Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2561-2565)

ยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2561-2565)

Published by flowerz_uk, 2019-12-24 01:03:55

Description: ยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2561-2565)

Search

Read the Text Version

ยุทธศาสตร์การบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล ของสว่ นราชการสังกดั รัฐสภา ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

คำนำ ตามท่ี คณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.) ได้มีมติแต่งต้ังคณะอนุกรรมการข้าราชการรัฐสภา (อ.ก.ร.) เฉพาะกิจ ศึกษาและ จัดทายุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา โดยมีอานาจหน้าที่ในการจัดทาร่างยุทธศาสตร์การบริหาร ทรัพยากรบุคคลของสว่ นราชการสงั กัดรัฐสภา ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) เพ่ือให้การจัดทาร่างยุทธศาสตร์การบรหิ ารทรัพยากรบุคคล ดังกล่าว มีข้อมูลประกอบการพิจารณาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน อ.ก.ร. เฉพาะกิจฯ จึงได้พิจารณาและศึกษาข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง และวิเคราะหข์ ้อมูล เพื่อนามาจดั ทายุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบคุ คลของสว่ นราชการสังกดั รัฐสภา ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ได้นาเอาสถานการณ์ และสภาพแวดล้อมในปัจจุบันท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรและพัฒนาประเทศมาเป็นข้อมูล เพ่ือจุดมุ่งหมายให้การบริหาร ทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาสอดคล้องกับสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ภายใต้วิสัยทัศน์ “บริหำรจัดกำร ทรัพยำกรบุคคลของส่วนรำชกำรสังกัดรัฐสภำตำมหลักธรรมำภิบำล ให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีคุณภำพชีวิตที่ดี ” โดยมุ่งให้ใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ท้ังในด้านวิชาการและ การให้บริการ เพ่ือสนับสนุนกระบวนการนิติบัญญัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของสมาชิกรัฐสภา ประชาชน หรือผ้ทู เ่ี ก่ียวข้อง รวมทั้งตอบสนองหรือรองรับต่อการเปลีย่ นแปลงตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งครบถว้ นและเหมาะสม ขอให้ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้นายุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลฯ ฉบับนี้ไปใช้เป็นกรอบทิศทาง การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาให้เป็นไปในทิศทางและเป้าหมายเดียวกัน เพ่ือขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเกิดประโยชนสูงสุดต่อสถาบันนิติบัญญัติ ประเทศชาติและประชาชนตอ่ ไป อ.ก.ร. เฉพำะกิจ ศึกษำและจดั ทำยุทธศำสตร์ กำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลของส่วนรำชกำรสงั กดั รัฐสภำ

สำรบัญ หน้ำ บทนา...................................................................................……………………………………………………………………………………………………… ๑ บรบิ ทและกรอบแนวคิด..................................………………………………………………………………………………………………………………………… ๔ ยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารทรัพยากรบคุ คลของสว่ นราชการสังกัดรฐั สภา ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)............................................. ๘ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงคห์ ลกั ....................................................………………………………………………………………………………………… ๑๑ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์................................................................................................................................................................................. ๑๓ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ ส่งเสรมิ ระบบการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ และยึดหลักธรรมาภิบาล………………………………………….. ๑๕ ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ ขบั เคลื่อนและผลกั ดันให้ทรัพยากรบคุ คลเปน็ คนดี มคี ุณธรรม จริยธรรม และกล้ายืนหยัดในสง่ิ ท่ถี ูกต้อง……………….. ๒๑ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ พฒั นาทรัพยากรบคุ คลให้เป็นผ้มู ีความเชยี่ วชาญ มีศักยภาพสงู และนาเทคโนโลยีมาสนบั สนนุ ภารกิจ ด้านกระบวนการนิตบิ ญั ญตั ิอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ……………………………………………………………………………………………………………………… ๒๕ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ สรา้ งความผาสุกและพฒั นาคุณภาพชีวติ ของทรัพยากรบุคคลให้มีความสุขอยา่ งสมดลุ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง............................................................................................................................. ............................. ๓๑

บทนา ๑ยทุ ธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสังกดั รฐั สภำ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาได้ดาเนินการตามยุทธศาสตร์การบริหาร ทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา และได้มีประกาศคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภามาแล้วทั้งส้ิน ๒ ฉบับ ได้แก่ ข้าราชการรัฐสภา ลงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ เพื่อแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ ยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ซึ่งได้ ข้าราชการรัฐสภา (อ.ก.ร.) เฉพาะกิจ ศึกษาและจัดทายุทธศาสตร์การบริหาร ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๕ และยุทธศาสตร์การบริหาร ทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา มีอานาจหน้าที่จัดทายุทธศาสตร์ ทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐) การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับที่ ๓ เ พ่ื อ ใ ช้ เ ป็ น ก ร อ บ แ น ว ท า ง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) เพ่ือให้ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาได้ใช้เป็นแนวทาง ท่ีมีประสิทธิภาพ ให้ได้มาซ่ึงทรัพยากรบุคคลท่ีเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ในการบริหารทรัพยากรบคุ คลต่อไป ตรงตามความต้องการของส่วนราชการ สามารถปฏิบัติราชการเพื่อสนับสนุน กระบวนการนิติบัญญัติตามบทบาทและภารกิจของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาได้ ตอ่ มา ในการประชุม อ.ก.ร. เฉพาะกจิ ศึกษาและจัดทายุทธศาสตร์การ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ ยังเป็นแนวทางเพ่ือปรับปรุงโครงสร้าง บริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๐ และระบบงานให้มีประสิทธิภาพ รวมท้ังอานวยความสะดวกในการออกกฎ เม่ือวันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ที่ประชุมได้มีมติแต่งต้ัง คณะทางานศึกษาและ ระเบยี บ และการงบประมาณท่ีเหมาะสมสาหรับราชการของฝ่ายนติ บิ ัญญัติ จัดทายุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภ า โดยมีผู้อานวยการสานักงานเลขานุการ ก.ร. เป็นประธานคณะทางาน เน่ืองจากยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการ และมีคณะทางานประกอบด้ว ยบุคลากรของสานักงานเลขาธิก า ร สังกัดรัฐสภา ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๖๐) ที่ได้ประกาศใช้เป็นกรอบ สภาผู้แทนราษฎรและสานักงานเลขาธิการวุฒิสภา มีอานาจหน้าท่ีในการศึกษา ทิศทางการดาเนินการด้านทรัพยากรบุคคลมาต้ังแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ รวบรวมข้อมูลรายละเอียดที่เก่ียวข้องเพ่ือจัดทาร่างยุทธศาสตร์การบริหาร จะครบวาระ ๕ ปี และจะสิ้นสุดลงในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ดังน้ัน เพ่ือให้ ทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) การดาเนินการและการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรฐั สภา ทงั้ น้ี เพอื่ ใหก้ ารจัดทายุทธศาสตร์การบรหิ ารทรัพยากรบุคคลฯ เปน็ งานทเ่ี กิดจาก ดาเนินไปอย่างต่อเน่ืองและมีประสิทธิภาพ อีกท้ังมีความสอดคล้องและสามารถ การมีส่วนร่วมของบุคลากรของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา และดาเนินการ รองรับบริบทและสภาพแวดล้อมของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายตามอานาจหน้าท่ี มีข้อมูล ในคราวประชุมคณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา (ก.ร.) คร้ังที่ ๒/๒๕๖๐ ประกอบการพิจารณาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงจะส่งผลให้ เม่ือวันจันทร์ที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ จึงได้มีมติแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ การจัดทาร่างยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลฯ ดาเนินการได้อย่าง ข้าราชการรัฐสภา (อ.ก.ร.) เฉพาะกิจ ศึกษาและจัดทายุทธศาสตร์การบริหาร เหมาะสม ถกู ต้อง และรวดเร็ว ๒ยุทธศำสตรก์ ำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสงั กดั รัฐสภำ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ภ า ย ใ ต้ บ ริ บ ท แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ ข อ ง เป็นระยะเวลา ๕ ปี เพื่อกาหนดกรอบทิศทางและแนวทางการพัฒนางาน ฝ่ายนิติบัญญัติที่เปลี่ยนแปลงไป อ.ก.ร. เฉพาะกิจ ศึกษาและจัดทายุทธศาสตร์ ด้านทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ให้สอดรับกับการปฏิบัติ การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาและคณะทางานศึกษา ภารกิจหลักด้านการสนับสนุนกระบวนการนิติบัญญัติ รวมท้ังสามารถรองรับ และจัดทายุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา สภาพแวดล้อมและบริบทขององค์กรที่เปลี่ยนแปลง สร้างบุคลากรของรัฐสภาให้ ได้รวบรวมประเด็นปัจจัยต่าง ๆ กอปรกับผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ เป็นบุคลากรท่ีทันสมัย อีกทั้งเป็นคนดี คนเก่ง สามารถปฏิบัติงานเพ่ือบรรลุ การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาท่ีผ่านมา ข้อคิดเห็น เป้าหมายของสว่ นราชการสังกัดรฐั สภาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ และข้อเสนอแนะของผู้รับบริการและผู้ปฏิบัติงาน นามาดาเนินการศึกษา ทบทวน วิเคราะห์ และจัดทาเป็นยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของ ส่วนราชการสงั กัดรัฐสภา ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) สาหรับการบังคบั ใช้ ๓ยุทธศำสตรก์ ำรบริหำรทรพั ยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสงั กัดรฐั สภำ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

บรบิ ทและกรอบแนวคิดการจดั ทายทุ ธศาสตร์ การบรหิ ารทรัพยากรบคุ คลของสว่ นราชการสงั กดั รัฐสภา ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ๔ยทุ ธศำสตรก์ ำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสังกัดรฐั สภำ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

อ.ก.ร. เฉพาะกิจ ศึกษาและจัดทายุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากร ๓. แ ผน พัฒน ำเศรษฐกิจและสังคมแ ห่งชำติ ฉบับที่ ๑๒ บุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ได้นาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ได้กาหนดหลักการพัฒนาประเทศ มุ่งเน้นการพัฒนา มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล ข อ ง ท่ีน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักปรัชญาพื้นฐาน ส่วนราชการสังกัดรัฐสภามาเป็นกรอบแนวคิดและทิศทางของยุทธศาสตร์ ในการกากับทิศทางการพัฒนาประเทศให้เติบโตอย่างมีดุลยภาพ คานึงถึง การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ประกอบด้วย การวางรากฐานการพัฒนาในระยะยาว การพัฒนาคนให้เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ความเพียร และมจี ิตสานึกคานึงถึงประโยชนข์ องชาตเิ ป็นสาคญั ๑. รฐั ธรรมนญู แห่งรำชอำณำจักรไทย พทุ ธศักรำช ๒๕๖๐ ซ่งึ มงุ่ เนน้ การพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดิน การป้องกันและขจัดการทุจริตและ ๔. นโยบำย “ประเทศไทย ๔.๐” (Thailand 4.0) เป็นแนวคิด ประพฤติมิชอบในทุกภาคส่วน ตลอดจนการบริหารงานบุคคลของหน่วยงาน การปรบั เปล่ียนโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ “Value-Based Economy” ของรัฐให้เปน็ ไปตามระบบคุณธรรม การพัฒนาเจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ให้มีความซ่ือสัตย์ หรือ “เศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม” ด้วยการใช้การบริหารจัดการ สุจริต เป็นผู้ให้บริการให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติ และปฏิบัติ ร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม โดยใช้พลังประชารฐั ในการขับเคลอื่ น หนา้ ทอี่ ย่างมีประสิทธภิ าพ รวมท้งั แนวทางการปฏริ ปู ประเทศในด้านต่าง ๆ เน้นตามความถนัดและจุดเด่นของแต่ละองค์กร โดยมีภาครัฐเป็นผู้สนับสนุน ท้ังนี้ นโยบายประเทศไทย ๔.๐ จะสร้างความเช่ือมโยงไปสู่การพัฒนาระบบ ๒. ร่ำงกรอบยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) บรหิ ารจัดการภาครัฐให้ทันสมัย สอดรบั กับนโยบายและความเปลย่ี นแปลง เป็นกรอบในการพัฒนาระยะยาว เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์การขับเคลอ่ื นการพฒั นา ประเทศสู่ความม่ันคง มั่งค่ัง และย่ังยืน ทั้งนี้ กรอบแนวทางการพัฒนาตาม ๕. แนวโน้มควำมเปลี่ยนแปลงด้ำนกำรบริหำรและกำรพัฒนำ ยุทธศาสตร์ชาติในระยะ ๒๐ ปีต่อจากน้ี ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ทรัพยำกรมนุษย์ของโลก (HR Trends) รวบรวมจากรายงานของ The World (๑) ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง (๒) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถ Economic Forum ซึ่งได้กล่าวถึงการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมและ ในการแข่งขัน (๓) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน เทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ีจะมีผลต่อองค์กร แรงงาน และระบบการทางาน รวมทั้ง (๔) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม คณุ สมบตั ติ า่ ง ๆ ของทรพั ยากรมนษุ ย์ท่จี าเป็นสาหรบั การทางานในอนาคต (๕) ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม และ (๖) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครฐั ๕ยุทธศำสตรก์ ำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบคุ คลของส่วนรำชกำรสงั กดั รัฐสภำ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

๖. แผนยุทธศำสตร์สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๑๐. นโยบำย ก.ร. และผู้บริหำร ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔ มีวิสัยทัศน์ คือ “สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร มีการมุ่งเน้นใน ๔ เร่ือง คือ (๑) การเตรียมการสู่การเป็น Smart Parliament เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ท่ี มี ขี ด ส ม ร ร ถ น ะ สู ง ( High Performance Organization) (๒) การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมขององค์กร (๓) กรอบแนวทางในการจัดทา เพอื่ สนับสนุนบทบาทภารกิจสถาบันนติ ิบัญญัตใิ ห้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน” ร่างแผนยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลฯ และ (๔) การปรับปรุง โ ดยได้นารายละเอียดมาศึกษาเพ่ือให้ การบริหารทรัพยากรบุคคล โครงสรา้ งของสว่ นราชการสังกดั รฐั สภา มีความสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์และทศิ ทางของสว่ นราชการ ๑๑. ข้อมูลกำลังคนของส่วนรำชกำรสังกัดรัฐสภำ โดยศึกษาและ ๗. แผนยุทธศำสตร์สำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ ฉบับท่ี ๔ วิเคราะห์ข้อมูลอัตรากาลงั ข้อมูลเชิงประชากร และแนวโน้มการสูญเสียกาลังคน (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) มีวิสัยทัศน์ คือ “องค์กรที่เป็นเลิศในการส่งเสริม ท้ังในปัจจุบันและอนาคต เพ่ือเป็นแนวทางในการบริหารจัดการกาลังคน สนับสนุนงานฝ่ายนิติบัญญัติ” โดยได้นารายละเอียดมาศึกษาเพ่ือให้การบริหาร ของส่วนราชการสังกัดรัฐสภ าให้เหมาะสมกับภ ารกิจ ยุทธศาสตร์ ทรัพยากรบุคคลมคี วามสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรแ์ ละทิศทางของส่วนราชการ และการเปลี่ยนแปลงขององค์กร ๘. ยุทธศำสตร์ของสว่ นรำชกำรสังกัดรัฐสภำในกำรก้ำวไปส่กู ำรเป็น ๑๒. ผลกำรดำเนินกำรตำมยุทธศำสตร์กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล Smart Parliament & Digital Parliament เพ่ือกาหนดแนวทางการพัฒนา ของส่วนรำชกำรสังกัดรัฐสภำ ฉบับท่ี ๑ และ ๒ เพื่อให้ส่วนราชการสังกัด ทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาองค์กรเพื่อมุ่งสู่การเป็น รฐั สภามีการประเมนิ สถานภาพปัจจบุ นั ของการบริหารทรัพยากรบุคคล รบั ทราบ Smart Parliament และ Digital Parliament ระดับสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ได้ดาเนินการในช่วงยุทธศาสตร์ การบริหารทรพั ยากรบุคคลฯ ที่ผ่านมา โดยการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบกบั ๙. แผนยุทธศำสตร์ด้ำนประชำคมอำเซียนของส่วนรำชกำร มาตรฐานความสาเร็จด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) สังกัดรัฐสภำ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ เพื่อกาหนดแนวทางการพัฒนาทรพั ยากร ตามทีส่ านักงาน ก.พ. กาหนด บุคคลให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินการด้านประชาคมอาเซียนของ สว่ นราชการสังกดั รัฐสภา ๖ยทุ ธศำสตรก์ ำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสังกัดรฐั สภำ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

๑๓. กำรสัมภำษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของส่วนรำชกำรสังกัดรัฐสภำ ในประเด็นกำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คล โดยดาเนนิ การสัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูล และข้อคิดเหน็ จากผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ในงานของสว่ นราชการสงั กัดรฐั สภา ทงั้ จาก บุคลากรภายนอกซ่ึงเป็นผู้รับบริการ และบุคลากรภายในซึ่งเป็นผู้ให้บริการ/ ผู้ปฏิบัติงาน ได้แก่ อดีตประธานรัฐสภา อดีตสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภา นิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) สมาชิกสภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ผู้บริหารของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ตลอดจนผู้บังคับบัญชากลุ่มงานของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา และสื่อมวลชน จานวนทั้งสิ้น ๘๑ คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับทราบปัญหา/อุปสรรค ในการปฏบิ ัตงิ าน อกี ท้ังความคาดหวงั ตอ่ บคุ ลากรของสว่ นราชการสงั กดั รัฐสภา ๑๔. กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมภำยในและภำยนอกองค์กร ของส่วนรำชกำรสังกัดรัฐสภำ (SWOT Analysis) โดยได้จัดกิจกรรมเพ่ือให้ บุคลากรของสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสานักงานเลขาธิการ วุฒิสภาร่วมกันระดมความคิดเห็น เพ่ือหาช่องว่างระหว่างปัจจัยด้านบวก และด้านลบขององค์กร และนาข้อมูลท่ีได้มากาหนดแนวทางการพัฒนาองค์กร ให้ไปสู่เปา้ หมายได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๗ยทุ ธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสังกัดรัฐสภำ ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยุทธศาสตร์การบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล ของสว่ นราชการสังกดั รัฐสภา ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ๘ยทุ ธศำสตรก์ ำรบริหำรทรพั ยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสงั กัดรฐั สภำ ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

คณุ ภาพชวี ติ ๙ยทุ ธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คลของส่วนรำชกำรสงั กดั รัฐสภำ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ุยทธศาสต ์ร เ ้ปาประสงค์ ัพนธ ิกจ วิสัย ัทศน์ ยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลฯ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) บริหำรจัดกำรทรัพยำกรบุคคลของส่วนรำชกำรสังกัดรัฐสภำตำมหลักธรรมำภิบำลใหเ้ ปน็ คนดี คนเก่ง และมีคุณภำพชวี ติ ทีด่ ี ส่งเสริมระบบกำรบริหำรทรพั ยำกร ขับเคลอ่ื นและผลกั ดนั กำรดำเนนิ กำร พฒั นำทรพั ยำกรบุคคล ให้เป็น สรำ้ งควำมผำสกุ และพฒั นำ บุคคลให้มีประสิทธิภำพ ด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม และกำร ผเู้ ชี่ยวชำญและมีศกั ยภำพสงู คุณภำพชีวติ ตำมหลกั ปรชั ญำ ปฏบิ ตั ิตำมวนิ ัยข้ำรำชกำร เศรษฐกิจพอเพยี ง มีระบบการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล ทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ตั ติ ามหลกั ทรพั ยากรบคุ คลมคี วามเชยี่ วชาญ มี ทรัพยากรบุคคลมีคณุ ภาพชวี ิตท่ีดี เชงิ รกุ ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล คณุ ธรรม มาตรฐานทางจรยิ ธรรม ศกั ยภาพสูง นาระบบเทคโนโลยีมา มคี วามสุข ความสมดลุ รองรบั การเปลยี่ นแปลง สนบั สนุนภารกิจดา้ นนิติบญั ญตั ิ รักและผกู พนั ตอ่ องคก์ ร และวนิ ยั ขา้ ราชการ สง่ เสริมระบบการบริหาร พัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีความเชย่ี วชาญ สรา้ งความผาสกุ และพัฒนา ทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธภิ าพ ขบั เคลอ่ื นและผลกั ดันใหท้ รพั ยากร มศี กั ยภาพสูง และนาเทคโนโลยีมา คุณภาพชวี ิตให้มคี วามสขุ อยา่ งสมดลุ บคุ คลเปน็ คนดี มคี ุณธรรม จริยธรรม สนับสนนุ ภารกิจดา้ นกระบวนการ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยึดหลักธรรมาภิบาล นิตบิ ญั ญตั อิ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และกลา้ ยืนหยดั ในสิ่งทถ่ี ูกต้อง กลยุท ์ธ บริหารจัดการแผน ุคณธรรม จ ิรยธรรม กระบวนการพัฒนา ยกระ ัดบ กาลังคน ผู้นาต้นแบบ การใช้เทคโนโลยี ุคณภาพชีวิต และนวัตกรรม เศรษฐ ิกจพอเพียง ระบบความก้าวห ้นา ้ปองกันการกระทา ในอาชีพ ผิดวิ ันย/กฎหมาย พัฒนาภาษา CSR ่ตางประเทศ สรรหาเ ิชงรุก ความโป ่รงใส วัฒนธรรม PMS การเรียนรู้ สารสนเทศ ้ดานบุคคล แผนงาน บริหารจัดการ สรรหาคนเกง่ ตดิ ตาม ขับเคลอ่ื น รณรงค์ดา้ น ปรบั ปรงุ บรู ณาการ พัฒนา พัฒนา แผน KM สวัสดกิ าร กจิ กรรม แผนกาลงั คน PMS ผลกั ดันกลไก วินยั มาตรฐาน หลักสูตร ทักษะ IT หลักสตู ร ความพอเพยี ง ความรู้ ความสัมพนั ธ์ ติดตามระบบ แตง่ ตั้ง ดาเนินการ ป้องกนั การทจุ รติ ทักษะ นกั กฎหมาย ประเมนิ พฒั นา เรยี นรู้ ให้ความรู้ ความกา้ วหน้า หลักสตู รสรา้ ง สมรรถนะ นิติบญั ญัติ ผลการ ทกั ษะ ดว้ ย สารวจความ จดั การระบบ พัฒนา ภาษา ตนเอง พึงพอใจ กจิ กรรม CSR ในอาชพี ให้ทนั สมยั จรยิ ธรรม นักวิชาการ ครบถ้วน ดาเนนิ การ การพัฒนา นโยบายโปรง่ ใส ๑๐ยุทธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบุคคลของส่วนรำชกำรสงั กัดรัฐสภำ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ เปา้ ประสงคห์ ลกั ๑๑ยุทธศำสตร์กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสงั กดั รัฐสภำ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลฯ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) วสิ ยั ทศั น์ บรหิ ำรจัดกำรทรัพยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสงั กัดรฐั สภำตำมหลักธรรมำภิบำลให้เปน็ คนดี คนเก่ง และมีคุณภำพชีวติ ที่ดี พนั ธกจิ ส่งเสรมิ ระบบกำร ขบั เคล่อื นและผลักดนั พฒั นำทรัพยำกรบคุ คล สร้ำงควำมผำสุกและ บริหำรทรัพยำกรบคุ คล กำรดำเนนิ กำรด้ำน ให้เป็นผ้เู ชย่ี วชำญและ พัฒนำคณุ ภำพชวี ิต คณุ ธรรม จริยธรรม ของทรัพยำกรบคุ คล ให้มีประสทิ ธภิ ำพ มีศกั ยภำพสงู ตำมหลกั ปรชั ญำ และกำรปฏิบตั ิ เศรษฐกิจพอเพียง ตำมวินัยข้ำรำชกำร เปา้ ประสงคห์ ลกั มีระบบกำรบริหำร ทรพั ยำกรบุคคล ทรพั ยำกรบุคคลเป็น ทรพั ยำกรบุคคลมคี ณุ ภำพ ทรัพยำกรบคุ คลเชิงรกุ ยดึ ม่ันต่อกำรปฏบิ ตั ติ ำม ผมู้ ีควำมเชย่ี วชำญและ ชวี ิตทด่ี ี มคี วำมสุข โดยยดึ หลกั ธรรมำภบิ ำล หลกั คุณธรรม มำตรฐำน มีควำมคล่องตัว สำมำรถ มศี ักยภำพสงู มคี วำมสมดลุ ระหวำ่ งชีวิต รองรบั กำรเปลีย่ นแปลง ทำงจรยิ ธรรม รวมท้งั สำมำรถนำระบบ กำรทำงำนกับชีวิตส่วนตัว ของบทบำทและภำรกจิ ของ และวินัยข้ำรำชกำร เทคโนโลยีมำสนับสนุน มคี วำมรัก ควำมสำมัคคี ภำรกจิ ด้ำนกระบวนกำร และควำมผกู พันตอ่ องค์กร รฐั สภำไดอ้ ย่ำง มีประสทิ ธิภำพ นิติบัญญตั ไิ ด้อยำ่ ง มปี ระสทิ ธภิ ำพ ๑๒ยุทธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสังกดั รฐั สภำ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ๑๓ยุทธศำสตรก์ ำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบุคคลของส่วนรำชกำรสังกดั รัฐสภำ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ ๑. สง่ เสรมิ ระบบกำรบรหิ ำรทรัพยำกรบุคคล ๑) บริหำรจัดกำรแผนกำลงั คนใหเ้ หมำะสมกบั ภำรกจิ ยุทธศำสตร์ และกำรเปล่ยี นแปลงของสว่ นรำชกำรสังกัดรฐั สภำ ให้มปี ระสิทธภิ ำพ และยดึ หลักธรรมำภิบำล ๒) ขบั เคลือ่ นระบบควำมกำ้ วหน้ำในอำชีพใหแ้ ก่บคุ ลำกรของส่วนรำชกำรสงั กัดรัฐสภำ ตำมหลกั ธรรมำภิบำล ๓) เสริมสร้ำงระบบกำรสรรหำเชิงรุก เพื่อให้ได้บคุ ลำกรตรงตำมควำมต้องกำรของส่วนรำชกำรสงั กัดรัฐสภำ ๒. ขับเคลอื่ นและผลักดนั ให้ทรัพยำกรบุคคล ๔) เสรมิ สร้ำงระบบกำรบริหำรผลกำรปฏบิ ตั ิงำน (Performance Management System : PMS) เป็นคนดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๕) ส่งเสรมิ กำรจัดกำรระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศและขอ้ มูลดำ้ นทรพั ยำกรบุคคลใหม้ ีประสทิ ธภิ ำพ และกล้ำยืนหยดั ในสิ่งทถี่ กู ตอ้ ง ๑) ขบั เคลอ่ื นและผลกั ดนั กลไกดำ้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และส่งเสริมใหม้ ีผู้นำตน้ แบบทำงจรยิ ธรรม ๒) ส่งเสริมและสนบั สนนุ กำรดำเนินกำรด้ำนวินัยและกำรป้องกนั กำรกระทำผิดกฎหมำยทเี่ ก่ียวกับ กำรทจุ ริตในภำครฐั ๓) ขบั เคลื่อนและผลักดันนโยบำยควำมโปรง่ ใสของรัฐสภำ ๓. พฒั นำทรัพยำกรบคุ คลใหเ้ ป็นผมู้ คี วำม ๑) เสริมสรำ้ งกระบวนกำรพัฒนำทรัพยำกรบุคคลของส่วนรำชกำรสังกัดรัฐสภำทมี่ ีประสทิ ธิภำพ เชย่ี วชำญ มศี กั ยภำพสงู และนำเทคโนโลยี ๒) นำเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมมำใชใ้ นกำรปฏบิ ัตงิ ำนไดอ้ ย่ำงมปี ระสิทธิภำพ มำสนับสนนุ ภำรกจิ ด้ำนกระบวนกำร ๓) พฒั นำศกั ยภำพด้ำนภำษำตำ่ งประเทศใหแ้ ก่ทรพั ยำกรบคุ คล นติ บิ ญั ญตั อิ ย่ำงมีประสทิ ธิภำพ ๔) ผลักดนั วัฒนธรรมกำรเรียนรใู้ ห้เป็นวฒั นธรรมองคก์ ร ๔. สร้ำงควำมผำสกุ และพัฒนำคุณภำพชวี ติ ๑) ยกระดับคุณภำพชีวติ ของทรัพยำกรบุคคล ของทรัพยำกรบุคคลใหม้ ีควำมสขุ อยำ่ งสมดลุ ๒) สง่ เสรมิ และสนับสนุนกำรดำเนนิ ชวี ติ ตำมหลักปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง ตำมหลกั ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓) สง่ เสริมและสนบั สนุนกจิ กรรมเพอื่ สังคม สิ่งแวดล้อม และกิจกรรมควำมรับผดิ ชอบต่อสงั คม (Corporate Social Responsibility : CSR) ๑๔ยุทธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรัพยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสงั กัดรัฐสภำ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ สง่ เสริมระบบการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และยึดหลกั ธรรมาภิบาล ๑๕ยทุ ธศำสตร์กำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลของส่วนรำชกำรสังกดั รฐั สภำ ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ : สง่ เสรมิ ระบบการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล เปา้ หมาย : มีระบบการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลเชงิ รกุ โดยท่ยี ดึ หลกั ธรรมาภบิ าล มีความคล่องตวั สามารถรองรับการเปลยี่ นแปลงบทบาทและภารกจิ ของรฐั สภาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ กลยุทธ์ที่ ๑ บริหำรจดั กำรแผนกำลังคนให้เหมำะสมกบั ภำรกิจ ยุทธศำสตร์ และกำรเปล่ียนแปลงของสว่ นรำชกำรสังกดั รฐั สภำ วตั ถุประสงค์ ผู้ ัรบผิดชอบ ัตว ้ีช ัวด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๑) บริหารจดั การแผนกาลังคนใหเ้ หมาะสมกบั ภารกิจ ยทุ ธศาสตร์ (๑) เพือ่ ใหส้ ่วนราชการสังกัดรฐั สภามี และการเปลีย่ นแปลงของส่วนราชการสังกัดรฐั สภา แผนกาลงั คนที่เหมาะสมกับส่วนราชการ มกี ารลด/เพิ่มขนาดกาลงั คนและการกาหนด การบริหารจดั การแผนกาลงั คน ให้เหมาะสมกับภารกจิ ยทุ ธศาสตร์ ตาแหน่งตามความจาเปน็ ของภารกิจ และการเปลี่ยนแปลงของสว่ นราชการสังกัดรฐั สภา เพ่อื ประโยชน์ในการบริหารทรพั ยากรบุคคล ในระยะยาวให้เกิดความตอ่ เน่ืองและ มีความยดื หยนุ่ ต่อความเปล่ยี นแปลง (๒) เพอ่ื ให้สว่ นราชการสงั กดั รฐั สภาสามารถ นาแผนกาลงั คนไปเป็นเครื่องมือในการบริหาร ทรพั ยากรบคุ คลได้ตามภารกิจทส่ี ว่ นราชการ รับผิดชอบอยา่ งเหมาะสมและคุ้มคา่ ผลลัพธ์ ระดบั ความสาเร็จของการบริหารจัดการแผนกาลังคนของส่วนราชการสังกดั รัฐสภา (๑) มแี ผนกาลงั คนทเ่ี หมาะสมกับ หนว่ ยงำนหลกั ภารกิจ ยทุ ธศาสตร์ และการ สานักบริหารงานกลาง (สผ./สว.) เปลยี่ นแปลงของสว่ นราชการ หน่วยงำนทีเ่ ก่ียวขอ้ ง (๒) ส่วนราชการสงั กดั รัฐสภานา ทุกหนว่ ยงาน แผนกาลงั คนไปเปน็ เครอ่ื งมอื และ ประกอบการตัดสนิ ใจในการบรหิ าร ๑๖ยทุ ธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสงั กดั รฐั สภำ ฉบับท่ี ๓ งานบุคคล (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ : สง่ เสรมิ ระบบการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล เปา้ หมาย : มรี ะบบการบริหารทรัพยากรบคุ คลเชิงรกุ โดยทีย่ ดึ หลกั ธรรมาภบิ าล มีความคล่องตัว สามารถรองรับการเปล่ยี นแปลงบทบาทและภารกจิ ของรฐั สภาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ กลยทุ ธ์ที่ ๒ ขับเคลือ่ นระบบควำมกำ้ วหนำ้ ในอำชีพใหแ้ ก่บคุ ลำกรของส่วนรำชกำรสงั กดั รฐั สภำ ตำมหลักธรรมำภบิ ำล วัตถุประสงค์ ผู้รับผิดชอบ ัตว ้ีช ัวด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๒) ขบั เคล่ือนระบบความก้าวหน้าในอาชีพใหแ้ ก่บุคลากร (๑) เพอ่ื ให้สว่ นราชการสังกดั รัฐสภามกี าร ของสว่ นราชการสังกัดรัฐสภา ตามหลกั ธรรมาภิบาล ดาเนนิ การระบบความก้าวหน้าในอาชีพตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม บุคลากรไดร้ ับการพฒั นาใหม้ ี การดาเนินการและตดิ ตามการนาระบบความก้าวหน้าในอาชีพไปปฏบิ ตั ิ ได้แก่ ศักยภาพเพียงพอ มคี วามพร้อมดา้ นต่าง ๆ > แผนเสน้ ทางความก้าวหน้าในสายอาชพี (Career Path) สาหรบั การปฏบิ ตั งิ านในบรบิ ทท่อี าจเปลยี่ นแปลง > แผนสบื ทอดตาแหน่ง (Succession Plan) ในอนาคต > ระบบบรหิ ารขา้ ราชการผมู้ ศี ักยภาพสูง (Talent Management) (๒) เพื่อใหส้ ว่ นราชการมีการดาเนินการเชงิ รุก > แผนการหมุนเวยี นการปฏบิ ตั งิ าน ในการรกั ษาบุคลากรทมี่ ศี กั ยภาพสงู ใหอ้ ยู่ ปฏบิ ตั ิงานในส่วนราชการสังกดั รัฐสภา (Job Rotation) (๓) เพอ่ื สร้างความผกู พันตอ่ องค์กร (Employee engagement) ส่งผลใหเ้ กดิ การปฏิบัตงิ าน  ระดบั ความสาเรจ็ ของของการดาเนนิ การตามระบบความก้าวหนา้ ในอาชพี ทมี่ ปี ระสิทธิภาพมากย่งิ ขึน้  ร้อยละความพงึ พอใจของบคุ ลากรทีม่ ีต่อระบบความก้าวหนา้ ในอาชพี ผลลัพธ์ หน่วยงำนหลัก หนว่ ยงำนท่ีเก่ียวขอ้ ง สานักงานเลขานุการ ก.ร. ทุกหนว่ ยงาน (๑) ส่วนราชการสงั กดั รฐั สภามีระบบ สานกั บริหารงานกลาง (สผ./สว.) ความก้าวหน้าในอาชีพทั้ง ๔ ระบบ สานกั พัฒนาบคุ ลากร (สผ.) และสามารถดาเนนิ การตามระบบ สานกั พฒั นาทรพั ยากรบคุ คล (สว.) ความกา้ วหนา้ ในอาชีพต่าง ๆ ๑๗ยุทธศำสตรก์ ำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลของส่วนรำชกำรสังกัดรฐั สภำ ฉบบั ที่ ๓ (๒) มบี ุคลากรทผี่ า่ นการพัฒนาอยา่ งมี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) คณุ ภาพตามเจตนารมณ์ของระบบ และเป็นทย่ี อมรบั (๓) บคุ ลากรท่มี ีสว่ นเกี่ยวขอ้ งมคี วาม พึงพอใจต่อระบบความกา้ วหน้าในอาชพี

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ : สง่ เสรมิ ระบบการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล เปา้ หมาย : มรี ะบบการบริหารทรพั ยากรบคุ คลเชงิ รกุ โดยที่ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล มคี วามคล่องตวั สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงบทบาทและภารกจิ ของรัฐสภาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ กลยทุ ธท์ ่ี ๓ เสริมสรำ้ งระบบกำรสรรหำเชิงรกุ เพื่อใหไ้ ดบ้ ุคลำกรตรงตำมควำมต้องกำรของส่วนรำชกำรสังกัดรัฐสภำ วตั ถปุ ระสงค์ ผู้ ัรบ ิผดชอบ ัตว ้ีช ัวด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๓) เสรมิ สร้างระบบการสรรหาเชงิ รกุ เพ่ือใหไ้ ด้บุคลากร (๑) เพ่ือให้สว่ นราชการสงั กัดรฐั สภาสรรหา ตรงตามความตอ้ งการของส่วนราชการสงั กัดรัฐสภา บุคลากรท่มี คี ณุ ภาพ ตรงตามความตอ้ งการ ของส่วนราชการมาปฏบิ ัติงาน ๓.๑) การพัฒนาหลกั เกณฑ์ วิธกี าร ๓.๒) การพฒั นาวธิ กี ารและดาเนินการ (๒) เพ่ือลดปญั หาข้อขัดแยง้ ขอ้ รอ้ งเรยี น เงื่อนไข และดาเนินการสรรหาเพ่ือ คัดเลือกและแตง่ ตงั้ เพอ่ื ให้ได้บคุ คล ทเ่ี กดิ ขึ้นจากการคดั เลอื กและแตง่ ตง้ั ดึงดูดคนดี คนเก่งให้เขา้ มาปฏบิ ตั งิ าน ที่มคี ุณภาพ คณุ ธรรม มีความเหมาะสม กับส่วนราชการสงั กดั รัฐสภา มาดารงตาแหน่ง ผลลัพธ์  ระดับความสาเร็จของการพัฒนาหลักเกณฑ์  ระดบั ความสาเร็จของการพัฒนาวิธกี าร (๑) สว่ นราชการสงั กดั รัฐสภามกี าร วิธีการ เงอื่ นไข เพื่อดึงดูดคนดี คนเกง่ และดาเนนิ การคดั เลอื กและแตง่ ต้ัง ปรบั ปรุง พฒั นา หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร ให้เข้ามาปฏบิ ตั ิงานกับสว่ นราชการ เพือ่ ใหไ้ ดบ้ ุคคลทม่ี ีคุณภาพ คุณธรรม สรรหา และดาเนนิ การเพอ่ื จงู ใจกลุ่ม สงั กดั รฐั สภา มคี วามเหมาะสมมาดารงตาแหนง่ คนที่มคี ุณภาพ เปน็ คนดี คนเกง่ ให้เข้ามาปฏบิ ัตงิ านกบั สว่ นราชการ  ระดับความสาเรจ็ ของการบรหิ ารหลกั เกณฑ์  ระดบั ความสาเรจ็ ของกระบวนการ/ สงั กัดรฐั สภา และดาเนนิ การสรรหาเพอ่ื ดงึ ดดู คนดี กลไก จดั การข้อร้องเรยี นเกีย่ วกับการ คนเกง่ ให้เข้ามาปฏิบตั งิ านกับ คดั เลือกและแตง่ ต้ังที่มปี ระสิทธภิ าพ (๒) ส่วนราชการสงั กดั รฐั สภามกี าร ส่วนราชการสังกัดรฐั สภา ปรับปรุง พฒั นา หลักเกณฑ์ วธิ กี าร หน่วยงำนหลัก คดั เลือกและแตง่ ต้งั และมีการดาเนินการ หนว่ ยงำนหลกั สานกั งานเลขานุการ ก.ร. เพอื่ ใหไ้ ด้บุคคลท่เี หมาะสมมาดารง สานักงานเลขานุการ ก.ร. สานกั บรหิ ารงานกลาง (สผ./สว.) ตาแหน่งต่าง ๆ สานกั บริหารงานกลาง (สผ./สว.) ๑๘ยทุ ธศำสตรก์ ำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบคุ คลของส่วนรำชกำรสังกดั รฐั สภำ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ : สง่ เสรมิ ระบบการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล เปา้ หมาย : มีระบบการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลเชิงรกุ โดยทย่ี ดึ หลกั ธรรมาภิบาล มีความคล่องตวั สามารถรองรับการเปลยี่ นแปลงบทบาทและภารกจิ ของรฐั สภาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ กลยุทธท์ ี่ ๔ เสริมสรำ้ งระบบกำรบรหิ ำรผลกำรปฏิบตั ิงำน (Performance Management System : PMS) วตั ถปุ ระสงค์ ผู้ ัรบผิดชอบ ัตว ้ีช ัวด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๔) เสริมสรา้ งระบบการบรหิ ารผลการปฏบิ ตั งิ าน (๑) เพือ่ ใหส้ ่วนราชการสังกัดรัฐสภามีระบบ (Performance Management System : PMS) การบริหารผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีเหมาะสม มีการดาเนินการอยา่ งมมี าตรฐาน สะท้อน การตดิ ตามการดาเนินงานและปรบั ปรงุ ระบบการบรหิ ารผลการปฏบิ ัติงาน ผลสัมฤทธิ์ของการปฏบิ ตั งิ าน (๒) เพอื่ ให้ระบบการบรหิ ารผลการปฏิบัตงิ าน ระดับความสาเรจ็ ในการตดิ ตามการดาเนินงานและปรบั ปรุงระบบ ของสว่ นราชการสงั กัดรฐั สภาเป็นทีย่ อมรับ การบรหิ ารผลการปฏิบัตงิ าน ของบุคลากรในหน่วยงาน หนว่ ยงำนหลกั ผลลพั ธ์ สานักบรหิ ารงานกลาง (สผ./สว.) สว่ นราชการสังกดั รัฐสภามรี ะบบการ หนว่ ยงำนทเี่ กี่ยวข้อง บรหิ ารผลการปฏบิ ัตงิ านทส่ี ามารถ ทกุ หน่วยงาน นาไปส่กู ารบริหารทรพั ยากรบุคคลได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๑๙ยุทธศำสตร์กำรบริหำรทรพั ยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสังกัดรัฐสภำ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ : สง่ เสรมิ ระบบการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล เปา้ หมาย : มีระบบการบริหารทรัพยากรบคุ คลเชิงรกุ โดยทยี่ ดึ หลกั ธรรมาภบิ าล มีความคล่องตวั สามารถรองรับการเปลยี่ นแปลงบทบาทและภารกจิ ของรฐั สภาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ กลยุทธท์ ่ี ๕ ส่งเสรมิ กำรจดั กำรระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศและขอ้ มูลดำ้ นทรพั ยำกรบุคคลให้มีประสิทธิภำพ วตั ถปุ ระสงค์ ผู้ ัรบผิดชอบ ัตว ้ีช ัวด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๕) ส่งเสรมิ การจัดการระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมูล เพอ่ื ใหส้ ่วนราชการสังกดั รฐั สภามีระบบ ดา้ นทรัพยากรบุคคลให้มปี ระสิทธภิ าพ เทคโนโลยสี ารสนเทศและขอ้ มูลดา้ น ทรพั ยากรบคุ คลท่เี หมาะสม ทันสมัย การจดั การระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมลู ดา้ นทรัพยากรบุคคล ครบถว้ น เปน็ ปัจจบุ นั สามารถนาไป ใหท้ ันสมยั ครบถว้ น และเป็นปัจจุบนั ใชป้ ระโยชนไ์ ด้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ระดบั ความสาเรจ็ ของการจดั การระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมลู ผลลพั ธ์ ด้านทรพั ยากรบุคคลให้ทนั สมัย ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล หนว่ ยงำนหลัก มคี วามทนั สมยั ครบถ้วน เปน็ ปจั จบุ นั สานกั บริหารงานกลาง (สผ./สว.) ทาใหส้ ามารถใชส้ บื ค้นข้อมูลเพอ่ื ตอบสนอง สานักพฒั นาบคุ ลากร (สผ.) / สานกั พฒั นาทรัพยากรบุคคล (สว.) ต่อการนาไปใชบ้ ริหารทรพั ยากรบคุ คล สานกั สารสนเทศ (สผ.) / สานักเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร (สว.) ขององคก์ ร ๒๐ยุทธศำสตร์กำรบริหำรทรพั ยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสงั กัดรัฐสภำ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ขบั เคลอ่ื นและผลกั ดนั ใหท้ รพั ยากรบคุ คลเปน็ คนดี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และกลา้ ยนื หยัดในสง่ิ ท่ีถกู ตอ้ ง ๒๑ยทุ ธศำสตรก์ ำรบรหิ ำรทรัพยำกรบุคคลของส่วนรำชกำรสงั กัดรฐั สภำ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ : ขบั เคลอื่ นและผลกั ดนั ใหท้ รพั ยากรบคุ คลเปน็ คนดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และกลา้ ยนื หยดั ในสงิ่ ทถี่ กู ตอ้ ง เปา้ หมาย : ทรัพยากรบุคคลประพฤตปิ ฏบิ ัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม วนิ ยั ข้าราชการ และนโยบายความโปร่งใสของรัฐสภา เพอ่ื รกั ษาเกยี รตขิ องตนเองและภาพลกั ษณขององคกร กลยทุ ธ์ท่ี ๑ ขับเคลอื่ นและผลักดันกลไกด้ำนคุณธรรมจรยิ ธรรม และส่งเสริมให้มีผ้นู ำตน้ แบบทำงจรยิ ธรรม วัตถุประสงค์ ผู้รับ ิผดชอบ ัตว ้ีช ัวด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๑) ขบั เคล่อื นและผลกั ดันกลไกดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม (๑) เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรของส่วนราชการสงั กดั และสง่ เสริมใหม้ ีผูน้ าต้นแบบทางจริยธรรม รฐั สภาเปน็ บุคลากรท่ีประพฤติปฏบิ ัตอิ ย่างมี คุณธรรม จรยิ ธรรม ๑.๑) การดาเนินการตามยทุ ธศาสตร์ ๑.๒) การดาเนนิ การตามหลักสูตร (๒) เพ่อื ให้ส่วนราชการสงั กัดรัฐสภามี การขับเคล่ือนและผลักดนั การปฏบิ ตั ติ าม การสรา้ งเสริมจรยิ ธรรม บุคลากรท่ีจะสามารถเปน็ ผนู้ าทด่ี ีในด้านการ ประมวลจริยธรรมขา้ ราชการรัฐสภา ปฏิบัตติ ามหลักคุณธรรม จริยธรรม มาตรฐานทางจริยธรรม รวมทั้งสง่ เสริมให้ (๓) เพอื่ สรา้ งภาพลักษณ์ทด่ี ีแก่ตวั บุคคลและ มผี ู้นาตน้ แบบทางจรยิ ธรรม องคก์ ร ผลลพั ธ์  ร้อยละความสาเร็จในการดาเนินการตาม  ระดบั ความสาเร็จของการฝกึ อบรมตาม ยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่ือนและผลักดันการ หลักสูตรการสรา้ งเสริมจรยิ ธรรม บคุ ลากรของส่วนราชการสงั กดั รฐั สภา ปฏิบตั ติ ามประมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการ เป็นคนดี มีคณุ ธรรมและปฏบิ ตั ติ าม รัฐสภา มาตรฐานทางจริยธรรม  มีการกากบั ตดิ ตาม การสรา้ งเสริม ประมวลจริยธรรมขา้ ราชการรัฐสภา จรยิ ธรรม และมาตรฐานทางจริยธรรม  มีผู้นาต้นแบบทางจรยิ ธรรมของสว่ นราชการ สงั กดั รัฐสภา ในระดบั ผู้บังคับบญั ชา ส่วนราชการสงั กัดรฐั สภา หน่วยงำนหลัก หนว่ ยงำนหลัก สานักพัฒนาบุคลากร (สผ.) สานักพัฒนาบุคลากร (สผ.) สานักพัฒนาทรัพยากรบุคคล (สว.) สานักพัฒนาทรัพยากรบุคคล (สว.) หน่วยงำนที่เกี่ยวขอ้ ง หนว่ ยงำนท่ีเกย่ี วขอ้ ง ทุกหน่วยงาน ทกุ หนว่ ยงาน ๒๒ยทุ ธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสงั กัดรฐั สภำ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ : ขบั เคลอ่ื นและผลกั ดนั ใหท้ รพั ยากรบคุ คลเปน็ คนดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และกลา้ ยนื หยดั ในสงิ่ ทถี่ กู ต้อง เปา้ หมาย : ทรัพยากรบุคคลประพฤตปิ ฏิบตั ติ ามมาตรฐานทางจรยิ ธรรม วนิ ยั ข้าราชการ และนโยบายความโปรง่ ใสของรฐั สภา เพอ่ื รักษาเกยี รติของตนเองและภาพลกั ษณขององคกร กลยุทธ์ที่ ๒ ส่งเสรมิ และสนับสนุนกำรดำเนนิ กำรดำ้ นวินยั และกำรปอ้ งกันกำรกระทำผดิ กฎหมำยทเ่ี ก่ียวกับกำรทุจริตในภำครัฐ วตั ถปุ ระสงค์ ผู้รับ ิผดชอบ ัตว ้ีชวัด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๒) สง่ เสริมและสนบั สนนุ การดาเนินการด้านวนิ ัยและการป้องกันการกระทาผดิ (๑) เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรของส่วนราชการสังกัด กฎหมายที่เกย่ี วกบั การทจุ ริตในภาครัฐ รฐั สภารบั ร้กู ฎ ระเบยี บ วนิ ยั ข้าราชการ และมีการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑต์ า่ ง ๆ ๒.๑) การรณรงค์ส่งเสริมและสนบั สนนุ ๒.๒) การรณรงค์ส่งเสรมิ มาตรการ ในการปฏบิ ัตริ าชการ ไม่ประพฤตฝิ า่ ฝืน การดาเนินการดา้ นวินัยและการปอ้ งกัน ป้องกนั การกระทาผิดกฎหมายท่ี หรอื กระทาการอันอาจเป็นเหตุของ การกระทาผิดวินัยของบคุ ลากร เกย่ี วกบั การทุจรติ ในภาครัฐ การเส่อื มเสยี เกยี รตขิ องตนเองและองคก์ ร (๒) เพ่ือลดจานวนกรณกี ารกระทาผดิ  ระดบั ความสาเรจ็ ของการรณรงค์ ระดับความสาเรจ็ ของการรณรงค์ส่งเสริม ทางวินัยหรือกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งในการ ส่งเสริมและรับรู้การดาเนินการ มาตรการปอ้ งกันการกระทาผิดกฎหมาย ปฏบิ ตั งิ าน ด้านวนิ ัยและการป้องกัน ทเี่ กี่ยวกับการทจุ ริตในภาครัฐ การกระทาผดิ วนิ ยั ของบุคลากร ผลลัพธ์ หนว่ ยงำนหลัก  จานวนกรณีการกระทาผิดทางวนิ ยั สานักการคลังและงบประมาณ (สผ./สว.) (๑) สว่ นราชการสงั กดั รฐั สภา มีจานวนลดลงกวา่ ปีทผ่ี า่ นมา มกี ารดาเนนิ การเพ่ือรณรงคส์ ่งเสริม สานกั กฎหมาย (สผ./สว.) มาตรการด้านวินัยและการปอ้ งกนั หน่วยงำนหลัก สานักพฒั นาบคุ ลากร (สผ.) การกระทาผิดกฎหมายทเ่ี กย่ี วกบั สานักงานเลขานกุ าร ก.ร. สานกั พัฒนาทรัพยากรบคุ คล (สว.) การทุจริตในภาครฐั สานักบริหารงานกลาง (สผ./สว.) สานกั พฒั นาบคุ ลากร (สผ.) (๒) จานวนกรณีการกระทาผดิ ทางวนิ ยั สานักพัฒนาทรัพยากรบคุ คล (สว.) ลดลงในแตล่ ะปี ๒๓ยทุ ธศำสตร์กำรบริหำรทรพั ยำกรบุคคลของส่วนรำชกำรสงั กดั รัฐสภำ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ : ขบั เคลอื่ นและผลกั ดนั ใหท้ รพั ยากรบคุ คลเปน็ คนดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และกล้ายนื หยดั ในสง่ิ ทถ่ี กู ตอ้ ง เปา้ หมาย : ทรพั ยากรบคุ คลประพฤตปิ ฏบิ ัตติ ามมาตรฐานทางจรยิ ธรรม วินยั ข้าราชการ และนโยบายความโปร่งใสของรัฐสภา เพ่ือรกั ษาเกียรติของตนเองและภาพลกั ษณขององคกร กลยทุ ธท์ ่ี ๓ ขับเคล่ือนและผลกั ดนั นโยบำยควำมโปรง่ ใสของรัฐสภำ วัตถปุ ระสงค์ ผู้รับ ิผดชอบ ัตว ้ีชวัด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๓) ขับเคลอื่ นและผลกั ดนั นโยบายความโปร่งใสของรฐั สภา (๑) เพ่อื ให้สว่ นราชการสงั กัดรัฐสภา การดาเนินการตามนโยบายและมาตรฐานความโปรง่ ใสของส่วนราชการสงั กัดรัฐสภา มกี ระบวนการทางานที่ถกู ต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเป็นธรรม (๒) เพอ่ื สรา้ งชือ่ เสยี งและภาพลักษณ์ทดี่ ี ให้กับองคก์ ร ผลลพั ธ์  รอ้ ยละความสาเร็จของการดาเนนิ การตามนโยบายและมาตรฐานความโปร่งใส ของสว่ นราชการสังกัดรัฐสภา ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา มกี ารดาเนนิ การตามนโยบาย  ระดับความสาเร็จในการจัดการเร่ืองร้องเรยี นด้านความโปร่งใสทม่ี ีต่อ และมาตรฐานความโปรง่ ใส ส่วนราชการสงั กัดรัฐสภา ไดร้ ับความเชือ่ มนั่ และเปน็ ทีย่ อมรบั หน่วยงำนหลัก หนว่ ยงำนที่เก่ียวข้อง สานกั งานเลขานุการ ก.ร. ทกุ หนว่ ยงาน สานักพัฒนาบคุ ลากร (สผ.) สานักพัฒนาทรัพยากรบุคคล (สว.) คณะกรรมการท่ีเกี่ยวขอ้ ง ๒๔ยุทธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสงั กดั รฐั สภำ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ พฒั นาทรพั ยากรบคุ คลใหเ้ ป็นผมู้ คี วามเชยี่ วชาญ มศี กั ยภาพสงู และนาเทคโนโลยีมาสนบั สนุนภารกจิ ดา้ นกระบวนการนติ บิ ญั ญตั อิ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๒๕ยุทธศำสตรก์ ำรบรหิ ำรทรัพยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสังกดั รฐั สภำ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ : พฒั นาทรพั ยากรบคุ คลใหเ้ ปน็ ผมู้ คี วามเชยี่ วชาญ มศี กั ยภาพสงู และนาเทคโนโลยมี าสนบั สนนุ ภารกจิ ดา้ นกระบวนการนติ บิ ญั ญตั อิ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปา้ หมาย : ๑. ทรพั ยากรบคุ คลมคี วามรคู้ วามสามารถ ทักษะ สมรรถนะ ในสายงานทป่ี ฏิบัติอย่างเชย่ี วชาญ และมีศกั ยภาพสูง ๒. ทรพั ยากรบคุ คลมที ักษะและขดี ความสามารถในการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ และสามารถนาเทคโนโลยีมาใชส้ นบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ๓. ผลักดนั ให้ทรพั ยากรบุคคลมีกระบวนการคดิ ในการสร้างวฒั นธรรมการเรยี นรู้เพื่อพฒั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง กลยุทธท์ ่ี ๑ เสริมสร้ำงกระบวนกำรพัฒนำทรพั ยำกรบคุ คลของส่วนรำชกำรสงั กัดรฐั สภำท่มี ีประสิทธิภำพ วัตถุประสงค์ แผนงำน กลยุท ์ธ ๑) เสริมสร้างกระบวนการพัฒนาทรพั ยากรบคุ คลของส่วนราชการสงั กดั รัฐสภาท่มี ปี ระสิทธภิ าพ (๑) เพือ่ ใหส้ ่วนราชการสังกดั รฐั สภามี กระบวนการพัฒนาบคุ ลากรทีเ่ หมาะสมกบั ๑.๑) การปรับปรุงมาตรฐานความรู้ ๑.๒) การบรู ณาการหลักสูตรการพัฒนา ๑.๓) การพัฒนาขดี ความสามารถของ ภารกิจและสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรข์ ององคก์ ร ทกั ษะ สมรรถนะของบคุ ลากรให้ บุคลากรรว่ มกนั ของสว่ นราชการ บุคลากร ทกุ ระดับ/ทุกสายงาน (๒) เพื่อพัฒนาขีดความสามารถและสมรรถนะ เหมาะสมกับภารกจิ ของส่วนราชการ สังกัดรฐั สภาทงั้ สองสว่ นราชการ ตามมาตรฐานความรู้ ความสามารถ ของบุคลากรให้เป็นทยี่ อมรับของผู้รับบรกิ าร ให้สอดคล้องกบั มาตรฐานความรู้ ทกั ษะ ทักษะ และสมรรถนะที่กาหนด รวมทง้ั และผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี และมีความพรอ้ ม สมรรถนะของบุคลากรทเี่ หมาะสมกบั ทกั ษะทจ่ี าเป็นต่อการปฏบิ ัตงิ าน รองรับการเปล่ียนแปลงที่จะเกิดข้นึ ในอนาคต ภารกิจของส่วนราชการ ในอนาคต (๓) เพื่อใหส้ ่วนราชการสังกดั รฐั สภามี กระบวนการในการตดิ ตามและประเมินผลผลติ ผลลัพธ์ และความคุ้มค่าในการพัฒนาบคุ ลากร ผลลพั ธ์ ู้ผรับผิดชอบ ัตวชี้ ัวด มีมาตรฐานความรู้ ทักษะ สมรรถนะ  ระดับความสาเร็จของการจดั ทาและ ระดับความสาเรจ็ ของการพัฒนา ของบุคลากรทีเ่ หมาะสมกบั ภารกจิ บรู ณาการหลกั สตู รการพัฒนาบุคลากร ขีดความสามารถของบุคลากร (๑) สว่ นราชการสงั กดั รฐั สภามมี าตรฐาน ของส่วนราชการ ตามเปา้ หมาย ของส่วนราชการสงั กัดรัฐสภา เชน่ หลกั สูตร ตามมาตรฐานความรู้ ความสามารถ ความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะของบุคลากร รายปที ่กี าหนด นักบริหารระดบั สูง หลกั สตู รนักบริหาร ทกั ษะ และสมรรถนะท่ีกาหนด ทีเ่ หมาะสมกับภารกิจ นโยบายและทิศทาง ระดับกลาง หลักสตู รนกั กฎหมายนติ บิ ัญญัติ รวมท้งั ทักษะทจี่ าเปน็ ต่อการปฏิบัตงิ าน ตามยุทธศาสตร์ของสว่ นราชการ หน่วยงำนหลกั หลกั สูตรนักวิชาการนติ ิบญั ญตั ิ เป็นต้น ในอนาคต (๒) บุคลากรของส่วนราชการสงั กดั รฐั สภา สานกั งานเลขานุการ ก.ร. มีความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะทเ่ี พียงพอ หน่วยงำนทเี่ กี่ยวขอ้ ง  จานวนบุคลากรทผี่ า่ นการพัฒนาตาม เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานได้อย่าง หลักสตู รการพัฒนาบคุ ลากรทีบ่ ูรณาการ เต็มศักยภาพ ทกุ หนว่ ยงาน (๓) สว่ นราชการสังกดั รฐั สภาดาเนนิ การ หน่วยงำนหลกั หนว่ ยงำนหลัก ประเมินผลผลติ ผลลพั ธ์ และความคมุ้ ค่า สานกั พัฒนาบุคลากร (สผ.) สานกั พฒั นาบุคลากร (สผ.) ในการพฒั นาบคุ ลากร เพ่ือประโยชน์ สานักพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล (สว.) สานกั พัฒนาทรพั ยากรบคุ คล (สว.) ในการบริหารและพัฒนาบคุ ลากร หน่วยงำนท่เี กย่ี วข้อง หน่วยงำนท่ีเกีย่ วขอ้ ง ทกุ หน่วยงาน ทกุ หนว่ ยงาน ยุทธศำสตรก์ ำรบริหำรทรพั ยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสงั กัดรฐั สภำ ฉบับท่ี ๓ ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ : พฒั นาทรพั ยากรบคุ คลใหเ้ ปน็ ผมู้ คี วามเชย่ี วชาญ มศี กั ยภาพสงู และนาเทคโนโลยมี าสนบั สนนุ ภารกจิ ดา้ นกระบวนการนติ บิ ญั ญตั อิ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปา้ หมาย : ๑. ทรพั ยากรบุคคลมคี วามรูค้ วามสามารถ ทักษะ สมรรถนะ ในสายงานที่ปฏิบตั ิอยา่ งเช่ียวชาญ และมีศักยภาพสูง ๒. ทรัพยากรบคุ คลมที กั ษะและขดี ความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศ และสามารถนาเทคโนโลยีมาใชส้ นบั สนนุ การปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๓. ผลกั ดันใหท้ รพั ยากรบุคคลมกี ระบวนการคิด ในการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง กลยุทธท์ ่ี ๑ เสริมสร้ำงกระบวนกำรพฒั นำทรัพยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสงั กดั รัฐสภำท่ีมีประสิทธิภำพ วตั ถุประสงค์ แผนงำน กลยุท ์ธ ๑) เสริมสรา้ งกระบวนการพัฒนาทรพั ยากรบุคคลของสว่ นราชการสังกดั รฐั สภาที่มีประสิทธิภาพ (๑) เพ่ือใหส้ ่วนราชการสังกดั รฐั สภามี กระบวนการพัฒนาบุคลากรทเี่ หมาะสมกบั ๑.๔) การพัฒนาบุคลากรสายงาน ๑.๕) การพัฒนาบคุ ลากรสายงาน ๑.๖) การตดิ ตามประเมนิ ผลผลติ ภารกิจและสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ขององคก์ ร นิติการให้เป็นนกั กฎหมายนติ ิบญั ญตั ิ วชิ าการใหเ้ ปน็ นกั วิชาการ ผลลัพธ์ และความคมุ้ คา่ ในการพัฒนา (๒) เพื่อพัฒนาขีดความสามารถและสมรรถนะ ตามแนวทางท่ีกาหนด สนบั สนุนงานนิติบัญญตั ิ ของบุคลากรให้เป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ บุคลากรของส่วนราชการ และผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสยี และมีความพรอ้ ม รองรับการเปล่ียนแปลงที่จะเกิดข้นึ ในอนาคต (๓) เพื่อใหส้ ่วนราชการสังกดั รัฐสภามี กระบวนการในการติดตามและประเมนิ ผลผลติ ผลลัพธ์ และความคุ้มค่าในการพัฒนาบคุ ลากร ผลลัพธ์ ู้ผรับผิดชอบ ัตวชี้ ัวด จานวนผู้ผ่านการคัดเลอื กเข้าสู่ ระดบั ความสาเรจ็ ในการพัฒนา ระดบั ความสาเรจ็ ของการตดิ ตาม ตาแหน่งนักกฎหมายนติ บิ ัญญัติ บคุ ลากรสายงานวชิ าการให้เป็น ประเมนิ ผลผลติ ผลลพั ธ์ และความ (๑) สว่ นราชการสงั กดั รัฐสภามมี าตรฐาน ตามเปา้ หมายรายปีที่กาหนด ความรู้ ทักษะ สมรรถนะของบคุ ลากร นกั วชิ าการสนบั สนนุ งานนติ บิ ัญญัติ คุ้มคา่ ในการพฒั นาบคุ ลากร ทเ่ี หมาะสมกับภารกิจ นโยบายและทิศทาง หนว่ ยงำนหลัก ตามยทุ ธศาสตร์ของสว่ นราชการ สานักงานเลขานุการ ก.ร. หนว่ ยงำนหลกั หน่วยงำนหลกั (๒) บคุ ลากรของสว่ นราชการสังกดั รฐั สภา สานักบริหารงานกลาง (สผ./สว.) คณะกรรมการทเี่ กยี่ วข้อง สานกั พฒั นาบุคลากร (สผ.) มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่เพียงพอ สานักพัฒนาบคุ ลากร (สผ.) สานักพฒั นาทรัพยากรบุคคล (สว.) เหมาะสม สามารถปฏิบัตงิ านได้อยา่ ง สานกั พฒั นาทรพั ยากรบุคคล (สว.) หนว่ ยงำนทเ่ี กย่ี วข้อง หนว่ ยงำนที่เก่ยี วขอ้ ง เต็มศักยภาพ คณะกรรมการทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ทุกหนว่ ยงาน (๓) ส่วนราชการสังกัดรฐั สภาดาเนินการ หนว่ ยงำนที่เก่ยี วข้อง ทกุ หนว่ ยงาน ประเมินผลผลติ ผลลพั ธ์ และความคุม้ คา่ ในการพัฒนาบคุ ลากร เพื่อประโยชน์ ทกุ หนว่ ยงาน ในการบริหารและพัฒนาบคุ ลากร ๒๗ยทุ ธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรัพยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสงั กัดรัฐสภำ ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ : พฒั นาทรพั ยากรบคุ คลใหเ้ ปน็ ผมู้ คี วามเชย่ี วชาญ มศี กั ยภาพสงู และนาเทคโนโลยมี าสนบั สนนุ ภารกจิ ดา้ นกระบวนการนติ บิ ญั ญตั ิอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เป้าหมาย : ๑. ทรพั ยากรบคุ คลมีความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ สมรรถนะ ในสายงานทีป่ ฏบิ ตั อิ ย่างเชี่ยวชาญ และมีศกั ยภาพสงู ๒. ทรัพยากรบคุ คลมีทกั ษะและขีดความสามารถในการใชภ้ าษาต่างประเทศ และสามารถนาเทคโนโลยีมาใช้สนบั สนุนการปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ๓. ผลกั ดันให้ทรพั ยากรบุคคลมีกระบวนการคิด ในการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรูเ้ พ่ือพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ ง กลยุทธ์ที่ ๒ นำเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมมำใช้ในกำรปฏบิ ัตงิ ำนได้อยำ่ งมีประสิทธิภำพ วตั ถปุ ระสงค์ ู้ผรับผิดชอบ ัตว ้ีชวัด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๒) นาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมมาใชใ้ นการปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (๑) เพ่อื ให้บุคลากรมีความรู้ ทักษะ ทีจ่ าเปน็ สาหรับการนาเทคโนโลยีและนวตั กรรมมาใช้ การพัฒนาทกั ษะด้านการใชเ้ ทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรม ในการปฏบิ ัติงาน ให้สอดคลอ้ งกบั บริบท เพ่ือสนบั สนนุ การปฏบิ ัติงานใหแ้ กบ่ ุคลากร ความเปลย่ี นแปลงท้งั ภายในและภายนอก และมภี าพลักษณท์ ่ีทนั สมัย เปน็ ไปตาม  จานวนบุคลากรท่ีผ่านเกณฑ์การพฒั นาทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีและการสรา้ ง ทิศทางและนโยบายการพัฒนาองคก์ ร นวตั กรรมเพื่อสนับสนนุ การปฏิบัติงาน ตามเป้าหมายรายปที ี่กาหนด (๒) เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการให้บรกิ าร ของสว่ นราชการสงั กดั รฐั สภา ให้สะดวก  ร้อยละความพึงพอใจของผรู้ บั บริการต่อการให้บริการของส่วนราชการ รวดเรว็ ครอบคลมุ บรกิ ารทางวชิ าการ ในด้านการใช้เทคโนโลยี ทีห่ ลากหลายและท่วั ถงึ หนว่ ยงำนหลกั หน่วยงำนที่เกย่ี วข้อง ผลลพั ธ์ สานักพัฒนาบุคลากร (สผ.) ทุกหน่วยงาน สานกั พฒั นาทรัพยากรบคุ คล (สว.) (๑) มผี ผู้ า่ นเกณฑก์ ารพฒั นาทกั ษะ สานักสารสนเทศ (สผ.) การใชเ้ ทคโนโลยแี ละการสรา้ งนวตั กรรม สานักเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร (สว.) เพอื่ สนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานเปน็ ไปตาม เป้าหมายรายปีทีก่ าหนด (๒) บุคลากรสามารถนาเทคโนโลยี มาเสริมการปฏบิ ัติงานให้มปี ระสทิ ธภิ าพ มากยง่ิ ขึ้น ๒๘ยทุ ธศำสตร์กำรบรหิ ำรทรพั ยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสังกัดรฐั สภำ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ : พฒั นาทรพั ยากรบคุ คลใหเ้ ปน็ ผมู้ คี วามเชย่ี วชาญ มศี กั ยภาพสงู และนาเทคโนโลยมี าสนบั สนนุ ภารกจิ ดา้ นกระบวนการนติ บิ ญั ญตั อิ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปา้ หมาย : ๑. ทรพั ยากรบคุ คลมีความรคู้ วามสามารถ ทักษะ สมรรถนะ ในสายงานทป่ี ฏิบตั อิ ยา่ งเชยี่ วชาญ และมีศักยภาพสงู ๒. ทรัพยากรบคุ คลมีทักษะและขดี ความสามารถในการใชภ้ าษาต่างประเทศ และสามารถนาเทคโนโลยีมาใชส้ นับสนนุ การปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๓. ผลักดันใหท้ รพั ยากรบุคคลมกี ระบวนการคดิ ในการสร้างวฒั นธรรมการเรยี นรเู้ พื่อพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง กลยทุ ธ์ที่ ๓ พัฒนำศกั ยภำพดำ้ นภำษำต่ำงประเทศให้แก่ทรพั ยำกรบคุ คล วัตถุประสงค์ ู้ผรับผิดชอบ ัตว ้ีชวัด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๓) พัฒนาศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศใหแ้ กท่ รัพยากรบุคคล (๑) เพ่ือให้ส่วนราชการสงั กดั รัฐสภามหี ลักสตู ร และเกณฑท์ เ่ี หมาะสมสาหรบั การประเมิน ๓.๑) การพัฒนาหลักสตู รการพัฒนา ๓.๒) การพฒั นาทักษะและ ผลสมั ฤทธ์ใิ นการพัฒนาทักษะภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะและขดี ความสามารถการใช้ ขีดความสามารถการใชภ้ าษาต่างประเทศ เช่น กาหนดเกณฑ์ผลสอบ เป็นตน้ ภาษาต่างประเทศ ใหแ้ ก่บคุ ลากร (๒) เพ่ือพฒั นาทกั ษะภาษาตา่ งประเทศ ใหแ้ กบ่ ุคลากร สาหรบั ใชใ้ นการสอื่ สาร ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ผลลัพธ์ มีหลักสตู รในการพัฒนาทักษะดา้ น จานวนบคุ ลากรทผ่ี า่ นการพัฒนาทักษะ ภาษาตา่ งประเทศทีม่ มี าตรฐานและ ภาษาต่างประเทศตามเกณฑ์มาตรฐาน (๑) บคุ ลากรของสว่ นราชการสงั กดั รฐั สภา สามารถสนับสนุนภารกิจของรฐั สภา ดา้ นปริมาณและคุณภาพ ตามเป้าหมาย ได้รับโอกาสการพัฒนาตามหลักสูตร การพัฒนาทักษะและขีดความสามารถ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รายปีท่กี าหนด การใชภ้ าษาตา่ งประเทศ หน่วยงำนหลัก หนว่ ยงำนหลัก (๒) มผี ผู้ า่ นการพฒั นาทกั ษะภาษา สานักพฒั นาบคุ ลากร (สผ.) สานักพัฒนาบุคลากร (สผ.) ตา่ งประเทศตามเกณฑ์มาตรฐาน สานกั พฒั นาทรัพยากรบคุ คล (สว.) สานกั พัฒนาทรัพยากรบุคคล (สว.) เป็นไปตามเปา้ หมายรายปที กี่ าหนด สานักภาษาต่างประเทศ (สผ./สว.) สานักภาษาตา่ งประเทศ (สผ./สว.) หน่วยงำนท่ีเกีย่ วขอ้ ง ทุกหน่วยงาน ๒๙ยุทธศำสตรก์ ำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสังกดั รฐั สภำ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ : พฒั นาทรพั ยากรบคุ คลใหเ้ ปน็ ผมู้ คี วามเชย่ี วชาญ มศี กั ยภาพสงู และนาเทคโนโลยมี าสนบั สนนุ ภารกจิ ดา้ นกระบวนการนติ บิ ญั ญตั ิอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปา้ หมาย : ๑. ทรพั ยากรบคุ คลมีความร้คู วามสามารถ ทักษะ สมรรถนะ ในสายงานที่ปฏิบตั ิอยา่ งเชยี่ วชาญ และมศี กั ยภาพสงู ๒. ทรพั ยากรบุคคลมีทักษะและขีดความสามารถในการใชภ้ าษาต่างประเทศ และสามารถนาเทคโนโลยีมาใชส้ นบั สนนุ การปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ๓. ผลกั ดันใหท้ รัพยากรบุคคลมกี ระบวนการคดิ ในการสรา้ งวัฒนธรรมการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง กลยทุ ธท์ ่ี ๔ ผลกั ดันวัฒนธรรมกำรเรยี นรู้ใหเ้ ป็นวฒั นธรรมองค์กร วตั ถุประสงค์ ู้ผรับผิดชอบ ัตว ้ีชวัด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๔) ผลกั ดนั วฒั นธรรมการเรียนรใู้ ห้เป็นวฒั นธรรมองคก์ ร (๑) เพ่ือใหส้ ว่ นราชการสังกดั รัฐสภามีแผน การจัดการความรทู้ เ่ี หมาะสมกับลักษณะงาน/ ๔.๑) การพฒั นาแผนการจัดการความรู้ ๔.๒) การสนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรเรียนรูด้ ้วยตนเอง ภารกจิ มมี าตรฐาน และสามารถดาเนินการ (Knowledge Management : KM) > การพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ ตามแผนการจดั การความรไู้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายในส่วนราชการ (๒) เพื่อให้ทรพั ยากรบุคคลของสว่ นราชการ ผ่านสอื่ e-Learning สงั กัดรัฐสภามคี วามใฝร่ ู้ และสามารถพัฒนา  ระดับความสาเร็จของการพัฒนา > การพัฒนาตนเองด้วยวธิ ีการ Non-training ความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะในการปฏิบตั งิ านของ แผนการจดั การความรขู้ องส่วนราชการ ตนเองตามความต้องการ ผา่ นกระบวนการ รอ้ ยละของบุคลากรท่ผี า่ นการอบรม เครอ่ื งมอื และเครือข่ายการเรยี นรู้ท่นี ่าสนใจ  รอ้ ยละความสาเร็จของการดาเนินการ หลกั สูตรการเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น e-Learning กิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ตามแผนการจัดการความรู้ของ ตามเป้าหมายรายปีท่ีกาหนด เปน็ ตน้ สว่ นราชการ ผลลัพธ์ หน่วยงำนหลัก หนว่ ยงำนหลัก คณะกรรมการจัดการความรู้ของส่วนราชการ สานกั พัฒนาบุคลากร (สผ.) (๑) สว่ นราชการสงั กัดรฐั สภาดาเนนิ การ สานกั พัฒนาทรัพยากรบคุ คล (สว.) ตามแผนการจดั การความรู้ซ่ึงมีมาตรฐาน สานกั พัฒนาบุคลากร (สผ.) สานักพัฒนาทรัพยากรบุคคล (สว.) หนว่ ยงำนทเ่ี ก่ยี วข้อง (๒) มจี านวนบคุ ลากรทผี่ า่ นการอบรม หลกั สตู รการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง เปน็ ไปตาม หน่วยงำนท่ีเกย่ี วขอ้ ง ทุกหน่วยงาน เป้าหมายรายปีท่ีกาหนด ทุกหนว่ ยงาน ๓๐ยทุ ธศำสตรก์ ำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสงั กัดรัฐสภำ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ สร้างความผาสกุ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของทรพั ยากรบคุ คล ใหม้ คี วามสขุ อย่างสมดลุ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓๑ยทุ ธศำสตร์กำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลของส่วนรำชกำรสงั กดั รฐั สภำ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ : สรา้ งความผาสกุ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของทรพั ยากรบคุ คล ใหม้ คี วามสขุ อยา่ งสมดลุ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปา้ หมาย : ทรัพยากรบคุ คลมีสขุ ภาพกายและสุขภาพใจท่แี ข็งแรงสมบูรณ มีความสมดลุ ระหวา่ งชีวติ การทางานกับชวี ิตสว่ นตวั (work-life balance) และดาเนินชีวติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลยทุ ธ์ท่ี ๑ ยกระดับคุณภำพชวี ติ ของทรพั ยำกรบคุ คล วตั ถุประสงค์ ผู้ ัรบผิดชอบ ัตว ้ีช ัวด แผนงำน กลยุท ์ธ ๑) ยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของทรพั ยากรบุคคล (๑) เพ่อื ใหม้ ฐี านขอ้ มลู ความต้องการของ บุคลากรเป็นแนวทางในการจัดสวสั ดิการ ๑.๑) การศึกษาความต้องการ และ ๑.๒) การส่งเสรมิ ความสัมพนั ธแ์ ละ ๑.๓) การสารวจความคดิ เหน็ และ สภาพแวดลอ้ ม การจดั ระเบียบพนื้ ที่ให้ บริหารจัดการเพื่อยกระดับคุณภาพ สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทางาน ความพึงพอใจของบุคลากร เหมาะสมกับสุขอนามยั รวมถงึ ระบบงาน ชวี ติ ของบุคลากรให้มีสมดลุ ท้ังชีวติ อย่างมีประสทิ ธิภาพและมีความสุข ตอ่ การบริหารทรพั ยากรบคุ คล และโครงการตา่ ง ๆ เพ่ือยกระดบั คุณภาพชีวิตใหเ้ กดิ สมดลุ การทางานและชีวิตสว่ นตวั (Happy Workplace) (๒) สว่ นราชการแสดงความใส่ใจตอ่ บุคลากร โดยส่งเสรมิ ความสัมพันธ์  ระดับความสาเร็จของการจดั ทาแผน รอ้ ยละความสาเร็จของการจัด ร้อยละความพึงพอใจของบคุ ลากร สร้างการมีสว่ นรว่ ม สร้างความรกั ยกระดับคุณภาพชีวติ ของบุคลากร กจิ กรรม/โครงการ ต่อการบริหารทรพั ยากรบคุ คล ความผกู พนั ตอ่ องค์กร ในหมบู่ ุคลากร สง่ ผลใหก้ ารทางานมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึน้  ร้อยละความสาเรจ็ ของการดาเนินการ (๓) เพือ่ ปอ้ งกนั ปัญหาทอ่ี าจเกิดขน้ึ จาก ตามแผนยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของ ความไมส่ มดลุ ของคณุ ภาพชวี ิต เชน่ บุคลากร ปัญหาสขุ ภาพ ปญั หาค่าครองชีพ เปน็ ตน้ ผลลัพธ์ หน่วยงำนหลกั หนว่ ยงำนหลกั หน่วยงำนหลัก คณะกรรมการทเ่ี ก่ียวขอ้ ง คณะกรรมการที่เกยี่ วข้อง สานกั งานเลขานกุ าร ก.ร. บคุ ลากรมีคุณภาพชีวติ และ สานกั การคลังและงบประมาณ (สผ./สว.) มีสขุ อนามัยทดี่ ี เพ่อื ประสทิ ธภิ าพ หนว่ ยงำนทเ่ี กย่ี วข้อง หนว่ ยงำนที่เกีย่ วขอ้ ง และประสทิ ธิผลในการปฏิบัติงาน ทกุ หน่วยงาน ทีด่ ี ทกุ หน่วยงาน ๓๒ยทุ ธศำสตรก์ ำรบรหิ ำรทรัพยำกรบุคคลของสว่ นรำชกำรสงั กัดรัฐสภำ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ : สรา้ งความผาสกุ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของทรพั ยากรบคุ คล ใหม้ คี วามสขุ อยา่ งสมดลุ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปา้ หมาย : ทรัพยากรบุคคลมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพใจที่แขง็ แรงสมบรู ณ มคี วามสมดลุ ระหวา่ งชวี ิตการทางานกบั ชวี ติ ส่วนตวั (work-life balance) และดาเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง กลยทุ ธ์ที่ ๒ ส่งเสริมและสนับสนนุ กำรดำเนนิ ชวี ิตตำมหลกั ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียง วตั ถปุ ระสงค์ ู้ผรับผิดชอบ ัตว ้ีชวัด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๒) สง่ เสรมิ และสนับสนุนการดาเนินชีวติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื ใหบ้ ุคลากรมีความรู้ ความเขา้ ใจ และ นาไปปฏบิ ตั ิ สามารถดาเนินชีวิตไดอ้ ยา่ ง การส่งเสริมและสนับสนุนใหบ้ ุคลากรดาเนินชวี ติ บนวถิ ีความพอเพยี ง มีคณุ ภาพ เหมาะสมกบั สภาวะเศรษฐกจิ พร้อมทง้ั น้อมนาพระบรมราโชวาทมาเป็นแนวทางในการปฏบิ ัติ และสงั คม ผลลัพธ์  รอ้ ยละความสาเร็จของการจัดกจิ กรรม/โครงการ  จานวนผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม/โครงการ ตามเป้าหมายรายปีท่ีกาหนด การเข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการสามารถ ทาให้บุคลากรได้รบั ความรู้ ความเขา้ ใจ หนว่ ยงำนหลกั หนว่ ยงำนทีเ่ ก่ยี วข้อง และนาไปประยุกตป์ ฏิบัตไิ ด้จรงิ คณะกรรมการท่ีเกย่ี วข้อง ทกุ หนว่ ยงาน สานักบรหิ ารงานกลาง (สผ./สว.) สานกั พฒั นาบคุ ลากร (สผ.) สานักพฒั นาทรพั ยากรบุคคล (สว.) ๓๓ยุทธศำสตรก์ ำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสงั กดั รฐั สภำ ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ : สรา้ งความผาสกุ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของทรพั ยากรบคุ คล ใหม้ คี วามสขุ อยา่ งสมดลุ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปา้ หมาย : ทรพั ยากรบคุ คลมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพใจท่แี ข็งแรงสมบรู ณ มคี วามสมดลุ ระหว่างชีวิตการทางานกบั ชวี ติ สว่ นตวั (work-life balance) และดาเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง กลยุทธท์ ี่ ๓ สง่ เสริมและสนับสนนุ กิจกรรมเพอื่ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม และกจิ กรรมควำมรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ผู้รับ ิผดชอบ ัตว ้ีชวัด แผนงำน กล ุยท ์ธ ๓) ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ กิจกรรมเพอ่ื สังคม สง่ิ แวดล้อม และกจิ กรรม ความรบั ผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) วตั ถปุ ระสงค์ ๓.๑) การส่งเสริมและสนบั สนุนให้ ๓.๒) การส่งเสริมและสนับสนนุ ใหบ้ คุ ลากร (๑) เพอ่ื สรา้ งจติ สาธารณะ (Public Mind) บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจดา้ น มีการพัฒนาทางด้านจิตใจในการมีสว่ นร่วม โดยมุ่งให้บคุ ลากรมีความรู้ ความเข้าใจ กิจกรรมเพื่อสงั คม สง่ิ แวดล้อม และ พัฒนาสังคมและส่งิ แวดล้อม รวมทัง้ การ มกี ารพัฒนาดา้ นจติ ใจ เกดิ สานึกตอ่ สังคม กิจกรรมความรับผดิ ชอบต่อสงั คม อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ โดยยึดหลัก และมงุ่ รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ความรับผดิ ชอบต่อสังคม (๒) เพ่ือเปิดโอกาสให้บคุ ลากรไดท้ ากิจกรรม ร้อยละความสาเร็จของการจดั กิจกรรม/ ร่วมกนั เพอ่ื ส่งเสรมิ ความสัมพนั ธ์ในองคก์ ร โครงการ รอ้ ยละความสาเร็จของการจัดกิจกรรม/ โครงการ ผลลัพธ์ หน่วยงำนหลกั สานักบรหิ ารงานกลาง (สผ./สว.) หน่วยงำนหลกั การเขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการสามารถ สานักบริหารงานกลาง (สผ./สว.) ทาใหบ้ ุคลากรได้รบั ความรู้ ความเขา้ ใจ สานักพฒั นาบุคลากร (สผ.) และนาไปประยุกตป์ ฏิบัตไิ ดจ้ ริง สานักพัฒนาทรัพยากรบุคคล (สว.) สานักพัฒนาบุคลากร (สผ.) สานกั พัฒนาทรัพยากรบคุ คล (สว.) หนว่ ยงำนทเี่ ก่ยี วข้อง ทุกหนว่ ยงาน หนว่ ยงำนที่เกย่ี วขอ้ ง ทกุ หน่วยงาน ๓๔ยุทธศำสตรก์ ำรบริหำรทรัพยำกรบคุ คลของสว่ นรำชกำรสังกัดรัฐสภำ ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

พิมพ์ท่ี : สำนักกำรพมิ พ์ สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร