Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กระทรวงคมนาคม และแผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและโลจิสติกส์

กระทรวงคมนาคม และแผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและโลจิสติกส์

Published by flowerz_uk, 2020-01-12 22:37:46

Description: กระทรวงคมนาคม และแผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและโลจิสติกส์

Search

Read the Text Version

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 3. ปรับปรุงการแบ่งทิศทางการจราจรเพ่ือความปลอดภัย บนสายทางหลวง 21 แห่ง ในพื้นท่ี 13 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ นครพนม สกลนคร ตาก เพชรบูรณ์ อุดรธานี ชัยภูมิ กาฬสินธุ์ ศรีสะเกษ สุรินทร์ นครราชสีมา นครศรธี รรมราช และสตลู 4. ก่อสรา้ งสะพานขา้ มจดุ ตัดทางรถไฟและค่าควบคมุ งาน 15 แห่ง ในพนื้ ท่ี 13 จังหวดั 5. ยกระดับความปลอดภยั บรเิ วณทางแยกขนาดใหญ่ 76 แห่ง ในพน้ื ที่ 39 จงั หวัด โดยมีรายละเอยี ดลักษณะการใช้งบประมาณ ดังน้ี ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนินการ (บาท) แผนงานพนื้ ฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 26,668,137,500 บาท โครงข่ายทางหลวงได้รับการพัฒนา 1,451,503,500 ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุอุปกรณ์ประจา สานักงาน ค่าสาธารณูปโภค งานก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารสานักงาน และงานศึกษา ประเมินผล วิเคราะห์ความเหมาะสม ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนา ทางหลวง รวมทั้งหมด 507 รายการ โครงข่ายทางหลวงไดร้ ับการบารุงรกั ษา 21,403,880,600 1. ค่าบารุงรักษาทางและสะพาน (ต่ากว่า 10 ล้าน บาท) รวม 399 รายการ ระยะทาง 70,575 กม. 2. งานบารุงรักษาทางหลวงตามกาหนดเวลา ท้ังหมด 330 แห่ง ในพนื้ ท่ี 67 จงั หวดั 3. งานบารุงพิเศษและบูรณะทางหลวง 490 แห่ง ในพนื้ ท่ี 77 จังหวัดทว่ั ประเทศ 4. งานฟนื้ ฟูทางหลวง 80 แหง่ ในพืน้ ที่ 32 จังหวัด 5. กิจกรรมแก้ไขปัญหาการสัญจรเร่งด่วน การ ควบคุมนา้ หนกั ยานพาหนะบนทางหลวง โครงขา่ ยทางหลวงมคี วามปลอดภัย 3,812,753,400 1. รถวิทยุตรวจการณ์ขนาดไม่ต่ากว่า 2,300 ซีซี พร้อมอุปกรณ์อานวยความสะดวก 55 คัน 39 จงั หวดั 2. งานปรับปรุงจุดเสี่ยงและบริเวณอันตรายบนทาง หลวง ท้ังหมด 28 แห่ง 15 จังหวัด ได้แก่ นครสวรรค์ เชียงราย กาแพงเพชร เพชรบูรณ์ ขอนแก่น ร้อยเอ็ด สุรินทร์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ชัยนาท สุพรรณบุรี อุทัยธานี เพชรบุรี พัทลุง และ อ่างทอง แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ 3,804,519,100 บาท โครงการพัฒนาทางหลวงเพื่อสนับสนุน 3,804,519,100 ดาเนินการกอ่ สร้าง+คา่ ควบคมุ งานทางหลวงรองรับ เขตเศรษฐกจิ พิเศษ เขตเศรษฐกิจพิเศษในพ้ืนที่ 10 เขต ได้แก่ ตาก มุกดาหาร สระแก้ว ตราด สงขลา หนองคาย เชียงราย นครพนม กาญจนบุรี และนราธิวาส รวม ระยะทาง 98.253 กม. แผนงานบรู ณาการพฒั นาพืน้ ทร่ี ะดับภาค 3,134,000,000 บาท โครงการเสริมศักยภาพของโครงสร้าง 305,000,000 พัฒนาทางหลวง 5 แห่ง ในพ้ืนท่ี 3 จังหวัด ได้แก่ พ้ืนฐานเมอื งเปา้ หมายและเมืองชายแดน พะเยา ตาก และอุตรดิตถ์ สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 49 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนนิ การ (บาท) โครงการพัฒนากลุ่มท่องเท่ียวอารยธรรม 422,000,000 พัฒนาทางหลวง 6 แห่ง ในพ้ืนท่ี 5 จังหวัด ได้แก่ ลา้ นนาและกลุ่มชาติพนั ธ์ุ เชียงใหม่ ลาปาง เชียงราย กาแพงเพชร และ เพชรบูรณ์ โครงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเท่ียว 225,000,000 พัฒนาทางหลวง 6 แห่ง ในพ้ืนท่ี 3 จังหวัด ได้แก่ เชิงธรรมชาตแิ ละนิเวศน์ ลพบุรี กาญจนบรุ ี และประจวบคีรขี ันธ์ โครงการพัฒนาเมืองและพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ 305,000,000 พัฒนาทางหลวง 7 แห่ง ในพื้นท่ี 4 จังหวัด ได้แก่ ภาคกลาง ลพบุรี อ่างทอง เพชรบุรี และราชบุรี โครงการบริหารจัดการ 28,600,000 พฒั นาทางหลวงหมายเลข 1 ตอน แยกโรงเรียนสุธี ทรัพยากรธรรมชาติและแกไ้ ขปญั หา วทิ ยา – ดงจาปา จ.ลพบรุ ี 1 แหง่ สง่ิ แวดล้อม โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า เ มื อ ง ก า ร ค้ า แ ล ะ ก า ร 320,000,000 พัฒนาทางหลวง 7 แห่ง ในพ้ืนท่ี 3 จังหวัด ได้แก่ ท่องเท่ียวชายแดน นราธวิ าส ปตั ตานี และยะลา โครงการพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกิจชายแดน 80,000,000 พัฒนาทางหลวงหมายเลข 3395 ตอน วัฒนานคร - ภาคตะวันออกด้านอุตสาหกรรม การค้า โคคลาน จ.สระแก้ว 1 แหง่ และการลงทุน โครงการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงนิเวศน์ 215,000,000 พัฒนาทางหลวง 3 แห่ง ในพื้นที่ 2 จังหวัด ได้แก่ ศาสนา วฒั นธรรมและ อารยธรรม ปราจนี บุรี และฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาเมืองศนู ย์กลางจังหวัดเป็น 40,000,000 พัฒนาทางหลวงหมายเลข 229 ตอน บ้านไผ่ - เมอื งนา่ อยู่ มัญจาครี ี จ.ขอนแก่น 1 แห่ง โครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว 25,000,000 พัฒนาทางหลวงหมายเลข 2096 ตอน หนองกา - ธรรมชาติ คาตากล้า จ.สกลนคร 1 แห่ง โครงการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่ง 533,400,000 พัฒนาทางหลวง 18 แห่ง ในพ้ืนท่ี 5 จังหวัด ได้แก่ ขนาดใหญ่และพัฒนาพ้ืนที่รอบสถานี เลย หนองบวั ลาภู กาฬสินธ์ุ สรุ นิ ทร์ และศรษี ะเกษ ขนส่งระบบรางในเมืองท่ีมีศักยภาพ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื โครงการสรา้ งความเขม้ แข็ง ทางเศรษฐกิจ 130,000,000 พัฒนาทางหลวง 3 แห่ง ในพ้ืนที่ 2 จังหวัด ได้แก่ ต า ม แ น ว ช า ย แ ด น แ ล ะ แ น ว ร ะ เ บี ย ง หนองคาย และบรุ ีรัมย์ เศรษฐกจิ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ โครงการยกระดับมาตรฐานบริการและ 425,000,000 พัฒนาทางหลวง 9 แห่ง ในพื้นท่ี 6 จังหวัด ได้แก่ ส่งเสริมธุรกิจต่อเนื่องในแหล่งท่องเท่ียวท่ี กระบ่ี ตรงั พังงา ภูเกต็ ระนอง และสงขลา มีชือ่ เสียงของภาค โค ร งกา ร พัฒนา โค ร งส ร้ า งพ้ืนฐา น 80,000,000 พั ฒ น า ท า ง ห ล ว ง 2 แ ห่ ง ใ น พ้ื น ที่ จั ง ห วั ด สนับสนุนการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมและ นครศรีธรรมราช การเชือ่ มโยงการค้าโลก แผนงานบูรณาการพฒั นาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ 67,287,056,000 บาท โครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่าง 12,657,499,400 1. ก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบาง เมือง ประอิน-สระบรุ ี-นครราชสมี า 2. ก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบาง ใหญ่-กาญจนบุรีในพ้ืนที่จังหวัด กรุงเทพฯ นนทบุรี รา ชบุ รี นค รป ฐม กาญ จนบุรี ส มุทรส าค ร สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 50 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนนิ การ โ ค ร ง ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง ท า ง ห ล ว ง เ ช่ื อ ม โ ย ง (บาท) ระหว่างประเทศ สมุทรสงคราม พระนครศรีอยุธยา ระยะทางรวม โครงการยกระดับความปลอดภัยบริเวณ ทางแยกขนาดใหญ่ 124.075 กม. โ ค ร ง ก า ร บู ร ณ ะ โ ค ร ง ข่ า ย ท า ง ห ล ว ง 3,784,291,400 ก่อสร้างทางและสะพาน 23 แห่ง ระยะทางรวม เชอ่ื มโยงระหว่างภาค 19.555 กม. และจ้างท่ีปรึกษาควบคุมงาน ในพ้ืนท่ี โครงการก่อสร้างสะพานข้ามจุดตัดทาง รถไฟ 12 จังหวดั ไดแ้ ก่ บึงกาฬ พิษณุโลก น่าน ปราจนี บรุ ี โ ค ร ง ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง โ ค ร ง ข่ า ย ท า ง ห ล ว ง ปัตตานี สุรินทร์ เชียงใหม่ เชียงราย ยะลา เลย แผ่นดนิ จันทบรุ ี และ สงขลา 1,702,500,000 ปรับปรุงทางหลวง 76 แห่ง ในพ้ืนที่ 39 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ลาปาง ลาพูน เชียงราย พะเยา น ค ร พ น ม สุ โ ข ทั ย พิ ษ ณุ โ ล ก เ พ ช ร บู ร ณ์ หนองบัวลาภู อุดรธานี ขอนแก่น ชัยภูมิ กาฬสินธ์ุ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด สุรินทร์ นครราชสีมา ปราจีนบุรี ลพบุรี สระบุรี กาญจนบุรี ชัยนาท สุพรรณบุรี อา่ งทอง นครนายก ปทุมธานี นครปฐม จันทบุรี ชลบุรี ระยอง ราชบุรี นครศรีธรรมราช ตรัง พงั งา ยะลา สงขลา สระบุรี และนครสวรรค์ 5,157,262,800 1. เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของทางหลวง สายหลัก 319.057 กม. ในพื้นที่ 9 จังหวัด ได้แก่ ชุมพร นครราชสีมา อุบลราชธานี แม่ฮ่องสอน ขอนแก่น นครศรีธรรมราช พัทลุง เชียงราย และ อดุ รธานี 2. บูรณะโครงข่ายทางหลวงเชอื่ มระหวา่ งภาค 152 แหง่ ในพน้ื ท่ี 66 จังหวดั 1,367,016,800 ก่อสร้างสะพานข้ามจุดตัดทางรถไฟและค่าควบคุม งาน 15 แห่ง ในพื้นที่ 13 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี สุรินทร์ สระบุรี พิษณุโลก นครราชสีมา ปราจีนบุรี ลาพูน เพชรบุรี นครราชสีมา บรุ ีรัมย์ สุราษฎร์ธานี กาญจนบุรี และประจวบครี ีขันธ์ 30,181,306,200 1.ค่าชดเชยสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ใน การเวนคืนที่ดินในเขตการก่อสร้างทางหลวง 16 รายการ 2. กอ่ สรา้ งทางหลวงแผ่นดนิ 83 แหง่ ระยะทางรวม 500.505 กม. 3. ก่อสรา้ งสะพานและทางตา่ งระดบั 35 แห่ง 4. แก้ไขปัญหาการจราจรในพื้นท่ี กทม. ปริมณฑล และเมอื งหลกั 20 แหง่ 5. ก่อสร้างทางหลวงเช่ือมตอ่ ระบบขนส่ง 8 แหง่ 6. สารวจออกแบบทางหลวงแผ่นดิน 14 แห่ง 7. การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม รวมทง้ั การศกึ ษาด้านอืน่ ๆ จานวน 46 แห่ง สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 51 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนินการ โค รงการ พัฒนา ทา งหล วงเ พ่ือเ พ่ิม (บาท) ประสิทธิภาพการจราจรและขนสง่ 8,836,898,000 1. ปรับปรุงทางหลวงผ่านย่านชุมชน 68 แห่ง ใน โครงการศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมใน การให้เอกชนรว่ มลงทุน พ้นื ท่ี 36 จังหวดั โครงการปรับปรุงการแบ่งทิศทาง 2. ยกระดับมาตรฐานและเพิ่มประสิทธิภาพทาง การจราจรเพื่อความปลอดภยั หลวง 188 แหง่ ในพื้นที่ 45 จงั หวดั โครงการก่อสร้างขยายทางคูข่ นานลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี 3. ก่อสร้าง ปรับปรุง สะพานและอาคารระบายน้า โครงการพัฒนาจุดจอดพักรถและสถานี ตรวจสอบนา้ หนกั 107 แหง่ ในพืน้ ท่ี 44 จงั หวัด โครงการก่อสร้างทางยกระดับบนทาง 53,602,000 1. การจัดเตรียมเอกสารและให้คาปรึกษาในการ หลวงหมายเลข 35 สายธนบุรี - ปากท่อ (ถนนพระราม 2) คัดเลือกเอกชนเข้าลงทุนโครงการทางหลวงพิเศษ โครงการปรับปรุงความปลอดภัยบริเวณ หน้าโรงเรียน ระหว่างเมือง สายหาดใหญ่ - ชายแดนไทย/ มาเลเซีย 2. การศึกษาวเิ คราะห์ความเหมาะสมการให้เอกชน ร่วมลงทนุ โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมอื งสาย วงแหวนกาญจนาภิเษกด้านตะวนั ตก 3. การศึกษาวเิ คราะห์ความเหมาะสมการให้เอกชน ร่วมลงทุนโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ทางยกระดับชว่ งศรนี ครินทร์ - ทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ 383,890,000 ปรับปรุงการแบ่งทิศทางการจราจรเพ่ือความ ปลอดภัย บนสายทางหลวง 21 แห่ง ในพนื้ ท่ี 13 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ นครพนม สกลนคร ตาก เพชรบูรณ์ อุดรธานี ชัยภูมิ กาฬสินธุ์ ศรีสะเกษ สุรินทร์ นครราชสีมา นครศรีธรรมราช และสตลู 57,140,800 ปรับปรุงทางแยกต่างระดับฉิมพลีและพุทธมณฑล สาย 4 กรุงเทพมหานคร 2 แห่ง และค่าควบคมุ งาน ก่อสร้าง 1,263,664,000 ก่อสร้างจุดจอดพักรถบรรทุก (Truck rest area) ในพื้นที่ 20 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ลาปาง นครสวรรค์ กาแพงเพชร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ น ค ร ร า ช สี ม า ข อ น แ ก่ น บุ รี รั ม ย์ สุ ริ น ท ร์ มหาสารคาม มุกดาหาร อุดรธานี เลย อุบลราชธานี ศรสี ะเกษ ปราจนี บรุ ี ชมุ พร สรุ าษฎร์ธานี และพงั งา สามารถรองรบั รถบรรทุกได้ 100,000 คัน 966,914,000 ก่อสร้างทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35 สายธนบุรี - ปากท่อ(ถนนพระราม 2) ตอน ทาง แยกต่างระดับบางขุนเทียน - เอกชัย กรุงเทพมหานคร จ.สมุทรสาคร ระยะทางรวม 9.630 กม. 575,070,000 ปรับปรุงความปลอดภัยของทางและสะพานบริเวณ หนา้ โรงเรียนทง้ั หมด 702 แห่ง สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 52 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนนิ การ (บาท) แผนงานบูรณาการเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก 9,926,729,200 บาท โครงการพัฒนาทางหลวงรองรับระเบียง 9,926,729,200 ก่อสร้างทางหลวงรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาค เศรษฐกจิ ภาคตะวันออก ตะวันออก 32 แห่ง รวมระยะทาง 89.133 กม. และค่าสารวจออกแบบ 3 รายการ 6. ข้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ ของสานกั งบประมาณของรฐั สภา 1. ในแต่ละปีกรมทางหลวงต้องจัดสรรงบประมาณเพ่ือซ่อม บารุงรักษาถนนในพ้ืนท่ีทั่วประเทศใน จานวนท่ีสูง ดังน้ันควรมีการวิจัยเพื่อลดค่าใช่จ่ายในการซ่อมบารุงถนนด้วยวัสดุ เทคนิคการก่อสร้างและอื่น ๆ รวมไปถึงสถานีตรวจสอบน้าหนักควรเพ่ิมความเข้มงวดในการบรรทุกนา้ หนักเกินที่กฎหมายกาหนด จะช่วยให้ ถนนมีอายุการใชง้ านตามทีอ่ อกแบบไว้ท่ี 7 และ15 ปี 2. บูรณาการกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องวางแผนควบคุมการขยายตวั ของเมืองอย่างเป็นระบบ เน่ืองจาก ในปัจจุบันเกิดปัญหาการกระจุกตัวของเมืองขนาดใหญ่ต่าง ๆ ในภูมิภาค ที่ยังคงมีแนวโน้มการขยายตัวที่ กระจุกอยู่ในเมืองเดิมเหล่านั้นมากขึ้นเร่ือย ๆ ซ่ึงเมื่อปัจจัยสาคัญส่วนหนึ่งเป็นเพราะความจาเป็นต่อความ ต้องการความเช่ือมโยงและการคมนาคมขนส่งระหว่างกัน ซึ่งปัจจุบันมีเพียงระบบโครงข่ายถนนเป็นทางเลือก หลัก ดังน้ัน การแก้ปัญหาจึงต้องเริ่มที่ใช้การคมนาคมขนส่งเป็นเคร่ืองมือในการกระจายการพัฒนาเชื่อมโยง ไปสพู่ ื้นท่ีอื่น ๆ ในภูมิภาค รวมถงึ พื้นที่ชายแดนโดยรอบประตกู ารค้าหลัก ควบคู่ไปกับการวางแผนเพอื่ ควบคุม และชนี้ าการพฒั นาพืน้ ทีอ่ ย่างเปน็ ระบบ 3. เน่ืองจากปัจจุบันมีระบบโครงข่ายทางหลวงครอบคลุมทุกพื้นที่และได้มาตรฐานระดับหน่ึงแล้ว แต่ ปัญหาการจราจรตดิ ขดั และปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ยงั คงมเี กิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังน้นั การพฒั นาโครงข่ายทาง หลวงในอนาคต จึงไม่เพียงแต่มุ่งเน้นไปท่กี ารก่อสร้างทางหลวงเพิ่มข้ึนเท่านั้น แตค่ วรมุ่งเน้นท่ีการแก้ไขปัญหา จราจรท่ีจุดสาคญั อาทิ การแก้ปัญหาจดุ ตดั ทางหลวงกลบั ทางรถไฟ การก่อสรา้ งจุดกลบั รถ การติดต้ังสัญญาณ ไฟจราจรในจุดที่จาเป็น การปรบั ปรงุ พื้นผิวจราจร รวมถึงการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองเพ่ือ เพ่ิมความคลอ่ งตัวในการเดินทางและเปน็ ทางเลือกในการเดนิ ทางให้กบั ประชาชน 4. ต้องมีการปรับปรุงรักษาโครงข่ายให้อยู่ในสภาพท่ีดี มีส่ิงอานวยความสะดวกเพื่อรองรับการเดิน ทางผ่านเข้าออกระหว่างเพื่อนบ้าน พร้อมทัง้ ยกระดับมาตรฐานความปลอดภยั ใหอ้ ยู่ในระดับสากลมากขึน้ และ สาหรับการพัฒนาเพิ่มเติมโครงข่ายถนนขึ้นใหม่ในอนาคต จาเป็นต้องมีการบูรณาการเพื่อให้เกิดการเดินทาง ของคนและการขนส่งสินค้าต่อเนื่องหลายรูปแบบ โดยเฉพาะการเชื่อมต่อระหว่างโครงข่ายถนนและโครงข่าย ราง รวมไปถึงพจิ ารณาความซา้ ซ้อนของอุปทานกับระบบคมนาคมขนส่งรปู แบบอื่น 5. เร่งพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานสนับสนุนการคมนาคมขนส่งทางถนน อาทิ สถานีขนส่งสินค้า ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า ศูนย์เปลี่ยนถ่ายการขนส่ง จุดพักรถบรรทุก บนโครงข่ายทางหลวงสายหลัก รวมไปถึงการพัฒนาการเขา้ ถึงสถานขี นส่งผู้โดยสาร (Accessibility) โดยเฉพาะในรัศมี 40 กิโลเมตรจากสถานี ซ่งึ จะตอ้ งพิจารณาท้งั ในเรื่องของการพฒั นาถนนและการให้บรกิ ารระบบขนส่งสาธารณะในระดับพ้นื ท่ี 6. บูรณาการกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือดาเนินการพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกการขนส่ง ด่าน ศุลกากร ตรวจคนเขา้ เมอื ง 7. บริหารจัดการความต้องการคมนาคมขนส่ง โดยการนามาตรการบริหารจัดการความต้องการ เดินทาง (TDM) มาบังคบั ใช้ในเมอื งใหญ่ท่มี ปี ัญหาการจราจรหนาแนน่ สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 53 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 5. กรมทางหลวงชนบท กรมทางหลวงชนบทเป็นหน่วยงานสาคัญท่ีจะเชื่อมต่อการคมนาคมขนส่งของประเทศ เนื่องจากมีภารกิจในการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบท เพื่อสนับสนุนการคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว การพัฒนาชายแดน การพัฒนาเมืองอย่างบูรณาการและยั่งยืน แก้ไขปัญหาจราจรโดยสร้าง ทางตอ่ เช่อื ม ทางเลี่ยงและทางลดั รวมทัง้ เป็นพี่เลย้ี งการพัฒนาทางหลวงท้องถ่นิ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ 1. วสิ ัยทศั น์ เชื่อมโยงโครงข่ายถนน ระหว่างทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงท้องถิ่น ท่าอากาศยาน ท่าเรือสถานี รถไฟ สถานีรถโดยสาร เขตเศรษฐกิจพิเศษ และโครงการพระราชดาริเข้าด้วยกันได้ครบถ้วนภายในปี พ.ศ. 2579 2. พันธกิจ 1) พัฒนาและยกระดับมาตรฐานทางหลวงชนบท เพื่อเช่ือมโยงการคมนาคมขนส่ง การสัญจรการ ท่องเที่ยว การพัฒนาชายแดน การพัฒนาเมือง การแก้ไขปัญหาจราจร ด้วยการสร้างทางต่อเชื่อม (Missing Link) ทางเลี่ยง (By Pass) และทางลัด (Shortcut) 2) พัฒนาเสน้ ทางให้สนองตอบระบบโลจิสติกส์ 3) บารุงรักษาและอานวยความปลอดภัยให้โครงข่ายทางหลวงชนบทอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและได้ มาตรฐาน 4. ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้มีระบบจัดการทางหลวงท้องถ่ินที่ถูกต้องได้ มาตรฐาน และบุคลากรมีความรดู้ ้านงานทาง สามารถจัดการวางแผน สารวจออกแบบและซ่อมบารงุ ได้ 3. ภาพรวมงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมทางหลวงชนบทไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณจานวน 48,005.5657 ลา้ นบาท เพ่มิ ขนึ้ จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จานวน 1,219.2441 ล้านบาท หรอื เพ่ิมขน้ึ ร้อยละ 2.61 สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 54 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม งบประมาณกรมทางหลวงชนบท (ลา้ นบาท) 51,000 48,749.2740 46,786.3216 48,005.5657 49,000 47,000 47,875.8530 45,000 43,000 46,077.6681 41,000 39,000 40,095.1534 37,000 35,000 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2557 งบบุคลากร งบดาเนินงาน งบเงนิ อดุ หนุน งบประมาณรายจ่ายของ 2.98% 0.34% 0.01% กรมทางหลวงชนบท ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 เม่ือจาแนก กรมทางหลวง ตามงบรายจ่าย สามารถเรียงลาดับ ชนบท งบประมาณจากมากไปนอ้ ย ดังน้ี งบลงทุน 46,411.9645 ลา้ นบาท งบบุคลากร 1,428.7063 ลา้ นบาท งบดาเนนิ งาน 162.2549 ลา้ นบาท งบเงนิ อดุ หนุน 2.6400 ล้านบาท งบลงทนุ 96.68% สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 55 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม งบประมาณจาแนกตามกล่มุ งบประมาณรายจ่าย งบประมาณรายจ่ายบุคลากร 2.47% 3.02% แผนงานพ้นื ฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั แผนงานยทุ ธศาสตร์สร้างการเติบโตอยา่ งยง่ั ยนื อนุรักษ์ ฟ้ื นฟู และ 37.91% ป้ องกนั การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ แผนงานบูรณาการขบั เคลื่อนการแกไ้ ขปัญหาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 47.81% แผนงานบรู ณาการสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ียว แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้ืนท่ีระดบั ภาค 0.41% แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ แผนงานบรู ณาการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก 2.20% 2.59% 2.49%1.10% กรมทางหลวงชนบทได้รบั การจัดสรรงบประมาณจาแนกตามกลมุ่ งบประมาณรายจ่ายภายใต้ 9 แผนงาน โดยเรียงลาดบั แผนงานทไี่ ดร้ ับการจดั สรรงบประมาณมากไปน้อยได้ดังนี้ 1) แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 22,952.3444 ลา้ นบาท 2) แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 18,198.8352 ล้านบาท 3) งบประมาณรายจ่ายบุคลากร 1,452.1478 ลา้ นบาท 4) แผนงานบรู ณาการพัฒนาพื้นทเี่ ขตเศรษฐกจิ พิเศษ 1,244.4116 ล้านบาท 5) แผนงานบูรณาการสรา้ งรายได้จากการท่องเท่ียว 1,194.5206 ลา้ นบาท 6) แผนงานบูรณาการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก 1,184.2571 ล้านบาท 7) แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้นื ที่ระดบั ภาค 1,055.8080 ลา้ นบาท 8) แผนงานบูรณาการขบั เคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 527.0840 ล้านบาท 9) แผนงานยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่างย่ังยืน อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และป้องกันการทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติ 196.1570 ลา้ นบาท สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 56 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 4. ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ หมายเหตุ : เปน็ ข้อมลู งบประมาณหลังโอน/เปลยี่ นแปลง ณ สิ้นเดือนกันยายนของทกุ ปี (ไม่รวมเงนิ กันไว้เบิกเหล่อื มป)ี ทมี่ า : ผลการเบิกจา่ ยเงินงบประมาณตามลกั ษณะเศรษฐกิจและสว่ นราชการ กรมบัญชกี ลาง และงบประมาณปี พ.ศ. 2563 จากเอกสาร งบประมาณ 5. ผลประโยชน์ที่ไดร้ บั จากการจัดสรรงบประมาณกรมทางหลวงชนบท กรมทางหลวงชนบทได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 48,005.5657 เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้งานทางหลวงชนบทด้วยการก่อสร้างทางหลวงชนบท 1,714.017 กิโลเมตร ก่อสร้าง สะพาน 18,806 เมตร และดาเนินการบารุงรักษาทางหลวงชนบท 48,031 กิโลเมตร รวมไปถึงการยกระดับ ความปลอดภัยโดยการดาเนนิ การอานวยความปลอดภัย 4,007 แห่ง นอกจากนี้ยังเป็นหน่วยงานพี่เล้ยี งในการ พฒั นาบุคลากรดา้ นชา่ งใหก้ บั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ (อปท.) โดยมรี ายละเอียดลกั ษณะการใช้งบประมาณ ดังน้ี ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนนิ การ (บาท) แผนงานพ้นื ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั 22,952,344,400 บาท การพัฒนาบุคลากรด้านช่างให้กับองค์กร 27,824,000 1. ค่าจ้างที่ปรึกษาโครงการประเมินผลสัมฤทธ์ิของ ปกครองสว่ นท้องถนิ่ (อปท.) ภารกจิ การสง่ เสรมิ วชิ าการดา้ นงานทางใหแ้ ก่ อปท. 2. ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค ท่ีใช้ในการฝึกอบรมบุคลากร อปท. จานวน 4,840 คน สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 57 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนนิ การ (บาท) โครงขา่ ยทางหลวงชนบทไดร้ ับการพัฒนา 2,703,157,500 กอ่ สรา้ งทางระยะทางรวม 89.600 กม.และก่อสร้าง สะพานความยาวรวม 2,796 ม. โครงข่ายทางหลวงชนบทได้รับการ 18,346,476,600 ดาเนินการบารุงรักษาโครงข่ายทางหลวงชนบท บารงุ รักษา ระยะทางรวม 48,031 กม. โครงขา่ ยทางหลวงชนบทมีความปลอดภยั 1,874,886,300 ปรบั ปรุงจุดหรือบริเวณเสีย่ งอันตราย 712 แห่ง แผนงานยทุ ธศาสตร์สรา้ งการเตบิ โตอยา่ งยั่งยืน อนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟู และป้องกันการทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติ 196,157,000 บาท โครงการพฒั นาเสน้ ทางผา่ นเขตรักษาพันธุ์ 196,157,000 กอ่ สรา้ งและปรบั ปรงุ ทางผ่านเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่า สตั ว์ป่าเขาอา่ งฤาไน เขาอ่างฤาไน ระยะทาง 30.880 กม. แผนงานบูรณาการขบั เคลื่อนการแกไ้ ขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 527,084,000 บาท โครงการพัฒนาเศรษฐกิจและส่งเสริม 527,084,000 ก่อสร้างทาง 61.621 กม. รวมไปถึงปรับปรุงทาง ศกั ยภาพพ้ืนทีจ่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้ และสะพาน 13 แห่ง แผนงานบูรณาการสร้างรายได้จากการทอ่ งเท่ยี ว 1,194,520,600 บาท โ ค ร งกา ร ทา งห ล วงชนบ ทเ พ่ือกา ร 1,194,520,600 ก่อสร้างทาง 286.135 กม. รวมไปถึงปรับปรุงทาง ท่องเทย่ี ว และสะพาน 15 แหง่ แผนงานบรู ณาการพฒั นาพ้นื ท่เี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 1,244,411,600 บาท โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ท า ง ห ล ว ง ช น บ ท เ พื่ อ 1,244,411,600 ก่อสร้างทางและสะพานจานวน 13 รายการ และ สนับสนุนเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน จดั กรรมสทิ ธิ์ท่ดี นิ จานวน 6 รายการ (SEZ) แผนงานบูรณาการพัฒนาพนื้ ทร่ี ะดบั ภาค 1,055,808,000 บาท โครงการสง่ เสรมิ การคา้ ชายแดน 255,000,000 ปรับปรุงโครงข่ายทางหลวงชนบทเพื่อส่งเสริม การคา้ ชายแดน 6 รายการ โครงการพัฒนาและส่งเสรมิ การเกษตร 70,000,000 ก่อสร้างหรือปรับปรุงเส้นทางการเข้าถึงแหล่งผลิต เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม การค้า การลงทนุ 3 รายการ โครงการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว 199,470,000 ปรับปรุงพัฒนาเส้นทางการท่องเท่ียวเช่ือมโยง 7 เชงิ ธรรมชาติและนเิ วศน์ รายการ โครงการเสริมศักยภาพของโครงสร้าง 7,200,000 ก่อสร้างสะพานสนับสนุนการเสริมศักยภาพของ พน้ื ฐานเมอื งเปา้ หมายและเมอื งชายแดน โครงสร้างพน้ื ฐานเมือง 1 รายการ โครงการพัฒนากลุ่มท่องเท่ียว อารย 186,200,000 ก่อสร้าง บารุงรักษา ปรับปรุงทางส่งเสริมการ ธรรมล้านนาและกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ ท่องเทย่ี ว 4 รายการ โครงการพัฒนากลุ่มท่องเที่ยวมรดกโลก 23,400,000 ก่อสรา้ ง ปรบั ปรุงเส้นทางหลวงชนบท 2 รายการ โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า เ มื อ ง ก า ร ค้ า แ ล ะ ก า ร 51,180,000 กอ่ สร้าง ปรับปรงุ เสน้ ทางหลวงชนบท 1 รายการ ทอ่ งเทย่ี วชายแดน โครงการพัฒนาพื้นท่ีเศรษฐกิจชายแดน 49,848,000 ปรบั ปรุงทางหลวงชนบท 2 รายการ ภาคตะวันออกด้านอุตสาหกรรม การค้า และการลงทุน โครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเท่ียว 20,000,000 ปรับปรุงทางหลวงชนบท 1 รายการ วถิ ชี ีวิตลมุ่ นา้ โขง-เชงิ กฬี า สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 58 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนนิ การ (บาท) โครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว 26,400,000 ปรบั ปรงุ ทางหลวงชนบท 2 รายการ ธรรมชาติ โครงการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่ง 91,660,000 ก่อสร้าง ปรับปรงุ เส้นทางหลวงชนบท 8 รายการ ขนาดใหญ่และพัฒนาพ้ืนที่รอบสถานี ขนส่งระบบรางในเมืองที่มีศักยภาพ ภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือ โครงการสรา้ งความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจ 47,450,000 กอ่ สรา้ งเสน้ ทางหลวงชนบท 2 รายการ ตามแนวชายแดน และแนวระเบยี ง เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื โค ร งกา ร พัฒนา โค ร งส ร้ า งพ้ืนฐา น 28,000,000 ปรบั ปรงุ เสน้ ทางหลวงชนบท 1 รายการ สนับสนุนการพฒั นาเขตอุตสาหกรรมและ การเชอ่ื มโยงการคา้ โลก แผนงานบรู ณาการพฒั นาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ 18,198,835,200 บาท โครงการพัฒนาโครงข่ายสะพาน 1,436,919,200 ก่อสรา้ งสะพานยาว 15,880 ม. โครงการยกระดับมาตรฐานทาง 6,929,167,700 ก่อสรา้ งถนนลาดยาง/คอนกรีต ระยะทาง 843.905 กม. โครงการพัฒนาทางหลวงชนบทเพื่อการ 1,003,287,300 ก่อสรา้ งทาง 78.914 กม. และจัดกรรมสิทธิ์ทดี่ ินอีก เชือ่ มตอ่ ระบบขนส่ง จานวน 2 สายทาง โครงการพฒั นาถนนผังเมอื ง 796,009,300 ก่อสร้างทางเพื่อพัฒนาถนนผังเมือง 19.546 กม. และจัดกรรมสิทธิ์ทีด่ นิ อกี จานวน 1 สายทาง โครงการแก้ไขปัญหาจราจรในปริมณฑล 940,835,300 ก่อสร้างทางเพื่อแก้ไขปัญหาจราจรในปริมณฑล และภมู ภิ าค และภูมภิ าค 23.061 กม. และจดั กรรมสิทธท์ิ ่ีดินอีก จานวน 3 สายทาง โครงการก่อสร้างเพ่ือยกระดับมาตรฐาน 752,652,800 ขยายความกวา้ งสะพาน 141 แหง่ สะพาน โครงการอานวยความปลอดภัยบริเวณ 1,393,257,300 อานวยความปลอดภัยบริเวณหน้าโรงเรียน 997 หน้าโรงเรยี น แห่ง โครงการปรับปรงุ บรเิ วณคอขวดไหล่ทาง 1,179,205,000 ปรับปรุงบรเิ วณคอขวดไหลท่ าง 123 แหง่ โครงการไฟฟ้าแสงสว่างบริเวณเข้าสู่ทาง 1,023,470,500 ติดต้ังไฟฟ้าแสงสวา่ งบริเวณเขา้ สู่ทางแยกหลัก 578 แยกหลกั แห่ง โค ร งกา ร ยกร ะ ดั บ ม า ตร ฐา นค วา ม 15,000,000 จัดทามาตรฐานและคู่มือปฏิบัติงานสาหรับผู้ ปลอดภัยทางถนน ตรวจสอบความปลอดภัยงานทางระดับอาวุโส (Senior Auditor) โครงการปรบั ปรงุ ทางแยกและจุดตอ่ เชอ่ื ม 633,965,000 ปรับปรุงทางแยกและจดุ ต่อเช่อื ม 126 แห่ง โครงการปรบั ปรุงเรขาคณติ ของทาง 212,380,000 ปรับปรุงเรขาคณิตของทาง 45 แห่ง โครงการปรบั ปรุงบรเิ วณยา่ นชุมชน 522,810,100 ปรบั ปรุงบริเวณย่านชุมชน 97 แหง่ โครงการทางหลวงชนบทส นับสนุน 811,891,000 ก่อสร้างทาง 72.873 กม. และปรับปรุงสะพาน เสน้ ทางรถไฟทางคู่ จานวน 22 แห่ง โครงการปรบั ปรงุ จุดเสยี่ งจดุ อนั ตราย 547,984,700 ปรบั ปรุงจุดเส่ียงจุดอันตราย 1,162 แหง่ สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 59 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนนิ การ (บาท) แผนงานบรู ณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก 1,184,257,100 บาท โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ท า ง ห ล ว ง ช น บ ท เ พ่ื อ 1,184,257,100 ก่อสร้างทางและสะพานระยะทางรวม 90.279 กม. ขับเคล่ือนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวมไปถึงจดั กรรมสิทธทิ์ ี่ดนิ 2 สายทาง (EEC) 6. ข้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ของสานักงบประมาณของรฐั สภา ทางหลวงชนบทมีบทบาทที่สาคัญต่อระบบคมนาคมขนส่งของประเทศในการเชื่อมโยงการขนส่ง คนจากท้องถ่ินและสนิ ค้าจากแหลง่ ผลิตส่งต่อไปยังการคมนาคมขนส่งในรูปแบบอืน่ รวมไปถึงการสนับสนุนการ คมนาคมขนส่งเพ่ือ การท่องเที่ยว การพัฒนาชายแดน การพัฒนาเมืองอย่างบูรณาการและย่ังยืน แก้ไขปัญหา จราจรโดยเป็นทางเช่ือม ทางเลีย่ ง และทางลัด 1. บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพ่ือวางแผนเช่ือมโยงโครงข่ายถนน ระหว่างทางหลวง แผน่ ดิน ทางหลวงทอ้ งถ่นิ ทา่ อากาศยาน ท่าเรอื สถานีรถไฟ สถานีรถโดยสาร และเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ ตาม อุปสงคด์ า้ นคมนาคมขนสง่ ในแตล่ ะพน้ื ท่ี 2. ปรับปรงุ บารุงรักษาผิวจราจร สะพานเดมิ ที่ชารดุ เส่อื มโทรม ให้มีสภาพที่ดี ใช้ประโยชน์ไดเ้ ต็ม ประสิทธิภาพอยเู่ สมอ 3. แผนงานพ้ืนฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน วงเงินรวม 22,952.3444 ล้านบาท ประกอบด้วยผลผลิตท่ี 1 ผลผลิต การพัฒนาบุคลากรด้านช่างให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) 27.8240 ล้านบาท กาหนดเป้าหมายปี 2562-2566 ไว้ 4,840 คน-วัน น้ัน กรมทางหลวงชนบท ได้จัดทาแผน ภาพรวมการอบรม อปท.ท่ัวประเทศไว้หรือไม่ และจะดาเนินการให้ครอบคลุมบุคลากรทั่วประเทศเม่ือใด (เอกสารคาดแดง หน้า 368) 4. โครงการฝึกอบรมบุคลากรด้านช่างให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ควรเพ่ิมให้มี หลกั สตู รออนไลน์ เพื่อประหยัดงบประมาณและสามารถอัพเดทองค์ความร้แู ละหลักสตู รไดต้ ลอด สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 60 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 6. การทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย 1. วสิ ัยทัศน์ มงุ่ มนั่ พฒั นาทางพิเศษ เพ่ือให้บรกิ ารท่ีดี มีความคมุ้ ค่า สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยอยา่ งยั่งยนื 2. พนั ธกจิ 1. จดั ให้มี พฒั นา/ปรับปรงุ ทางพิเศษใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานและปลอดภัย 2. บรกิ ารอยา่ งมนี วัตกรรมและคุณค่าเพ่มิ 3. บริหารจัดการสินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพการดาเนินธุรกิจทางพิเศษ และประโยชน์ต่อสงั คม 4. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การและการลงทุนเพือ่ เพม่ิ มลู ค่าองค์กร 3. ภาพรวมงบประมาณ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 309.5557 ล้านบาท เพ่มิ ขน้ึ จากปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 209.5557 ล้านบาท เปน็ งบลงทนุ ท้งั หมด งบประมาณการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย (ล้านบาท) 1400 1200 550.0000 460.0000 1000 1,200.0000 200.0000 100.0000 309.5557 800 600 400 200 0 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2557 4. ผลประโยชน์ท่ีได้รับจากการจัดสรรงบประมาณของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย การทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 309.5557 ล้านบาท ในการจัด กรรมสิทธิ์ท่ดี นิ จานวน 2 โครงการ ดงั น้ี 1) โครงการทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอก ส่งผลประโยชน์ในการช่วยแบ่งเบาปริมาณ การจราจรฝง่ั ธนบุรี พน้ื ท่ีกรุงเทพฯ ฝง่ั ตะวันตก และจังหวดั ใกล้เคียงให้สามารถเดนิ ทางได้รวดเรว็ ยิง่ ขน้ึ สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 61 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 2) โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้าน ตะวันตก เป็นโครงการโครงข่ายทางพิเศษที่เชื่อมโยงการเดินทางในแนวรัศมี ระหว่างกรุงเทพฯ กับพื้นที่ ทางด้านตะวันตกของกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมท้ังการเดินทางจากจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ช่วย ให้เดินทางเข้าสู่กรุงเทพฯ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และช่วยลดปัญหาการจราจรติดขัดในปัจจุบันบนถนน พระรามที่ 2 โดยมีรายละเอียดลักษณะการใช้งบประมาณ ดังน้ี ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนินการ (บาท) แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ 309,555,700 บาท โครงการทางพเิ ศษสายศรรี ัช-วงแหวนรอบ 4,232,500 ค่าจัดกรรมสทิ ธิ์ท่ดี ิน โครงการทางพเิ ศษสายศรีรัช - นอกกรงุ เทพมหานคร วงแหวนรอบนอก โครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - 305,323,200 ค่าจัดกรรมสิทธิ์ท่ีดิน โครงการทางพิเศษสาย ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอก พระราม 3 - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอก กรุงเทพมหานคร ด้านตะวนั ตก กรุงเทพมหานคร ดา้ นตะวนั ตก 6. ข้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ ของสานักงบประมาณของรฐั สภา ปัจจุบันการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้ก่อสร้างทางพิเศษและเปิดให้บริการแล้ว 8 สาย รวม ระยะทาง 224.6 กิโลเมตร มีปริมาณการจราจรท่ีใช้ทางพิเศษ เฉลี่ยวันละ 1,916,151 เท่ียว และมีรายได้ค่า ผ่านทางเฉลย่ี วนั ละ 76.6555 ลา้ นบาท ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จะดาเนนิ การก่อสร้างทางพิเศษเพม่ิ ขึ้น อีก 2 โครงการ ต้งั แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2563-2566 การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีแผนการใชเ้ งนิ นอกงบประมาณ สบทบกับเงินงบประมาณจานวน 30,437 ล้านบาท เพือ่ ดาเนนิ โครงการทางพิเศษสายศรีรชั -วงแหวนรอบนอก และโครงการทางพิเศษสายพระราม 3 - ดาวคะนอง – วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตก การ ทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีการวางแผนการบริหารจัดเงินนอกงบประมาณเพ่ือให้ประหยัดงบประมาณไว้ อย่างไร สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 62 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 7. องค์การขนสง่ มวลชนกรุงเทพ 1. วสิ ัยทัศน์ ผ้นู าการใหบ้ ริการรถโดยสารประจาทาง 2. พนั ธกจิ บริการรถโดยสารประจาทางท่ีมีคุณภาพ แบบมืออาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและใส่ใจกับ ส่ิงแวดล้อม 3. ภาพรวมงบประมาณ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 5,316.0343 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 4,184.0388 ล้านบาท หรือเพิ่มขึน้ ร้อยละ 369.62 งบ ป ร ะมาณท้ังห มด อยู่ ภ าย ใต้ แผ น งาน ยุ ทธ ศาส ตร์ ส ร้ างคว ามมั่น คงแล ะล ด คว ามเ หลื่ อมล้ าทาง เศรษฐกจิ และสงั คมเพื่อโครงการเงนิ อดุ หนุนบริการสาธารณะ 6000 งบประมาณองคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ลา้ นบาท) 5000 5673.1122 5,316.0343 4000 3000 5349.9531 5034.2268 2000 1000 3500.1564 0 1,131.9955 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 63 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม งบลงทุน, 2,243.4801 งบประมาณรายจ่ายขององค์การขนส่ง ล้านบาท 42.20% มวลชนกรุงเทพ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เม่ือจาแนกตามงบรายจ่าย สามารถเรียงลาดับงบประมาณจากมากไป ขสมก. น้อย ดงั นี้ 1) งบรายจ่ายอน่ื 3,072.5542 ล้านบาท 2) งบลงทุน 2,243.4801 ลา้ นบาท งบรายจ่ายอน่ื , 3,072.5542 ล้านบาท 57.80% 4. ปัญหาอปุ สรรคของหน่วยงาน 1. สถานะทางการเงนิ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ มีรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย เนื่องจากต้นทุนการดาเนินงานท่ีสูง การเก็บค่าโดยสารต่ากว่าต้นทุนท่ีแท้จริงทาให้ประสบผลการขาดทุนมาโดยตลอด ประกอบกับผู้ประกอบการ รถเอกชนร่วมบริการค้างชาระค่าตอบแทนเป็นจานวนมากจึงขาดสภาพคล่องทางการเงิน จาเป็นต้องกู้เงินมา บริหารจัดการ ส่งผลให้มีภาระหนี้สินและดอกเบี้ยจ่ายสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดย ณ วันท่ี 31 สิงหาคม 2562 มี หนีส้ ินสะสม จานวน121,171.607 ล้านบาท ส่วนใหญ่เปน็ หนี้จากเงนิ กพู้ ันธบัตร และ Term Loan จึงถอื ไดว้ ่า องค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพมสี ถานะการเงินท่อี ่อนแอในระดับวิกฤติ 2. สภาพและจานวนรถโดยสาร สภาพของรถส่วนใหญ่ชารุด ทรุดโทรม และค่าซ่อมบารุงรักษาอยู่ในอัตราสูง สาเหตุจากรถมีอายุการ ใช้งานมากกว่า21 ปี ปัจจุบันมีรถท่ีให้บริการ ณ วันท่ี 31 สิงหาคม 2562 จานวน 3,161 คัน เนื่องจากมีรถ โดยสารท่ีปลดประจาการและยังไม่สามารถหาทดแทนได้ จึงมีจานวนที่ไม่เพียงพอต่อการให้บริการได้อย่าง ท่วั ถงึ 3. โครงสร้างองคก์ รปัจจบุ นั องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ เป็นองค์กรขนาดใหญ่ มีพนักงานจานวนทั้งหมด ณ 31 สิงหาคม 2562 จานวน 13,936 คน แยกเป็นพนักงานขับรถ จานวน 5,748 คน พนักงานเก็บค่าโดยสาร จานวน 5,805 คน พนกั งานสานักงาน จานวน 2,354 คน และพนกั งานเชย่ี วชาญเฉพาะทาง (Outsource) สัญญาจ้าง จานวน 29 คน คิดเป็นสัดส่วนต่อรถ 1 คัน ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายของพนักงาน 4.40 คน ซ่ึงสูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับ ตา่ งประเทศหรือธรุ กิจเดนิ รถอ่ืน ๆ 4. ตน้ ทุนการดาเนินงานสงู ปัจจุบันองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพมีค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานที่สูง และมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่าง ตอ่ เนือ่ ง ไดแ้ ก่ คา่ ใช้จา่ ยด้านบคุ ลากร ค่าเช้ือเพลิง คา่ เหมาซ่อม และดอกเบี้ยจา่ ย สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 64 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 5. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพิ่มขึ้นแต่ประสบปัญหาขาด บุคลากรที่มีความรู้ความชานาญในเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นจานวนมาก เนื่องจากในช่วงต้ังแต่ปี 2538-ปัจจุบัน ไม่ไดร้ ับอนญุ าตใหร้ ับพนกั งานในตาแหน่งอืน่ ได้ (ยกเวน้ พนกั งานขบั รถ และพนกั งานเกบ็ ค่าโดยสาร) 5. ผลประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากการจัดสรรงบประมาณ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 5,316.0343 ล้านบาท เพอ่ื เงินอดุ หนุนการใหบ้ ริการสาธารณะ (PSO) และค่าดอกเบีย้ เงินกู้ โดยมรี ายละเอียดลกั ษณะการใช้งบประมาณ ดงั น้ี ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนินการ (บาท) แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ สรมิ สร้างพลงั ทางสงั คม 2,243,480,100 บาท โครงการเงินอุดหนุนบริการสาธารณะ 2,243,480,100 เงินอดุ หนนุ การให้บรกิ ารสาธารณะ (PSO) (PSO) แผนงานบรหิ ารจดั การหนภ้ี าครฐั 3,072,554,200 บาท โครงการชาระหนี้เงินกู้เพื่อเสริมสภาพ 3,072,554,200 คา่ ดอกเบ้ียเงินกู้ 3,072,554,200 บาท คล่องทางการเงนิ 6. ข้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติมของสานักงบประมาณของรัฐสภา ในปัจจุบันรถโดยสารประจาทางถือเป็นระบบขนส่งสาธารณะที่สาคัญ ทั้งในมิติของการเป็นระบบท่ี เชื่อมต่อของประชาชนที่เดินทางจากจุดเริ่มเข้าสู่การขนส่งระบบรถไฟฟ้า และมิติท่ีเป็นระบบการคมนาคม ขนสง่ ท่ปี ระชาชนทุกระดับสามารถเขา้ ถงึ ได้ ดังนน้ั ถา้ รถโดยสารประจาทางมคี ณุ ภาพและมีเสน้ ทางที่เหมาะสม สามารถเช่ือมโยงกับการคมนาคมรูปแบบอ่ืนได้สะดวก ก็จะช่วยจูงใจให้ประชาชนลดการใช้รถส่วนตัวได้ นาไปสู่การแก้ไขปญั หาจราจรที่ติดขดั ในกรุงเทพได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ องค์การขนส่งมวลชนกรงุ เทพจึงควรมี การดาเนินการ ดงั นี้ 1. แยกการกากับดูแลรถร่วมบริการของเอกชนออกจากงานการบริการหลักขององค์การขนส่งมวลชน กรุงเทพ โดยให้เอกชนมาบริหารจัดการเดินรถแทนในอนาคต 2. บูรณาการร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องการวางแผนเปลี่ยนเส้นทางเดินรถใหม่ให้มีประสิทธิภาพ สอดคลอ้ งกับโครงข่าย เสน้ ทาง และสถานรี ถไฟฟา้ ทีก่ าลังจะเกิดขนึ้ ในอนาคต 3. การนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในงานบริการประชาชนเพ่ือรองรับการเข้าสู่เศรษฐกิจดิจิทัล และ พัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ให้เพ่ือรองรับกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น ระบบชาระค่าโดยสารแบบไร้เงินสด (Cashless) ระบบบัตรโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Ticket) สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 65 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 4. โครงการเงนิ อดุ หนุนบริการสาธารณะ (PSO) (เอกสารคาดแดง เลม่ ท่ี 14 หนา้ 389) ปี 2563 ด้วยระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้เงินอุดหนุนบริการสาธารณะของรฐั วิสาหกิจ พ.ศ.2554 ข้อ 5 กาหนดว่า “การอุดหนุนทางการเงิน” หมายความว่า การจ่ายเงินชดเชยผลขาดทุนให้แก่รัฐวิสาหกิจที่ ให้บริการสาธารณะในรูปของเงินงบประมาณ ตามจานวนส่วนต่างของราคาค่าบริการที่รัฐบาลกาหนด หรือ ราคาค่าบรกิ ารท่ีรฐั วิสาหกิจกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีกับต้นทุนที่ไมร่ วมถึงค่าใช้จ่ายท่ีใช้ไป ในการผลิตสินค้าหรือให้บริการอ่ืนท่ีมิได้เป็นไปเพ่ือบริการสาธารณะ และค่าใช้จ่ายอันเกิดจากการบริหาร จัดการท่ีผิดพลาดหรือไม่มีประสิทธิภาพของรัฐวิสาหกิจ ดังน้ัน การให้เงินอุดหนุนบริการสาธารณะของ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ จาเป็นต้องศึกษาความเหมาะสมของการคานวณต้นทุนการให้บรกิ ารในเส้นทาง ท่ีขาดทุนแต่ยังมีความจาเป็นและส่งผลประโยชน์ต่อระบบคมนาคมขนส่งโดยรวม และทบทวนเส้นทางการ ให้บริการให้สอดคล้องกับโครงสรา้ งพื้นฐาน เส้นทาง สถานี ของระบบคมนาคมขนส่งรูปแบบอ่ืน ๆ ในปัจจุบัน และท่กี าลังจะเกดิ ข้ึนในอนาคต 5. ความเหน็ สตง.ตอ่ การตรวจสอบงบการเงนิ รวมและงบการเงินเฉพาะกจิ การ ปี 2561  สตง. เห็นว่า งบการเงินขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ณ วันท่ี 30 กันยายน 2561 ถกู ต้องตามทีค่ วรในสาระสาคญั ตามมาตรฐานการรวยงานทางการเงนิ  ข้อมูลและเหตุการณ์ท่ีเน้น ณ วันท่ี 30 กันยายน 2561 สตง. ขอให้สังเกตประเด็น องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ มีผลขาดทุนสะสมเกินส่วนของทุน จานวน 105,077.49 ล้านบาท และหน้ีสินหมุนเวียนสูงกว่าสินทรัพย์หมุนเวียน 11,826.81 ล้านบาท และมีผล ขาดทุนจากการดาเนินงาน จานวน 6,174.56 ล้านบาท โดย องค์การชนส่งมวลชน กรุงเทพมีผลขาดทุนต่อเน่ืองมาโดยตลอด อย่างไรก็ตามยังสามารถดาเนินงานอย่าง ตอ่ เนื่องภายใต้ความช่วยเหลอื จากรัฐบาล (หมายเหตุประกอบงบการเงนิ ข้อ 2.2 และ ข้อ 5.23) สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 66 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ภารกจิ ด้านการคมนาคมขนสง่ ทางอากาศ สถานการณ์และประเดน็ ท่เี ก่ยี วข้องกบั การคมนาคมทางอากาศ ประเทศไทยมีท่าอากาศยานทั้งส้ิน 58 แห่ง โดยเป็นท่าอากาศยานพาณิชย์ 38 แห่ง ประกอบด้วย 1) ท่าอากาศยานภูมิภาคท่ีอยู่ในความดูแลของกรมการบินพลเรือน 28 แห่ง 2) บริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) 6 แห่ง ซึ่งเป็นท่าอากาศยานนานาชาติ ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอน เมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ต และท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 3) บริษัท การบินกรุงเทพ จากัด 3 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสมุย ท่าอากาศยานสุโขทัย และท่า อากาศยานตราด 4) ท่าอากาศยานในความรับผิดชอบของกองทัพเรือ 1 แห่ง คือ ท่าอากาศยานอู่ตะเภา ในส่วนท่ีเหลือเป็นท่าอากาศยานท่ีมิใช่อากาศยานพาณิชย์อีก 20 แห่ง อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน ต่าง ๆ เช่น กองทัพบก กองทัพอากาศ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นต้น ทั้งน้ีในปี พ.ศ. มีการเดินทาง เข้า-ออก จากกรุงเทพมหานครไปยังภูมิภาคต่าง ๆ จานวน 84,450 คน-เท่ียวต่อวัน และคาดว่าจะเพ่ิมขึ้นเป็น 108,923 คน-เทยี่ วตอ่ วนั ในปี พ.ศ. 2563 ภาพท่ี 2 ตาแหนง่ ทา่ อากาศยานในประเทศไทย ท่มี า : ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 67 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม “ท่าอากาศยานในภูมภิ าคบางแห่งมีความแออัดทั้งในสว่ นของทางว่งิ อาคารผ้โู ดยสาร” ปัจจุบันการคมนาคมขนส่งทางอากาศประสบปัญหาเร่ืองความแออัดเช่นเดีย วกับการขนส่งทางถนน เนื่องจากมปี ริมาณผู้โดยสารหนาแน่นเกินขดี ความสามารถในการรองรับ โดยมีปัจจยั ท่ีสาคัญมาจากการเติบโต อย่างรวดเร็วของสายการบินต้นทนุ ตา่ ที่เพ่มิ จานวนผู้โดยสารจาก 2 ลา้ นคนตอ่ ปี เม่ือปี พ.ศ. 2547 มาเป็น 53 ล้านคนต่อปี ในปี พ.ศ. 2559 หรือเพิ่มข้ึนเฉลี่ยร้อยละ 30 ต่อปี ส่งผลให้ปริมาณผู้โดยสารทางอากาศรวมท้ัง ประเทศเพิ่มข้นึ จาก 45 ล้านคนต่อปี เมื่อปี พ.ศ. 2547 มาเป็น 120 ลา้ นคนตอ่ ปใี นปี พ.ศ. 2559 ขณะท่ีการพัฒนาท่าอากาศยานยังไม่สามารถดาเนินการได้ทันกับความต้องการ ซ่ึงจากผลการศึกษา ของ สนข. พบว่าปัจจุบันท่าอากาศยานที่ประสบปญั หาความแออัดทั้งในส่วนของทางวิ่ง อาคารผู้โดยสาร และ หลุมจอด ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูเก็ต อุดรธานี สุราษฎร์ธานี อุบลราชธานี กระบ่ี และขอนแก่น เป็นต้น สว่ นท่าอากาศยานทีก่ าลังจะประสบปัญหาแออดั ตามมาในอนาคต ได้แก่ ทา่ อากาศยาน หาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงใหม่ เป็นต้น เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลจานวนผู้โดยสารกับความจุของ ท่าอากาศยานในภมู ิภาค พบว่า มีท่าอากาศยานท่ีมีปริมาณผู้โดยสารมากว่า และใกล้เคยี งกับความจุของท่า อากาศยาน จานวน 2 ทา่ อากาศยาน ได้แก่ ทา่ อากาศยานนครศรธี รรมราชและท่าอากาศยานตรัง ตารางแสดงจานวนผู้โดยสารเปรยี บเทียบกับความจขุ องทา่ อากาศยานในภมู ภิ าค ท่าอากาศยาน จานวนผู้โดยสาร ความจ/ุ วัน ความจุ/ปี 2018 2017 2016 บรุ รี ัมย์ 340,692 220,856 197,988 2,400 876,000 ชมุ พร 163,815 87,689 93,567 2,400 876,000 หวั หนิ 34,779 2,780 12,076 2,400 876,000 ขอนแกน่ 1,819,013 1,703,209 1,499,562 8,000 2,920,000 กระบี่ 4,193,099 4,339,599 4,079,564 12,000 4,380,000 ลาปาง 268,638 280,062 290,420 2,400 876,000 เลย 262,906 270,284 261,274 1,200 438,000 แมฮ่ ่องสอน 63,328 61,327 55,368 2,400 876,000 แม่สอด 193,329 180,094 174,612 1,600 584,000 นครพนม 434,128 419,311 372,026 2,400 876,000 นครราชสีมา 10,671 6,975 89 3,600 1,314,000 นครศรธี รรมราช 1,490,773 1,496,218 1,503,463 3,600 1,314,000 นา่ นนคร 428,202 349,956 376,420 2,400 876,000 นราธวิ าส 216,856 258,864 241,721 2,400 876,000 ปาย 1,779 2,110 6,046 384 140,160 เพชรบูรณ์ 1,082 - - 3,600 1,314,000 พิษณโุ ลก 672,084 600,093 492,117 8,000 2,920,000 แพร่ 88,971 80,961 72,274 1,200 438,000 ระนอง 214,250 121,484 102,228 2,400 876,000 ร้อยเอ็ด 431,785 395,601 334,955 2,400 876,000 สกลนคร 382,962 378,057 347,351 2,400 876,000 สุราษฎรธ์ านี 2,108,289 2,247,344 2,032,042 6,400 2,336,000 ตรงั 691,270 799,279 648,979 2,400 876,000 อุบลราชธานี 1,832,340 1,791,828 1,726,061 8,000 2,920,000 อดุ รธานี 2,651,242 2,577,524 2,350,005 9,600 3,504,000 รวม 18,996,283 18,671,505 17,270,208 95,984 35,034,160 ทม่ี า : ประมวลจากขอ้ มูลของการทา่ อากาศยานแห่งประเทศไทย สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 68 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ท่ีผ่านมา จานวนผู้โดยสารทางอากาศมีการเติบโตสูงข้ึนอย่างก้าวกระโดดในช่วงปี พ.ศ. 2555-2560 ซ่ึงเกิดจากการขยายตัวของสายการบินต้นทุนต่า และการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว จากปริมาณ ผู้โดยสารที่ท่าอากาศยานหลัก 6 แห่งของไทย พบว่าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมืองมี ผูโ้ ดยสารรวมกันเพ่ิมข้นึ จากประมาณ 60 ล้านคน เป็น 99 ลา้ นคน (เตบิ โตรอ้ ยละ 65) ส่วนในสนามบินภูมภิ าค มีปรมิ าณผู้โดยสารเพิม่ ขึน้ ประมาณ 2 เท่า ภายในระยะเวลาเพียง 5 ปี ในปี พ.ศ. 2556 มีการเดินทางของคนทางอากาศระหว่างกรุงเทพมหานครและภูมิภาคต่าง ๆ สูงถึง 10,000 คน-เท่ียว/วัน โดยเฉพาะเสน้ ทางกรุงเทพมหานคร-ภเู ก็ต และกรุงเทพมหานคร-เชียงใหม่ อย่างไรก็ตาม การเดินทางของคนทางอากาศในปี พ.ศ. 2570 และ พ.ศ. 2575 ระหว่างกรุงเทพมหานครและภูมิภาคต่าง ๆ จะมีจานวนสูงข้ึนถึงระดับ 20,000 คน-เท่ียว/วัน โดยเฉพาะเส้นทางกรุงเทพมหานคร-ภูเก็ต และ กรงุ เทพมหานคร-เชียงใหม่ และหากมกี ารลงทุนตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานดา้ นคมนาคม ขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 จะทาให้การเดินทางของคนทางอากาศจะมีจานวนสูงขึน้ ในปีพ.ศ. 2570 และ พ.ศ. 2575 โดยอยใู่ นระดับมากกวา่ 20,000 คน-เทยี่ ว/วนั โดยเฉพาะเส้นทางกรุงเทพมหานครและภูเกต็ ตารางแสดงสถิติการขนส่งผู้โดยสารท่ที า่ อากาศยานหลกั ของไทย รหสั ผโู้ ดยสารทีใ่ ช้บริการ (คน) ท่าอากาศยาน 2555 2556 2557 2558 2559 2560 60,860,704 BKK 53,002,328 51,363,451 46,423,352 52,902,110 55,892,663 38,299,757 10,230,070 DMK 5,983,141 16,479,226 21,549,568 30,304,183 35,203,757 4,367,364 16,855,637 CNX 4,491,331 5,294,211 6,630,624 8,365,851 9,446,320 2,503,375 133,116,907 HDY 2,127,483 2,552,509 3,147,281 3,639,936 4,004,665 HKT 9,541,1552 11,342,491 11,401,498 12,859,356 15,107,185 CEI 986,436 1,089,232 1,379,022 1,745,568 2,060,200 รวม 76,132,271 88,121,120 90,531,345 109,817,004 121,714,790 ท่ีมา : สถาบนั การขนส่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั “ผลประกอบการของทา่ อากาศยานส่วนใหญ่ขาดทนุ ” จากข้อมูลผลประกอบการของกรมท่าอากาศยาน พบว่าในปีงบประมาณ 2561 ท่าอากาศยานภายใต้ ความรับผิดชอบของกรมท่าอากาศยานส่วนใหญ่มีผลประกอบการขาดทุน โดยมีท่าอากาศยานที่มีผล ประกอบการเป็นกาไรเพียง 9 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานน่านนคร อุดรธานี ขอนแก่น ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี กระบี่ ตรงั นครศรีธรรมราช และสรุ าษฎร์ธานี สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 69 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม จากการศึกษาข้อมูลการคมนาคมขนส่งทางอากาศของประเทศ สามารถสรุปปัญหาและอุปสรรคต่อ การพัฒนาการคมนาคมขนส่งได้ ดงั น้ี 1) ขาดแผนยุทธศาสตร์ด้านการขนส่งทางอากาศ ขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานเพ่ือ ขับเคล่ือนนโยบาย ความไม่ชัดเจนของเป้าหมายจากการกาหนดนโยบาย ขาดการติดตามและประเมินผล นโยบายทีส่ าคญั 2) ปรมิ าณการขนสง่ สินคา้ ทางอากาศมีความผันผวน 3) ความคบั ค่ังและล่าช้าจากปริมาณการขนส่งท่ีเพ่ิมข้ึนในท่าอากาศยานขนาดใหญ่ โครงการ พัฒนาท่าอากาศยานมักจะติดปัญหาส่ิงแวดล้อมและชุมชน การขยายพ้ืนที่ทาได้จากัด ท่าอากาศยานขนาด กลาง-เล็กยังใช้ประโยชน์ไม่เต็มที่ ท่าอากาศยานหลายแห่งต้องการการบารุงรักษามากขึ้น ระบบเชื่อมต่อท่า อากาศยานขาดการวางแผนพัฒนาร่วมกัน พื้นท่ีห้วงอากาศและเส้นทางการบินมีความจากัดและมีการจราจร คบั คั่งสูง ความซับซ้อนของกฎหมายทาให้การปรับปรุงกฎหมายทาได้ยากและใช้เวลานาน ยังขาดหลักสูตรขั้น สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 70 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม สูงและงานวิจัยพัฒนาเฉพาะทาง ความเป็นปัจจุบันของข่าวอากาศไม่เพียงพอ ความล่าช้าในการพัฒนาท่า อากาศยานใหร้ องรับความตอ้ งการทเ่ี พิม่ ข้ึน 4) บุคลากรด้านการบินมีความขาดแคลนในบางสายงาน เช่น นักบิน เจ้าหน้าทค่ี วบคุมจราจร ทางอากาศ กฎ ระเบียบ 5) ปัญหาศักยภาพและการพัฒนาระบบในการกากับดูแล ท้ังด้านความปลอดภัย เศรษฐกิจ สิง่ แวดลอ้ มและการคุ้มครองผบู้ ริโภค สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 71 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 8. กรมทา่ อากาศยาน กรมท่าอากาศยานเป็นหน่วยงานที่สาคัญในการส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เนื่องจากมีภารกิจในการพัฒนาท่าอากาศยานให้ครอบคลุมทุกพื้นท่ี เพื่อสามารถรองรับการคมนาคมทาง อากาศ และดาเนินงานท่าอากาศยานใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานสากล 1. วสิ ัยทัศน์ ทา่ อากาศยานมาตรฐานสากลส่งเสริมโครงข่ายคมนาคมของประเทศ 2. พันธกิจ 1. พัฒนาท่าอากาศยานใหค้ รอบคลุมทุกพน้ื ที่ และสามารถรองรบั การเตบิ โตด้านคมนาคมทางอากาศ ร้อยละ 20 2. ดาเนินงานทา่ อากาศยานใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานสากล 3. บริหารจดั การองคก์ รอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3. ภาพรวมงบประมาณของกรมท่าอากาศยาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมท่าอากาศยานได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 5,827.0780 ลา้ นบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 115.9320 ล้านบาท หรือลดลงรอ้ ยละ 1.95 งบประมาณกรมท่าอากาศยาน (ลา้ นบาท) 7,000 6,329.6503 6,000 5,000 5,943.0100 5,827.0780 4,000 3,549.7707 2,189.8493 3,000 1,708.2515 2,000 1,000 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2557 สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 72 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม งบรายจ่ายอน่ื งบดาเนนิ งาน งบบุคลากร งบประมาณรายจ่ายของ 0.66% 3.30% 5.50% ก ร ม ท่ า อ า ก า ศ ย า น ป ร ะ จ า ปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 เมื่อจาแนก กรม ตามงบรายจ่าย สามารถเรียงลาดับ ท่าอากาศยาน งบประมาณจากมากไปน้อย ดังน้ี งบลงทุน 1) งบลงทุน 5,275.8474 ลา้ นบาท 90.54% 2) งบบคุ ลากร 320.5477 ลา้ นบาท 3) งบดาเนินงาน 192.1789 ล้านบาท 4) งบรายจา่ ยอน่ื 38.5040 ล้านบาท งบประมาณจาแนกตามกล่มุ งบประมาณรายจ่าย 5.56% 8.15% งบประมาณรายจา่ ยบคุ ลากร 1.45% แผนงานพนื ้ ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั แผนงานบรู ณาการพฒั นาพนื ้ ท่เี ขตเศรษฐกิจพเิ ศษ 12.38% แผนงานบรู ณาการพฒั นาพนื ้ ที่ระดบั ภาค 72.46% แผนงานบรู ณาการพฒั นาด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ กรมท่าอากาศยานไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณจาแนกตามกลมุ่ งบประมาณรายจ่ายภายใต้ 5 แผนงาน โดยเรยี งลาดบั แผนงานท่ีไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณมากไปน้อยได้ ดังน้ี 1) แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 4,222.2875 ลา้ นบาท 2) แผนงานบูรณาการพฒั นาพน้ื ทร่ี ะดบั ภาค 721.4488 ล้านบาท 3) แผนงานพ้นื ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 474.9059 ล้านบาท 4) งบประมาณรายจ่ายบุคลากร 323.7703 ล้านบาท 5) แผนงานบรู ณาการพัฒนาพน้ื ที่เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ 84.6655 ลา้ นบาท สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 73 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 4. ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ หมายเหตุ : เป็นขอ้ มูลงบประมาณหลงั โอน/เปลีย่ นแปลง ณ ส้ินเดือนกันยายนของทกุ ปี (ไมร่ วมเงินกนั ไวเ้ บกิ เหลื่อมป)ี ท่มี า : ผลการเบกิ จ่ายเงินงบประมาณตามลักษณะเศรษฐกจิ และสว่ นราชการ กรมบัญชีกลาง และงบประมาณปี พ.ศ. 2563 จากเอกสาร งบประมาณ 5. ผลประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากการจดั สรรงบประมาณของกรมทา่ อากาศยาน กรมท่าอากาศยานใช้งบประมาณ 5,827.0780 ล้านบาท ในการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ซ่ึงส่ง ผลประโยชน์ให้กับระบบคมนาคมขนส่งทางอากาศ ในการเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับผู้โดยสาร เพิม่ ขีด ความสามารถในการรองรบั เทีย่ วบนิ โดยสาร ในท่าอากาศยานท่มี ีปรมิ าณผ้โู ดยสารแออัด และเพิ่มประสทิ ธภิ าพ และมาตรฐานท่าอากาศยานด้านความปลอดภัยในทา่ อากาศยานท่วั ประเทศ โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้ 1. เพมิ่ ขดี ความสามารถในการรองรบั ผโู้ ดยสารได้มากขึ้นดว้ ยการกอ่ สรา้ งอาคารท่ีพักผู้โดยสารหลัง ใหมใ่ นทา่ อากาศยานภมู ิภาค 4 แหง่ ได้แก่ ท่าอากาศยานบุรรี ัมย์ ท่าอากาศยานตรงั ท่าอากาศยานขอนแกน่ ท่าอากาศยานนราธิวาส ท่าอากาศยานนครศรธี รรมราช และทา่ อากาศยานกระบ่ี 2. กอ่ สรา้ งทา่ อากาศยานแห่งใหม่ คือท่าอากาศยานเบตง 3. เพิ่มขีดความสามารถในการรองรับเท่ียวบินโดยสาร ด้วยการขยายความกว้างทางวิ่ง ขยายลาน จอดเครื่องบนิ ก่อสร้างตอ่ เตมิ ความยาวทางว่งิ ในท่าอากาศยานภูมิภาค 4 แห่ง ได้แก่ ทา่ อากาศยานหัวหิน ท่า อากาศยานลาปาง ท่าอากาศยานสุราษฎรธ์ านี และท่าอากาศยานแมส่ อด 4. เพ่ิมประสทิ ธภิ าพและมาตรฐานทา่ อากาศยาน รวมไปถึงมาตรฐานความปลอดภยั ด้วยการจดั ซ้ือ ครภุ ณั ฑ์ในท่าอากาศยานในภูมภิ าคทัว่ ประเทศ โดยมีรายละเอยี ดลกั ษณะการใชง้ บประมาณ ดงั นี้ สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 74 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนนิ การ (บาท) แผนงานพน้ื ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน 474,905,900 บาท การพัฒนาท่าอากาศยาน 474,905,900 1. ค่าตอบแทน ใช้สอยวสั ดุ ในท่าอากาศยานต่าง ๆ คา่ เช่ารถยนต์ 10 คนั และค่าสาธารณูปโภค 2. ค่าครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ครุภัณฑ์ รวม 262 รายการ 3. ค่าก่อสร้างอาคารท่ีพักอาศัยและสิ่งก่อสร้าง ประกอบ ในท่าอากาศยาน 9 แห่ง ได้แก่ ขอนแก่น สุราษฎร์ธานี อุดรธานี นครศรีธรรมราช พิษณุโลก สกลนคร ตรัง นราธิวาส และนครพนม และค่า ปรบั ปรงุ ส่ิงกอ่ สร้างอ่นื 17 รายการ 4. ค่าจ้างที่ปรึกษา 3 รายการ และค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปตา่ งประเทศ แผนงานบรู ณาการพัฒนาพื้นท่เี ขตเศรษฐกิจพิเศษ 84,665,500 บาท โครงการการพัฒนาท่าอากาศยานเขต 84,665,500 ก่อสร้างต่อเติมความยาวทางว่ิง ท่าอากาศยานแม่ พฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ สอด จังหวัดตาก 1 แห่ง แผนงานบรู ณาการพฒั นาพ้นื ทีร่ ะดับภาค 721,448,800 บาท โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า เ มื อ ง ก า ร ค้ า แ ล ะ ก า ร 167,376,000 ค่าก่อสร้างและควบคุมงานอาคารท่ีพักผู้โดยสาร ทอ่ งเทยี่ วชายแดน หลังใหม่ และสิ่งก่อสร้างประกอบอื่นๆ พร้อม ครุภัณฑ์อานวยความสะดวก ท่าอากาศยาน นราธิวาส 1 แหง่ โครงการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่ง 421,322,800 ค่าก่อสร้างและควบคุมงานอาคารท่ีพักผู้โดยสาร ขนาดใหญ่และพัฒนาพื้นที่รอบสถานี หลังใหม่ และส่ิงก่อสร้างประกอบอ่ืนๆ พร้อม ขนส่งระบบรางในเมืองท่ีมีศักยภาพ ภาค ครุภัณฑ์อานวยความสะดวก ท่าอากาศยาน ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ขอนแกน่ 1 แหง่ โค ร งกา ร พัฒนา โค ร งส ร้ า งพ้ืนฐา น 132,750,000 1. ค่าจ้างควบคุมงานขยายลานจอดเคร่ืองบิน สนับสนุนการพฒั นาเขตอุตสาหกรรมและ พร้อมระบบไฟฟ้าสนามบินและติดตั้งสะพานเทียบ การเชื่อมโยงการค้าโลก เครื่องบินพร้อมระบบนาจอดท่าอากาศยานสุ ราษฎรธ์ านี 1 แหง่ 2. งานขยายลานจอดเครื่องบิน พร้อมระบบไฟฟ้า สนามบิน และติดตั้งสะพานเทียบเครื่องบินพร้อม ระบบนาจอด ท่าอากาศยานสรุ าษฎร์ธานี 1 แหง่ 3. กอ่ สร้างจุดตรวจค้นรถยนต์หน้าท่า อากาศยาน ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช และท่าอากาศยาน ระนอง รวม 2 แหง่ แผนงานบรู ณาการพัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ 4,222,287,500 บาท โครงการกอ่ สรา้ งท่าอากาศยานเบตง 299,349,100 ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ในการก่อสร้างท่า อากาศยานเบตง โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและมาตรฐาน 1,206,338,800 1. ค่าครุภัณฑ์เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและมาตรฐาน ทา่ อากาศยาน ท่าอากาศยาน 47 รายการ ในท่าอากาศยาน 27 แห่ง สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 75 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนินการ โครงการพัฒนาทา่ อากาศยานกระบี่ (บาท) โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ท่ า อ า ก า ศ ย า น นครศรธี รรมราช 2. ค่าปรับปรุงสิ่งก่อสร้างอื่นในท่าอากาศยาน 10 โครงการปรบั ปรุงท่าอากาศยานเรง่ ดว่ น แห่ง โครงการจัดหารถดับเพลิงอากาศยานเพ่ือ เพ่ิมประสิทธิภาพด้านความปลอดภัยของ 530,753,400 ก่อสร้างและปรับปรงุ ขยายท่าอากาศยานกระบี่ ท่าอากาศยาน โครงการพฒั นาทา่ อากาศยานตรัง 237,393,400 ค่าก่อสร้างและควบคุมงานอาคารที่พักผู้โดยสาร โครงการพัฒนาทา่ อากาศยานลาปาง หลังใหม่ ทา่ อากาศยานนครศรีธรรมราช 1 แหง่ โครงการพัฒนาท่าอากาศยานหัวหิน โครงการพัฒนาท่าอากาศยานบุรรี มั ย์ 1,096,650,800 ปรับปรุงท่าอากาศยานเร่งด่วนโดยจัดซื้อครุภัณฑ์ และคา่ ปรบั ปรงุ ส่ิงก่อสร้าง ในทา่ อากาศยาน 21 แห่ง ได้แก่ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด นครราชสีมา เพชรบูรณ์ ระนอง บุรีรัมย์ เลย นครศรีธรรมราช นราธิวาส แม่ฮ่องสอน ตรัง อุดรธานี น่านนคร นครพนม หัวหิน ชุมพร ลาปาง สุราษฎร์ธานี แพร่ แมส่ อด และบึงกาฬ 80,840,000 จัดหารถดับเพลิงอากาศยานเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ ด้านความปลอดภัยของท่าอากาศยาน 7 แห่ง ไดแ้ ก่ ระนอง ร้อยเอ็ด นา่ น สรุ าษฎรธ์ านี นครศรธี รรมราช กระบี่ และนครราชสมี า 508,770,000 งานก่อสร้าง และควบคุมงานอาคารที่พักผู้โดยสาร หลงั ใหม่ เสรมิ ความแข็งแรงทางวิง่ ทางขับและลาน จอดเครื่องบินพร้อมระบบไฟฟ้าสนามบิน ท่า อากาศยานตรงั 50,000,000 งานก่อสรา้ งขยายความกว้างทางวง่ิ และเสริมผิวทาง วงิ่ พร้อมระบบไฟฟ้าสนามบินทา่ อากาศยานลาปาง 50,000,000 ก่อสร้างขยายความกว้างทางวิ่งและเสริมผิวทางวิ่ง พร้อมระบบไฟฟา้ สนามบนิ ทา่ อากาศยานหัวหิน 162,192,000 กอ่ สร้างและจา้ งที่ปรึกษาควบคุมงาน อาคารท่ีพัก ผู้โดยสารหลังใหม่และส่ิงก่อสร้างประกอบอ่ืนๆ พร้อมครุภัณฑ์ อานวยความสะดวกท่าอากาศยาน ทา่ อากาศยานบุรีรัมย์ 6. ข้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติมของสานักงบประมาณของรฐั สภา จากการวิเคราะห์โครงการ/กิจกรรมพบว่ากรมท่าอากาศยานมุ่งเน้นท่ีจะใช้งบประมาณในการเพิ่มขีด ความสามารถของท่าอากาศยานท้ังการรองรับผู้โดยสารและการรองรับเท่ียวบินโดยสาร ในท่าอากาศยานที่มี ปรมิ าณผู้โดยสารแออัด และเพิ่มประสิทธภิ าพและมาตรฐานทา่ อากาศยานด้านความปลอดภยั ในท่าอากาศยาน ทว่ั ประเทศ ซึ่งมีความสอดคล้องกับสถานการณ์และปัญหาของระบบคมนาคมขนส่งทางอากาศของประเทศ ซ่ึง สานักงบประมาณของรฐั สภาจึงมีข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ ดังนี้ 1. พัฒนาขีดความสามารถในการรองรบั ผู้โดยสารในทา่ อากาศยานที่มผี โู้ ดยสารเต็มความจุเพม่ิ เติมจาก ท่ีรฐั บาลไดด้ าเนนิ การไปแลว้ เชน่ ท่าอากาศยานอุดรธานี สุราษฎรธ์ านี อุบลราชธานี ตรงั และนครศรธี รรมราช 2. เร่งจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการขนส่งทางอากาศ โดยมีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานเพ่ือ ขับเคลือ่ นนโยบาย กาหนดเป้าหมายจากการกาหนดนโยบายใหช้ ัดเจน มีการตดิ ตามและประเมินผลนโยบายท่ี สาคัญ สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 76 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 3. บูรณาการกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม ฯลฯ เพือ่ พัฒนาความสามารถในการเขา้ ถึงท่าอากาศยานของประชาชน กาหนดมาตรการจูงใจในการขนส่งในท่าอากาศยานที่ยังมีผู้โดยสาร การขนส่งสินค้า และเที่ยวบิน ท่ีต่ากว่า ความสามารถในการรองรับของท่าอากาศยาน 4. พัฒนาการบริหารจัดการพื้นท่ีในท่าอากาศยาน เพื่อให้มีผลประกอบการของท่าอากาศยานภายใต้ ความรับผิดชอบของกรมท่าอากาศยานที่ดียง่ิ ขนึ้ 5. การบริหารจัดการสนามบินของกรมท่าอากาศยานควรประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างผลกาไร ของกรมท่าอากาศยานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่โดยไม่มุ่งหวังกาไรสูงสุด (maximize profit) แต่สามารถส่งเสริมให้เกิดรายได้กับชุมชนในพื้นท่ีใกล้เคียง เช่น การจัดพ้ืนท่ีให้กับวิสาหกิจชุมชน การจ้างงาน ในพ้นื ที่ เปน็ ต้น สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 77 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 9. สถาบนั การบนิ พลเรอื น 1. วสิ ัยทัศน์ เป็นศูนย์กลางแห่งความเป็นเลิศในวิชาชีพด้านการบินโดยมีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากลเพ่ือ สนบั สนนุ อตุ สาหกรรมการบินของชาตแิ ละภมู ิภาคอาเซียน 2. พนั ธกิจ 1. ผลิตและพฒั นาบคุ ลากรดา้ นอุตสาหกรรมการบิน ให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานสากล อย่างเพียงพอ ต่อความต้องการภายในประเทศ และสอดคล้องกับความต้องการของภูมภิ าค 2. ศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบิน เผยแพร่ความรู้ให้คาปรึกษา แนะนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพในการแข่งขนั ของระบบขนสง่ ทางอากาศของไทยในภมู ิภาค 3. เพม่ิ ขีดความสามารถในการใหบ้ รกิ ารซอ่ มบารงุ อากาศยาน 4. ให้บริการอากาศยานและสรา้ งบรกิ ารใหม่ๆ ท่ีเก่ยี วข้องกับอตุ สาหกรรมการบิน เพอื่ ฝกึ ทักษะ การปฏบิ ตั ิงานจริงให้กับนกั ศึกษาและใหบ้ รกิ ารกบั หน่วยงานภายนอก 5. สนับสนุนกระทรวงคมนาคมในการดาเนนิ งานตามนโยบายของภาครฐั เพ่ือให้เป็นไปตามพนั ธกรณี ตามอนุสัญญาวา่ ด้วยการบนิ พลเรือนระหวา่ งประเทศ และดาเนนิ การทดสอบบคุ ลากรด้านการบนิ เพ่ือขอรับ ใบอนญุ าตบุคคลตามท่ีได้รบั มอบหมาย 3. ภาพรวมงบประมาณของกรมท่าอากาศยาน สถาบันการบินพลเรือนไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 641.5094 ล้านบาท เพม่ิ ขนึ้ จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 247.1293 ลา้ นบาท หรอื เพิ่มข้ึนร้อยละ 62.66 งบประมาณสถาบนั การบินพลเรือน (ลา้ นบาท) 700.0000 641.5094 600.0000 500.0000 412.1350 400.0000 236.5763 394.3801 300.0000 190.3741 200.0000 194.4355 100.0000 - 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2557 สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 78 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม งบเงนิ อุดหนุน, ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย ข อ ง 195.37040 ล้าน สถาบันการบินพลเรือน ประจาปี บาท, 30.45% งบประมาณ พ.ศ. 2563 เม่ือจาแนก ตามงบรายจ่าย สามารถเรียงลาดับ สถาบันการ งบประมาณจากมากไปนอ้ ย ดังน้ี บินพลเรือน 1) งบลงทนุ 446.1390 ล้านบาท 2) งบเงนิ อดุ หนุน 195.3704 ล้านบาท งบลงทุน, 446.1390 ล้านบาท , 69.55% สถาบันการบนิ พลเรอื นไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณจาแนกตามกลุ่มงบประมาณรายจา่ ยภายใต้ 2 แผนงาน โดยเรียงลาดับแผนงานท่ไี ด้รบั การจดั สรรงบประมาณมากไปน้อยได้ ดังนี้ 1) แผนงานพนื้ ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน จานวน 509.5751 ลา้ นบาท 2) แผนงานบรู ณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก จานวน 48.3547 ล้านบาท 48.3547 ลา้ นบาท , 9% 509.5751 ลา้ นบาท , 91% แผนงานพ้ืนฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั แผนงานบรู ณาการเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 79 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 4. ผลประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการจดั สรรงบประมาณ สถาบันการบนิ พลเรือนพัฒนาบุคลากรดา้ นการบนิ โดยใชง้ บประมาณในการพฒั นาใน 3 ประเด็น 1. กอ่ สร้างอาคารเรยี น ศนู ย์พัฒนาบุคลากรด้านการบนิ อาคารฝ่ายอานวยการ 2. ครภุ ณั ฑ์การศึกษา 3. คา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ และพัฒนาบคุ ลากรด้านการบนิ โดยมีรายละเอียดลกั ษณะการใชง้ บประมาณ ดงั นี้ ผลผลติ /โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนนิ การ (บาท) แผนงานพ้ืนฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 509,575,100 บาท การผลติ และพฒั นาบคุ ลากรด้านการบิน 151,685,300 ค่าครภุ ัณฑก์ ารศึกษา 11 รายการ (เงนิ นอกงบประมาณ 43,198,000 บาท) โครงการก่อสร้างอาคารเรียน ศูนย์พัฒนา 357,889,800 ก่อสร้างอาคารเรียน ศูนย์พัฒนาบุคลากรด้านการ บุ ค ล า ก ร ด้ า น ก า ร บิ น อ า ค า ร ฝ่ า ย บินอาคารฝ่ายอานวยการและสิ่งก่อสร้างประกอบ อานวยการและส่ิงก่อสร้างประกอบพร้อม พรอ้ มครภุ ณั ฑ์ของสถาบนั การบินพลเรอื น ครภุ ณั ฑ์ของสถาบนั การบินพลเรอื น (เงนิ นอกงบประมาณ 219,514,900 บาท) แผนงานบรู ณาการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก 48,354,700 บาท โครงการพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการบนิ เพอื่ 48,354,700 คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ และพฒั นาบคุ ลากร ด้าน รองรับการจดั ตั้งศูนยฝ์ กึ อบรมบุคลากร การบนิ ด้านการบินและอวกาศอู่ตะเภา (Aeronautical and Aerospace Training Center,U-Tapao) 5. ข้อสังเกตและเสนอแนะเพิม่ เติมของสานักงบประมาณของรัฐสภา ปัญหาความขาดแคลนบุคลากรด้านการบินในบางสายงาน เช่น นักบิน เจ้าหน้าท่ีควบคุมจราจรทาง อากาศ กฎ ระเบียบ เป็นหนึ่งในปญั หาท่ีสาคัญ ดังน้ันสถาบันการบินพลเรือนซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการผลิต บุคลากรทางการบนิ จงึ ควรพิจารณาดาเนินการ ดังน้ี 1. ปัจจุบันการผลิตบุคลากรทางการบินยังไม่เพียงพอกับความต้องการ ดังนั้นจึงควรพัฒนาเครือข่าย ความร่วมมือกับหน่วยงานท้ังในและต่างประเทศ เพ่ือเปิดสอนหลักสูตรฝึกอบรมเฉพาะทางและพัฒนาวิชาชีพ ทางการบินให้ตอ่ เน่ืองเพม่ิ ขน้ึ 2. บูรณาการกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการพิจารณาค่าตอบแทนหรือสร้างแรงจูงใจให้กับบุคลากร ทางการบนิ เพือ่ แกป้ ญั หาการยา้ ยงานไปทางานภาคเอกชน 3. สถาบันการบินพลเรือนเป็นหน่วยงานที่มีเงินนอกงบประมาณจากการพัฒนาบุคลากรด้านการบิน ซึง่ สามารถนามาใช้สมทบกับงบประมาณได้ ท่ีผ่านมาปี พ.ศ. 2560-2561 สถาบันการบินพลเรือนมีรายได้จาก การดาเนินงานสูงกว่าวงเงินงบประมาณที่ได้รับ ดังน้ัน หากหน่วยงานมีการบริหารจัดการนาเงินรายได้ที่ เหมาะสมโดยนามาสมทบกับงบประมาณจะทาให้ประหยดั งบประมาณได้ 4. สตง. เห็นว่า งบการเงินของสานักงานการบนิ พลเรือนแห่งประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผลการดาเนินงาน และกระแสเงินสด สาหรับสิ้นสุดวันเดียวกันโดยถูกต้องตามท่ีควรในสาระสาคัญตาม มาตรฐานการบญั ชีภาครฐั และนโยบายการบัญชภี าครัฐท่ีกระทรวงการคลังกาหนด สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 80 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ภารกิจด้านการคมนาคมขนส่งทางนา้ การขนส่งทางน้าแบ่งออกเป็นการขนส่งทางลาน้าและการขนส่งทางชายฝั่ง โดยประเทศไทยมีแม่น้า สายหลักอยู่จานวน 22 สาย มีความยาวรวมกันประมาณ 5,800 กิโลเมตร แต่แม่น้าท่ีมีการใช้ขนส่งสินค้าทาง น้าในปริมาณมากมีจานวนเพียง 5 สาย ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าป่าสัก แม่น้าแม่กลอง แม่น้าบางปะกง และแม่น้าท่าจีน มีความยาวรวมกันประมาณ 1,400 กิโลเมตร โดยแม่น้าเจ้าพระยาเป็นแม่น้าสายหลักที่มี ปริมาณการขนสง่ สนิ ค้ามากที่สดุ และเปน็ ท่ีตั้งของเรือภายในประเทศและท่าเรือระหวา่ งประเทศท่ีสาคญั เส้นทางการขนส่งทางลาน้ามี 2 เส้นทาง คือ เส้นทางการขนส่งสินค้าภายในประเทศ ได้แก่ แม่น้า เจ้าพระยา (ขนส่งได้ตลอดท้ังปี) แมน่ ้าป่าสกั แม่น้าบางปะกง แม่น้าแม่กลอง และแม่นา้ ท่าจีน ส่วนเสน้ ทางที่ 2 เป็นเส้นทางการขนส่งสนิ ค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ การขนส่งทางทะเลและการขนส่งในแมน่ า้ โขง ระหว่างกลุ่ม ประเทศสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ (จีน เมียนมาร์ ไทย ลาว) สาหรับเส้นทางการขนส่งชายฝ่ังโดยมากจะมีจุดต้นทาง หรือจดุ ปลายทางอยใู่ นชายฝัง่ ของภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝง่ั อ่าวไทย ท่าเรือท่ีมีการข้ึนทะเบียนไว้กับกรมเจ้าท่า มีท้ังหมด 490 ท่า ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นท่าเรือเพ่ือการสัญจร และวิถีชมุ ชนรวมไปถึงรองรบั การท่องเท่ียว ขณะท่ีท่าเรือขนาดใหญ่ทใี่ ช้ในกจิ การขนสง่ สนิ ค้าเปน็ หลกั มีจานวน 5 แหง่ ได้แก่ ท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือแหลมฉบัง ทา่ เรือระนอง ท่าเรือพาณชิ ยเ์ ชียงแสนภายใต้การกากบั ดูแลของ การท่าเรือแห่งประเทศไทย และท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุดภายใต้การกากับดูแลของการนคิ มอตุ สาหกรรม แหง่ ประเทศไทย สนิ คา้ ทน่ี ยิ มขนสง่ ทางแม่นา้ ภายในประเทศมี 3 กลุ่มหลกั คือ 1) สินค้าเทกองแห้ง (Dry Bulk Goods) เช่น ถ่านหิน หิน ทราย ปูนซีเมนต์ แร่ น้าตาล ธญั พืช เศษไม้ ฯลฯ ขณะทส่ี ินคา้ เทกองเหลว ยงั มีอยู่ไมม่ ากนัก 2) สินค้าตู้คอนเทรนเนอร์ เป็นสินค้าที่นาไปส่งท่าเรือหรือไปรับมาจากท่าเรืออีกช้ันหนึ่ง การขนตู้สินค้าทางแม่น้าพบในประเทศไทยน้อย เนื่องจากข้อจากัดของความสูงของคอสะพานข้ามแม่น้าท่ีทา ให้บรรทกุ ตคู้ อนเทนเนอรไ์ ดเ้ พียง 1-2 ช้ัน 3) สินคา้ เบด็ เตลด็ เช่น โลหะภณั ฑ์ เครือ่ งด่ืม เครื่องจกั ร ฯลฯ “แม่น้าเจ้าพระยาและป่าสักเป็นแม่น้าที่มีปริมาณการขนส่งมากที่สุด แต่ยังติดปัญหาด้าน กายภาพของลานา้ ” จากขอ้ มูลของกรมเจ้าทา่ พบวา่ แม่น้าเจา้ พระยาและป่าสกั เปน็ แม่นา้ ท่ีมปี รมิ าณการขนสง่ มากทสี่ ดุ ใน ไทย โดยสินค้าส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มสินค้าเทกอง โดยมีวัสดุก่อสร้าง (ดิน หิน ทราย) เป็นสินค้าที่พบมากท่ีสุดท่ี เข้าออกทา่ เรอื บนแม่น้าเจ้าพระยา และสนิ ค้าจาพวกแร่เชื้อเพลงิ (ถ่านหนิ ) และซีเมนต์คือสินค้าท่ีพบมากที่สุด ทมี่ ตี ้นทางหรือปลายทางคือทา่ เรือในแมน่ ้าป่าสกั สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 81 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม โดย Tongtawee, S., and Rudjanakanoknad, J. (2014) ดาเนินการวิเคราะห์ระบบการขนส่ง ทางลาน้าว่าควรมีเทคนิควิธีการศึกษาที่เป็นระบบอย่างไร และถ้านาเทคนิคน้ันไปประยุกต์ใช้กับกรณีขนส่ง สินค้าเกษตรทางแม่น้าเจ้าพระยาและป่าสักแล้ว จะนาไปใช้สร้างจัดลาดับแผนงานโครงการในการพัฒนา อย่างไร การวิเคราะห์ระบบการขนส่งทางลาน้าต้องมองในท้ังมิติพื้นที่และระบบขนส่งประกอบกัน จากการ สารวจ พบว่า ลาน้าเจ้าพระยาและป่าสักในแตล่ ะช่วงมีความแตกต่างกันมาก จึงได้แบ่งช่วงวิเคราะห์โดยแม่น้า เจ้าพระยาแบ่งเป็น 7 ช่วง จากปากน้าเจ้าพระยาขึ้นไปจนถึง อ.เมือง จ.อ่างทอง (C1-C7) และแม่น้าป่าสัก แบ่งเป็น 2 ช่วง (P1-P2) โดยแต่ละช่วงได้เก็บข้อมูลอย่างละเอียด ทั้งลักษณะกายภาพของลาน้า ท่าเรือท่ีใช้ เชือ่ มโยงกับถนนสายหลัก ตลอดจนสัมภาษณผ์ ูเ้ ดนิ เรอื และเจ้าของท่าเรอื ในพนื้ ที่ คณะผวู้ ิจยั ได้ศึกษาเกณฑจ์ ดั ชั้นลาน้าในสหภาพยุโรป และประยุกต์เกณฑด์ งั กลา่ วกับเรอื ในลาน้าไทย โดยตง้ั เกณฑ์คะแนนองค์ประกอบย่อยต้งั แต่ 1 (เป็นอุปสรรคอย่างมาก) 2 (เปน็ อุปสรรคบา้ ง) 3 (ดี) และ 4 (ดี มาก) ตารางแสดงเกณฑจ์ ัดช้ันลาน้าในการคมนาคมขนสง่ แม่น้าเจ้าพระยาและปา่ สกั Physical Component C1 C2 C3 C4 C5 C6 C7 P1 P2 River Min. River Width (m) 433332221 Min. River Curve Radius (m) 432231211 Min. Water Depth (m) 444443221 Min. Vertical Clearance (m) 4 1.5 1.5 2 2 2 3 1 1 Min. Horizontal Clearance (m) 422221211 Port Average Berth Length (m) 433432222 Type of Highway Connecting River Port 4 3 3 3 2 2 2 2 2 Level of Port Equipment 423322232 จากผลการศึกษา พบว่า สภาพการเดินเรือจะดีขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเข้าใกล้ปากแม่น้า (C1) ซ่ึงจะเห็นว่า เกณฑ์การสรา้ งสะพานและท่าเรือดขี ้ึนและสภาพลาน้ากวา้ งขึ้น ขณะท่ีตน้ น้า (ชว่ ง C6และP2) จะมอี ุปสรรคท้ัง โค้งน้า ระยะห่างตอม่อสะพาน ฯลฯ ที่เป็นอุปสรรคสาคัญในการเดินเรือ ซึ่งตารางผลการศึกษานี้จะช่วยให้ สามารถเห็นปัญหาการขนส่งท้ังระบบได้ชัดเจนย่ิงข้ึน สามารถวางแผนจัดลากับความสาคัญในการดาเนิน โครงการพฒั นาการคมนาคมขนสง่ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพย่ิงขนึ้ สาหรับการขนส่งชายฝ่ังเกิดขึ้นระหว่างแท่นขุดเจาะน้ามันในอ่าวไทยหรือทะเลอันดามันกับท่าเรือริม ฝั่ง โดยมีสินค้าหลักปิโตรเลียม รองลงมาคือสินค้าเบ็ดเตล็ด ขณะท่ีการใช้ประโยชน์ในการขนส่งสินค้าอ่ืน ๆ ยังมไี มม่ ากนัก แต่ปริมาณการขนส่งสินคา้ รวมมากถึง 51.9 ล้านตัน โดยมีปริมาณตู้สนิ ค้าผ่านทา่ เรือกรุงเทพใน ปี พ.ศ. 2559 จานวน 1.4 ล้าน TEUs และทา่ เรอื แหลมฉบังจานวน 6.6 ลา้ น TEUs ขณะท่ขี ดี ความสามารถใน การรองรบั สินค้าของท่าเรอื กรุงเทพและท่าเรือแหลมฉบงั อยู่ที่ 1.34 และ 10.8 ล้าน TEUs ตามลาดับ สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 82 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ตารางแสดงปริมาณสนิ คา้ ท่ีขนสง่ ทางแม่น้า แยกตามแม่นา้ ตน้ ทางหรอื ปลายทาง ปี พ.ศ.2559 ลาดับ แม่น้าเจ้าพระยา แมน่ า้ ปา่ สกั ประเภทสินค้า ปรมิ าณ (ตัน) รอ้ ยละ ประเภทสนิ คา้ ปริมาณ (ตัน) รอ้ ยละ 1 ดนิ หินทราย 10,554,636 53.1 แรเ่ ช้อื เพลิง 13,198,400 42.6 2 ข้าว 2,299,380 11.6 ซเี มนต์ 7,618,120 24.6 3 ปยุ๋ 1,873,800 9.4 ปยุ๋ 2,016,000 6.5 4 น้าตาล 1,244,000 6.3 เครอ่ื งบริโภค 1,738,200 5.6 5 ซีเมนต์ 944,796 4.8 มนั สาปะหลัง 1,736,000 5.6 6 แรธ่ าตอุ ื่น ๆ 786,830 4.0 ดินหินทราย 1,374,634 4.4 7 เคร่ืองบริโภค 534,740 2.7 แร่ธาตุอ่ืน ๆ 951,300 3.1 8 มนั สาปะหลงั 473,704 2.4 ข้าว 805,642 2.6 9 อาหารสตั ว์ 392,200 2.0 อาหารสตั ว์ 797,800 2.6 10 โลหะภัณฑ์ 264,046 1.3 ปโิ ตรเลียม 485,642 1.6 - อ่นื ๆ 503,532 2.5 อืน่ ๆ 503,532 0.8 รวม 19,871,664 100.0 รวม 30,961,978 100.0 ทมี่ า : สถาบันการขนสง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ตารางแสดงปริมาณสินคา้ ทีข่ นสง่ ทางชายฝ่ังในประเทศ แยกเป็นขาเขา้ ขาออก ปี พ.ศ.2559 ลาดบั เรอื คา้ ชายฝัง่ -ขาเขา้ เรอื คา้ ชายฝัง่ -ขาออก ประเภทสินค้า ปริมาณ (ตัน) รอ้ ยละ ประเภทสินคา้ ปริมาณ (ตนั ) ร้อยละ 1 ปิโตรเลียม 20,313,945 72.1 ปโิ ตรเลียม 19,110,213 80.6 2 สินคา้ เบด็ เตล็ด 6,046,457 21.5 สนิ คา้ เบด็ เตล็ด 2,758,002 11.6 3 เคมภี ณั ฑ์ 498,240 1.8 เคมีภณั ฑ์ 503,810 2.1 4 ผลผลติ เกษตรอน่ื 352,618 1.3 ผลผลติ เกษตรอ่ืน 340,738 1.4 5 ขา้ ว 169,668 0.6 โลหะภณั ฑ์ 329,624 1.4 6 ขา้ วโพด 154,542 0.6 ซีเมนต์ 147,797 0.6 7 แร่ธาตุอื่น ๆ 130,897 0.5 แร่ธาตุอน่ื ๆ 128,256 0.5 8 โลหะภณั ฑ์ 127,562 0.5 ข้าว 103,085 0.4 9 อาหารสตั ว์ 107,258 0.4 ไม้ 101,649 0.4 10 ไม้ 82,240 0.3 วสั ดุกอ่ สร้าง 48,385 0.2 - อื่น ๆ 175,612 0.6 อืน่ ๆ 141,885 0.6 รวม 28,159,038 100.0 รวม 23,713,444 100.0 ที่มา : สถาบนั การขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประเทศไทยมีการขนส่งสินค้าทางชายฝั่งเฉล่ียร้อยละ 6-8 ปัญหาและอุปสรรคของการขนส่งสินค้า ชายฝั่ง แบ่งได้ 3 กลุ่ม คอื 1) แผนพัฒนาและนโยบายของรัฐท่ีมีต่อการขนส่งชายฝั่งในระดับต่างๆ เพ่ือเปล่ียนรูปแบบการขนส่ง สนิ ค้าทางถนนสู่การขนส่งที่มีต้นทุนต่ากว่าท้ังการขนส่งทางน้าและทางราง งบประมาณในการพฒั นาการขนส่ง ชายฝั่งส่วนใหญ่ถูกใช้ในเร่ืองของการขุดลอกร่องน้าและการศึกษาเพ่ือก่อสร้างท่าเรือแห่งใหม่ ปัญหาด้าน โครงสร้างพ้ืนฐานท่สี าคัญคือ ท่าเรือชายฝั่งมีที่ตั้งของท่าเรือไม่เหมาะสม ส่วนใหญ่มีร่องน้าเดินเรือลกึ ประมาณ 4-5 เมตร ทาให้เรือท่ีเข้าเทียบท่าเรือมีขนาดไม่เกิน 28 เมตร เรือขนาดใหญ่ต้องรอช่วงน้าขึ้นสูงสุด ทาให้ สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 83 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม การจราจรท่ีคับคง่ั เกดิ อุบัติเหตุได้ง่าย การใช้เรือขนาดเล็กขนถา่ ยต่อไปยังเรือขนาดใหญ่ที่จอดทอดสมอรอดา้ น นอกทาให้เกิดการขนส่งสองต่อ (Double Handling) ท่าเรือขาดพื้นที่แนวหลังนาเข้า-ส่งออกสินค้าผ่านท่าเรือ ขาดนคิ มอุตสาหกรรมรองรับ และการคมนาคมที่เชือ่ มตอ่ ท่าเรือยงั ไม่เพยี งพอ 2) ปัญหากฎระเบยี บควบคุม ท้ังท่าเรือชายฝั่ง เรอื ชายฝั่ง และสินคา้ ชายฝง่ั 3) ปญั หาอืน่ ๆ ได้แก่ การบรหิ ารและจัดการท่าเรือชายฝ่ังของกรมธนารกั ษ์ ขาดมาตรการสง่ เสริมการ ขนส่งสินคา้ ชายฝงั่ ขาดคนประจาเรอื ชายฝั่ง ขาดความชานาญด้านการตลาด เป็นตน้ จากการศึกษาข้อมูลการคมนาคมขนส่งทางน้าของประเทศ สามารถสรุปปัญหาและอุปสรรคต่อการ พัฒนาการคมนาคมขนส่งได้ ดงั น้ี 1. ทา่ เรอื หลายแห่งไมส่ ามารถใช้ประโยชน์ไดเ้ ต็มศักยภาพ เชน่ ท่าเรอื ระนอง ทา่ เรือเชยี งแสน และ ท่าเรือเชียงของ สาเหตุสาคัญมาจากจุดท่ีต้ังของท่าเรือไม่เหมาะสม อาทิ ร่องน้าตื้นเขินเร็วเน่ืองจากต้ังอยู่ใกล้ บริเวณปากแม่น้าอยู่ห่างไกลจากแหล่งอุตสาหกรรม และการเข้าถึงของระบบโครงข่ายเชื่อมโยง ซึ่งการแก้ไข ปัญหาท่ีเกิดข้ึนเป็นภาระเงินงบประมาณที่จะต้องจัดสร้างโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ิมเติมอีกเป็นจานวนมาก ท้ังใน ด้านโครงข่ายการคมนาคมเชื่อมโยงระหว่างท่าเรือและแหล่งผลิต และ/หรือการพัฒนาอุตสาหกรรมหลังท่า และการขดุ ลอกร่องน้าตลอดจนผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการพฒั นาดังกล่าวดว้ ย 2. ท่าเรือแหลมฉบังไม่มีท่าเทียบเรือชายฝั่งเป็นการเฉพาะ ปัจจุบันตู้สินค้าท่ีขนส่งด้วยเรือชายฝ่ังมี แนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว โดยตลอดระยะเวลา 4 -5 ปีมีปริมาณเพ่ิมข้ึนเฉล่ียกว่าร้อยละ 50 ในขณะที่เรือ ชายฝั่งต้องเข้าเทียบท่าเรือระหว่างประเทศ เพ่ือขนถ่ายตู้สินค้าส่งออกข้ึนท่า รอบรรทุกลงเรือสินค้าระหว่าง ประเทศหรอื รบั ตูส้ ินค้าขาเขา้ จากทา่ เทยี บเรือระหวา่ งประเทศโดยตรงแตเ่ นอ่ื งจากผู้ประกอบการทา่ เทยี บเรอื จะให้ ความสาคัญแก่เรือสินค้าระหว่างประเทศเป็นลาดับแรก ในการเข้าเทียบท่าเพ่ือขนถ่ายสินคา้ (Window) ทาให้เรือ ชายฝั่งจาเป็นต้องไปเทียบท่าอื่นแทน หรือจอดเรือรอนอกท่า (บริเวณใกล้เขื่อนกันคล่ืน) ทาให้เรือชายฝั่งท่ีใช้ท่า ร่วมกับเรือสินค้าระหว่างประเทศประสบปัญหาความล่าช้าในการเข้ารับสินค้าขาเข้าขณะเดียวกันสินค้าขาออกมี ความเสี่ยงในการส่งตู้สนิ คา้ มาตอ่ เรอื ท่ีแหลมฉบงั ไมท่ นั เพราะผูใ้ หบ้ ริการทา่ เทียบเรือต้องปรับเวลาเข้าออกของเรือ ชายฝั่งตามตารางของเรือแม่ ซง่ึ มกี ารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 3. ปัญหาการเดินเรือ โดยเฉพาะในลาน้าเจ้าพระยาและป่าสัก ในช่วงฤดูแล้งน้าน้อยทาให้เรือสนิ ค้าติด ตื้น ในขณะที่ช่วงฤดูฝนน้ามากทาให้เรือสินค้าติดช่องลอดใต้สะพานและสายไฟ โดยเฉพาะความสูงช่องลอดและ ระยะห่างของตอม่อสะพานข้ามแม่น้าเจ้าพระยา และแม่น้าป่าสัก เช่น สะพานพุทธ สะพานนวลฉวี สะพานวัด กษัตราธิราช และสะพานสายเอเชีย เป็นต้น นอกจากนี้ การท่ีต้องรอช่วงน้าขนึ้ ลง ประกอบกับในลาน้าดังกล่าวไม่ มจี ัดพักเรอื ทาใหเ้ กิดปญั หาการกีดขวางการเดนิ เรอื ตามมาดว้ ย 4. กฎหมายและระเบียบซ้าซ้อนและล้าสมัย ได้แก่ พระราชบัญญัติเรือไทย พ.ศ. 2481 และ พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย 2456 รวมถึงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องยังไม่สามารถปรับปรุงแก้ไขให้ สอดคล้องกฎกติกาสากลและทันต่อสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน ด้านการขนส่งและพาณิชย์นาวีทาให้เกิด ปัญหาในทางปฏิบัติของเจ้าหน้าท่ีและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ความรับผิดของเจ้าของเร่ืองเมื่อเกิดอุบัติเหตุรวมท้ัง การประกันภยั สนิ ค้า เป็นตน้ 5. การรุกล้าลาน้าและชายฝ่ัง ปัจจุบนั กลไกการกากับดูแลและบารุงรักษาร่องน้าของไทย รวมทั้งการ บริหารจัดการน้าทั้งระบบยังขาดประสิทธิภาพ ส่งผลให้ปัจจุบันมีการรุกล้าลาน้าและชายฝ่ังเป็นจานวนมาก ซึ่งนอกจากจะส่งผลกระทบต่อการเดินเรือแล้ว ยังส่งผลต่อเน่ืองทาให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมาด้วย ท่ี สาคญั ไดแ้ ก่ ปัญหาการพงั ทลายของตลิ่ง และกดั เซาะชายฝง่ั สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 84 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 10. กรมเจ้าท่า 1. ภาพรวมงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมเจ้าท่าได้รับการจัดสรรงบประมาณจานวน 4,386.9861 ลา้ นบาท ลดลง จากปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 244.0896 ล้านบาท หรอื ลดลง ร้อยละ 5.27 งบประมาณกรมเจ้าท่า (ล้านบาท) 6,000 5,510.7355 5,538.2583 5,500 5,000 4,859.3292 4,631.0757 4,386.9861 4,500 4,742.1296 4,000 3,500 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2557 งบเงนิ อุดหนุน ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย ข อ ง กร ม เ จ้ า ท่ า งบรายจ่ายอนื่ 0.13% งบบุคลากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เมื่อ จ า แ น ก ต า ม ง บ ร า ย จ่ า ย ส า ม า ร ถ 0.05% 16.72% เรียงลาดับงบประมาณจากมากไปน้อย ดังนี้ กรมเจ้าท่า งบดาเนนิ งาน 1) งบลงทนุ 3347.2801 ล้านบาท 6.81% 2) งบบคุ ลากร 733.3791 ลา้ นบาท 3) งบดาเนินงาน 298.8482 ลา้ นบาท งบลงทนุ 4) งบเงินอดุ หนนุ 5.5013 ล้านบาท 76.30% 5) งบรายจา่ ยอน่ื 1.9774 ล้านบาท สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 85 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม กรมเจ้าทา่ ได้รับการจดั สรรงบประมาณจาแนกตามกลุ่มงบประมาณรายจา่ ยภายใต้ 6 แผนงาน โดย เรียงลาดบั แผนงานที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณมากไปน้อยได้ ดังน้ี 1) แผนงานพ้นื ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 2,341.4927 ล้านบาท 2) แผนงานบูรณาการพฒั นาด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ 902.0837 ลา้ นบาท 3) งบประมาณรายจา่ ยบุคลากร 743.0878 ล้านบาท 4) แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้า 271.0600 ลา้ นบาท 5) แผนงานบรู ณาการสร้างรายไดจ้ ากการท่องเที่ยว 81.6000 ลา้ นบาท 6) แผนงานบูรณาการพฒั นาพน้ื ท่รี ะดับภาค 47.6619 ลา้ นบาท งบประมาณจาแนกตามกล่มุ งบประมาณรายจ่าย 6.18% 16.94% 53.37% งบประมาณรายจ่ายบุคลากร 20.56% แผนงานพ้ืนฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั แผนงานบูรณาการสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเที่ยว 1.09% แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้นื ท่ีระดบั ภาค 1.86% แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรัพยากรน้า 2. ผลประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการจดั สรรงบประมาณของกรมเจา้ ทา่ 1. ก่อสร้างท่าเทียบเรือท่ีแม่น้าเจ้าพระยา 22 แห่ง และในส่วนภูมิภาคในพื้นที่จังหวัด ปัตตานี กระบี่ ตรัง สุราษฎร์ธานี จันทบุรี ชลบุรี ตราด อุบลราชธานี และ ศึกษาความเหมาะสมและสารวจออกแบบเพ่ือ ปรับปรุงท่าเทียบเรอื มาเนาะ และทา่ เทยี บเรอื ช่องหลาด จ.พังงา 2. ก่อสรา้ งเขือ่ นกันทรายและคลน่ื ในพนื้ ที่ชุมพรและประจวบครี ีขนั ธ์ 3. พฒั นาการกากับดูแลการขนส่งทางนา้ และพาณชิ ยนาวี 4. ผลติ และพฒั นาบคุ ลากรด้านพาณิชยนาวี โดยการซ่อมทาประจาปเี รอื ฝึกนักเรยี นเดนิ เรือพาณิชย์ 2 รายการ จดั หาเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ต่อพ่วงทดแทนและเพิ่มเติมของศนู ย์ฝกึ พาณชิ ยน์ าวี ปรับปรุง อาคารและส่ิงก่อสรา้ งภายในศนู ยฝ์ ึกพาณิชยน์ าวี 5. ขดุ ลอกและบารุงรักษาแม่น้าสายหลกั ขดุ ลอกและบารุงรักษาร่องน้า จานวน 111 รอ่ งนา้ เนื้อดิน รวมประมาณ 15 ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร ทัว่ ประเทศ 6.ปรับปรุงทา่ เรอื สินค้าชายฝั่งปตั ตานี ต.บานา อ.เมืองปตั ตานี จ.ปตั ตานี 7.จา้ งศึกษาพฒั นาท่าเรอื เพ่ือการท่องเทีย่ ว 3 รายการ โดยมรี ายละเอยี ดลกั ษณะการใช้งบประมาณ ดังน้ี สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 86 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนินการ (บาท) แผนงานพื้นฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 2,341,492,700 บาท ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ บ า รุ ง รั ก ษ า โ ค ร ง ส ร้ า ง 1,726,317,500 ดาเนินการกอ่ สร้างท่าเทียบเรอื พืน้ ฐานด้านการขนสง่ ทางนา้ - งานก่อสรา้ ง 7 รายการ ไดแ้ ก่ 1.ค่าปรับปรุงแผงกันคล่ืนท่ีจอดพักเรือท่าเทียบเรือ ปตั ตานี และปรบั ปรุงพืน้ ทีห่ ลังท่า จ.ปตั ตานี 2.ท่าเรอื สวนสาธารณะธารา อ.เมอื ง จ.กระบี่ 3.ก่อสร้างและปรับปรุงท่าเรือโดยสารในแม่น้า เจ้าพระยา จานวน 22 แห่ง 4.ก่อสร้างปรบั ปรุงท่าเรอื ปากเมง ต.ไม้ฝาด อ.สิเกา จ.ตรงั 5.ก่อสร้างปรับปรุงท่าเทียบเรือเฟอรร์ ี่เกาะ สมุย อ. เกาะสมุย จ.สรุ าษฎร์ธานี 6.ปรับปรุงซ่อมแซมท่าเรือสาธารณะในภูมิภาค ประจาปี (ในพน้ื ที่ จ.จนั ทบุรี จ.ชลบรุ ี และ จ.ตราด) จานวน 4 แห่ง 7.ก่อสร้างท่าเทยี บเรือในแม่น้าโขง บรเิ วณเทศบาล ตาบลบา้ นดา่ นโขงเจยี ม อ.โขงเจยี ม จ.อุบลราชธานี ดาเนินการงานจ้างศกึ ษา ศึกษาความเหมาะสมและสารวจออกแบบเพื่อ ปรับปรุงท่าเทียบเรือมาเนาะ และท่าเทียบเรือช่อง หลาด จ.พังงา ดาเนนิ การกอ่ สรา้ งเขือ่ นกนั ทรายและคลืน่ 1. งานก่อสรา้ ง 1) ค่าก่อสร้างเขื่อนกันทรายและคลื่นปากร่อง น้าตะโก อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร และค่าก่อสร้างเข่ือน กันทรายและคลื่นร่องน้าหลังสวน อ.หลังสวน จ. ชุมพร 2) ค่าก่อสร้างเขื่อนกันทรายและคลื่นร่องน้าบ้าน กรูด อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรขี ันธ์ 2.งานจัดซื้อเครื่องสารวจหย่ังน้าระบบดิจิตอลแบบ หลายลาคลืน่ (Multibeam Echo Sounder) พรอ้ ม อปุ กรณ์ครบชดุ จานวน 1 ชุด ดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ ชายฝงั่ ทะเล 1. งานจ้างเหมาขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้า ชายฝ่ังทะเล 2 รายการ ได้แก่ 1) ค่าจ้างเหมาขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้า ชายฝ่ังทะเล Sand Bypassing ร่องน้าปะนาเระ อ. ปะนาเระ จ.ปัตตานี สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 87 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลติ /โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนนิ การ (บาท) 2) ค่าจ้างเหมาขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้า ชายฝงั่ ทะเล Sand Bypassing ร่องนา้ สะกอม อ.จะ นะ จ.สงขลา 2. งานก่อสร้างปรับปรุงเข่ือนป้องกันการกัดเซาะ ชายฝ่ัง, โครงการป้องกันการกัดเซาะชายฝ่ัง และ กาแพงป้องกนั การกดั เซาะชายฝ่งั 9 รายการ ได้แก่ 1) บริเวณ ต.ชิงโค ต.หัวเขา อ.สิงหนคร จ.สงขลา (บรเิ วณหาดทรายแก้ว) 2) บริเวณบ้านหน้าโกฏิ ต.ท่าพยา อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช ระยะท่ี 2 3) บรเิ วณ ต.คลองแดน อ.ระโนด จ.สงขลา 4) บริเวณ ต.ท่าบอน อ.ระโนด จ.สงขลา 5) บ ริ เ ว ณ ห มู่ 5 ต .ท่ า ช น ะ อ .ท่ า ช น ะ จ.สุราษฎรธ์ านี 6) บริเวณบ้านทุ่งใหญ่ หมู่ที่ 3-7 ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 7) บริเวณอา่ วผาแดง และหาดแหลมเทียน หมู่ ที่ 1 ต.หาดทรายรี อ.เมือง จ.ชุมพร 8) บริเวณบ้านหน้าโกฏิ ถึงบ้านหน้าสตน อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช 9) เสริมทรายป้องกันการกัดเซาะชายหาดจอม เทยี น อ.บางละมงุ จ.ชลบุรี ระยะท่ี 1 3. ค่าศึกษาสารวจออกแบบและจัดทารายงานการ วเิ คราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม 2 รายการ ได้แก่ 1) ค่าศึกษาสารวจออกแบบและจัดทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม โครงสร้าง ป้องกันการกัดเซาะชายฝ่ังบริเวณหาดหัวหินและ หาดคลองสน ต.บอ่ หนิ อ.สิเกา จ.ตรัง 2) ค่าจ้างท่ีปรึกษาติดตามตรวจสอบผลกระทบ สง่ิ แวดล้อม (ประจวบคีรีขนั ธ์ และชมุ พร) ดาเนนิ การก่อสร้างเขือ่ นปอ้ งกันตลิ่งพงั 1. ปรับปรุงซ่อมแซมเขื่อนป้องกัน ตล่ิงพังประจาปี (ในพน้ื ท่ี จ.สิงหบ์ ุรี จ.พระนครศรีอยุธยา จ. พษิ ณุโลก จ.สุโขทยั และ จ.ขอนแก่น) 2. แม่น้ามูล บ้านหนองรี ต.ท่าช้าง อ.เฉลิมพระ เกยี รติ จ.นครราชสมี า 3. บา้ นวงั กะจะ หมู่ท่ี 9 ต.ฆะมงั อ.เมอื ง จ.พิจติ ร 4. บริเวณลาน้าพอง โครงการพัฒนาท่ีดินมูลนิธิชัย พัฒนา บ้านเหมอื ดแอ่ อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ 5. ริมแม่น้าเจ้าพระยา หมู่บ้านโรงน้าแข็ง หมู่ 5 ต.ท่าซุง อ.เมอื ง จ.อทุ ัยธานี สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 88 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลติ /โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนนิ การ (บาท) 6. แม่นา้ น่าน บ้านหอไกร หมู่ที่ 4 ต.หอไกร อ.บาง มูลนาก จ.พจิ ิตร ดาเนินการขดุ ลอกและบารงุ รกั ษารอ่ งน้า งานขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้า จานวน 111 ร่องน้า เนอื้ ดินรวมประมาณ 10,896,780 ลกู บาศก์ เมตร ประกอบดว้ ย 1. งานดาเนินการเองจานวน 108 ร่องน้า เน้ือดิน ประมาณ 8,864,780 ลูกบาศก์เมตร ได้แก่ ขุดลอก และบารุงรักษาร่องน้าภายในประเทศจานวน 58 รอ่ งน้า เน้ือดินประมาณ 4,969,000 ลูกบาศกเ์ มตร (25.65 บาท/ลบ.ม.) และขุดลอกและบารุงรักษา ร่องน้าชายฝั่งทะเล จานวน 50 ร่องน้า เน้ือดิน ประมาณ 3,895,780 ลูกบาศก์เมตร (35.15 บาท/ ลบ.ม.) 2. งานจ้างเหมาขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้า ภายในประเทศ 3 ร่องน้า เน้ือดินประมาณ 2,042,000 ลูกบาศก์เมตร ได้แก่ ท่ีแม่น้ามูล อ.ชุม พลบุรี จ.สุรินทร์ ถึง อ.สตึก อ.แคนดง จ.บุรีรัมย์ เน้ือดินประมาณ 420,000 ลบ.ม., ที่แม่น้าป่าสกั อ. วิเชียรบุรี ถึง อ.บึงสามพัน จ.เพชรบูรณ์ เน้ือดิน ประมาณ 1,022,000 ลบ.ม. และท่ีแม่น้าวัง อ.เถิน จ.ลาปาง เนือ้ ดินประมาณ 600,000 ลบ.ม. 3. งานกาจดั ผักตบชวา 415,200 ตัน 4. ค่าก่อสร้างหลักไฟขอบร่อง หลักไฟปลายสัน เขื่อน และหลักไฟแสดงที่หมายอันตราย พร้อม อุปกรณ์เครื่องหมายการเดินเรือ จานวน 25 หลัก ไดแ้ ก่ 1) สานักงานพัฒนาและบารุงรักษาทางน้าท่ี 3 จ.ตรัง 11 หลัก 2) สานักงานพัฒนาและบารุงรักษาทางน้าที่ 4 จ.สงขลา 6 หลัก 3) สานักงานพัฒนาและบารุงรักษาทางน้าที่ 5 จ.จันทบุรี 4 หลัก 4) สานักงานพัฒนาและบารุงรักษาทางน้าที่ 6 จ.สรุ าษฏร์ธานี 4 หลกั 5. จดั ซ้ือจดั หาครภุ ณั ฑป์ ระกอบด้วย 1) ทุ่นเครื่องหมายการเดินเรือพร้อมอุปกรณ์ รวมจานวน 16 ชดุ 2) ดวงโคมไฟและอุปกรณ์แจ้งตาบลและ สถานะเครื่องหมายช่วยการเดินเรือโดยเคร่ือง AIS สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 89 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลติ /โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ลกั ษณะการดาเนินการ การกากับดแู ลขนส่งทางน้าและพาณชิ นาวี (บาท) Aton บริเวณท่าเทียบเรือน้าลึกสงขลา อ.เมือง จ. สงขลา จานวน 16 ชดุ 3) เครื่องยนต์ดีเซลพร้อมเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ขนาด 40 Kva จ.พระนครศรีอยุธยา และเรือเจ้าท่า ข.6 กรงุ เทพมหานคร 4) เคร่ืองยนต์ขบั ปั๊มขุด พร้อมเกียร์ สาหรับเรือ เจ้าทา่ ข.15 จ.ตรัง จานวน 1 เคร่อื ง 5) ซ่อมใหญ่เรอื แม่นา้ จานวน 17 ลา 6) ซ่อมใหญเ่ รือทะเล จานวน 13 ลา 524,032,400 กจิ กรรมการออกใบสาคญั 1.งานจดั ซอื้ จัดหาครุภัณฑ์ 4 รายการ ได้แก่ 1) จัดทาระบบฐานข้อมูลวิศวกรรมและระบบ ภมู สิ ารสนเทศ (GIS) ระยะที่ 3 2) จัดหาระบบคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม และ ทดแทน 3) พัฒนาระบบการขนถ่ายคนประจาเรือของ เรอื ประมง เรือขนถ่ายสัตวน์ ้าหรือเรือสนับสนุนการ ประมง ทง้ั ในน่านน้าและนอกนา่ นนา้ 4) พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร จดั การ 2. งานกอ่ สร้างอาคาร 14 รายการ ไดแ้ ก่ 1) ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสานักงานพร้อม ส่ิงก่อสร้างประกอบ, อาคารชุดพักอาศัย รวม จานวน 6 รายการ 2) ก่อสร้างส่ิงอานวยความสะดวกสาหรับผู้ พิการ (ห้องน้าสาหรับผู้พิการ,ทางลาด,ป้ายและ อ่นื ๆ) 7 รายการ 3) ค่าก่อสร้างและค่าควบคุมอาคารที่ทาการ ของกรมเจา้ ทา่ กิจกรรมการตรวจตราและควบคุมการเดินเรือ จานวน 23 รายการ 1. กอ่ สร้างศูนย์และจดั หาระบบความปลอดภยั และ ควบคุมเรอื เมืองทา่ เชียงแสน จ.เชียงราย 2. จัดซ้ือครุภัณฑ์เรือ (ยานพาหนะเคลื่อนท่ีเร็วบน ผิวน้า : JETSKI) 3 รายการ 3. ซอ่ มใหญ่เรอื 16 ลา 4. ค่าพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลรองรับการ ตรวจสอบจากองคก์ ารทางทะเลระหวา่ งประเทศ 5. โครงการจ้างที่ปรึกษาสารวจจัดทาแผนท่ีและ รายละเอียดของสงิ่ ล่วงล้าลาน้าทั่วประเทศ ระยะท่ี 1และระยะท่ี 2 สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 90 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนินการ (บาท) ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้าน พาณิชย 91,142,800 1. ซ่อมทาประจาปีเรือฝึกนักเรียนเดินเรือพาณิชย์ นาวี 2 รายการ ได้แก่ เรือฝึกสาครวสิ ัย และเรือฝึกวสิ ูตร สาคร 2. ค่าจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ทดแทนและเพมิ่ เติมของศนู ย์ฝึกพาณิชยน์ าวี 3. งานปรับปรุงอาคารและสิ่งก่อสร้างภายในศูนย์ ฝกึ พาณิชย์นาวี แผนงานบรู ณาการสร้างรายได้จากการทอ่ งเทีย่ ว 81,600,000 บาท โครงการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อ 81,600,000 1. ดาเนินการจา้ งศกึ ษา 3 รายการ ไดแ้ ก่ สนับสนุนการทอ่ งเท่ียว 1) ศึกษาและวิเคราะห์การให้เอกชนร่วมลงทุน ในโครงการพัฒนาท่าเทียบเรือรองรับเรือสาราญ ขนาดใหญ่ (Cruise Terminal) ท่ี อ.เกาะสมุย จ.สุ ราษฎร์ธานี 2) ศึกษาวางแผนแม่บทเพื่อพัฒนาท่าเรือ สาราญขนาดใหญ่ (Cruise Terminal) และสารวจ ออกแบบท่าเรือสาราญขนาดใหญ่บริเวณชายฝ่ังอัน ดามนั 3) ศึกษาสารวจออกแบบ ท่าเรือต้นทาง (Home Port) สาหรับเรือสาราญขนาดใหญ่ (Cruise Terminal) บริเวณอา่ วไทยตอนบน 2. ค่าก่อสร้างปรับปรุงท่าเทียบเรือเพ่ือการ ทอ่ งเทีย่ วและบริหารจดั การภายในทา่ เทียบเรอื เพ่ือ ความปลอดภัย 2 รายการ ได้แก่ 1) ที่ท่าเทียบเรือโดยสารและท่องเท่ียวปาก คลองจิหลาด จ.กระบี่ 2) ท่ีท่าเทียบเรือท้องศาลา และท่าเทียบเรือ หาดรนิ้ อ.เกาะพะงนั จ.สรุ าษฎร์ธานี แผนงานบูรณาการพัฒนาพน้ื ที่ระดบั ภาค 47,661,900 บาท โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร 47,661,900 1. ค่าก่อสร้างปรับปรุงท่าเรือสินค้าชายฝ่ัง และอตุ สาหกรรมแปรรูปการเกษตร ปตั ตานี ต.บานา อ.เมืองปัตตานี จ.ปตั ตานี 2. ค่าศึกษาความเหมาะสม และสารวจ ออกแบบ เพื่อพัฒนาท่าเทียบเรือในอ่าว ปัตตานี ต.บานา อ.เมอื งปตั ตานี จ.ปตั ตานี แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ 902,083,700 บาท โครงการพัฒนาและบารุงรักษาโครงสร้าง 902,083,700 1. คา่ กอ่ สรา้ งและปรับปรุงท่าเรือ 2 รายการ ได้แก่ พ้นื ฐานเพ่ือสนับสนนุ ระบบโลจสิ ติกส์ 1) งานปรับปรุงซ่อมแซมท่าเทียบเรือโดยสารใน แม่น้าเจ้าพระยาและคลองสาขา กรุงเทพฯ และ ปริมณฑลประจาปี (8 แห่ง) 2) งานพัฒนาท่าเรือโดยสารและระบบอานวย ความปลอดภยั เพื่อรองรับการให้บริการแก่ผู้สูงอายุ สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 91 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนินการ (บาท) และคนพิการ เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (29 แห่ง) 2. คา่ จา้ งเหมาขุดลอกและบารงุ รักษาร่องน้าชายฝ่ัง ทะเล 5 รายการ ไดแ้ ก่ 1) ที่ร่องน้าบ้านดอน ต.บางกุ้ง อ.เมือง จ.สุ ราษฎร์ธานี 2) ที่ร่องน้าปัตตานี และบริเวณที่จอดพักเรือ ปัตตานี อ.เมืองปตั ตานี จ.ปตั ตานี 3) ท่ีร่องน้าสมุทรสาคร (ท่าจีน) อ.เมือง สมทุ รสาคร จ.สมุทรสาคร 4) ทีร่ ่องน้าสงขลา (รอ่ งนอก) อ.เมืองสงขลา จ. สงขลา 5) ที่รอ่ งน้ากนั ตัง ต.กนั ตงั อ.กนั ตัง จ.ตรัง 3. ค่ากอ่ สร้างและควบคุมงานก่อสร้างเข่ือนป้องกัน ตลงิ่ เพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพทางเรอื เดิน ในแมน่ า้ ป่า สกั ระยะ 2 ตอนท่ี 1 จ.พระนครศรอี ยุธยา 2 รายการ 4. ค่าจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 1 รายการ ได้แก่ พัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศเพื่อเพ่ิม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ประชาชนเพ่ือรองรับงาน NSW แผนงานบูรณาการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้า 271,060,000 บาท โครงการการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ 271,060,000 1. ค่าสารวจออกแบบสาหรับโครงการขุดลอก สนับสนุนการบริหารจดั การทรพั ยากรน้า และบารุงรักษาแม่น้าสายหลัก 2 รายการ (21,000,000 บาท) 1) ที่แม่น้าปิง แม่น้าวัง แม่น้ายม และแม่น้า นา่ น รวมระยะทาง 350 กิโลเมตร 2) ทแี่ มน่ ้าชี แมน่ ้ามลู แมน่ ้าเลย และแมน่ า้ สงคราม รวมระยะทาง 350 กโิ ลเมตร 2. คา่ จ้างเหมาขุดลอกและบารงุ รกั ษารอ่ งนา้ ภายในประเทศ รวม 9 รายการ (เนอ้ื ดนิ ประมาณ 4,487,500 ลบ.ม. วงเงนิ 250,060,000 บาท) ไดแ้ ก่ 1) แม่นา้ วัง อ.เมอื งลาปาง จ.ลาปาง เน้ือดนิ ประมาณ 65,100 ลบ.ม. 2) แม่น้าเจ้าพระยา อ.เมือง จ.อ่างทอง, อ. พรหมบุรี อ.เมืองสิงห์บุรี จ.สิงห์บุรี และ อ.สรรพ ยา จ.ชยั นาท เนอ้ื ดินประมาณ 800,000 ลบ.ม. 3) แม่น้าท่าจีน อ.เมืองสุพรรณบุรี อ.ศรี ปร ะจั นต์ อ .สา มชุ ก อ .เ ดิม บา งนา งบ วช จ . สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 92 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ลักษณะการดาเนินการ (บาท) สุพรรณบุรี ถึง อ.เมืองชัยนาท จ.ชัยนาท เนื้อดิน ประมาณ 683,000 ลบ.ม 4) แม่น้าท่าจีน อ.สามพราน จ.นครปฐม ถึง อ. กระทุ่มแบน อ.เมืองสมุทรสาคร อ.บา้ นแพ้ว จ.สมุทรสาคร เน้อื ดินประมาณ 332,000 ลบ.ม. 5) แม่น้าน่าน อ.เวียงสา จ.น่าน เนื้อดิน ประมาณ 398,300 ลบ.ม. 6) แม่น้ายม อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย เน้ือดิน ประมาณ 171,100 ลบ.ม. 7) แม่น้ายม อ.ลอง จ.แพร่ (ช่วง 1) เนื้อดิน ประมาณ 400,000 ลบ.ม. 8) แม่น้ายม อ.ลอง จ.แพร่ (ช่วง 2) เนื้อดิน ประมาณ 233,000 ลบ.ม. 9) แม่น้าปิง อ.เมือง จ.นครสวรรค์ เน้ือดิน ประมาณ 1,405,000 ลบ.ม. ข้อสังเกตและเสนอแนะเพ่มิ เติมของสานักงบประมาณของรัฐสภา จากการวิเคราะห์งบประมาณท่ีใช้ดาเนินโครงการ/กิจกรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 งบประมาณ ส่วนใหญ่เป็นการขุดลอกและบารุงรักษาแม่น้าสายหลัก ขุดลอกและบารุงรักษาร่องน้า การสร้างท่าเทียบเรือ และบารุงรักษาลาน้าและชายฝ่ัง หากจะครอบคลุมในประเด็นปัญหา สามารถพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ทางน้าไดม้ ปี ระสิทธิภาพมากข้ึน กรมเจ้าท่าควรจัดสรรงบประมาณเพ่อื ดาเนินการเพิม่ เติม ดังน้ี 1. สารวจปัญหา แก้ไข ปรับปรุงกายภาพของลาน้าในประเทศ เพอ่ื เพมิ่ ความสามารถในการขนสง่ ทาง นา้ ที่ต้นทนุ ต่ากว่าการขนส่งในรปู แบบอืน่ 2. พิจารณาที่ต้ังท่าเรือชายฝ่ังให้เหมาะสม รวมไปถึงการพัฒนาพ้ืนที่แนวหลัง นาเข้า-ส่งออกสินค้า ผ่านทา่ เรือ 3. บูรณาการกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องพัฒนาการคมนาคมขนส่งเช่ือมต่อท่าเรือ พิจารณาการตั้งนิคม อตุ สาหกรรมให้สอดคล้องและสนับสนนุ กนั ในเชงิ พน้ื ที่กบั ท่าเรือ 4. เรง่ พฒั นาบุคลากรด้านการกากับดูแลการขนสง่ ทางน้า 5. ในปัจจุบันท่าเรือขนส่งสินค้าท่ีมีอยู่มีพ้ืนที่ไม่สอดคล้องกับอุปสงค์ ควรดาเนินการเร่งขยายขีด ความสามารถในการรองรับสินค้าท่าเรือที่มีปริมาณเข้า-ออก สินค้า เต็มความจุ และควรมีมาตรการจูงใจเพื่อ เพ่ิมปริมาณสินค้าในท่าเรือที่มีอุปสงค์ต่ากว่าความสามารถในการรองรับสินค้า เพ่ือให้งบประมาณที่ลงทุนไป เปน็ ไปถกู ใชป้ ระโยชนไ์ ด้เตม็ ประสทิ ธิภาพ 6. กรมเจ้าท่าควรมีแผนพัฒนาระบบคมนาคมส่งทางน้าแม่น้าสายหลักที่มีประสิทธิภาพที่จะพัฒนา ส่งเสรมิ ที่จะเพิ่มปรมิ าณคมนาคมขนสง่ ทางนา้ ได้ สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 93 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม ภารกจิ ดา้ นการคมนาคมขนส่งทางราง “เส้นทางรถไฟส่วนใหญ่เป็นรางเด่ียว ทาให้ทางขนส่งทางรางยังคงไม่สามารถทา ความเรว็ ได้มากนกั ” ปจั จบุ ันการรถไฟแห่งประเทศไทยมีโครงข่ายเส้นทางรถไฟรวมท้งั ส้ิน 4,043 กิโลเมตร ครอบคลุมพนื้ ที่ 47 จังหวัดท่ัวประเทศ ประกอบด้วยทางเด่ียว 3,764 กิโลเมตร ทางคู่ 174 กิโลเมตร และทางสาม 105 กิโลเมตร เนื่องจากทางรถไฟทางคู่และทางสามระยะทางค่อนข้างน้อย ทาให้เสียเวลาในการรอสับหลีก อีกทั้ง โครงข่ายทางรถไฟยังมีสภาพทรุดโทรม (มากกว่าร้อยละ 60 ของรางมีอายุเฉลี่ยเกิน 30 ปีข้ึนไป) ที่ขาดการ ซ่อมบารุง นอกจากนี้ ยังมีทางลักผ่านของชุมชนและมีจานวนจุดตัดระหว่างถนนกับทางรถไฟท่ัวประเทศ จานวน 2,460 จุด โดยเป็นทางผ่านระดับถนนท่ีรถไฟจะต้องหยุดหรือชะลอความเร็ว ซ่ึงเป็นจุดท่ีเกิดอุบัติเหตุ ได้บ่อยครั้งจานวน 2,200 จุด จึงทาให้ทางขนส่งทางรางยังคงไม่สามารถทาความเร็วได้มากนัก โดยขบวนรถ โดยสารมีความเร็วเฉล่ียประมาณ 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และขบวนรถสินค้ามีความเร็วเฉล่ียประมาณ 35 กโิ ลเมตรตอ่ ชั่วโมง ภาพทแ่ี สดงโครงขา่ ยทางรถไฟในปัจจบุ ัน ท่ีมา : ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานดา้ นคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 94 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม สัดส่วนรางรถไฟภายในประเทศ 2.60% 4.30% ทางเดีย่ ว ทางคู่ ทางสาม 93.10% สถานีรถไฟซ่ึงอยู่ตามแนวรถไฟทุกเส้นทาง มีระยะห่างของสถานีไม่มากนักเม่ือเทียบกับสถานีขนส่ง ผู้โดยสาร ซ่ึงเป็นจุดได้เปรียบที่สาคัญในการให้บริการประชาชนตาม แนวเส้นทางรถไฟ อย่างไรก็ตาม ด้วย เส้นทางการให้บริการซึ่งเป็นข้อจากัดที่สาคัญ จึงเห็นได้ว่าเม่ือพิจารณาระยะการเข้าถึงสถานี ในรัศมีที่ 20 กิโลเมตร จะครอบคลุมประชากรประมาณ 27.5 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 41.8 ของประชากรท้ังประเทศ ขณะท่ีระยะการเข้าถงึ สถานีในรัศมี 40 กิโลเมตร จะครอบคลุมประชากรกว่า 37.5 ลา้ นคนหรือคิดเป็นร้อยละ 57.4 และระยะการเขา้ ถึงสถานีในรัศมี 60 กโิ ลเมตร จะครอบคลุมประชากรถึง 43.9 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อย ละ 66.8 ของประชากรทั้งประเทศ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคใต้ เมื่อพิจารณาระยะการเข้าถึงสถานีในรัศมี 40 กิโลเมตร จะครอบคลุมประชากรถึงกว่าร้อยละ 80 ของภูมิภาค ด้วยเหตุนี้ จึงเห็นได้ว่าภาคใต้มีประชาชนใช้ บริการรถไฟเพอื่ การเดนิ ทางระหว่างชมุ ชนหรอื ระหว่างจังหวดั มากกว่าภมู ิภาคอนื่ ๆ ในประเทศ ภาพแสดงการเขา้ ถึงสถานรี ถไฟของประชาชนในแตล่ ะระยะทาง สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 95 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม นอกจากนั้น ยังมีโครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนภายใต้การกากับดูแลของการรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชนแห่งประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย และกรุงเทพมหานคร ที่เปิดบริการแล้ว 108 กิโลเมตร ไดแ้ ก่ - สายสเี ขียวเข้ม หมอชิต-แบร่งิ ระยะทาง 22.25 กิโลเมตร - สายสีเขยี วออ่ น สนามกีฬาฯ-บางหว้า ระยะทาง 14.2 กิโลเมตร - สายสีน้าเงิน บางซ่ือ-หวั ลาโพง ระยะทาง 20 กิโลเมตร - สายสมี ่วง บางใหญ่-เตาปนู ระยะทาง 23 กโิ ลเมตร - รถไฟฟา้ สวุ รรณภมู ิ พญาไท-มกั กะสนั -สวุ รรณภูมิ ระยะทาง 28.5 กโิ ลเมตร จากสถิติผูใ้ ช้บรกิ ารขนส่งสาธารณะในประเทศไทย พบวา่ ในปี พ.ศ. 2559 มผี โู้ ดยสารระบบรถไฟฟา้ ใต้ ดนิ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ และรถไฟฟ้าบีทีเอส รวมกันมากกว่ารถโดยสาร ขสมก. แม้ว่าข้อมูลรถโดยสาร ยงั ขาดกล่มุ รถรว่ ม รถตู้โดยสารและรถขนาดเล็กจานวนมาก แต่กเ็ ห็นไดช้ ัดว่าระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขต เมืองน้ันมีสัดส่วนที่เพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ และมีแนวโน้มขยายตัวตามการเปิดเส้นทางและสถานีใหม่ ๆ ขณะที่ระบบ รถโดยสารมแี นวโน้มผูโ้ ดยสารลดลง ตารางแสดงสถติ ผิ ใู้ ช้บรกิ ารขนส่งสาธารณะในประเทศไทย (หนว่ ย:พันคน) ปี 2555 2556 2557 2558 2559 317,278 รถโดยสาร ขสมก. 355,134 341,540 315,362 324,747 103,248 21,170 รถไฟฟา้ ใต้ดนิ 80,602 84,680 92,421 95,019 237,047 รถไฟฟา้ แอร์พอร์ตเรลลิงก์ 14,932 15,613 17,064 19,307 7,286 30,552 รถไฟฟา้ บีทเี อส 194,113 208,765 219,422 229,854 115,282 35,238 รถโดยสาร บขส. 10,112 9,599 8,620 7,781 รถไฟ 41,761 37,343 36,425 35,127 ทางนา้ 110,636 108,992 102,810 104,101 ทางอากาศ 16,566 19,412 25,748 31,376 ทีม่ า : สถาบนั การขนสง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ในส่วนของการขนส่งสินค้าภายในเมืองผ่านระบบรางยังมีอยู่ในวงจากัด เนื่องจากการขนส่งทางราง ไม่สามารถไปสู่จุดหมายได้โดยตรง ต้องมีการเปลย่ี นระบบ ซึ่งตอ้ งใช้อุปกรณ์ยกขน เสียเวลาและค่าใช้จ่าย ในการเข้าออกระบบ ไม่คุ้มค่าเม่ือเทียบกับการขนส่งทางถนน ท่ีพบบริการขนส่งสินค้ามีเฉพาะการรับส่ง เอกสารและพสั ดขุ นาดเลก็ ด่วนที่มผี ู้รบั สินคา้ ในแตล่ ะสถานีขนส่งมวลชนใหบ้ ริการเท่าน้ัน สาหรับการขนสง่ ระหว่างเมอื ง พบว่า สนิ คา้ ทข่ี นสง่ ทางรถไฟมี 3 กลุ่มหลัก คอื 1) สินค้าเทกอง (Bulk Good) ซึ่งประกอบไปด้วย สินค้าเทกองแห้ง (ถ่านหิน หิน ทราย ปนู ซีเมนต์ แร่ น้าตาล ธัญพชื เศษไม้ ฯลฯ) และสนิ ค้าเหลว (สารเคมี น้ามนั ปโิ ตรเลียม) ซ่ึงเป็นสินค้าท่ีพบมาก ที่สดุ 2) สินค้าตู้คอนเทนเนอร์ เป็นสินค้าท่ีขนทางรถไฟ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อไปส่งท่าเรือ หรอื ไปรับจากท่าเรืออีกชัน้ หน่ึง ซง่ึ เรยี กวา่ การขนสง่ ต่อเน่อื งหลายรูปแบบ (Multimodal Transport) 3) สินค้าอื่น ๆ เช่น สินค้าท่ัวไป รถยนต์ พัสดุภัณฑ์ สินค้าเบ็ดเตล็ด ฯลฯ โดยสินค้าท่ีขนส่ง ทางรางนัน้ มีความแตกต่างกันไปตามประเภทอตุ สาหกรรมในแต่ละประเทศ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 96 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม จากข้อมูลของการรถไฟแห่งประเทศไทย พบวา่ สินค้าท่ีขนส่งมากที่สุด คอื สินค้าเบ็ดเตล็ด ซึ่งคิดเป็น ประมาณร้อยละ 70-75 ของปริมาณการขนส่งทางรางทั้งหมด รองลงมาคือ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และซีเมนต์ ในส่วนของปรมิ าณสินคา้ น้ันมีแนวโนม้ คงที่ เนื่องจากข้อจากดั ดา้ นความจุของโครงข่ายรถไฟไทย ตารางแสดงปรมิ าณสนิ คา้ ที่ขนส่งทางรถไฟไทย (หน่วย:พนั ตัน) ประเภทสินค้า 2555 2556 2557 2558 2559 สนิ ค้าเบด็ เตลด็ 6,861 7,527 7,746 7,578 7,669 ผลิตภณั ฑ์ปโิ ตรเลยี ม 2,541 2,719 2,208 2,536 2,513 ซีเมนต์ 903 1,099 662 755 1,306 เครอื่ งใช้ในครวั เรอื น 314 403 122 76 วัสดกุ อ่ สรา้ ง 115 35 29 00 เคร่ืองบรโิ ภคอ่นื ๆ 5 30 26 19 9 ดิน หนิ ทราย 11 1 0 0 0 โลหะก่อสร้าง 72 0 00 ผลผลิตเกษตรอื่น ๆ 11 0 01 รวม 10,758 11,817 10,792 10,895 11,503 ท่ีมา : สถาบนั การขนสง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ในปี พ.ศ. 2556 การเดินทางของคนทางรางยังมีจานวนน้อย แต่จะมีจานวนสูงข้ึนในปี พ.ศ. 2570 และพ.ศ. 2575 แต่ไม่เกินระดับ 150,000 คน-เท่ียว/วัน ในแต่ละเส้นทางบริการของรถไฟ โดยส่วนใหญ่อยู่ใน พืน้ ท่ภี าคกลาง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื (สว่ นที่ตดิ กับภาคกลาง) และภาคใต้ (ตอนบนและตอนกลาง) แตห่ าก ได้มีการปรบั ปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานทางรางตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ของไทย พ.ศ. 2558-2565 การเดินทางของคนทางรางจะมีจานวนสงู ข้ึนมากกวา่ ระดับ 250,000 คน-เท่ียว/วัน ในแต่ละเส้นทางบริการของรถไฟ โดยเฉพาะพนื้ ทภี่ าคกลาง พร้อมทั้งมีการเดินทางของคนทางรางกระจายไปสู่ พ้ืนที่ต่าง ๆ ท้ังประเทศตามแนวเส้นทางการบริการของรถไฟ ซ่ึงสอดคล้องต่อนโยบายของกระทรวงคมนาคม ในการเพม่ิ ปริมาณการขนส่งคนทางรางในระดบั 75 ลา้ นคน-เทยี่ ว/ปี จากการศึกษาข้อมูลการคมนาคมขนส่งทางรางของประเทศ สามารถสรุปปัญหาและอุปสรรคต่อการ พฒั นาการคมนาคมขนสง่ ได้ ดังนี้ 1) การเปล่ียนแปลงในสาระสาคัญของบางโครงการ เมื่อเปล่ียนรัฐบาล อาทิ รูปแบบ การลงทุน เทคโนโลยี ทาให้การดาเนินการไม่เป็นไปตามแผน ความไม่แน่นอนของการพัฒนาระบบรางของ ประเทศเพื่อนบ้าน สัดส่วนผู้โดยสารและสินค้าทางรถไฟระหว่างเมืองลดลงเนื่องจากข้อจากัดในการให้บริการ ของ รฟท. 2) โครงข่ายรถไฟฟ้าเขตเมืองยังมีจากัด ในขณะที่รางรถไฟระหว่างเมืองมีสภาพทรุดโทรม เส้นทางส่วนใหญ่เปน็ ทางเดยี่ วทาให้มขี อ้ จากัดมากในการเดินรถ รถจักร รถโดยสาร แคร่ ทรุดโทรม ไม่เพียงพอ ปัญหาระบบอาณัติสัญญาณ ระบบการจัดการเดินรถยังค่อนข้างล้าสมัย ปัญหาจุดตัดทางรถไฟเสมอระดับ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงทางลกั ผ่าน การเชอ่ื มโยงสถานียังไม่สะดวก 3) การประกอบการรถไฟฟ้ายังมีน้อยราย ปัญหาการขาดทุนของ รฟท. การประกอบรถไฟ โดยสารระหว่างเมืองเป็นแบบผูกขาด การประกอบการรถไฟขนส่งสินค้าโดยเอกชนยังมีจากัด ปัญหาความ ขดั แยง้ ในบทบาทกากบั /ประกอบการ ยังต้องพ่งึ พาเทคโนโลยีตา่ งประเทศ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 97 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงคมนาคม 11. กรมการขนส่งทางราง 1. วสิ ัยทัศน์ เป็นองค์กรกากับดูแลระบบการขนส่งทางราง เพ่ือยกระดับความปลอดภัยและคุณภาพการให้บริการ ระดับสากล 2. พนั ธกจิ 1. เสนอแนะนโยบาย มาตรการ มาตรฐาน และจัดทาแผนการพัฒนาการขนสง่ ทางรางและขบั เคลื่อน ให้เกิดผลในการปฏบิ ัติ 2. พฒั นามาตรฐานและกากับดูแลการขนส่งทางรางให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล 3. กากบั ดูแลการขนสง่ ทางรางให้เปน็ ไปตามกฎหมาย 4. พัฒนาคุณภาพการใหบ้ ริการสูค่ วามเปน็ เลิศ 5. ปฏิบตั งิ านด้วยหลกั ธรรมาภิบาล ตอบสนองผู้มสี ่วนไดเ้ สยี ทกุ ฝา่ ย 3. ภาพรวมงบประมาณ กรมการขนส่งทางรางได้รับการจัดสรรงบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 73.3658 ล้านบาท เพ่มิ จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 46.8144 ลา้ นบาท งบรายจ่ายอนื่ , งบบุคลากร, งบประมาณรายจ่าย 23.3211 ล้านบาท, 13.2553 ล้านบาท, ของกรมการขนส่งทางราง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 31.79% 18.07% 2563 เม่ือจาแนกตามงบ รายจ่าย สามารถเรียงลาดับ งบเงนิ อุดหนุน, กรมการขนส่ง งบดาเนนิ งาน, งบประมาณจากมากไปน้อย 0.3800 ล้านบาท ทางราง 21.5327 ล้านบาท, ดงั นี้ 1) งบรายจ่ายอน่ื จานวน , 0.52% งบลงทนุ , 29.35% 23.3211 ลา้ นบาท 14.8767 ล้านบาท 2) งบดาเนนิ งาน จานวน 21.5327 ล้านบาท , 20.28% 3) งบลงทนุ จานวน 14.8767 ลา้ นบาท 4) งบบุคลากร จานวน 13.2553 ลา้ นบาท 5) งบเงนิ อุดหนุน จานวน 0.3800 ล้านบาท สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 98 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563