่ รียกว่า “ท�ำ น้อย ไดม้ าก” ตาม อยา่ งไร? นโยบายของรัฐบาลนั่นเอง แล้ว Digital 4.0 คือ อะไร? Digital 4.0 คอื เทคโนโลยีทีถ่ ูกน�ำ มาพัฒนา ทจ่ี รงิ แลว้ Digital 4.0 กบั Thailand 4.0 ต่อยอดเพื่อลดบทบาทของมนุษย์ และเพิ่มศักยภาพ ไม่ใช่เรื่องเดียวกัน แต่ทั้ง ๒ เรื่องก็มีความสัมพันธ์กัน ของมนุษย์ในการใช้ความคิดเพื่อข้ามขีดจำ�กัด โดย กลา่ วคือ Thailand 4.0 เปน็ โมเดลการพฒั นา จะใชช้ อื่ ยุคน้ีวา่ เป็นยคุ Machine-to-Machine เช่น เศรษฐกิจของรัฐบาลไทยที่ให้ความสนใจและส่งเสริม เราสามารถเปิด-ปิด หรือสั่งงานอื่น ๆ กับเครื่องใช้ พัฒนาเศรษฐกิจท่ีแตกตา่ งกันในแตล่ ะยคุ ไฟฟา้ ในบา้ นตวั เองผา่ นแอปพลเิ คชนั โดยไมต่ อ้ งเดนิ ไป Thailand 1.0 กล่าวได้ว่าเป็นยุคของ กดสวิตซ์ หรือตัวอย่างที่ถกู น�ำ มาใชง้ านจรงิ แลว้ อย่าง เกษตรกรรม เชน่ การปลกู ขา้ ว ยางพารา มนั ส�ำ ปะหลงั การ การพูดคำ�ว่า “แคปเจอร์” กับแอพถ่ายภาพใน เลย้ี งปศสุ ตั ว์ โดยน�ำ ผลผลติ ไปขาย สร้างรายไดแ้ ละ สมาร์ตโฟน โทรศพั ทก์ ็จะถ่ายรูปให้อัตโนมัติโดยท่ีเรา ยังชีพ ไม่ต้องกดถ่ายด้วยซํ้า หรือแม้แต่เทคโนโลยีซิมูเลชั่น Thailand 2.0 เป็นยคุ อตุ สาหกรรมเบา (Simulation) จ�ำ ลองสถานการณเ์ พอ่ื ฝกึ อบรมบคุ ลากร ในยุคนเ้ี ราจะมเี ครอ่ื งไมเ้ ครอ่ื งมือเข้ามาชว่ ยผลติ เช่น วางแผนสถานการณ์โดยที่ไม่ต้องเดินทางไปถึงสถานท่ี เสอื้ ผ้า กระเปา๋ เครอ่ื งด่มื เครื่องเขยี น เครือ่ งประดบั จรงิ เป็นตน้ ๑ เป็นต้น ๑ดจิ ิทลั ๔.๐. สบื ค้น ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ http://www.wice.co.th/2018/01/11/digital-4-0-technology/ วารสารทรัพยากรบคุ คลรัฐสภา 35

แตก่ ่อนท่จี ะมี 4.0 นนั้ เคยมี 1.0 2.0. 3.0 มาก่อน แต่ ในการพฒั นา Brand วัดผลการดำ�เนนิ งานของธุรกิจ พวกเราคงไม่รวู้ ่าเคยผา่ นยคุ ต่าง ๆ เหลา่ นี้มาแลว้ สง่ เสรมิ ภาพลักษณแ์ บรนด์ เสมือนวา่ Social Media ดิจิทัล 1.0 ยคุ ของอนิ เทอร์เนต็ เเปปน็็นอกยระา่ บงดอี๓กเสียงและเวทีเสนองานแก่สายตาชาวโลก เป็นยุคที่เกิดขึ้นเมื่อสิบกว่าปีที่ผ่านมา เป็น จุดเริ่มต้นของการใช้เว็บไซต์ และอีเมล เปลี่ยนจาก ดิจิทัล 3.0 ยคุ แห่งข้อมลู และ Big Data การส่งจดหมายติดแสตมป์เป็นเป็นอีเมล ที่สะดวก Big Data เกิดจากการขยายตวั ของข้อมูล รวดเร็วขึ้น การใช้เว็บไซต์แทนโบชัวร์ที่มีข้อมูล อย่างมหาศาล ทกุ แพลตฟอรม์ ไม่วา่ จะเปน็ สื่อโซเชียล ครบถ้วน ๒ใช๔้ตXิด๗ตไ่อมง่มาวีนนั เชหิงยพุด๒าณิชย์เสมือนที่สามารถ เวบ็ เบราวเ์ ซอร์ หรอื แมแ้ ตธ่ รุ กจิ อยา่ งธนาคาร โลจสิ ตกิ ส์ ท�ำ งานได้ ประกันภัย รีเทล ตา่ งมีข้อมลู เขา้ ออกเป็นจ�ำ นวนมาก ดิจทิ ลั 2.0 ยคุ แห่งโซเชยี ลมเี ดีย ในแต่ละวัน และเริ่มมีการนำ�ข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ให้ เครอื ขา่ ยสังคม Social Network น้ี เรม่ิ จาก เกดิ ประโยชน์ ดังคำ�กลา่ วทวี่ ่า “ใครมขี อ้ มูลมาก กม็ ี การคุยหรือแชทกับเพื่อนกลุ่มเล็ก ๆ ที่ต้องการความ อำ�นาจมาก” สะดวกสบายในการติดต่อสื่อสาร จุดเล็ก ๆ นี้ การน�ำ Big Data มาตอบสนองอย่างเรยี ลไทม์ เริ่มพัฒนาและขยายวงกว้างไปสู่การดำ�เนินกิจกรรม นน้ั จ�ำ เปน็ ตอ้ งมรี ะบบคลาวด์ Cloud Computing มาชว่ ย ในเชงิ ธุรกจิ เปน็ เครือ่ งมอื เชือ่ มต่อและสร้างเครอื ขา่ ย อ�ำ นวยความสะดวก จัดเกบ็ ขอ้ มูล เลอื กทรพั ยากร ทางธุรกิจด้วยการคลิกเพียงครั้งเดียว อีกทั้งยังช่วย ตามการใชง้ าน และท�ำ ใหเ้ ราสามารถเข้าถงึ ขอ้ มลู บน ๒เปิดยคุ Digital 1.0 - 4.0. สืบค้น ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ http://marketeer.co.th/archives/24632 ๓ ดิจทิ ลั ๔.๐. สืบคน้ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ http://www.wice.co.th/2018/01/11/digital-4-0-technology/ 36 วารสารทรัพยากรบคุ คลรฐั สภา

คลาวด์จากทีใ่ ดกไ็ ด้ ผู้ใชท้ ุกคนสามารถเข้าถึงระบบ ขั้นตอนที่ ๒ : เพ่มิ ทักษะความสามารถ เม่อื ข้อมลู ตา่ ง ๆ ผา่ นอนิ เทอร์เน็ต สามารถจดั การ บรหิ าร เรามใี จทีพ่ รอ้ มแล้ว ส่งิ ตอ่ ไปท่ีต้องท�ำ คือ การพัฒนา ข้อมูล และแบง่ ปนั ขอ้ มลู กบั ผ้อู ่ืน ลดตน้ ทุนและลด ทักษะความสามารถในยุคดจิ ิทัลเทคโนโลยีนี้ ความยุ่งยากเพื่อโฟกัสกับงานหลัก เพิ่มความเร็วใน ขั้นตอนที่ ๓ : หาประสบการณ์ลองใชด้ จิ ิทัล การบริการมากขึ้น Big Data สามารถนำ�มาต่อยอด เทคโนโลยที ส่ี นใจ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์กบั ตนเอง เพื่อใช้ โดยการคิดค้น เฟ้นหา และประยุกต์ใช้ข้อมูลนั้น กบั ท้ังเรือ่ งสว่ นตวั หรือเรอื่ งงาน ลองเลอื กสง่ิ ทีใ่ กลต้ ัว พัฒนาเป็นแอปพลิเคชัน Application ที่ให้ความ มากท่ีสุดก่อน เพ่อื สรา้ งความคนุ้ เคย ลองผิด ลองถกู แสทะ็บดเวลกต็ สอบีกาดย้วแย๔ก่ผู้บริโภคผ่านทางสมาร์ตโฟนและ ถามคนรอบข้าง เพื่อทำ�ให้เกิดความเข้าใจและใช้ได้ คล่องมากข้ึน เมอ่ื เทคโนโลยแี ละโลกดจิ ทิ ลั ไปไว และเคลอ่ื น ขน้ั ตอนท่ี ๔ : เรียนร้ตู อ่ เนอื่ ง เมื่อได้รจู้ ักการ ทไ่ี มม่ หี ยดุ องคก์ รกต็ อ้ งจ�ำ เปน็ ปรบั ตวั ใหท้ นั ตามเทรนด์ ใช้ดิจิทัลเทคโนโลยีที่สนใจแล้ว ขอให้ขยายขอบเขต ซึ่งปัจจัยสำ�คัญที่จะเป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสู่ การเรยี นรู้ของตนเองออกไปอย่างตอ่ เนอ่ื ง แล้วหาวิธี digital 4.0 คอื ความพรอ้ มของบุคลากร ผสมผสาน การใชป้ ระโยชน์ของดจิ ทิ ลั เทคโนโลยีเหลา่ ปัจจุบัน สำ�นักงาน ก.พ. ได้วางแนวทาง นี้เขา้ ดว้ ยกนั การพฒั นาบุคลากรภาครัฐ โดยวางกรอบการพัฒนา วนั น้ี เพอ่ื น ๆ เรม่ิ พฒั นาตนเองกนั แลว้ หรอื ยงั ? ทพฒักั ษนะาเคพรอื่อเบปคน็ ลมุ“บขคุา้ รลาาชกรกทาง้ัรกดลจิ มุ่ ิทัลIT”แซลึ่งะมกีขลอมุ่ บNเขoตnก-IาTร๕ เพื่อเราจะได้เป็น “ข้าราชการดิจิทัล” ที่ขับเคลื่อน องค์กรรัฐสภาให้บรรลสุ ูก่ ารเปน็ Smart Parliament โดยเพ่ิม “ทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั หรือ Digital literacy” ซี่งหมายถึง ทักษะในการ นำ�เครื่องมือ อปุ กรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทลั ทีม่ อี ยู่ ทา้ ยนี้ วารสาร HR ขอขอบคณุ คำ�ถามของ ในปัจจุบนั อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต็ เพ่อื น ๆ นอ้ ง ๆ และท่สี �ำ คัญอยา่ ลืม ! ถา้ มีข้อสงสยั โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ และสือ่ ออนไลน์ มาใช้ใหเ้ กดิ ดา้ น HR นกึ ถงึ เรา HRJ ชอ่ งทาง email:hrj.parliament ประโยชนส์ ูงสุดในการสือ่ สาร การปฏิบตั งิ าน และ @gmail.com หรอื เบอร์โทรศัพท์ ๐ ๒๓๕๗ ๓๑๙๒ การทำ�งานร่วมกัน หรือใชเ้ พอ่ื พัฒนากระบวนการ ทแำล�งะามนีปรหะรสือิทระธบิภบางพา๖นในซอึ่งงจคะ์กเรปใ็หน้มตีคัววชา่วมยทสันำ�สคมัญัย สำ�หรบั ข้าราชการในการปฏบิ ัติงาน การสอ่ื สาร และ การทำ�งานร่วมกันกับผู้อื่น ซึ่งเพื่อน ๆ ชาวรัฐสภา สามารถดูทักษะด้านดิจิทัลสำ�หรับการปฏิบัติงานของ ข้าราชการ ๙ ด้าน ได้ในคอลัมน์ข้อคดิ ข้อแนะ และ เริ่มต้นพัฒนาตนเองให้ตามทันตามทักษะที่จำ�เป็น สำ�หรับขา้ ราชการยคุ ใหม่ เพอ่ื ไม่ใหต้ กเทรนดโ์ ลกที่ ก�ำ ลงั เปลย่ี นแปลงไป ซง่ึ เพอ่ื น ๆ อาจจะเรม่ิ งา่ ย ๆ จาก ข้นั ตอนที่ ๑ : ปรบั มมุ มอง กรอบความ คิด“สร้างความรสู้ ึกสนกุ เมื่อได้เจออะไรใหม่ ๆ” ๔ ดจิ ทิ ลั ๔.๐. สืบคน้ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ http://www.wice.co.th/2018/01/11/digital-4-0-technology/ 37 ๕ ขา้ ราชการ ๔.๐ ตน้ ทางการพฒั นาสรู่ ฐั บาลดจิ ทิ ลั ..สบื คน้ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑.http://www.forbesthailand.com/commentaries-detail.php?did=2181 ๖ Digital Literacy คอื อะไร สบื คน้ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp วารสารทรัพยากรบคุ คลรฐั สภา

ประมวลภาพ HR วันพุธที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ นายสรศักดิ์ เพียรเวช เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร นำ�คณะผู้บริหาร ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เนื่องใน โอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ๖๖ พรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ สถานโี ทรทศั น์สีกองทัพบก ช่อง ๗ กรุงเทพมหานคร 38 วารสารทรัพยากรบุคคลรฐั สภา

วันจันทร์ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๑ นายสรศักดิ์ เพยี รเวช เลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร เปน็ ประธานในพธิ จี ดุ เทยี น ถวายพระพรชัยมงคล พร้อมกล่าวอาศิรวาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร เนื่องในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา ๖๖ พรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ และพธิ ถี วายสัตย์ ปฏญิ าณเพอื่ เป็นขา้ ราชการที่ดแี ละพลังของแผน่ ดนิ โดยมผี บู้ รหิ าร ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง สำ�นักงานเลขาธิการ สภาผ้แู ทนราษฎร ร่วมในพิธีโดยพรอ้ มเพรยี ง ณ บรเิ วณห้องโถง อาคารรฐั สภา ๑ วารสารทรัพยากรบคุ คลรัฐสภา 39

วนั ศกุ ร์ท่ี ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ นายสรศกั ด์ิ เพยี รเวช เลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร พรอ้ มคณะผบู้ รหิ าร และข้าราชการของสำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ร่วมพิธีรับหมวกและผ้าพันคอพระราชทาน สำ�หรับใช้ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีจิตอาสาตามแนวพระราชดำ�ริ โครงการ จติ อาสา “เราท�ำ ความดี ดว้ ยหวั ใจ” เพอ่ื สบื สานพระราชปณิธาน ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการดำ�เนินกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยราชการท่ีเป็นการพัฒนาสังคมและสร้างสรรค์ ประโยชนต์ ่อประเทศชาติ ณ อาคาร ๖๐๖ ส�ำ นักพระราชวงั สนามเสอื ป่า กรงุ เทพมหานคร 40 วารสารทรพั ยากรบคุ คลรฐั สภา

วันพฤหสั บดที ี่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ศาสตราจารย์พเิ ศษพรเพชร วชิ ติ ชลชยั ประธานสภานติ ิบญั ญัติ แหง่ ชาติ พรอ้ มด้วยสมาชิกสภานติ ิบัญญัตแิ ห่งชาติ ข้าราชการ พนกั งานราชการ และลูกจา้ งประจำ� สำ�นักงาน เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และสำ�นักงานเลขาธิการวุฒิสภา ร่วมทำ�กิจกรรมเนื่องในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ๖๖ พรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๑ โดยชว่ งเชา้ มพี ิธีถวายภัตตาหารเชา้ ท�ำ บุญตกั บาตรถวายพระพรชัยมงคล และถวายสัตย์ปฏญิ าณ เพื่อเปน็ ขา้ ราชการทดี่ ีและเปน็ พลงั ของแผ่นดนิ และช่วงบา่ ย ศาสตราจารยพ์ ิเศษพรเพชร วิชติ ชลชยั ประธานสภานติ บิ ญั ญัติแหง่ ชาติ เป็นประธานในพธิ ีเปิด กิจกรรมรณรงค์และปฏบิ ตั ิการจิตอาสา “เราท�ำ ความดี ดว้ ยหัวใจ” พร้อมกล่าวสำ�นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ุณ สมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ณ บรเิ วณดา้ นหนา้ อาคารรัฐสภา ๒ จากนน้ั คณะจิตอาสา ประกอบด้วยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ บุคลากรสำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สำ�นักงานเลขาธิการวฒุ ิสภาและบคุ ลากรในวงงานรฐั สภา รว่ มทำ�กจิ กรรมรณรงค์และปฏิบตั กิ ารจิตอาสา “เรา ทำ�ความดี ด้วยหวั ใจ” โดยทำ�ความสะอาดทางเท้าตงั้ แต่บริเวณ ประตู ๓ อาคารรฐั สภา ไปจนถึงสี่แยกพชิ ัย และร่วมกันท�ำ ความสะอาดบริเวณโดยรอบวัดน้อยนพคุณ เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ วารสารทรพั ยากรบคุ คลรัฐสภา 41

วันพฤหัสบดีที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติ แหง่ ชาติ พรอ้ มดว้ ยนายสรุ ชยั เลย้ี งบญุ เลศิ ชยั รองประธานสภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ คนทห่ี นง่ึ นายพรี ะศกั ด ์ิ พอจติ รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คนที่สอง สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้บริหารและบุคลากรของ สำ�นักงานเลขาธิการวุฒิสภาและสำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เข้าร่วมพิธีทำ�บุญตักบาตร และถวาย พระพรชัยมงคลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙ เนื่องในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา ๘๖ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ รฐั สภา 42 วารสารทรัพยากรบคุ คลรัฐสภา

วันศุกร์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๑ นายสรศักดิ์ เพียรเวช เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เป็นประธานในพิธี จุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล พร้อมกล่าวอาศิรวาท สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาล ท่ี ๙ เนือ่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ๘๖ พรรษา ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๖๑ โดยมผี บู้ รหิ าร ขา้ ราชการ พนกั งานราชการ และลูกจา้ ง ส�ำ นักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร ร่วมใน พิธโี ดยพรอ้ มเพรยี ง ณ บรเิ วณหอ้ งโถง อาคารรัฐสภา ๑ วารสารทรพั ยากรบุคคลรัฐสภา 43

ระหว่างวันจันทร์ที่ ๒ - วันพฤหัสบดีที่ ๕ และวนั พุธที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ข้าราชการสำ�นกั งาน เลขาธิการวุฒิสภาเข้ารับการฝึกอบรมโครงการสัมมนา Digital Thinking: การขัดกันแห่งผลประโยชน์ส่วนตัวกับ ส่วนรวม ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ จ�ำ นวน ๕ รนุ่ โดยได้รบั เกียรติจาก นายอุทิศ บวั ศรี ผชู้ ่วยเลขาธิการ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ณ ห้องประชุมหมายเลข ๒๗๐๒ ชน้ั ๒๗ อาคารสุขประพฤติ 44 วารสารทรัพยากรบคุ คลรฐั สภา

ระหวา่ งวันจนั ทร์ที่ ๙ และวันพธุ ที่ ๑๑ - วันพฤหสั บดีท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ข้าราชการ สำ�นักงานเลขาธิการวุฒิสภาที่ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บังคับบัญชากลุ่ม/กลุ่มงาน เข้ารับการฝึกอบรม โครงการประเมนิ และพฒั นาบุคลากรตามหลักสมรรถนะ (Competency based HRD) เพื่อ ประกอบการจดั ทำ�แผนพฒั นารายบคุ คล (Individual Development Plan : IDP) จำ�นวน ๒ รุ่น โดยไดร้ ับเกียรติจาก วา่ ทีร่ อ้ ยตรี วินยั ชาครยิ านโุ ยค อ.ก.ร. ประเมนิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล ของงานราชการของรฐั สภา และวทิ ยากรจากสถาบันพัฒนาข้าราชการฝา่ ยตุลาการศาลยุติธรรม เปน็ วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ ณ หอ้ งประชุมหมายเลข ๒๗๐๒ ช้นั ๒๗ อาคารสขุ ประพฤติ และ ระหวา่ งวนั องั คารท่ี ๑๗ - วนั ศกุ รท์ ี่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ นายสมใบ มูลจนั ที ผู้อำ�นวยการสำ�นกั พัฒนาทรพั ยากรบุคคล และทมี สำ�นักพัฒนาทรพั ยากรบุคคล ด�ำ เนินการจดั ฝกึ ปฏิบตั เิ พอ่ื ทบทวน และติดตามผลการจัดท�ำ แผนพัฒนารายบุคคลใหก้ บั ผู้บังคบั บญั ชากลมุ่ งาน วารสารทรพั ยากรบคุ คลรัฐสภา 45

วันอังคารที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ นางละออ ภูธรใจ ที่ปรึกษาด้านระบบงานนิติบัญญัติ เป็นประธาน เปดิ โครงการเปดิ โลกกวา้ งสรา้ งเครอื ข่าย กจิ กรรมที่ ๑ การสมั มนาเรยี นรู้โลกกว้างและจัดนิทรรศการ โดยไดร้ ับเกียรติ จาก นางพรพิศ เพชรเจริญ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และทีมงานร่วมเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ และใน วนั อังคารที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เป็นการจัดกจิ กรรมที่ ๒ การเสวนาสรา้ งเครือขา่ ย โดยมี นางกมลภัทร ประทุมแกว้ ผู้อำ�นวยการกองงานบริหารองค์การระหว่างประเทศ กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ นางสาวอุรุษยา อนิ ทรสุขศรี ผอู้ �ำ นวยการกลุม่ ความรว่ มมือพหุภาคแี ละอาเซียน สำ�นกั ความสัมพันธต์ ่างประเทศ สำ�นกั งานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม และ นางสาวสตีจิตร ไตรพิบูลย์สุข ผู้อำ�นวยการสำ�นักองค์การรัฐสภาระหว่าง ประเทศ ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร เปน็ วิทยากรบรรยายใหค้ วามรู้ ณ หอ้ งโถง ช้ัน ๑ อาคารสขุ ประพฤติ 46 วารสารทรัพยากรบุคคลรัฐสภา

วนั พุธที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑ นางละออ ภูธรใจ ทีป่ รึกษาด้านระบบงานนิติบัญญตั ิ นำ�คณะบุคลากร ของส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารวุฒิสภาและส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร เขา้ รว่ มการศกึ ษาดูงานตามโครงการ สร้างและพัฒนาความร่วมมือด้านนิติบัญญัติกับเครือข่ายภายในประเทศ โดยได้รับเกียรติจาก ผศ.ดร.พรเทพ เบญญาอภกิ ลุ รักษาการผ้อู ำ�นวยการศูนยอ์ าเซียนศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ให้การตอ้ นรบั และบรรยาย สรปุ และเขา้ เยย่ี มชมหอสมดุ ปว๋ ย อง๊ึ ภากรณ์ ศนู ยก์ ารเรยี นรกู้ รมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ณ ศนู ยอ์ าเซยี นศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ รงั สติ วารสารทรัพยากรบุคคลรัฐสภา 47

วนั พุธที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๖๑ สำ�นกั พฒั นาบคุ ลากรจัดโครงการบรรยายธรรมส�ำ หรับบุคลากรของ สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ กิจกรรมท่ี ๔ บรรยายธรรมเนอ่ื งใน วันอาสาฬหบูชา เร่ือง คิดดี พูดดี เพอื่ สามัคคี และภกั ดใี นองค์กร โดยไดร้ บั เกียรติจากอาจารย์ธีรยุทธ เวชเจริญ ย่งิ อาจารยส์ อนปฏิบตั ิธรรมเป็นวทิ ยากรบรรยาย ณ โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอรอ์ นิ น์ ถนนพระราม ๖ กรุงเทพฯ 48 วารสารทรพั ยากรบคุ คลรัฐสภา