วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน สารบัญ - ภาพรวมองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ (อปท.) หนา้ - สรปุ ภาพรวมการจดั สรรรายไดแ้ ละงบประมาณรายจ่ายปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1 ให้แก่ อปท.ทกุ ประเภท 1 - สรุปภาพรวมการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 5 ให้แก่ อปท. โดยตรง 13 - การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้แก่ อปท. 19 โดยตรง จาแนกตามประเภทงบรายจ่าย 35 - เงนิ นอกงบประมาณของ อปท. ที่นามาสมทบร่วมใชจ้ ่ายกับงบประมาณรายจา่ ย 36 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 37 - การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายตามแผนงานบรู ณาการ ให้แก่ อปท. โดยตรง 38 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 39 - รายการผูกพันงบประมาณเกนิ 1 ปี ของ อปท. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 40 - โครงการ/รายการสาคัญของ อปท. ทไ่ี ดร้ ับจดั สรรงบประมาณโดยตรง 41 - ความสามารถการเบิกจ่ายงบประมาณ 5 ปีงบประมาณย้อนหลงั 42 (พ.ศ. 2558 - 2562) ของ อปท. ทไ่ี ดร้ ับจัดสรรงบประมาณโดยตรง 55 - เงนิ กนั ไวเ้ บิกเหลอ่ื มปีและการขยายระยะเวลาเบกิ เงินจากคลังของ อปท. - ประเดน็ ข้อสงั เกตของสภาผู้แทนราษฎร ในการพิจาณาวาระ 1 รับหลักการ (เกีย่ วกบั อปท.) - ประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ ทส่ี าคญั ในปีทีผ่ ่านมา (เก่ียวกบั อปท.) - สรปุ รายงานวชิ าการ ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของสานักงบประมาณของ รฐั สภา (PBO) เกี่ยวกับ อปท. - ภาคผนวก สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรับประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ เท่านั้น หน้า ก
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ วิสัยทัศน์* : ประชาชนมีรากฐานการดารงชีวิตและพัฒนาสู่อนาคตได้อย่างมั่นคงและสมดุลตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พันธกจิ * : 1.รกั ษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภยั และความมั่นคงภายใน 2.เสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของชุมชนและเศรษฐกจิ ฐานราก 3.สง่ เสริมการพัฒนาเมอื งและโครงสรา้ งพ้ืนฐาน 4.สง่ เสริมและสนับสนนุ การบริหารราชการในระดับพ้ืนท่ี ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ* : ชุมชนมีความสงบเรียบร้อย ปลอดภยั และมคี วามสุขตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หมายเหตุ *เปน็ ของกระทรวงมหาดไทยซึ่งเป็นกระทรวงตน้ สงั กัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. สรปุ ภาพรวมการจัดสรรรายได้และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ใหแ้ กอ่ งคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถนิ่ (อปท.) 1.1 การจัดสรรรายได้และงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ อปท. 1.1.1 สรุปภาพรวมการจัดสรรรายได้และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้แก่ อปท.ทุกประเภท1 สรุปภาพรวมการจัดสรรรายได้และงบประมาณรายจ่ายให้แก่ อปท.ทุกประเภท ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รวมทั้งส้ิน 804,826.0 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 53,345.9 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนคิดเป็นร้อยละ 7.1 ของปีงบประมาณ พ.ศ.2562 (จานวน 751,480.1 ล้านบาท) ทั้งน้ี การจัดสรร รายได้และงบประมาณรายจ่ายให้แก่ อปท. คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 29.47 ของรายได้สุทธิของรัฐบาล (ไม่รวมเงนิ กู้) จานวน 2,731,000 ล้านบาท ซึ่งเปน็ ไปตามมาตรา 30 (4) ของ พรบ.กาหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรบ.กาหนดแผนและ ขัน้ ตอนการกระจายอานาจให้แกอ่ งค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 25492 1 อปท. มี 2 ประเภท ได้แก่ (1) อปท.รูปแบบท่ัวไป ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล และองค์การ บรหิ ารส่วนตาบล (อบต.) และ (2) อปท.รปู แบบพเิ ศษ ประกอบดว้ ย กรุงเทพมหานคร และเมืองพทั ยา 2 กาหนดการจดั สรรภาษแี ละอากร เงนิ อดุ หนุน และรายได้อนื่ ใหแ้ ก่ อปท. เพื่อให้สอดคล้องกบั การดาเนินการตามอานาจและ หน้าที่ของ อปท. แต่ละประเภทอย่างเหมาะสม โดยตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ให้ อปท. มีรายได้คิดเป็น สดั ส่วนต่อรายไดส้ ทุ ธขิ องรัฐบาลไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 25 และโดยมจี ุดมุ่งหมายทจ่ี ะให้ อปท. มีรายไดเ้ พิม่ ขน้ึ คิดเปน็ สัดสว่ นต่อ รายได้สุทธิของรัฐบาลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 โดยการจัดสรรสัดส่วนท่ีเป็นธรรมแก่ อปท. และคานึงถึงรายได้ของ อปท. น้นั ด้วย การเพิ่มสัดส่วนรายได้ของ อปท. ตอ่ รายได้สทุ ธขิ องรัฐบาล ตามวรรคหนึง่ ใหเ้ พ่ิมขึ้นตามระยะเวลาที่เหมาะสมแกก่ ารพฒั นา ให้ อปท. สามารถดาเนินกิจการบริการสาธารณะได้ด้วยตนเอง และให้เป็นไปตามภารกิจที่ถ่ายโอนให้แก่ อปท. ที่ถ่ายโอน เพิ่มข้ึนภายหลังปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป แต่ไม่ว่ากรณีจะเป็นประการใดเงินอุดหนุนที่จัดสรรให้ต้องมีจานวนไม่ นอ้ ยกว่าเงนิ อดุ หนุนที่ อปท. ได้รบั การจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 (จานวน 126,013 ล้านบาท) สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ เทา่ นน้ั หนา้ 1
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน 1.1.1.1 ด้านการจัดสรรรายได้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีประมาณการรายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง + รายได้ท่ีรัฐบาลจัดเก็บ + รายได้ที่รัฐบาลแบ่งให้ ซึ่งคาดว่า อปท. จะได้รับทั้งส้ิน 496,876.0 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 21,526.0 ล้านบาท หรอื เพมิ่ ข้นึ คิดเปน็ ร้อยละ 4.5 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1.1.1.2 ด้านการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีงบประมาณรายจ่าย ท่ีจัดสรรให้แก่ อปท. ในลักษณะงบเงินอุดหนุน รวมทั้งส้ิน 307,950.0 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 31,819.9 ล้านบาท หรอื เพิม่ ข้ึนคิดเป็นรอ้ ยละ 11.5 ของปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 สรุป ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อปท. ทุกประเภท ได้รับจัดสรรรายได้คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 29.47 ของรายได้สุทธิของรัฐบาล (ไม่รวมเงินกู้) ซ่ึงเป็นไปตามมาตรา 30 (4) ของพระราชบัญญัติ กาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจฯ โดยได้รับจัดสรรด้านงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุน เพ่ิมขึ้นในสัดส่วนร้อยละท่ีสูงกว่าการเพิ่มขึ้นของการจัดสรรด้านรายได้เม่ือเปรียบเทียบกับปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 รายละเอยี ดตาม แผนภูมิท่ี 1 และ ตารางที่ 1 แผนภมู ทิ ี่ 1 การเปรียบเทียบสัดส่วนร้อยละของการจัดสรรรายไดแ้ ละงบประมาณรายจ่ายใหแ้ ก่ อปท. ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 และ 2563 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตารางที่ 1 การจัดสรรรายได้และงบประมาณรายจา่ ยใหแ้ ก่ อปท. ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 และ 2563 หน่วย : ล้านบาท การจัดสรรรายได้และงบประมาณรายจ่าย ปงี บประมาณ เพิม่ /(ลด) 2562 2563 จานวน ร้อยละ รวมท้ังสน้ิ 751,480.1 804,826.0 53,345.9 7.1 1.รายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง+รายไดท้ ร่ี ฐั บาลเก็บให้ 475,350.0 496,876.0 21,526.0 4.5 +รายไดท้ รี่ ัฐบาลแบ่งให้ 2.งบประมาณรายจ่ายที่จัดสรรเปน็ เงนิ อดุ หนุนใหแ้ ก่ อปท. 23223776.,6113104.1 307,950.0 31,819.9 11.5 2.1 เทศบาล+องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล (อบต.) 232,249.3 254,070.0 21,820.7 9.4 2.2 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั (อบจ.) 20,648.3 27,970.3 7,322.0 35.5 21,490.7 23,967.2 2,476.5 11.5 2.3 กรงุ เทพมหานคร 2.4 เมอื งพทั ยา 1,741.8 1,942.5 200.7 11.5 ทม่ี าขอ้ มูล : สานกั งบประมาณ. เอกสารงบประมาณโดยสังเขป ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. หนา้ 98 สานกั งบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ เทา่ น้นั หนา้ 2
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ข้อสงั เกตสานกั งบประมาณของรฐั สภา (PBO): (1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 250 วรรค 4 บัญญัติให้รัฐต้องดาเนินการให้ อปท. มี รายได้ของตนเอง โดยจัดระบบภาษี จัดสรรภาษีที่เหมาะสม พัฒนาการหารายได้ของ อปท. โดยในระหว่างที่ ยังไมอ่ าจดาเนนิ การได้ให้รฐั จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนนุ อปท. ไปพลางก่อน ท้ังน้ี เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญข้างต้น ต้องการให้ อปท. มีความเข้มแข็งและพ่ึงตนเองด้านการคลังได้ โดยมีรายได้ของตนเองเป็นหลักสาคัญ ขณะท่ีการจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุน อปท. เป็นมาตรการ ชั่วคราวระหว่างรอการพัฒนาด้านรายได้ของ อปท. ให้บรรลุตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ดี สัดส่วนร้อยละของการจัดสรรรายได้ (ได้แก่ รายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง+รายได้ท่ีรัฐบาลจัดเก็บ+รายได้ท่ี รัฐบาลแบ่งให้) และงบประมาณท่ีจัดสรรให้แก่ อปท. (เงินอุดหนุน) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และ 2563 ยงั ไม่สอดคลอ้ งกับเจตนารมณ์และทศิ ทางที่ควรจะเป็นตามรัฐธรรมนญู ดังกลา่ ว กล่าวคือ ร้อยละของ การจัดสรรรายได้ให้แก่ อปท. ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ลดลงจากปี 2562 จากร้อยละ 63 เป็น 62 ขณะที่การจัดสรรงบประมาณให้แก่ อปท. เพิ่มขึ้น จากร้อยละ 37 เป็น 38 หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อปท. พึ่งพาเงินอุดหนุนจากรัฐบาลผ่านงบประมาณรายจ่าย (เพิ่ม 31,819.9 ล้าน บาท) มากกว่าการพง่ึ พาเงินรายไดข้ องตนเอง (เพม่ิ 21,526.0 ล้านบาท) ดัง แผนภมู ทิ ่ี 1 และตารางที่ 1 (2) ควรมีแนวทางและวิธีการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาด้านรายได้ของ อปท. ท่ีเป็นรูปธรรม เพื่อใหเ้ ป็นไปตามนัยบัญญัติมาตรา 250 วรรค 4 ของรัฐธรรมนูญ (3)กรณีการจัดสรรรายได้ให้แก่ อปท. ไม่เป็นไปตามเป้าหมายตามมาตรา 30 (4) หรอื น้อยกว่าร้อยละ 25 ของรายได้สุทธิของรัฐบาลเคยเกิดข้ึนแล้ว กล่าวคือ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รายได้ของ อปท.ต่อ รายได้สุทธิของรัฐบาลมีค่าต่าสุดเท่ากับ 22.4 เนื่องจากปลายปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการปรับปรุง ประมาณการรายได้ของภาครัฐในปีงบประมาณ 2553 จากเดมิ 1,350,000 ล้านบาท เพิ่มเปน็ 1,522,000 ล้าน บาท ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2553 (สานักงบประมาณ, เอกสารงบประมาณโดยสังเขปปีงบประมาณ พ.ศ. 2554, หน้า 5) แต่ไม่ได้มีการจัดสรรรายได้เพิ่มให้แก่ อปท. ตามรายได้ภาครัฐท่ีเพิ่มข้ึน จึงทาให้สัดส่วน ของรายได้ของ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลต่ากวา่ ร้อยละ 25 ตามมาตรา 30 (4) ของพระราชบัญญัติกาหนด แผนและขนั้ ตอนการกระจายอานาจใหแ้ ก่ อปท. พ.ศ. 2542 และทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเติม นอกจากนี้ โอกาสหรือเหตทุ อ่ี าจทาใหก้ ารจดั สรรรายไดใ้ หแ้ ก่ อปท. ไม่เป็นไปตามเป้าหมายดังกลา่ วได้ นอกจากการจัดเก็บรายได้จรงิ ของรัฐบาลสงู กว่าประมาณการรายได้แลว้ ยังอาจเกิดจากการประมาณการ รายได้ที่ อปท.จัดเกบ็ เอง / รายได้ที่รฐั บาลจัดเก็บให้แก่ อปท. / รายได้ทรี่ ัฐบาลแบ่งให้ สูงกว่าการจัดเก็บ ได้จริง และไม่มีการจัดสรรเงินอุดหนุนเพิ่มเพ่ือชดเชยรายได้ท่ีต่ากว่าประมาณการดังกล่าว ดังนั้น ผูเ้ กย่ี วขอ้ งควรตระหนักในความเสยี่ งดังกลา่ ว (4) การจัดสรรงบประมาณให้แก่ อปท.โดยตรง โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีการจัดสรรงบประมาณเป็น เงินอุดหนุนให้แก่ กทม. เมืองพทั ยา และ อบจ.76 จังหวัด จานวนรวม 78 หน่วยงาน โดยตรง ตามมาตรา 29 ของ พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2563 และจะมีเป้าหมายการจัดสรรงบประมาณโดยตรงให้แก่เทศบาล และ อบต. ตามกฎหมาย (มจี านวนรวม 7,774 หน่วยงาน) เมอื่ ไร และอย่างไร (5) เงินอุดหนุนของกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามเอกสารงบประมาณไม่ตรงกัน เอกสารงบประมาณโดยสังเขป หน้าที่ 98 จานวน 23,967.2 ล้านบาท และ เอกสารงบประมาณฯ ฉบับที่ 3 (ขาวคาดแดง) เล่มท่ี 16 หน้า 11 จานวน 25,339.1741 ลา้ นบาท (ต่างกนั จานวน 1,371.97 ล้านบาท) สานักงบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ เทา่ นั้น หนา้ 3
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 1.1.2 สรุปภาพรวมการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้แก่ อปท. โดยตรง3 1.1.2.1 การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยใหแ้ ก่ อปท. โดยตรง : สรุปภาพรวม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายให้แก่ อปท. โดยตรง ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา ซ่ึงเป็น อปท. รูปแบบพิเศษ4 และองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) จานวน 76 จังหวัด ซ่ึงเป็น อปท. รูปแบบท่ัวไป5 รวมจานวนท้ังสิ้น 78 หน่วยรับงบประมาณ โดยจัดสรร งบประมาณรายจ่ายตามร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังนี้ (1) งบประมาณรายจ่ายของหน่วยรับงบประมาณ ตาม มาตรา 33 จานวน 55,037.0593 ล้านบาท ซง่ึ จัดสรรให้แก่ หน่วยรับงบประมาณ 2 หน่วยงาน (2) งบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ตาม มาตรา 48 จานวน 214.9176 ล้านบาท ซ่ึงจัดสรรให้แก่ หนว่ ยรับงบประมาณ 78 หน่วยงาน ไดแ้ ก่ กรงุ เทพมหานคร เมืองพัทยา และ อบจ. 76 จังหวดั รวม (1)+ (2) เป็นจานวน 55,251.9769 ล้านบาท (55,037.0593 + 214.9176) คิดเป็นสัดส่วนร้อย ละ 1.73 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (3,200,000 ล้านบาท) โดยเพิ่มขึ้นจาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 11,187.8129 ล้านบาท หรือเพ่ิมข้ึนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25.40 ของ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (44,059.0610 ล้านบาท) โดย อปท. ทุกแห่งได้รับจัดสรรงบประมาณเพ่ิมขึ้น ยกเว้น อบจ.ภเู ก็ต อบจ.สงขลา รายละเอยี ดตามตารางที่ 2 ตารางที่ 2 การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายให้แก่ อปท. โดยตรง ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 และ 2563 หนว่ ย: ล้านบาท หน่วยงาน ปีงบประมาณ เพมิ่ /(ลด) รวมทัง้ สน้ิ 2562 2563 จานวน รอ้ ยละ 44,059.0610 55,251.9769 11,192.9159 25.40 องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 23,232.5114 27,281.7098 4,049.1984 17.43 1.กรุงเทพมหานคร 21,490.6940 25,339.1741 3,848.4801 17.91 22233021,,3,8277324.66211...55814114917644 200.7183 11.52 2.เมืองพทั ยา 1,942.5357 34.30 องค์การบริหารส่วนจงั หวดั (อบจ.) 76 จงั หวัด 27,970.2671 7,143.7175 ทีม่ าขอ้ มูล : สานกั งบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 (ขาวคาดแดง) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เลม่ ที่ 16 3 พรบ.วิธีการงบประมาณพ.ศ. 2562 มาตรา 29 บัญญัติให้ อปท. ยื่นคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายต่อ รมว.มหาดไทย เพื่อ เสนอต่อผอู้ านวยการสานักงบประมาณ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาท่ีผ้อู านวยการสานักงบประมาณกาหนด โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นปีแรกท่ี อบจ. 76 จังหวัด สามารถย่ืนคาขอตั้งและได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย โดยตรงตามบทบัญญัติดังกล่าวและตามหลักเกณฑ์และวิธีการย่ืนคาของบประมาณรายจ่ายของ อปท. ที่ผู้อานวยการสานัก งบประมาณกาหนด (ภาคผนวก) ยกเว้นเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ดงั กลา่ วกาหนดให้ยืน่ คาของบประมาณรายจ่ายไวท้ ่ีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ โดยเสนอต้งั งบประมาณผา่ นท้องถ่ิน จังหวัดและผู้ว่าราชการจังหวัด (ทาให้เงินอุดหนุนจากงบประมาณของเทศบาลและ อบต. จานวน 254,070 ล้านบาท ตั้งไวเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของงบประมาณกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถนิ่ ) ท้ังน้ี บทวเิ คราะห์ในสว่ นของ อปท. ประเภท เทศบาล และ อบต. จะปรากฏรายละเอยี ดในรายงานวิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : กระทรวงมหาดไทย 4 อปท.รูปแบบพิเศษ มีการบริหารจัดการไม่เหมือนกับรูปแบบทั่วไปและจัดตั้งข้ึนตามกฎหมายเฉพาะเป็นกรณี ๆ ไป และมี วัตถปุ ระสงค์เพอื่ การบริหารในเขตเมืองใหญ่ เช่น เมืองหลวง เมืองท่องเทีย่ ว เปน็ ต้น 5 อปท.รปู แบบทัว่ ไป จัดต้งั มาก่อนและตง้ั กระจายอยู่ทกุ จังหวัดทว่ั ประเทศซึ่งในปจั จุบันจาแนกไดเ้ ป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ เทศบาล อบต. และ อบจ. สานักงบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ เทา่ นน้ั หนา้ 4
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 1.1.2.2 การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยใหแ้ ก่ อปท. โดยตรง : จาแนกตามประเภท อปท. ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 มีการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายใหแ้ ก่ อปท. โดยตรง จาแนกตามประเภท อปท. ดังน้ี (1) กรุงเทพมหานคร ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย จานวน 25,339.1741 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 0.79 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (3,200,000 ล้านบาท) โดยเพิ่มขึ้น จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 3,848.4801 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17.91 ของ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ท่ีได้รับจัดสรร (21,490.6940 ล้านบาท) และคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 46 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ท่ีจัดสรรให้แก่ อปท. 3 ประเภท (55,251.9769 ลา้ นบาท) (2) เมืองพัทยา ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย จานวน 1,942.5357 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 0.06 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (3,200,000 ล้านบาท) โดยเพ่ิมข้ึนจาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 200.7183 ล้านบาท หรือเพ่ิมขึ้นคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.52 ของ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ที่ได้รับจัดสรร (1,741.8174 ล้านบาท) และคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 3 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่จัดสรรให้แก่ อปท. 3 ประเภท (55,251.9769 ลา้ นบาท) (3) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) 76 จังหวัด ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย จานวน 27,970.2671 ล้านบาท คิดเป็นสดั ส่วนร้อยละ 0.87 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (3,200,000 ล้านบาท) โดยเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 7,143.7175 ล้านบาท หรือเพ่ิมขึ้น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 34.30 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ที่ได้รับจัดสรร (20,826.5496 ล้านบาท) และคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 51 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ท่จี ัดสรรใหแ้ ก่ อปท. 3 ประเภท (55,251.9769 ล้านบาท) ทงั้ นี้ ขอ้ มลู ตาม แผนภูมทิ ี่ 2 และ ตารางท่ี 3 แผนภูมิท่ี 2 สัดส่วนของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่จัดสรรให้ อปท. โดยตรง จาแนกตามประเภท อปท. 27,970.2671, 25,339.1741, 51% 46% กทม. 1,942.5357, 3% เมืองพัทยา อบจ. 76 แห่ง สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ เท่าน้นั หนา้ 5
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ตารางที่ 3 การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยให้แก่ อปท. โดยตรง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และ 2563 จาแนก ตามประเภท อปท. หนว่ ย: ลา้ นบาท หน่วยงาน ปีงบประมาณ เพมิ่ /(ลด) 2562 2563 จานวน รอ้ ยละ 1.กรุงเทพมหานคร 21,490.6940 25,339.1741 3,848.4801 17.91 2.เมอื งพัทยา 1,741.8174 1,942.5357 200.7183 11.52 3. อบจ. 76 จังหวัด 20,826.5496 27,970.2671 7,143.7175 34.30 3.1 อบจ.กระบี่ 120.6903 196.4021 75.7118 62.73 3.2 อบจ.กาญจนบุรี 231.1566 330.3018 99.1452 42.89 3.3 อบจ.กาฬสินธุ์ 609.2596 681.2706 72.011 11.82 3.4 อบจ.กาแพงเพชร 160.6897 234.8097 74.12 46.13 3.5 อบจ.ขอนแก่น 797.1384 1,021.0803 223.9419 28.09 3.6 อบจ.จันทบรุ ี 125.0981 166.3582 41.2601 32.98 3.7 อบจ.ฉะเชิงเทรา 173.0315 245.2878 72.2563 41.76 3.8 อบจ.ชลบรุ ี 489.7560 644.7405 154.9845 31.65 3.9 อบจ.ชัยนาท 160.5856 192.4855 31.8999 19.86 3.10 อบจ.ชยั ภมู ิ 780.2188 962.5889 182.3701 23.37 3.11 อบจ.ชุมพร 192.3306 259.6645 67.3339 35.01 3.12 อบจ.เชียงราย 324.6028 453.3236 128.7208 39.65 3.13 อบจ.เชยี งใหม่ 428.1862 632.6158 204.4296 47.74 3.14 อบจ.ตรัง 145.2216 198.1732 52.9516 36.46 3.15 อบจ.ตราด 89.3579 122.8057 33.4478 37.43 3.16 อบจ.ตาก 161.6918 249.2778 87.586 54.17 3.17 อบจ.นครนายก 98.6663 142.7936 44.1273 44.72 3.18 อบจ.นครปฐม 134.2153 228.7343 94.519 70.42 3.19 อบจ.นครพนม 181.4279 286.5323 105.1044 57.93 3.20 อบจ.นครราชสมี า 1,919.6574 2,255.2753 335.6179 17.48 3.21 อบจ.นครศรีธรรมราช 355.2629 519.8916 164.6287 46.34 3.22 อบจ.นครสวรรค์ 252.6024 337.3464 84.744 33.55 3.23 อบจ.นนทบรุ ี 633.0738 692.6495 59.5757 9.41 3.24 อบจ.นราธิวาส 136.1962 201.5797 65.3835 48.01 3.25 อบจ.นา่ น 170.3173 249.2141 78.8968 46.32 3.26 อบจ.บงึ กาฬ 151.8721 213.7826 61.9105 40.76 3.27 อบจ.บุรรี มั ย์ 400.3924 551.6884 151.296 37.79 3.28 อบจ.ปทมุ ธานี 194.4379 246.3929 51.955 26.72 3.29 อบจ.ประจวบคีรีขันธ์ 122.0427 204.4506 82.4079 67.52 3.30 อบจ.ปราจนี บุรี 220.3262 272.4268 52.1006 23.65 สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ เท่านน้ั หนา้ 6
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน ปีงบประมาณ เพมิ่ /(ลด) 3.31 อบจ.ปัตตานี 2562 2563 จานวน ร้อยละ 3.32 อบจ.พระนครศรีอยธุ ยา 162.3700 227.9262 3.33 อบจ.พะเยา 190.6334 264.3646 65.5562 40.37 3.34 อบจ.พังงา 181.8788 232.1385 73.7312 38.68 3.35 อบจ.พทั ลุง 108.2716 205.2515 50.2597 27.63 3.36 อบจ.พจิ ติ ร 242.7838 305.4586 96.9799 89.57 3.37 อบจ.พษิ ณุโลก 174.5830 267.3232 62.6748 25.82 3.38 อบจ.เพชรบุรี 230.5094 338.1890 92.7402 53.12 3.39 อบจ.เพชรบรู ณ์ 107.2450 148.0003 107.6796 46.71 3.40 อบจ.แพร่ 215.4834 301.6725 40.7553 38.00 3.41 อบจ.ภูเกต็ 209.3303 300.8289 86.1891 40.00 3.42 อบจ.มหาสารคาม 225.5536 183.8988 91.4986 43.71 3.43 อบจ.มกุ ดาหาร 605.8078 775.0677 (41.6548) (18.47) 3.44 อบจ.แม่ฮ่องสอน 122.5795 218.2221 169.2599 27.94 3.45 อบจ.ยโสธร 102.6038 183.6352 95.6426 78.02 3.46 อบจ.ยะลา 194.2365 271.1542 81.0314 78.98 3.47 อบจ.ร้อยเอ็ด 123.9792 169.0726 76.9177 39.60 3.48 อบจ.ระนอง 458.7630 665.3084 45.0934 36.37 3.49 อบจ.ระยอง 78.9935 90.6527 206.5454 45.02 3.50 อบจ.ราชบรุ ี 256.2897 545.5042 11.6592 14.76 3.51 อบจ.ลพบุรี 154.8644 205.8722 289.2145 112.85 3.52 อบจ.ลาปาง 151.4328 225.0893 51.0078 32.94 3.53 อบจ.ลาพนู 206.9353 312.1756 73.6565 48.64 3.54 อบจ.เลย 175.9556 235.1156 105.2403 50.86 3.55 อบจ.ศรสี ะเกษ 234.8237 530.3523 3.56 อบจ.สกลนคร 1,112.0710 1,336.3032 59.16 33.62 3.57 อบจ.สงขลา 399.6441 561.7711 295.5286 125.85 3.58 อบจ.สตูล 384.1929 310.9524 224.2322 20.16 3.59 อบจ.สมทุ รปราการ 120.9064 166.8114 162.127 40.57 3.60 อบจ.สมุทรสงคราม 118.9961 163.7941 (73.2405) (19.06) 3.61 อบจ.สมุทรสาคร 82.4748 110.1825 3.62 อบจ.สระแก้ว 160.1894 170.5174 45.905 37.97 3.63 อบจ.สระบุรี 352.8559 430.6027 44.798 37.65 3.64 อบจ.สิงห์บรุ ี 152.5817 189.9033 27.7077 33.60 3.65 อบจ.สุโขทยั 94.6227 129.4914 10.328 6.45 3.66 อบจ.สพุ รรณบุรี 168.9006 234.2249 77.7468 22.03 170.4516 257.7550 37.3216 24.46 34.8687 36.85 65.3243 38.68 87.3034 51.22 สานักงบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ เทา่ นนั้ หนา้ 7
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ เพม่ิ /(ลด) 2562 2563 จานวน ร้อยละ 3.67 อบจ.สุราษฎร์ธานี 321.1756 449.8936 128.718 40.08 3.68 อบจ.สรุ ินทร์ 306.5797 452.4831 145.9034 47.59 3.69 อบจ.หนองคาย 161.5785 243.0729 81.4944 50.44 3.70 อบจ.หนองบัวลาภู 129.5234 228.0964 98.573 76.10 3.71 อบจ.อา่ งทอง 111.5697 146.8379 35.2682 31.61 3.72 อบจ.อานาจเจริญ 123.3231 173.3098 49.9867 40.53 3.73 อบจ.อดุ รธานี 435.1770 641.3852 206.2082 47.38 3.74 อบจ.จังหวดั อุตรดิตถ์ 168.4487 232.6263 64.1776 38.10 3.75 อบจ.อทุ ัยธานี 101.1846 166.8413 65.6567 64.89 3.76 อบจ.อบุ ลราชธานี 774.6887 977.1929 202.5042 26.14 ที่มาของข้อมูล : สานกั งบประมาณ.เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 (ขาวคาดแดง) งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มท่ี 16 หมายเหตุ : *เป็นงบประมาณรายจ่ายของ อปท. ที่ต้ังตามมาตรา 33 และ มาตรา 48 ของร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2563 และไม่รวมงบประมาณรายจ่ายที่อุดหนุนเทศบาลและ อบต. ซ่ึงหลักเกณฑ์ฯ กาหนดให้ยื่นคาของบประมาณรายจ่ายผ่านกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เหมือนเดมิ ไปพลางกอ่ น (งบประมาณต้ังไวท้ กี่ รมสง่ เสริมการปกครองท้องถนิ่ ) จานวน 254,070.0 ลา้ นบาท จากตารางที่ 3 ข้างต้น พบว่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายให้แก่ อปท. โดยตรง ซ่ึงส่วนใหญ่ได้รับจัดสรรงบประมาณที่เพิ่มขึ้นทั้งในด้านของจานวน และอัตราร้อยละท่ี เพิ่มขึ้นแตกต่างกัน กล่าวคือ กรุงเทพมหานคร ได้รับจัดสรรงบประมาณเพ่ิมขึ้น จานวน 3,848.4801 ล้าน บาท หรอื เพ่ิมขึ้นคดิ เป็นร้อยละ 17.91 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 , เมืองพัทยา ได้รับจัดสรรงบประมาณ เพ่ิมขึ้น จานวน 200.7183 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนคิดเป็นร้อยละ 11.52 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และ อบจ. 76 จังหวัด ได้รับจัดสรรงบประมาณเพ่ิมขึ้น จานวน 7,143.7175 ล้านบาท หรือเพ่ิมข้ึนคิดเป็นร้อยละ 34.30 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยในจานวน อบจ. 76 จังหวัด มี อบจ. ท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณ เพิ่มขึ้นมากที่สุด คือ อบจ.เลย โดยไดร้ ับจัดสรรงบประมาณเพิ่มข้ึนจานวน 295.5286 ล้านบาท หรือเพ่ิมข้ึน คิดเป็นร้อยละ 125.85 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ขณะที่ มี อบจ. ที่ได้รับจัดสรรงบประมาณลดลงมาก ท่ีสุด ได้แก่ อบจ.ภูเก็ต และ อบจ.สงขลา ซึ่งได้รับจัดสรรงบประมาณลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 41.6548 และ 73.2405 ลา้ นบาท หรอื ลดลง คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.47 และ 19.06 ตามลาดบั ทงั้ นี้ รอ้ ย ละของการเพ่ิม (ลด) ของการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เปรียบเทียบกับ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ดงั แผนภูมทิ ี่ 3 ขอ้ สงั เกตสานักงบประมาณของรัฐสภา (PBO): การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายปี พ.ศ. 2563 โดยตรงให้แก่ อปท. ประเภทต่างๆ สาหรับจัดทาบริการ สาธารณะท้องถิ่นและดาเนินภารกิจตามที่กฎหมายกาหนด มีอัตราร้อยละของการเพิ่ม (ลด) จาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ท่ีแตกต่างกัน เช่น เพิ่มมากท่ีสุดร้อยละ 125.85 (อบจ.เลย) และลดมากที่สุด ร้อยละ -19.06 (อบจ.สงขลา) มหี ลักเกณฑ์และแนวทางการจัดสรรงบประมาณอย่างไร เพราะเหตุใด? สานักงบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ เทา่ น้ัน หนา้ 8
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน แผนภมู ิท่ี 3 รอ้ ยละของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่จัดสรรเพ่มิ ขึน้ จาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จาแนกราย อบจ. สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ เทา่ น้ัน หน้า 9
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน 1.1.3 การกระจายตัวของงบประมาณรายจา่ ย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ของ อบจ. 76 จงั หวดั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นปีแรกท่ี อบจ. 76 จังหวัด สามารถย่ืนคาขอตั้งงบประมาณรายจ่าย โดยตรงได้ ตามมาตรา 29 ของ พรบ.วิธีการงบประมาณพ.ศ. 2562 และตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ผู้อานวยการสานักงบประมาณกาหนด (ภาคผนวก) โดยที่ อบจ. 76 จังหวดั ในฐานะหนว่ ยรับงบประมาณตาม กฎหมายดังกล่าวได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายตามร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 จาแนกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ (1) งบประมาณรายจ่ายของหน่วยรับงบประมาณ ตาม มาตรา 33 จานวน 27,755.3495 ล้านบาท และ (2) งบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ตามมาตรา 48 จานวน 214.9176 (จัดสรรให้แก่ อบจ.มุกดาหาร และ อบจ.เลย) รวมเป็นจานวน 27,970.2671 ล้านบาท คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 0.87 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (3,200,000 ล้านบาท) โดย เปน็ ส่วนหนึ่งของการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยในมติ เิ ชิงพน้ื ที่ (Area) ท้ังน้ี สรุปภาพรวมการกระจายตัวของปริมาณงบประมาณรายจ่าย (เม็ดเงนิ ) ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่จัดสรรในลักษณะงบเงินอุดหนุนให้แก่ อบจ. 76 จังหวัด ที่ตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดย จาแนกตามภาคภูมิศาสตร์ของไทย ซ่ึงแบ่งเป็น 4 ภาค ประกอบด้วยภาคเหนือ ซ่ึงมีจานวน 17 จังหวัด ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงมีจานวน 20 จังหวัด ภาคกลาง ซึ่งมีจานวน 25 จังหวัด (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) และภาคใต้ ซึง่ มจี านวน 14 จงั หวัด ดังแผนภมู ทิ ี่ 4 แผนภมู ทิ ี่ 4 แสดงการกระจายตัวของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่จดั สรรให้แก่ อบจ. 76 จังหวดั จาแนก 4 ภมู ิภาค 2500 จานวนงบประมาณ ( ้ลานบาท) 2000 x̄ = 652.2969 ลบ. 1500 x̄ = 291.8446 ลบ. 1000 x̄ = 259.0937 x̄ = 248.9735 ลบ. ลบ. 500 0 อบจ. จาแนกกลุม่ 4 ภมู ิภาค 50 60 70 80 0 10 20 30 40 ใต้ 14 อบจ. เหนือ 17 อบจ. ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 20 อบจ. กลาง 25 อบจ. จาก แผนภูมิท่ี 4 จานวนงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ทจ่ี ดั สรรใหแ้ ก่ อบจ. ท้ังหมด มคี ่าเฉลี่ย 368.0298 ลา้ นบาท/จังหวัด และเม่ือจาแนกเป็นรายภูมิภาค พบว่า อบจ. ท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 จากสู งสุ ดไปต่ าสุ ด ได้ แก่ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ เท่ ากับ 652.2969 ล้ านบาท/จังหวัด ภาคกลาง เท่ ากับ 291.8446 ล้านบาท/จังหวัด ภาคเหนื อ เทา่ กบั 259.0937 ล้านบาท/จังหวัด และ ภาคใต้ เทา่ กบั 248.9735 ล้านบาท/จังหวัด ตามลาดบั สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ เท่านนั้ หน้า 10
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น เม่ือวิเคราะห์รายหน่วยงาน พบว่า อบจ. ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายจานวนสูงสุด 3 ลาดับแรก ได้แก่ อบจ.นครราชสีมา, อบจ.ศรีสะเกษ และ อบจ.อุบลราชธานี จานวน 2,255.2753 , 1,336.3032 และ 977.1929 ล้านบาท ตามลาดับ และ อบจ. ท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายจานวนต่าสุด 3 ลาดับแรก ได้แก่ อบจ.ระนอง, อบจ.สมุทรสงคราม และ อบจ.ตราด จานวน 90.6527, 110.1825 และ 122.8057 ล้านบาท ตามลาดบั ข้อสงั เกตสานกั งบประมาณของรัฐสภา (PBO): (1) การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีในลกั ษณะงบเงนิ อุดหนนุ ให้แก่ อปท. ในฐานะหน่วยรับ งบประมาณ เป็นไปตามหลักการท่ีบัญญัติไว้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และกฎหมายท่ี เกย่ี วข้อง ดังนี้ (1.1) รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย มาตรา 250 วรรค 4 ใหร้ ัฐต้องดาเนนิ การให้ อปท. มีรายได้ ของตนเอง โดยจัดระบบภาษีหรือการจัดสรรภาษที ี่เหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมและพฒั นาการหารายไดข้ อง อปท. ท้ังน้ี เพื่อให้ อปท. สามารถดาเนนิ การได้อย่างเพยี งพอ ในระหว่างที่ยังไม่อาจดาเนินการให้ อปท. มี รายไดข้ องตนเองได้ จงึ ใหร้ ัฐจัดสรรงบประมาณเพ่อื สนบั สนุน อปท. ไปพลางกอ่ น (1.2) กฎหมายจัดต้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หมวดรายได้ กาหนดให้ อปท. มีรายได้จากเงิน อุดหนุนหรือรายได้อ่ืนตามที่รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐจัดสรรให้ เช่น พรบ.ระเบียบบริหาร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 มาตรา 117 (9) รายได้ของกรุงเทพมหานครมาจากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล ส่วน ราชการ หรือราชการส่วนท้องถ่ินและเงินสมทบจากรัฐ พรบ.ระเบียบบริหารเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 มาตรา 89 (7) รายได้ของเมืองพัทยามาจากเงินอุดหนุนหรือรายได้อื่นตามที่รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐจัดสรรให้ พรบ.องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 72 บญั ญัตวิ ่าทกุ ปีงบประมาณให้รัฐบาลจัดสรรเงิน ใหอ้ งค์การบริหารส่วนจงั หวัดเป็นเงินอุดหนนุ และมาตรา 73 องค์การบริหารส่วนจังหวดั อาจมีรายได้จาก (8) เงนิ อดุ หนนุ หรอื รายได้ตามท่ีรฐั บาลหรือหน่วยงานของรัฐจัดสรรให้ (1.3) พรบ.กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพ่ิมเตมิ มาตรา 30 (4)6 กาหนดการจดั สรรภาษีและอากร เงนิ อุดหนนุ และรายไดอ้ ื่น ให้แก่ อปท. เพ่ือให้สอดคล้องกับการดาเนินการตามอานาจและหน้าที่ของ อปท. แต่ละประเภทอย่าง เหมาะสม โดยตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ให้ อปท. มีรายได้คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ สุทธิของรัฐบาลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 และโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ อปท.มีรายได้เพ่ิมข้ึนคิดเป็น สัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 โดยการจัดสรรสัดส่วนท่ีเป็นธรรมแก่ อปท. และคานึงถึงรายได้ของ อปท. ท้ังนี้ กฎหมายได้กาหนดให้การเพ่ิมสดั ส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้ สุทธิของรัฐบาลดังกล่าว โดยให้เพิ่มข้ึนตามระยะเวลาท่ีเหมาะสมแก่การพัฒนาให้ อปท. สามารถดาเนิน กิจการบริการสาธารณะได้ด้วยตนเอง และให้เป็นไปตามภารกิจท่ีถ่ายโอนให้แก่ อปท. ที่ถ่ายโอนเพ่ิมข้ึน ภายหลังปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป แต่ไมว่ ่ากรณีใดเงินอุดหนุนที่จดั สรรให้ต้องมีจานวนไม่น้อยกว่า เงินอดุ หนนุ ท่ี อปท. ได้รบั การจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 (ซึง่ มีจานวน 126,013 ลา้ นบาท) (2) รูปแบบและวิธีการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีให้แก่ อปท. เป็นไปตาม พรบ.วิธีการ งบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 4 บัญญัติให้ อปท. เป็นหน่วยรับงบประมาณ และ มาตรา 29 บัญญัติ 6 มาตรา 30 (4) แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดย พรบ.กาหนดแผนและขน้ั ตอนการกระจายอานาจใหแ้ ก่อปท. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ เทา่ นั้น หน้า 11
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ให้ อปท. ย่ืนคาขอต้ังงบประมาณรายจ่ายต่อ รมว.กระทรวงมหาดไทยเพ่ือเสนอต่อผู้อานวยการสานัก งบประมาณ ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ผู้อานวยการสานกั งบประมาณกาหนด (ภาคผนวก) โดยใน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นปีแรกที่ อบจ. 76 จังหวดั สามารถย่ืนคาขอต้ังงบประมาณรายจา่ ยโดยตรง ตามบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวและตามหลักเกณฑ์และวิธีการย่ืนคาของบประมาณรายจ่ายของ อปท. ที่ผู้อานวยการสานักงบประมาณกาหนด ยกเว้นเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตาบล ซ่ึง หลักเกณฑ์และวธิ ีการฯ กาหนดใหย้ ่ืนคาของบประมาณรายจ่ายไวท้ ่ีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โดยเสนอต้ังงบประมาณผ่านท้องถ่ินจังหวัดและผู้ว่าราชการจังหวัด (ทาให้เงินอุดหนุนจาก งบประมาณของเทศบาลและ อบต. จานวน 254,070 ล้านบาท ตั้งไว้กับงบประมาณรายจ่ายกรม สง่ เสริมการปกครองท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทย) (3) ปัจจัยท่ีกาหนดความแตกต่างของจานวนงบประมาณรายจ่ายทจี่ ัดสรรให้แก่ อบจ. 76 จังหวัด ในลักษณะของงบเงนิ อุดหนุนท่ัวไป พบวา่ ส่วนใหญ่เกดิ จากจานวนกลุ่มเป้าหมายท่ีมีมากและน้อยแตกต่าง กันในแตล่ ะจังหวัด เช่น จานวนอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น (อสม.) จานวนนกั เรียนต้ังแต่ระดับ อนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน จานวนผูส้ ูงอายุ จานวนสถานสงเคราะห์คนชรา เป็นต้น และมีรายการ ค่าใช้จ่ายท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณในลักษณะเหมือน ๆ กันใน อบจ. ต่าง ๆ ท่ัวประเทศ ซึ่งรายการ ดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐบาลที่ฝาก อบจ. และ อปท. ประเภทอ่ืนจ่ายให้แก่ กลุ่มเป้าหมายในพ้ืนท่ี และถูกนับรวมเป็นรายได้ อปท. เพ่ือให้เป็นไปตามนัย มาตรา 30 (4) ของ พรบ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเตมิ ซึ่งมีสาระสาคัญ คอื ตั้งแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ให้ อปท. มีรายได้คิดเป็นสดั ส่วนต่อรายได้สุทธิของรฐั บาล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 และโดยมีจุดมุ่งหมายท่ีจะให้ อปท.มีรายได้เพิ่มขึ้นคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิ ของรัฐบาลในอัตราไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 35 2. การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ใหแ้ ก่ อปท. โดยตรง จาแนกตามประเภทงบรายจา่ ย พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณพ.ศ. 2562 มาตรา 29 บัญญัติการขอตั้งงบประมาณรายจ่ายเพ่ือ สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นงบเงินอุดหนุน โดยจาแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) งบเงิน อุดหนุนทั่วไป สาหรับการดาเนินการโดยทั่วไป หรือ (2) งบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ สาหรับการดาเนินการในเร่ืองใด เร่ืองหนึ่งเป็นการเฉพาะ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ภาพรวมงบประมาณรายจ่ายของ อปท. ได้แก่ กรงุ เทพมหานคร เมืองพทั ยา และ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ได้รับจัดสรรทั้งส้ิน จานวน 55,251.9769 ล้านบาท โดยเป็นงบเงินอุดหนุน ทั้งจานวน ซ่ึงสามารถจาแนกเป็น (1) งบเงินอุดหนุนท่ัวไป จานวน 45,807.1119 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 82.91 ของงบประมาณท้ังสิ้นท่ีได้รับจัดสรร สาหรับดาเนินการตามอานาจหน้าท่ีของ อปท. และตามภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. และ (2) งบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 9,444.8650 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 17.09 ของงบประมาณทั้งส้ินท่ีได้รับ จัดสรร รายละเอยี ดตามตารางที่ 4 สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรับประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ เท่านั้น หน้า 12
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ตารางท่ี 4 การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้แก่ อปท. โดยตรง จาแนกตามประเภท ของงบเงนิ อุดหนุน หน่วย: ล้านบาท ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หนว่ ยงาน ทง้ั สนิ้ งบเงนิ อดุ หนนุ งบเงนิ อดุ หนุน ท่ัวไป เฉพาะกจิ รวมทั้งสิ้น 55,251.9769 45,807.1119 9,444.8650 องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ รูปแบบพเิ ศษ 27,281.7098 20,270.9952 7,010.7146 1.กรงุ เทพมหานคร 25,339.1741 19,651.1719 5,688.0022 2.เมอื งพัทยา 1,942.5357 619.8233 1,322.7124 อบจ. 76 จังหวัด 27,970.2671 25,536.1167 2,434.1504 1.อบจ.กระบ่ี 196.4021 160.1841 36.2180 2.อบจ.กาญจนบรุ ี 330.3018 304.8651 25.4367 3.อบจ.กาฬสินธุ์ 681.2706 661.4806 19.7900 4.อบจ.กาแพงเพชร 234.8097 214.8937 19.9160 5.อบจ.ขอนแกน่ 1,021.0803 973.6902 47.3901 6.อบจ.จันทบุรี 166.3582 166.3582 0 7.อบจ.ฉะเชงิ เทรา 245.2878 216.1384 29.1494 8.อบจ.ชลบุรี 644.7405 622.3730 22.3675 9.อบจ.ชยั นาท 192.4855 192.4855 0 10.อบจ.ชยั ภมู ิ 962.5889 944.3969 18.1920 11.อบจ.ชมุ พร 259.6645 239.7848 19.8797 12.อบจ.เชยี งราย 453.3236 418.3096 35.0140 13.อบจ.เชยี งใหม่ 632.6158 616.5391 16.0767 14.อบจ.ตรัง 198.1732 179.5732 18.6000 15.อบจ.ตราด 122.8057 112.9857 9.8200 16.อบจ.ตาก 249.2778 204.2565 45.0213 17.อบจ.นครนายก 142.7936 104.7296 38.0640 18.อบจ.นครปฐม 228.7343 187.2566 41.4777 19.อบจ.นครพนม 286.5323 250.3353 36.1970 20.อบจ.นครราชสีมา 2,255.2753 2,234.6609 20.6144 21.อบจ.นครศรธี รรมราช 519.8916 483.0216 36.8700 22.อบจ.นครสวรรค์ 337.3464 317.0809 20.2655 23.อบจ.นนทบรุ ี 692.6495 692.6495 0 24.อบจ.นราธิวาส 201.5797 174.3127 27.2670 25.อบจ.นา่ น 249.2141 220.1067 29.1074 26.อบจ.บึงกาฬ 213.7826 177.1656 36.6170 สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ เทา่ นั้น หนา้ 13
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 27.อบจ.บุรรี มั ย์ 28.อบจ.ปทมุ ธานี ทง้ั สนิ้ งบเงนิ อดุ หนุนท่ัวไป งบเงินอดุ หนุน 29.อบจ.ประจวบครี ขี นั ธ์ เฉพาะกิจ 30.อบจ.ปราจนี บุรี 551.6884 533.7184 17.9700 31.อบจ.ปตั ตานี 246.3929 246.3929 0 32.อบจ.พระนครศรอี ยุธยา 204.4506 169.8146 34.6360 33.อบจ.พะเยา 272.4268 262.4278 9.9990 34.อบจ.พงั งา 227.9262 189.7392 38.1870 35.อบจ.พทั ลุง 264.3646 244.3746 19.9900 36.อบจ.พจิ ิตร 232.1385 225.2785 6.8600 37.อบจ.พษิ ณโุ ลก 205.2515 122.3115 82.9400 38.อบจ.เพชรบรุ ี 305.4586 274.4786 30.9800 39.อบจ.เพชรบรู ณ์ 267.3232 231.9752 35.3480 40.อบจ.แพร่ 338.1890 298.2290 39.9600 41.อบจ.ภูเก็ต 148.0003 148.0003 0 42.อบจ.มหาสารคาม 301.6725 301.6725 0 43.อบจ.มกุ ดาหาร* 300.8289 274.4268 26.4021 44.อบจ.แมฮ่ อ่ งสอน 183.8988 183.8988 0 45.อบจ.ยโสธร 775.0677 738.2600 36.8077 46.อบจ.ยะลา 218.2221 139.1595 79.0626 47.อบจ.ร้อยเอ็ด 183.6352 127.3045 56.3307 48.อบจ.ระนอง 271.1542 237.7082 33.4460 49.อบจ.ระยอง 169.0726 132.2636 36.8090 50.อบจ.ราชบุรี 665.3084 624.0644 41.2440 51.อบจ.ลพบรุ ี 90.6527 90.6527 0 52.อบจ.ลาปาง 545.5042 299.6062 245.8980 53.อบจ.ลาพูน 205.8722 205.8722 0.0000 54.อบจ.เลย** 225.0893 213.3128 11.7765 55.อบจ.ศรสี ะเกษ 312.1756 292.3156 19.8600 56.อบจ.สกลนคร 235.1156 215.1635 19.9521 57.อบจ.สงขลา 530.3523 295.1940 235.1583 58.อบจ.สตูล 1,336.3032 1,295.932 40.3400 59.อบจ.สมทุ รปราการ 561.7711 530.3961 31.3750 60.อบจ.สมุทรสงคราม 310.9524 291.1724 19.7800 166.8114 137.5701 29.2413 สานักงบประมาณของรฐั สภา 163.7941 163.7941 0.0000 110.1825 83.1325 27.0500 ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ เทา่ น้นั หน้า 14
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน หนว่ ยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ทั้งส้ิน งบเงนิ อดุ หนุน งบเงนิ อดุ หนนุ ทว่ั ไป เฉพาะกจิ 61.อบจ.สมุทรสาคร 170.5174 170.5174 0.0000 62.อบจ.สระแก้ว 430.6027 387.8311 42.7716 63.อบจ.สระบรุ ี 189.9033 189.9033 0.0000 64.อบจ.สิงห์บุรี 129.4914 113.3594 16.1320 65.อบจ.สโุ ขทยั 234.2249 224.2279 9.9970 66.อบจ.สพุ รรณบุรี 257.7550 237.7570 19.9980 67.อบจ.สรุ าษฎร์ธานี 449.8936 375.3736 74.5200 68.อบจ.สุรนิ ทร์ 452.4831 409.9559 42.5272 69.อบจ.หนองคาย 243.0729 196.2029 46.8700 70.อบจ.หนองบัวลาภู 228.0964 185.7879 42.3085 71.อบจ.อ่างทอง 146.8379 116.4986 30.3393 72.อบจ.อานาจเจรญิ 173.3098 145.1968 28.1130 73.อบจ.อดุ รธานี 641.3852 577.9941 63.3911 74.อบจ.อุตรดิตถ์ 232.6263 204.4473 28.1790 75.อบจ.อทุ ัยธานี 166.8413 134.5923 32.2490 76.อบจ.อบุ ลราชธานี 977.1929 977.1929 0.0000 ที่มาข้อมูล : สานักงบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 (ขาวคาดแดง) งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มท่ี 16 หมายเหตุ : *อบจ.มุกดาหาร ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจตามแผนงานยทุ ธศาสตร์ส่งเสริม การกระจายอานาจให้ อปท. จานวน 183.3045 ล้านบาท และตามแผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นท่ีระดับภาค จานวน 34.9176 ลา้ นบาท รวมจานวน 218.2221 ล้านบาท ** อบจ.เลย ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจตามแผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริม การกระจายอานาจให้ อปท. จานวน 350.3523 ล้านบาท และตามแผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาค จานวน 180.0000ลา้ นบาท รวมจานวน 530.3523 ล้านบาท 2.1 สรปุ ภาพรวมงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รายประเภทของ อปท. และ ประเภทงบเงนิ อดุ หนุน 2.1.1 กรุงเทพมหานคร ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีเป็นงบเงินอุดหนุนท้ังส้ิน จานวน 25,339.1741 ล้านบาท จาแนกเป็น (1) งบเงินอุดหนุนท่ัวไป จานวน 19,651.1719 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 77.55 ของงบประมาณท้ังส้ินท่ีได้รับจัดสรร สาหรับดาเนินการตามอานาจหน้าท่ีของ อปท. และตามภารกิจถ่ายโอน ให้แก่ อปท. และ (2) งบเงินอุดหนนุ เฉพาะกจิ จานวน 5,688.0022 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 22.45 ของงบประมาณ ทงั้ สิ้นทไี่ ดร้ ับจดั สรร 2.1.2 เมืองพัทยา ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีเป็นงบเงินอุดหนุนทั้งสิ้น จานวน 1,942.5357 ล้านบาท จาแนกเป็น (1) งบเงินอุดหนุนทั่วไป จานวน 619.8233 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.91 สานกั งบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ เท่านน้ั หน้า 15
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ของงบประมาณท้ังส้ินท่ีได้รับจัดสรร สาหรับดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของ อปท. และตามภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. และ (2) งบเงินอดุ หนุนเฉพาะกิจ จานวน 1,322.7124 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 68.09 ของงบประมาณทั้งส้ิน ทไ่ี ด้รบั จัดสรร 2.1.3 องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีเป็นงบเงนิ อุดหนุน ท้ังส้ิน จานวน 27,481.7098 ล้านบาท จาแนกเป็น (1) งบเงินอุดหนุนทั่วไป จานวน 25,536.1167 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 92.92 ของงบประมาณทั้งสิ้นที่ได้รับจัดสรร สาหรับดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของ อปท. และ ตามภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. และ (2) งบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จานวน 2,434.1504 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.86 ของงบประมาณทัง้ ส้นิ ทไ่ี ดร้ ับจัดสรร รายละเอยี ดตาม ตารางที่ 4 2.2 การวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ อปท. : สัดส่วนระหว่าง เงนิ อุดหนนุ ทว่ั ไป และ เงนิ อดุ หนนุ เฉพาะกจิ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ท่ีจัดสรรให้แก่ อปท. ทัง้ 3 ประเภทดังกล่าวข้างต้น ใน ลักษณะงบเงินอุดหนุน จานวน 55,251.9769 ล้านบาท มีสัดส่วนของงบประมาณในภาพรวม ระหว่าง งบรายจา่ ยประเภท เงินอุดหนุนท่ัวไป : เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เท่ากับ 45,807.1119 : 9,444.8650 ล้านบาท หรือ คิดเป็นสัดส่วน 4.85 : 1.00 ขณะท่ีเม่ือพิจารณาตามประเภทของ อปท. พบว่า สัดส่วนระหว่าง เงินอุดหนุนท่ัวไป : เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) เมืองพัทยา และ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) 76 จังหวัด เท่ากับ 3.45 : 1 , 0.47 : 1 และ 10.49 : 1 ตามลาดับ โดยพบว่าเมืองพัทยาได้รับการจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประเภทเงินอุดหนุนเฉพาะกิจในสัดส่วนสูงกว่าเงินอุดหนุนทั่วไป 2.13 เท่า ขณะท่ี อบจ. 76 จังหวัด ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประเภทเงินอุดหนุนทั่วไปในสัดส่วนท่ีสูงกว่าเงิน อดุ หนนุ เฉพาะกจิ 10.49 เท่า ตามแผนภูมทิ ี่ 5 แผนภูมิท่ี 5 จานวนเงินอุดหนนุ ทวั่ ไปและเฉพาะกิจของ กทม. เมอื งพทั ยา และ อบจ. 76 จังหวัด หน่วย: ลา้ นบาท 50,000.0000 45,807.1119 45,000.0000 งบประมาณ (ล้านบาท) 40,000.0000 19,651.1719 25,536.1167 35,000.0000 30,000.0000 9,444.8650 5,688.0022 619.8233 1,322.7124 2,434.1504 25,000.0000 20,000.0000 อบจ. 76 แห่ง 15,000.0000 10,000.0000 5,000.0000 0.0000 ภาพรวม กทม. เมอื งพทั ยา เงินอดุ หนนุ ท่ัวไป เงนิ อุดหนุนเฉพาะกจิ สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ เท่านั้น หน้า 16
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น จากผลการวิเคราะห์สัดส่วนระหว่างเงินอุดหนุนทั่วไป : เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ตามแผนภูมิท่ี 5 พบว่า การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้แก่ กทม. เมืองพัทยา ซึ่งเป็น อปท. รูปแบบพิเศษ และ อบจ. 76 จังหวดั ซึ่งเปน็ อปท. รปู แบบทว่ั ไป มคี วามแตกต่างกัน กลา่ วคือ กทม. และเมอื งพัทยา ไดร้ ับจดั สรร งบประมาณในลักษณะงบเงนิ อุดหนนุ เฉพาะกิจ (Specific Grant/ Specific Subsidies) ในสัดส่วนท่ีสูง คดิ เป็น ร้อยละ 22.45 และ 68.09 ของงบประมาณทั้งส้ินท่ีได้รับจัดสรรตามลาดับ โดยเฉพาะเมืองพัทยาซึ่งได้รับจัดสรรงบ เงินอุดหนุนเฉพาะกิจในสัดส่วนท่ีสูงสุดโดยเปรียบเทียบกัน ทั้งน้ี งบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจท่ีได้รับจัดสรรสาหรับการ ดาเนินการในเร่ืองใดเรื่องหน่ึงเป็นการเฉพาะ ซ่ึงทั้งหมดเป็นโครงการ/รายการลงทุนด้านส่ิงก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เช่น อาคาร ถนน สะพาน เป็นต้น ซ่ึงมีวงเงินสงู โดยรายการดงั กล่าวส่วนใหญ่ อปท. นาเงินนอกงบประมาณมาสมทบ ด้วย และมกี ารผกู พันงบประมาณขา้ มปีงบประมาณ ขณะที่ อบจ. 76 จังหวัด ได้รับจัดสรรงบประมาณในลักษณะงบเงินอุดหนุนท่ัวไป (General Grant/ General Subsidies) ในสัดส่วนที่สูง คิดเป็นร้อยละ 92.92 ของงบประมาณท้ังสิ้นท่ีได้รับจัดสรร สาหรับ การดาเนินการโดยทั่วไป และงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรรในลักษณะงบเงินอุดหนุนทั่วไปที่ อบจ. ได้รับจัดสรร ทั้งหมดเบิกจ่ายในลักษณะรายจ่ายประจา เช่น ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าใช้จ่ายดาเนินการ เป็นต้น และได้รับจัดสรร งบประมาณในลักษณะงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ในสัดส่วนท่ีต่า คิดเป็นร้อยละ 8.86 ของงบประมาณทั้งสิ้นที่ได้รับ จัดสรร และเงินอดุ หนนุ เฉพาะกจิ ดงั กลา่ วทง้ั หมดเปน็ รายการลงทุนปเี ดียว ท้ังน้ี มี อบจ. ที่ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ มีจานวน 13 แห่ง หรือคิดเป็น ร้อยละ 17.11 ของทั้งหมด โดย อบจ. ดังกล่าว ประกอบด้วย อบจ.จันทบุรี อบจ.ชัยนาท อบจ.นนทบุรี อบจ. ปทุมธานี อบจ.เพชรบุรี อบจ.เพชรบูรณ์ อบจ.ภูเก็ต อบจ.ระนอง อบจ.ราชบุรี อบจ.สมุทรปราการ อบจ. สมุทรสาคร อบจ.สระบรุ ี และ อบจ.อบุ ลราชธานี ข้อสงั เกตสานกั งบประมาณของรัฐสภา (PBO): (1) ปัจจัยท่ีกาหนดการจัดสรรงบประมาณดังกล่าวข้างต้นเป็นข้อมูลท่ีผ่านมาแล้ว (As it) ซึ่ง สะท้อนความจาเป็นของการใช้จ่ายงบประมาณ ณ เวลาทส่ี ารวจข้อมูลดังกล่าว (ในอดีต) แต่ไม่ได้บ่งชี้ ถึงปัญหา ความต้องการ และสิ่งท่ีพึงเกิดข้ึนในปัจจุบันและอนาคต (To be) ซ่ึงเป็นประเด็นท่ีสาคัญใน การบริหารจัดการในปัจจุบันที่มีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนตลอดเวลาและอย่างรวดเร็ว ดังนั้น ลักษณะของ การจัดทางบประมาณซ่ึงเป็นแผนการเงินของประเทศสาหรับปีงบประมาณที่จะมาถึงดังกล่าวจึงมีข้อจากัด เป็นพื้นฐาน รวมทั้งแนวทางการจัดสรรงบประมาณที่ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการซ่ึงกาหนดจากส่วนกลางและ ให้ท้องถิ่นต่าง ๆ ท่ัวประเทศถือปฏิบัติในลักษณะบนลงล่าง (Top-down) และมีเวลาจากัดให้ อปท. เปิด โอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นหรือสะท้อนถึงปัญหา ความต้องการ และ ผลประโยชน์ของท้องถิ่น อาจสร้างข้อจากัดและไม่สามารถตอบโจทย์ของการใช้งบประมาณเป็นกลไก สาหรับการพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างทั่วถึงและตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ในพ้ืนท่ีได้อย่างมี ประสิทธิผล โดยเฉพาะสาหรับการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้าง เช่น การลดความเหล่ือมล้าทางด้านต่าง ๆ การสรา้ งสมดุลระหวา่ งเมืองและชนบท และการพัฒนาท่ีท่วั ถงึ โดยไมท่ อดท้งิ ใครไว้ข้างหลงั เปน็ ตน้ ดงั น้ัน ข้อเสนอแนะประการหนึ่งสาหรับการแก้ไขข้อจากัดดังกล่าวข้างตน้ คือ การพัฒนารูปแบบและ วิธีการขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพ่ือสนับสนุน อปท.ให้มีรายละเอียดที่แตกต่างไปจากหน่วยรับ งบประมาณที่เป็นส่วนราชการในส่วนกลาง (เน่ืองจากส่วนราชการจัดระเบียบการบริหารราชการแบบรวม สานกั งบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ เทา่ นน้ั หนา้ 17
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น อานาจที่ส่วนกลาง แตกต่างจาก อปท. ท่ีจัดระเบียบการบริหารราชการแบบกระจายอานาจ) โดยจัดสรร งบประมาณตามเป้าหมายหรือขอ้ ตกลงระหว่างรัฐบาล และ อปท. หรือกลุม่ อปท.แบบวงเงินรวม (Block Grant) เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและยืดหยุ่นการบริหารงานของ อปท. ภายใต้ความรับผิดชอบต่อ เป้าหมายหรือข้อตกลงกับเงินอุดหนุนที่ได้รับ รวมท้ังสาหรับแผนงานหรือโครงการลงทุนท่ีมีระยะเวลา ดาเนินงานมากกว่า 1 ปี อาจจัดทาข้อตกลงหรือข้อผูกพันแบบต่อเน่ือง (Multi – year Budgeting) นอกจากนี้ การวางแผนและจดั ทางบประมาณในแต่ละพ้ืนที่/ภูมิภาคควรมีลกั ษณะท่ีเฉพาะเจาะจง (Tailor- made) และควรส่งเสริมให้เกิดการจัดทางบประมาณแบบมสี ่วนร่วม (participatory budgeting) ของ ประชาชนในท้องถ่ินซึ่งสอดคล้องกับหลักการกระจายอานาจและลักษณะของการดาเนินงานตามภารกิจ อปท. ท่ีแตกตา่ งกันตามภูมสิ ังคม (2) เงินอุดหนุนเป็นเงินท่ีรัฐบาลจัดสรรให้แก่ อปท. เพื่อสนับสนุนการจัดทาบริการสาธารณะท้องถ่ินให้แก่ ประชาชนในพ้นื ที่รับผดิ ชอบไดต้ ามเป้าหมายและมาตรฐานที่กาหนด และเงินอดุ หนุนยังถูกใช้เป็นเคร่อื งมือ เพ่ือลดความเหลื่อมล้าทางการคลังระหว่าง อปท. โดยทั่วไปการจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. มุ่งเสริม รายได้ของ อปท. ท่ีไม่เพียงพอต่อการจัดบริการสาธารณะท้องถิ่นให้แก่ประชาชน และการจัดสรรควรอยู่ บนหลกั การสร้างความเป็นธรรมทางการคลังระหวา่ งพื้นที่ เพ่ือเป็นหลักประกันว่าประชาชนในพ้ืนท่ีชนบท ห่างไกลจะได้รับบริการสาธารณะข้ันพื้นฐานอย่างเพียงพอและมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดและไม่ แตกต่างจากประชาชนในพื้นที่เมอื งจนเกินสมควร อยา่ งไรกด็ ี หากพิจารณาการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในลักษณะงบเงนิ อุดหนุนให้แก่ อปท. 3 ประเภท ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และ อบจ. 76 จังหวัด แล้ว ยังไม่มีข้อมูลเชิงประจักษ์ว่าได้มีการจัดสรรเงินอุดหนุนตาม หลักการดังกล่าวหรือไม่ อย่างไร และหลักเกณฑ์หรือสูตรของการจัดสรรเงินอุดหนุน อปท. ควรมีความ ชดั เจนและเปดิ เผยเป็นการทั่วไป 3. เงนิ นอกงบประมาณของ อปท. ท่ีนามาสมทบร่วมใช้จ่ายกบั งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 เงินนอกงบประมาณ7 หรอื เงินนอกฯ เป็นส่วนหน่ึงของเงินแผ่นดิน และหน่วยรับงบประมาณเจ้าของ เงินนอกฯ จะนาเงินดังกล่าวมาใช้จ่ายร่วมกับเงินงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับ การปฏิบัติหน้าท่ี หรือการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ของการมีเงินนอกงบประมาณและตามกฎหมายและ หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยที่ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานซึ่งใช้ในการจัดการงบประมาณของ ประเทศในปัจจุบันได้ให้ความสาคัญกับหลักการเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ (Expanding Budget Coverage) เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดความครอบคลุมครบถ้วนทุกแหล่งเงินงบประมาณของหน่วยรับ งบประมาณ โดยเฉพาะเงินนอกฯ จากความสาคัญของเงินนอกฯ ดังกล่าว ทาให้พระราชบัญญัติวธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 19 ให้ผอู้ านวยการสานักงบประมาณ มีอานาจและหน้าที่ (3) เรียกให้หน่วยรับงบประมาณเสนอประมาณการ รายรับและรายจ่ายและสถานะเงินนอกงบประมาณตามแบบและหลักเกณฑ์ พร้อมด้วยรายละเอียดที่ 7 เงินนอกงบประมาณ หมายถึง บรรดาเงินทั้งปวงที่หน่วยงานของรัฐจัดเก็บหรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือจากนิติกรรมหรือนิติเหตุ หรือกรณีอื่นใดที่ต้องนาส่งคลังแต่มีกฎหมายอนุญาตให้สามารถเก็บไว้ใช้จ่ายได้โดยไม่ต้อง นาส่งคลัง (นิยามตามมาตรา 4 ของ พรบ.วินยั การเงินการคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561) สาหรบั อปท.ให้รวมถงึ รายได้ท่ีรัฐบาลจัดเก็บและ แบ่งให้ (สานักงบประมาณ. คูม่ ือปฏบิ ตั ิการจดั ทางบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. หน้า 197) สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรับประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ เทา่ นั้น หนา้ 18
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้อานวยการกาหนด และมาตรา 25 วรรคสอง การขอต้ังงบประมาณรายจ่ายให้หน่วยรับงบประมาณจัดส่ง รายงานเก่ียวกบั เงนิ นอกงบประมาณตามหลกั เกณฑ์และวิธีการทีผ่ อู้ านวยการสานักงบประมาณกาหนด ดังนั้น ในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ปีแรกที่จัดทางบประมาณภายใต้ พระราชบัญญัติวธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. 2561) สานักงบประมาณจึงได้กาหนดให้หน่วยรับงบประมาณจัดทา รายงานสถานะและแผนการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ เพ่ือให้การใช้จ่ายเงินงบประมาณและเงินนอก งบประมาณในฐานะเงินแผน่ ดินเกดิ ผลสัมฤทธิ์ อย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และมธี รรมาภิบาล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อปท. ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และ อบจ. 76 จังหวัด ได้รับ จัดสรรงบประมาณรายจ่ายรวมทั้งสิ้น 55,251.9769 ล้านบาท และมีการนาเงินนอกงบประมาณของตนเอง มาสมทบกับงบประมาณรายจ่าย รวมทั้งสนิ้ 1,944.5813 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนรอ้ ยละ 3.52 เพ่ิมขนึ้ จาก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซึ่งมีการนาเงินนอกฯ มาสมทบกับงบประมาณรายจ่ายเพียงจานวน 22.6465 ล้าน บาท คดิ เป็นสัดส่วนร้อยละ 0.05 ของงบประมาณรายจ่าย (44,059.0610 ล้านบาท) ตามตารางที่ 5 ตารางที่ 5 เปรยี บเทยี บงบประมาณและเงนิ นอกงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 และ 2563 หน่วย: ล้านบาท หน่วยงาน ปี 2562 ปี 2563 งบประมาณ เงนิ นอกงบฯ สดั ส่วน งบประมาณ เงินนอกงบฯ สัดสว่ น รอ้ ยละ ร้อยละ รวมทง้ั ส้ิน 44,059.0610 22.6465 0.05 55,251.9769 1,944.5813 3.52 อปท.รปู แบบพิเศษ 23,232.5114 22.6465 0.10 27,281.7098 1,850.0309 6.78 1.กรงุ เทพมหานคร 2231,,243920.56191440 22.6465 0.11 25,339.1741 1,710.0940 6.75 231,,273421.581174 2.เมืองพทั ยา 232203,78.2661.154496 - - 1,942.5357 139.9369 7.20 อบจ.76 จังหวดั - - 27,970.2671 *94.5504 0.34 ท่มี าข้อมูล : สานกั งบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 (ขาวคาดแดง) งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เลม่ ท่ี 16 หมายเหตุ : *ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อบจ. ที่นาเงินนอกฯ มาสมทบ มีจานวน 17 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น ฉะเชิงเทรา เชยี งใหม่ ตาก นครปฐม บงึ กาฬ ประจวบคีรีขันธ์ ปตั ตานี พังงา แพร่ มกุ ดาหาร แม่ฮ่องสอน ระยอง ลพบุรี เลย สรุ าษฎรธ์ านี และสรุ นิ ทร์ 3.1 สถานะและแผนการใช้จา่ ยเงินนอกงบประมาณของ อปท. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อปท. ไดแ้ ก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และ อบจ. 76 จงั หวัด รวม 78 หน่วยงาน ส่งรายงานแจ้งสถานะว่า อปท. มีเงินนอกงบประมาณ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเงินนอกฯ ประเภทเงิน รายได้ เป็นเงินรวมท้ังสิ้น 206,092.8936 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17.23 ของเงินนอกงบประมาณ ของหน่วยรับงบประมาณทั้งหมด8 (จานวน 1,195,834.1834 ล้านบาท) โดย อปท. นามาสมทบกับ งบประมาณรายจ่าย จานวน 1,944.5813 ลา้ นบาท หรือคิดเป็นสดั สว่ นร้อยละ 0.94 ของจานวนเงินนอก งบประมาณของ อปท. ซ่ึงต่ากว่าสัดส่วนร้อยละของการนาเงินนอกฯ มาสมทบกับงบประมาณรายจ่ายใน 8 หน่วยรับงบประมาณท้ังหมดมีจานวน 525 หน่วยงาน และมีหน่วยรับงบประมาณที่จัดส่งรายงานสถานะและแผนการใช้ จ่ายเงินนอกฯ โดยแจ้งว่ามีเงินนอกฯ จานวน 325 หน่วยงาน (สานักงบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 7 (ขาวคาดชมพู) รายงานสถานะและแผนการใชจ้ ่ายเงนิ นอกงบประมาณของหน่วยรบั งบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. หนา้ 3) สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ เท่าน้นั หน้า 19
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ภาพรวมท้ังประเทศของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ท่ีอยู่ท่ีร้อยละ 12.01 ของเงินนอกฯ ทั้งสิ้น (1,195,834.1834 ลา้ นบาท) อนึ่ง สาหรับเงินนอกฯ ที่เหลือ จานวน 204,148.3122 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 99.06 ของเงินนอกฯ ท้ังสน้ิ อปท. มแี ผนการใชจ้ า่ ยอ่ืน จานวน 151,294.7707 ลา้ นบาท หรอื คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 74.11 ของเงินนอกฯ ท่ีเหลือ ซ่งึ ใกล้เคยี งกับอตั ราร้อยละของการนาเงินนอกฯ ไปใช้ภายใต้แผนการใช้จ่ายอื่น ของภาพรวมประเทศซึ่งอยู่ท่ีร้อยละ 74.14 และคงเหลือ 52,853.5415 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25.89 ของเงินนอกฯ ที่เหลือดังกล่าวซ่ึงใกล้เคียงกับอัตราร้อยละของเงินนอกฯ คงเหลือของภาพรวมประเทศ ซงึ่ อยทู่ ่ีรอ้ ยละ 25.86 รายละเอยี ดตามตารางท่ี 6 และ 7 ตารางที่ 6 รายงานสถานะและแผนการใช้จา่ ยเงนิ นอกงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ท่ีมาขอ้ มลู : สานักงบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 7 (ขาวคาดชมพ)ู รายงานสถานะและแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ นอกงบประมาณของหน่วยรบั งบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. หนา้ 263. สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ เท่านน้ั หน้า 20
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ตารางท่ี 7 สรุปสถานะและแผนการใช้จา่ ยเงินนอกงบประมาณของ อปท. นามาสมทบจ่ายร่วมกบั งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน่วย : ลา้ นบาท หนว่ ยงาน งบประมาณ สถานะและแผนการใช้จา่ ยเงนิ นอกงบประมาณ ปี 2563 รายจ่าย เงนิ นอกฯ เงินนอกฯ ท่ี % ต่อ % ตอ่ งบ ปงี บประมาณ ทั้งสนิ้ นามาร่วม เงินนอก ประมาณ พ.ศ. 2563 สมทบจา่ ย ทงั้ สนิ้ ท้ังส้นิ รวมทั้งสิ้น 55,251.9769 206,092.8935 1,944.5813 0.94 3.52 องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ รูปแบบพิเศษ 27,281.7098 117,049.6352 1,850.0309 1.58 6.78 1.กรงุ เทพมหานคร 25,339.1741 113,940.0246 1,710.0940 1.50 6.75 2.เมืองพัทยา 1,942.5357 3,109.6106 139.9369 4.50 7.20 องค์การบริหารส่วนจงั หวดั 76 จงั หวัด 27,970.2671 89,043.2583 94.5504 0.11 0.34 ท่ีมาของข้อมลู : สานักงบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 7 (ขาวคาดชมพู) รายงานสถานะและแผนการใช้จา่ ย เงินนอกงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. หนา้ 264-341. 3.2 การนาเงินนอกงบประมาณของ อปท. มาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 จาก ตารางท่ี 7 อปท. นาเงนิ นอกฯ มาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 1,944.5813 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.52 ของเงินงบประมาณรายจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ อปท. จานวน 55,251.9769 ล้านบาท โดยมีอัตราร้อยละของเงินนอกฯ ท่ีนามาสมทบ แตกต่างกัน กล่าวคือ กรุงเทพมหานคร ร้อยละ 6.75 เมืองพัทยา ร้อยละ 7.20 และ อบจ. 76 จังหวัด ร้อยละ 0.34 ของเงนิ งบประมาณรายจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ทห่ี นว่ ยงานแตล่ ะแหง่ ไดร้ บั จดั สรร นอกจากนี้ การนาเงินนอกฯ ของ อปท. แต่ละแห่งมาสมทบร่วมใช้จ่ายมีลักษณะที่เหมือนและ แตกต่างกัน กล่าวคือ ในภาพรวมของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พบว่ามีสัดส่วนร้อยละของเงินนอก งบประมาณของ อปท. ท้ังส้ิน : งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ อปท. : เงิน นอกฯ ที่ อปท. นามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายฯ เท่ากับ 206,092.8935 : 55,251.9769 : 1,944.5813 ลา้ นบาท หรือคดิ เป็นสัดส่วนร้อยละ 78.28 : 21.00 : 0.72 ตามลาดบั เม่อื วิเคราะห์สัดสว่ นดังกล่าวข้างต้น รายประเภทของ อปท. มีข้อค้นพบและขอ้ สังเกต ดงั น้ี (1) กรุงเทพมหานคร มีสัดสว่ นรอ้ ยละของเงนิ นอกงบประมาณทง้ั สิ้น : งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 : เงินนอกฯ ที่นามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายฯ เท่ากับ 113,940.0246 : 25,339.1741 : 1,710.0940 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 80.8 : 18.0 : 1.2 โดยมีข้อสังเกตว่า กรุงเทพมหานครเป็นท้องถิ่นที่มจี านวนและสัดส่วนของเงินนอกงบประมาณมากทสี่ ดุ (2) เมืองพัทยา มีสัดส่วนร้อยละของเงินนอกงบประมาณท้ังส้ิน : งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 : เงินนอกฯ ที่นามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายฯ เท่ากับ 3,109.6106 : 1,942.5357 : 139.9369 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 59.9 : 37.4 : 2.7 โดยมีข้อสังเกตว่า เมือง พัทยาเป็นท้องถ่ินท่ีมีสัดส่วนของการได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และเงินนอกฯ ที่นามาสมทบร่วมใชจ้ ่ายกับงบประมาณรายจ่ายฯ มากทส่ี ุด สานักงบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ เท่านัน้ หน้า 21
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น (3) อบจ. 76 จังหวดั มีสัดส่วนรอ้ ยละของเงินนอกงบประมาณท้งั ส้ิน : งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 : เงินนอกฯ ท่ีนามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายฯ เท่ากับ 89,043.2583 : 27,970.2671 : 94.5504 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 76.0 : 23.9 : 0.1 โดยมีข้อสังเกตว่า อบจ. 76 จังหวัด มีจานวนและสัดส่วนของเงินนอกฯ ที่นามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายฯ น้อยสุด ซ่ึง มีสาเหตุประการหน่ึงมาจากมี อบจ. ที่นาเงินนอกฯ ของตนเองมาสมทบร่วมใช้จ่ายกับเงินงบประมาณฯ เพียง 17 จังหวัด หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 22.37 ของ อบจ. ท้งั หมด (76 จงั หวดั ) ปรากฏดัง ตารางที่ 7 (ขา้ งต้น) และ แผนภมู ิที่ 6 แผนภูมิท่ี 6 เปรียบเทียบสัดส่วนร้อยละของเงินนอกงบประมาณ งบประมาณรายจ่าย และเงินนอกฯ ท่ีนามาสมทบ ร่วมใชจ้ ่ายกับเงนิ งบประมาณจา่ ย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ของ กทม. เมอื งพัทยา และ อบจ. 76 จงั หวัด โดยสรุป ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และ อบจ. 76 จังหวัด มีเงินนอก งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 206,092.8936 ล้านบาท และนาเงินนอกฯ ดังกล่าวมาสมทบร่วมใช้จ่ายกับ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รวม 1,944.5813 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 3.52 ของงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ อปท. ซึ่งมีจานวน รวมทั้งสิ้น 55,251.9769 ล้านบาท และเมอ่ื พิจารณาตามประเภทของ อปท. พบวา่ อปท. ที่นาเงินนอกงบประมาณมา สมทบร่วมใช้จ่ายกับเงินงบประมาณ ที่ มีสัดส่วนร้อยละจากสูงสุดไปต่าสุด ได้แก่ เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร และ อบจ. 76 จังหวัด โดยมีสัดส่วนร้อยละของเงินนอกงบประมาณที่นามาสมทบกับเงิน งบประมาณรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ 7.20 ของงบประมาณเมืองพัทยา (1,942.5357 ล้านบาท) ร้อยละ 6.75 ของงบประมาณกรุงเทพมหานคร (25,339.1741 ล้านบาท) และ ร้อยละ 0.34 ของงบประมาณ อบจ. 76 จังหวดั (27,970.2671 ลา้ นบาท) ตามลาดับ สานักงบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ เท่านนั้ หน้า 22
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.3 สรุปการนาเงินนอกงบประมาณมาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563: กรงุ เทพมหานคร และ เมอื งพัทยา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรุงเทพมหานคร และ เมืองพัทยา ซ่ึงเป็น อปท. รูปแบบพิเศษ ได้รับ จัดสรรงบประมาณรายจ่าย รวมทั้งส้ิน 27,281.7098 ล้านบาท และนาเงินนอกฯ มาสมทบร่วมใช้จ่ายกับ งบประมาณรายจ่าย รวม 1,850.0309 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6.78 ซึ่งต่ากว่าสัดส่วนร้อยละของ การนาเงินนอกฯ มาสมทบกับงบประมาณรายจา่ ยในภาพรวมทง้ั ประเทศของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งอยู่ท่ี รอ้ ยละ 12.01 ของเงินนอกฯ ท้งั สิน้ เงินนอกฯ ท้ังหมดของกรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา ถูกนามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณ รายจ่ายท่ี อปท. ได้รับจัดสรรในลักษณะงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ โดย กรุงเทพมหานคร ได้รับจัดสรร งบประมาณรายจ่าย รวมท้ังสิ้น 25,339.1741 ล้านบาท และนาเงินนอกฯ มาสมทบร่วมใช้จ่ายกับ งบประมาณรายจ่าย รวม 1,710.0940 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 6.75 ท้ังนี้ เงินนอกฯ ท้ังหมด นามา สมทบจ่ายงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรรในลักษณะของงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จานวน 12 รายการ (เป็นรายการผูกพันข้ามปีท้ังหมด) จากทั้งหมดจานวน 19 รายการ ขณะท่ี เมืองพัทยา ได้รับจัดสรร งบประมาณรายจ่าย รวมท้ังส้ิน 1,942.5357 ล้านบาท และนาเงินนอกฯ มาสมทบรว่ มใชจ้ ่ายกับงบประมาณ รายจ่าย รวม 139.9369 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 7.20 ทั้งน้ี เงินนอกฯ ท้ังหมด นามาสมทบจ่าย งบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรรในลักษณะของงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จานวน 31 รายการ (จาแนกเป็น รายการค่าครุภัณฑ์ 10 รายการ รายการค่าส่ิงก่อสร้าง 21 รายการซ่ึงในจานวนดังกล่าวเป็นรายการค่า สิ่งกอ่ สร้างผกู พันขา้ มปี 10 รายการ) จากท้ังหมดจานวน 36 รายการ ตามตารางที่ 8 ตารางท่ี 8 เงนิ นอกงบประมาณท่ีกรุงเทพมหานครและเมืองพทั ยานามาสมทบกับงบประมาณรายจ่าย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จาแนกตามกล่มุ รายการงบประมาณรายจา่ ย หน่วย: ลา้ นบาท หน่วยงาน งบประมาณ เงินนอกงบฯ สัดส่วน ร้อยละ รวมงบประมาณท้ังส้นิ (1.+2.) 27,281.7098 1,850.0309 6.78 1.กรุงเทพมหานคร 25,339.1741 1,710.0940 6.75 1.1 เงนิ อดุ หนุนเฉพาะกจิ จานวน 19 รายการ 5,688.0022 1,710.0940 30.06 1.1.1 เงินอดุ หนนุ ค่าที่ดนิ และส่งิ ก่อสรา้ ง จานวน 12 รายการ *2,211.3936 1,710.0940 77.33 2.เมืองพทั ยา 1,942.5357 139.9369 7.20 2.1 เงนิ อดุ หนนุ เฉพาะกจิ จานวน 36 รายการ 1,046.7124 139.9369 13.37 2.1.1 เงนิ อดุ หนนุ คา่ ครภุ ณั ฑ์ จานวน 10 รายการ 338.1170 37.0130 10.95 2.1.2 เงินอุดหนุนค่าทดี่ ินและสง่ิ กอ่ สรา้ ง จานวน 21 รายการ *708,5954 102.9239 14.53 ท่ีมาขอ้ มลู : สานักงบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3 (ขาวคาดแดง) งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มท่ี 16 หมายเหตุ : *กรณีเปน็ รายการผกู พันขา้ มปี จะเปน็ งบประมาณรายจา่ ยของปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เทา่ น้ัน สานักงบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ เทา่ น้นั หน้า 23
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 3.4 สรุปการนาเงินนอกงบประมาณมาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563: อบจ. 76 จังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นปีแรกท่ี อบจ. ขอต้ังและได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยตรง และในการขอตั้งงบประมาณดังกล่าว อบจ. ได้รายงานสถานะและแผนการใช้จ่ายเงินนอก งบประมาณของตนเอง ซึ่งทุกจังหวดั มีเงินนอกฯ แต่มีเพียง อบจ. 17 จังหวัด เท่าน้ัน ท่ีนาเงนิ นอกฯ ดังกล่าว มาสมทบร่วมใชจ้ ่ายกับงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นจานวน 94.5504 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.34 งบประมาณรายจ่ายของ อบจ. ในภาพรวม (27,970.2671 ล้านบาท) ซึ่งต่ากว่าสัดส่วน ร้อยละของการนาเงินนอกฯ มาสมทบกับงบประมาณรายจ่ายในภาพรวมทั้งประเทศของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งอยู่ท่ีร้อยละ 12.01 ของเงินนอกฯ ทั้งส้ิน และเมื่อเปรียบเทียบกับจานวนเงินนอกงบประมาณของ อบจ. ในภาพรวมทงั้ ส้นิ (89,043.2583 ลา้ นบาท) คิดเปน็ ร้อยละ 0.11 เท่าน้นั เม่ือพิจารณา อบจ. รายจังหวัด พบว่ามีการรายงานสถานะและแผนการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ ของตนเองว่ามีเงินนอกงบประมาณครบทุกจังหวัด โดย อบจ. 3 ลาดับแรกที่มีจานวนเงินนอกงบประมาณ มากที่สุด ได้แก่ อบจ.สมุทรปราการ อบจ.ชลบุรี และ อบจ.ระยอง ซึ่งมีจานวนเงินนอกงบประมาณท้ังส้ิน เท่ากับ 6,646.7007 4,819.5273 และ 4,615.8941 ล้านบาท ตามลาดับ ขณะที่ อบจ. 3 ลาดับแรกที่มี จานวนเงินนอกงบประมาณน้อยท่ีสุด ได้แก่ อบจ.ระนอง อบจ.หนองบัวลาภู และ อบจ.อานาจเจริญ ซึ่งมี จานวนเงินนอกงบประมาณทั้งสิ้นเท่ากับ 168.0507 237.4236 และ 248.5795 ล้านบาท ตามลาดับ รายละเอยี ดปรากฏตาม ตารางท่ี 9 ตารางที่ 9 สถานะและแผนการใชจ้ ่ายเงนิ นอกงบประมาณของ อบจ. 76 จงั หวดั นามาร่วมสมทบจ่ายรว่ มกบั งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน่วย : ล้านบาท หน่วยงาน งบประมาณรายจ่าย สถานะและแผนการใชจ้ า่ ยเงินนอกงบประมาณ ปี 2563 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เงินนอกฯ ท้งั สิน้ เงินนอกฯ ท่นี า % ต่อ % ตอ่ งบ มารว่ มสมทบจา่ ย เงินนอก ประมาณ ท้ังส้นิ ทงั้ สนิ้ อบจ. 76 จงั หวดั 27,970.2671 89,043.2583 94.5504 0.11 0.34 1.อบจ.กระบ่ี 196.4021 536.6988 0.000 0.00 0.00 2.อบจ.กาญจนบรุ ี 330.3018 749.0000 0.000 0.00 0.00 681.2706 461.1196 0.000 0.00 0.00 3.อบจ.กาฬสนิ ธุ์ 234.8097 0.000 0.00 0.00 4.อบจ.กาแพงเพชร 1,148.7562 3.0522 0.17 1.83 1,021.0803 1,831.7500 0.000 0.00 0.00 5.อบจ.ขอนแก่น 166.3582 1.0174 0.11 0.16 6.อบจ.จันทบรุ ี 245.2878 902.0106 0.000 0.00 0.00 7.อบจ.ฉะเชิงเทรา 644.7405 942.7079 0.000 0.00 0.00 192.4855 4,819.5273 0.000 0.00 0.00 8.อบจ.ชลบุรี 962.5889 491.8555 0.000 0.00 0.00 9.อบจ.ชัยนาท 259.6645 1,583.2480 0.000 0.00 0.00 453.3236 589.0000 10.อบจ.ชยั ภมู ิ 1,423.3265 11.อบจ.ชมุ พร 12.อบจ.เชียงราย สานกั งบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ เท่านั้น หน้า 24
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน หนว่ ยงาน งบประมาณรายจา่ ย สถานะและแผนการใช้จา่ ยเงนิ นอกงบประมาณ ปี 2563 ปีงบประมาณ พ.ศ. 13.อบจ.เชียงใหม่ เงนิ นอกฯ ทงั้ สิ้น เงนิ นอกฯ ที่นา % ตอ่ % ตอ่ งบ 14.อบจ.ตรัง 2563 15.อบจ.ตราด มารว่ มสมทบจา่ ย เงนิ นอก ประมาณ 16.อบจ.ตาก ทง้ั ส้ิน ทงั้ สิ้น 17.อบจ.นครนายก 18.อบจ.นครปฐม 632.6158 2,481.7659 1.0174 0.04 0.51 19.อบจ.นครพนม 198.1732 2,134.6164 0.000 0.00 0.00 20.อบจ.นครราชสมี า 122.8057 0.000 0.00 0.00 21.อบจ.นครศรธี รรมราช 249.2778 379.3885 0.3537 0.03 0.25 22.อบจ.นครสวรรค์ 142.7936 1,018.3460 0.000 0.00 0.00 23.อบจ.นนทบรุ ี 228.7343 3.6463 0.24 1.27 24.อบจ.นราธิวาส 286.5323 276.2330 0.000 0.00 0.00 25.อบจ.นา่ น 2,255.2753 1,499.9003 0.000 0.00 0.00 26.อบจ.บงึ กาฬ 519.8916 0.000 0.00 0.00 27.อบจ.บรุ รี มั ย์ 337.3464 390.0778 0.000 0.00 0.00 28.อบจ.ปทุมธานี 692.6495 2,937.2560 0.000 0.00 0.00 29.อบจ.ประจวบคีรขี ันธ์ 201.5797 2,287.7439 0.000 0.00 0.00 30.อบจ.ปราจนี บรุ ี 249.2141 1,364.1608 0.000 0.00 0.00 31.อบจ.ปัตตานี 213.7826 3,153.8974 3.3730 1.01 0.61 32.อบจ.พระนครศรอี ยธุ ยา 551.6884 0.000 0.00 0.00 33.อบจ.พะเยา 246.3929 404.9207 0.000 0.00 0.00 34.อบจ.พังงา 204.4506 638.3953 1.0000 0.12 0.37 35.อบจ.พทั ลุง 272.4268 334.0169 0.000 0.00 0.00 36.อบจ.พจิ ิตร 227.9262 541.0000 4.2430 0.80 1.60 37.อบจ.พษิ ณโุ ลก 264.3646 2,806.3083 0.000 0.00 0.00 38.อบจ.เพชรบุรี 232.1385 807.4460 0.000 0.00 0.00 39.อบจ.เพชรบรู ณ์ 205.2515 1,415.6772 8.6600 1.93 2.84 40.อบจ.แพร่ 305.4586 533.4025 0.000 0.00 0.00 41.อบจ.ภเู ก็ต 267.3232 2,036.2961 0.000 0.00 0.00 42.อบจ.มหาสารคาม 338.1890 740.1337 0.000 0.00 0.00 43.อบจ.มุกดาหาร 148.0003 448.1063 0.000 0.00 0.00 44.อบจ.แมฮ่ ่องสอน 301.6725 313.2307 0.000 0.00 0.00 45.อบจ.ยโสธร 300.8289 981.4654 1.0174 0.13 0.55 46.อบจ.ยะลา 183.8988 954.5029 0.000 0.00 0.00 775.0677 1,082.7894 0.000 0.00 0.00 218.2221 1,276.0598 5.7697 1.70 3.14 183.6352 770.9438 5.7000 1.43 2.10 271.1542 2,880.4481 0.000 0.00 0.00 169.0726 280.9943 0.000 0.00 0.00 338.8796 397.7678 446.2000 285.0327 สานกั งบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ เท่าน้นั หน้า 25
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน หนว่ ยงาน งบประมาณรายจา่ ย สถานะและแผนการใช้จา่ ยเงินนอกงบประมาณ ปี 2563 ปงี บประมาณ พ.ศ. เงนิ นอกฯ ท้ังส้นิ เงินนอกฯ ทีน่ า % ตอ่ % ต่องบ 2563 มาร่วมสมทบจา่ ย เงินนอก ประมาณ ท้งั สิ้น ทั้งส้ิน 47.อบจ.ร้อยเอ็ด 665.3084 621.3209 0.000 0.00 0.00 48.อบจ.ระนอง 90.6527 168.0507 0.000 0.00 0.00 545.5042 4,615.8941 25.1000 0.54 12.19 49.อบจ.ระยอง 205.8722 889.8000 0.000 0.00 0.00 50.อบจ.ราชบุรี 51.อบจ.ลพบุรี 225.0893 1,098.8326 1.3085 0.12 0.42 52.อบจ.ลาปาง 312.1756 1,395.6322 0.000 0.00 0.00 53.อบจ.ลาพูน 235.1156 956.1156 0.000 0.00 0.00 54.อบจ.เลย 530.3523 382.8730 20.0000 5.22 1.50 55.อบจ.ศรสี ะเกษ 1,336.3032 866.8203 0.000 0.00 0.00 56.อบจ.สกลนคร 561.7711 967.9882 0.000 0.00 0.00 57.อบจ.สงขลา 310.9524 1,533.4703 0.000 0.00 0.00 58.อบจ.สตลู 166.8114 314.1859 0.000 0.00 0.00 59.อบจ.สมุทรปราการ 163.7941 6,646.7007 0.000 0.00 0.00 60.อบจ.สมุทรสงคราม 110.1825 521.1422 0.000 0.00 0.00 170.5174 1,583.6047 0.000 0.00 0.00 61.อบจ.สมทุ รสาคร 62.อบจ.สระแก้ว 430.6027 981.0368 0.000 0.00 0.00 63.อบจ.สระบรุ ี 189.9033 2,074.3956 0.000 0.00 0.00 129.4914 545.7259 0.000 0.00 0.00 64.อบจ.สงิ ห์บุรี 65.อบจ.สุโขทัย 234.2249 1,041.3009 0.000 0.00 0.00 257.7550 949.5400 0.000 0.00 0.00 66.อบจ.สุพรรณบรุ ี 67.อบจ.สรุ าษฎร์ธานี 449.8936 1,275.9111 5.3310 0.42 1.18 68.อบจ.สรุ ินทร์ 452.4831 556.3485 3.9608 0.71 1.63 69.อบจ.หนองคาย 243.0729 338.1400 0.000 0.00 0.00 228.0964 237.4236 0.000 0.00 0.00 70.อบจ.หนองบัวลาภู 71.อบจ.อา่ งทอง 146.8379 274.6943 0.000 0.00 0.00 72.อบจ.อานาจเจรญิ 173.3098 248.5795 0.000 0.00 0.00 641.3852 844.2772 0.000 0.00 0.00 73.อบจ.อดุ รธานี 232.6263 688.9439 0.000 0.00 0.00 74.อบจ.อตุ รดิตถ์ 75.อบจ.อทุ ยั ธานี 166.8413 495.7554 0.000 0.00 0.00 977.1929 1,812.3503 0.000 0.00 0.00 76.อบจ.อบุ ลราชธานี ที่มาของขอ้ มูล : สานักงบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 7 (ขาวคาดชมพู) รายงานสถานะและแผนการใช้จ่าย เงนิ นอกงบประมาณของหน่วยรบั งบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. หน้า 264-341. สานกั งบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ เทา่ นนั้ หน้า 26
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบการนาเงินนอกงบประมาณของ อบจ. มาสมทบร่วมใช้จ่ายกับ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พบว่า อบจ. 76 จังหวัด มีจานวนและสัดส่วนของเงิน นอกฯ ที่นามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายฯ น้อยสุด เมื่อเปรียบเทียบกับกรุงเทพมหานคร และ เมืองพัทยา ซ่ึงมีสาเหตุประการหน่ึงมาจากมี อบจ. ที่นาเงินนอกฯ ของตนเองมาสมทบร่วมใช้จ่ายกับเงิน งบประมาณฯ เพียง 17 จังหวัด หรือคิดเป็นร้อยละ 22.37 ของ อบจ. ทั้งหมด (76 จังหวัด) และการนาเงิน นอกฯ ของตนเองมาสมทบมีสัดส่วนร้อยละที่แตกตา่ งกนั ตั้งแต่รอ้ ยละ 0.16 (อบจ.ฉะเชงิ เทรา) ถึงร้อยละ 12.19 (อบจ.ระยอง) ขณะที่ อบจ. ส่วนใหญ่ (59 จังหวัด) หรือคิดเป็นร้อยละ 77.6 ของ อบจ.ทั้งหมด ขอรับ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายโดยไม่ได้นาเงินนอกฯ ของตนเองมาสมทบ เช่น อบจ.สมุทรปราการ (มีเงิน นอกฯ มากท่ีสุด จานวน 6,646.7007 ล้านบาท) อบจ.ชลบุรี (มีเงินนอกฯ มากเป็นลาดับสอง จานวน 4,819.5276 ล้านบาท) เป็นตน้ เงินนอกฯ ของ อบจ. ท่ีนามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (เป็นปีแรกที่ อบจ. ขอตั้งและไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายโดยตรง) จานวนรวมทั้งสิ้น 94.5504 ลา้ น บาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 0.34 ของงบประมาณรายจ่ายท่ี อบจ. 76 จังหวัดได้รับจัดสรร จานวนรวม ทั้งส้ิน 27,970.2671 ล้านบาท และมี อบจ. ส่วนหนึ่ง นาเงินนอกฯ มาใช้จ่ายร่วมสมทบจ่าย โดยเงินนอกฯ ดังกล่าวมาจาก อบจ. จานวน 17 จังหวัด หรือคิดเป็นร้อยละ 22.37 ของท้ังหมด (76 จังหวัด) หากวิเคราะห์ สัดส่วนร้อยละของเงินนอกฯ ที่นามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับเงินงบประมาณของ อบจ. 17 จังหวัด เทา่ กบั ร้อยละ 1.54 ของงบประมาณ (6,134.4156 ล้านบาท) ท้ังน้ี เงนิ นอกงบประมาณทั้งหมดถูกนามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับ เงินงบประมาณท่ีเป็นงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จานวน 20 รายการ โดยท้ังหมดเป็นรายการเงินอุดหนุนค่า สิ่งก่อสร้าง เช่น การก่อสร้างอาคารเรียน การก่อสร้างถนน การปรับปรุงรักษาถนน เป็นต้น และมีสัดส่วนร้อยละ ของการนาเงินนอกฯ มาสมทบร่วมใช้จ่ายกับเงินงบประมาณรายจ่ายท่ีแตกต่างกัน โดยมีร้อยละของเงิน นอกฯ สมทบในระหว่างร้อยละ 1.01 – 11.11 เช่น อบจ.ตาก ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนการ ปรับปรุงรักษาถนน 35.0313 ล้านบาท และมีเงินนอกฯ สมทบ 0.3237 ล้านบาท หรือเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.01 , อบจ.ขอนแก่น ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนการปรับปรุงรักษาถนน 27.4701 ล้านบาท และมเี งินนอกฯ สมทบ 3.0522 ล้านบาท หรือเป็นสัดส่วนรอ้ ยละ 11.11 เปน็ ตน้ ตามตารางที่ 10 ตารางท่ี 10 เงินนอกงบประมาณของ อบจ. ที่นามาสมทบกบั งบประมาณรายจ่าย หน่วย: ลา้ นบาท ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จาแนกตามกลมุ่ รายการงบประมาณรายจา่ ย หนว่ ยงาน งบประมาณ เงินนอกงบฯ สดั สว่ น รอ้ ยละ รวมงบประมาณทัง้ สน้ิ (17 อบจ.ทม่ี ีการนาเงนิ นอกงบประมาณมา 6,134.4156 94.5504 1.54 สมทบกับงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563) รวมงบประมาณของรายการงบประมาณรายจ่าย (20 รายการ) 882.8026 94.5504 10.71 1.อบจ.ขอนแกน่ 1,021.0803 3.0522 0.30 1.1 เงินอดุ หนุนสาหรบั สนับสนนุ การก่อสรา้ งอาคารเรียนและอาคารประกอบ 27.4701 3.0522 11.11 สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ เท่านั้น หนา้ 27
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน หนว่ ยงาน งบประมาณ เงนิ นอกงบฯ สดั ส่วน รอ้ ยละ 2.อบจ.ฉะเชงิ เทรา 2.1 เงนิ อดุ หนุนสาหรบั สนบั สนนุ การกอ่ สรา้ งอาคารเรยี นและอาคารประกอบ 245.2878 1.0174 0.41 ป3.รอะบกจอ.เบชยี งใหม่ 9.1567 1.0174 11.11 3.1 เงินอุดหนนุ สาหรับสนบั สนุนการกอ่ สรา้ งอาคารเรยี นและอาคารประกอบ 4.อบจ.ตาก 632.6158 1.0174 0.16 4.1 เงนิ อดุ หนนุ การปรบั ปรงุ รักษาถนน 9.1567 1.0174 11.11 5.อบจ.นครปฐม 5.1 เงนิ อดุ หนุนการปรบั ปรงุ รักษาถนน 249.2778 0.3537 0.14 6.อบจ.บึงกาฬ 35.0313 0.3537 1.01 6.1 เงนิ อุดหนนุ การก่อสร้างถนน 7.อบจ.ประจวบครี ีขันธ์ 228.7343 3.6463 1.59 7.1 เงินอดุ หนนุ การก่อสรา้ งถนน 32.8167 3.6463 11.11 8.อบจ.ปตั ตานี 8.1 เงนิ อดุ หนนุ การปรบั ปรุงรักษาถนน 213.7826 3.3730 1.58 9.อบจ.พังงา 30.3570 3.3730 11.11 9.1 เงนิ อดุ หนนุ การปรบั ปรุงรักษาถนน 204.4506 1.0000 0.49 10.อบจ.แพร่ 9.0000 1.0000 11.11 10.1 เงินอุดหนนุ สาหรบั สนับสนุนการก่อสร้างอาคารเรยี นฯ 11.อบจ.มกุ ดาหาร 227.9262 4.2430 1.86 11.1 เงินอุดหนนุ การปรับปรงุ รักษาถนน 38.1870 4.2430 11.11 11.2 เงนิ อุดหนุนคา่ ก่อสร้างสาหรบั พฒั นาพน้ื ทีร่ ะดบั ภาค (แผนบรู ณาการฯ) 12.อบจ.แม่ฮ่องสอน 205.2515 8.6600 4.22 12.1 เงินอดุ หนุนการปรับปรงุ รกั ษาถนน 77.9400 8.6600 11.11 13.อบจ.ระยอง 300.8289 1.0174 0.34 13.1 เงินอดุ หนุนการก่อสร้างถนน 9.1567 1.0174 11.11 13.2 เงินอดุ หนุนค่าก่อสร้างระบบจัดการสงิ่ ปฏิกลู และขยะมูลฝอยฯ 218.2221 5.7697 2.64 13.3 เงนิ อดุ หนนุ ค่าส่งิ ก่อสรา้ งการจัดการบริการสาธารณะดา้ นอ่นื ๆ 24.1650 2.6850 11.11 14.อบจ.ลพบุรี 27.7627 3.0847 11.11 14.1 เงนิ อุดหนุนการปรบั ปรงุ บารงุ รักษาถนน 15.อบจ.เลย 183.6352 5.7000 3.10 15.1 เงินอุดหนนุ ค่ากอ่ สร้างสาหรบั พัฒนาพื้นท่รี ะดับภาค (แผนบรู ณาการฯ) 51.3000 1.0174 11.11 16.อบจ.สุราษฎร์ธานี 545.5042 25.1000 4.60 16.1 เงนิ อดุ หนนุ การปรับปรุงรักษาถนน 40.5000 4.5000 11.11 72.0000 8.0000 11.11 113.4000 12.6000 11.11 225.0893 1.3085 0.58 11.7765 1.3085 11.11 530.3523 20.0000 3.77 180.0000 20.0000 11.11 449.8936 5.3310 1.18 47.9790 5.3310 11.11 สานกั งบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ เทา่ นั้น หนา้ 28
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน หน่วยงาน งบประมาณ เงินนอกงบฯ สัดส่วน 17.อบจ.สุรินทร์ ร้อยละ 17.1 เงนิ อดุ หนุนการปรับปรุงรกั ษาถนน 452.4831 3.9608 0.88 35.6472 3.9608 11.11 จากสถานะและแผนการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณของ อบจ. ซ่ึงนามาร่วมสมทบจ่ายร่วมกับ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังกล่าวข้างต้น ทาให้มีช่องว่าง (GAP) ระหว่างจานวน ของเงินนอกงบประมาณทั้งสิ้นของ อบจ. และจานวนเงินนอกฯ ท่ี อบจ. นามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยในภาพรวมของ อบจ.76 จังหวัด มีเงินนอกฯ คงเหลือหลังหักเงินนาไปสมทบกับงบประมาณรายจ่าย 88,948.7079 ล้านบาท โดยในจานวนดังกล่าว อบจ. 76 จังหวัด มีแผนการใช้จ่ายอ่ืน 51,072.4655 ล้านบาท และมีเงินนอกฯ คงเหลือ 37,876.2424 ล้านบาท ตาม แผนภูมิท่ี 7 และ ตารางที่ 11 ทั้งน้ี ลักษณะที่เกิดข้ึนดังกล่าวข้างต้นสอดคล้องกับ กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา ที่มีช่องว่าง (GAP) เช่นเดียวกัน กล่าวคือ กรุงเทพมหานคร มีจานวนเงินนอกฯ คงเหลือหลังหักเงินนาไปสมทบกับ งบประมาณรายจ่าย 112,229.9306 ล้านบาท ซ่ึงในจานวนดังกล่าว มีแผนการใช้จ่ายอ่ืน จานวน 97,722.3052 ล้านบาท และมีเงินนอกฯ คงเหลือ 14,507.6254 ล้านบาท เมืองพัทยา มีจานวนเงินนอกฯ คงเหลือหลังหักเงิน นาไปสมทบกับงบประมาณรายจ่าย จานวน 2,969.6737 ล้านบาท ซึ่งในจานวนดังกล่าว เมืองพัทยามีแผนการใช้ จ่ายอื่น 2,500 ลา้ นบาท และมเี งนิ นอกฯ คงเหลือ 469.6737 ล้านบาท ตาม ตารางที่ 11 ตารางท่ี 11 สถานะและแผนการใช้จ่ายเงนิ นอกงบประมาณของ อปท. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หนว่ ยงาน หน่วย : ลา้ นบาท สถานะและแผนการใชจ้ า่ ยเงินนอกงบประมาณ ปี 2563 รวมทัง้ สนิ้ 1.เงนิ นอกฯ 2.เงนิ นอกฯ ท่ี 3.คงเหลือหลงั 4.แผนการใช้ 5.คงเหลอื ทั้งสิน้ นามาร่วม หกั เงนิ นอกฯ ที่ จ่ายอน่ื (3.-4.) สมทบจา่ ย นาไปสมทบจา่ ย 52,853.5415 206,092.8935 1,944.5813 151,294.7707 (1.-2.) 204,148.3122 1.องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ รูปแบบ 117,049.6352 1,850.0309 115,199.6043 100,222.3052 14,977.2991 พ1เิ .ศ1ษกรุงเทพมหานคร 113,940.0246 1,710.0940 112,229.9306 97,722.3052 14,507.6254 1.2 เมอื งพัทยา 3,109.6106 139.9369 2,969.6737 2,500.0000 469.6737 2.อบจ. 76 จงั หวัด 89,043.2583 94.5504 88,948.7079 51,072.4655 37,876.2424 ทม่ี าของขอ้ มูล : สานักงบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 7 (ขาวคาดชมพ)ู รายงานสถานะและแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ นอกงบประมาณของหนว่ ยรับงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563. หนา้ 263-265. สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ เท่าน้ัน หน้า 29
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น แผนภูมทิ ี่ 7 เปรยี บเทยี บจานวนเงนิ นอกงบประมาณและจานวนเงินนอกฯ ที่นามาสมทบร่วมใชจ้ า่ ยกับเงิน งบประมาณของ อบจ. 76 จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ เทา่ นัน้ หนา้ 30
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน อนึ่ง แม้คงเหลือหลังหักเงินนาไปสมทบกับงบประมาณรายจ่ายส่วนหน่ึง อปท. มีแผนการใช้จ่ายอื่น รองรบั ไว้แล้ว แต่ก็ไม่ปรากฏการใหร้ ายละเอยี ดของแผนดังกล่าวทช่ี ัดแจ้ง และยงั มีเงินนอกฯ คงเหลือ ซ่ึงยังไม่ มีแผนการใช้จ่ายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รวมท้ังสิ้น 52,853.5415 ล้านบาท ดังนั้น ปรากฏการณ์ที่ เกิดข้ึนดังกล่าวอาจเป็นข้อจากัดของการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณในฐานะเงินแผ่นดินเกดิ ผลสมั ฤทธ์ิ อยา่ งมี ประสิทธิภาพ คุ้มคา่ และมีธรรมาภบิ าลได้ ขอ้ สังเกตสานกั งบประมาณของรฐั สภา (PBO): (1) การนาเงินนอกงบประมาณของ อปท. ในฐานะหน่วยรบั งบประมาณ มาสมทบร่วมใช้จา่ ยกับงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีการกาหนดหลักเกณฑ์และสัดส่วนร้อยละของการสมทบอย่างไร เนื่องจาก กทม. เมอื งพทั ยา และ อบจ. มสี ดั สว่ นรอ้ ยละของการนาเงินนอกฯ มาสมทบแตกต่างกัน (2) จากรายงานสถานะและแผนการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณของ อปท. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามเอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 7 (ขาวคาดชมพู) พบวา่ อปท. ทกุ หนว่ ยงานแจ้งว่ามีเงินนอกฯ เช่น อบจ.ทุก จังหวัดมีเงินนอกฯ (อบจ.สมุทรปราการ มีมากที่สุด จานวน 6,646.7007 ล้านบาท และ อบจ.ระนอง มีน้อย ท่ีสดุ จานวน 168.0507 ลา้ นบาท หรือแตกต่างกนั 39.6 เทา่ ) แต่มี อบจ. จานวน 17 จังหวดั หรอื คิดเปน็ ร้อย ละ 22.37 ของทั้งหมด (76 จังหวัด) ท่ีนาเงินนอกฯ สมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณ ขณะท่ี อบจ. ที่เหลือ จานวน 59 จังหวัด หรือคิดเป็นร้อยละ 77.6 ของท้ังหมด (รวม อบจ.สมุทรปราการ ซึ่งมีเงนิ นอกฯ มากที่สุด) จึงไม่สมทบ ทาไม เพราะเหตใุ ด? (3) เงินนอกฯ ของ อปท. ส่วนใหญ่มาจากรายได้ของ อปท. โดย อปท. ที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล ซึ่งเป็นฐานเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศ โดยเฉพาะมีโรงงานอุตสาหกรรมและศูนย์การพาณิชย์ ตง้ั อยู่ ทาให้ อปท. ในพ้ืนท่ีดงั กลา่ วสามารถเก็บรายได้จากภาษีและคา่ ธรรมเนยี มได้เป็นจานวนมาก สง่ ผลให้มี เงินนอกฯ เพ่ิมมากข้ึน ขณะท่ี อปท. ที่ต้ังอยู่ในภูมิภาคที่ห่างไกลหรือชนบท ซึ่งพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ทาเกษตรกรรม หรือทุรกันดาร จัดเก็บรายได้น้อย ส่งผลให้มีเงนิ นอกฯ น้อยตามไปด้วย ดังน้ัน จะมีมาตรการเกี่ยวกับเงินนอก งบประมาณท่ีนามาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณอย่างไร เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการลดความแตกต่างด้าน รายไดแ้ ละความเหล่ือมล้าทางการคลงั และงบประมาณระหวา่ ง อปท. ที่มฐี านะเศรษฐกิจต่างกันดงั กล่าวได้ 4. การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้แก่ อปท. โดยตรง จาแนกตามแผนงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อปท. ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณโดยตรง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เมอื งพัทยา และ อบจ. 76 จงั หวัด ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี รวมทงั้ ส้ิน 55,251.9769 ลา้ น บาท โดยอยู่ภายใต้ 2 แผนงาน ได้แก่ แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมการกระจายอานาจให้แก่ อปท. จานวนท้ังสิ้น 55,037.0593 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 99.61 ของงบประมาณรวมทั้งสิ้น และ แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนที่ระดับภาค (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จานวนท้ังสิ้น 214.9176 ลา้ นบาท หรอื คิดเป็นร้อยละ 0.39 ของงบประมาณรวมทงั้ ส้นิ ทั้งน้ี แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซ่ึงอยู่ภายใต้ ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณด้านการเสริมสร้างโอกาสและความเสมอภาค ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการใน ภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับท่ี 12 สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ เท่าน้นั หนา้ 31
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านพลังทางสังคม และยุทธศาสตร์ชาติด้านการเสริมสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม ขณะท่ี แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นท่ีภาคอยู่ ซ่ึงภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนที่เศรษฐกิจ ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับท่ี 12 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการท่องเท่ียว และยุทธศาสตร์ ชาติด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ตาม ตารางที่ 12 ตารางที่ 12 งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ท่ีจดั สรรใหแ้ ก่ อปท. โดยตรง จาแนกตามแผนงาน หนว่ ย: ล้านบาท หนว่ ยงาน แผนงาน แผนงาน แผนงาน แผนงาน รวม บคุ ลากร พืน้ ฐาน ยทุ ธศาสตร์ บรู ณาการ ภาครัฐ รวมทง้ั ส้นิ - - 55,037.0593 214.9176 55,251.9769 องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ รปู แบบพิเศษ - - 27,281.7098 - 27,281.7098 1.กรุงเทพมหานคร - - 25,339.1741 - 25,339.1741 2.เมอื งพัทยา - - 1,942.5357 - 1,942.5357 อบจ. - - 27,970.2671 - 27,970.2671 1.อบจ.กระบ่ี - - 196.4021 - 196.4021 2.อบจ.กาญจนบุรี - - 330.3018 - 330.3018 3.อบจ.กาฬสนิ ธ์ุ - - 681.2706 - 681.2706 4.อบจ.กาแพงเพชร - - 234.8097 - 234.8097 5.อบจ.ขอนแก่น - - 1,021.0803 - 1,021.0803 6.อบจ.จนั ทบรุ ี - - 166.3582 - 166.3582 7.อบจ.ฉะเชงิ เทรา - - 245.2878 - 245.2878 8.อบจ.ชลบรุ ี - - 644.7405 - 644.7405 9.อบจ.ชัยนาท - - 192.4855 - 192.4855 10.อบจ.ชยั ภูมิ - - 962.5889 - 962.5889 11.อบจ.ชุมพร - - 259.6645 - 259.6645 12.อบจ.เชียงราย - - 453.3236 - 453.3236 13.อบจ.เชยี งใหม่ - - 632.6158 - 632.6158 14.อบจ.ตรงั - - 198.1732 - 198.1732 15.อบจ.ตราด - - 122.8057 - 122.8057 16.อบจ.ตาก - - 249.2778 - 249.2778 17.อบจ.นครนายก - - 142.7936 - 142.7936 14.อบจ.ตรงั - - 228.7343 - 228.7343 15.อบจ.ตราด - - 286.5323 - 286.5323 16.อบจ.ตาก - - 2,255.2753 - 2,255.2753 17.อบจ.นครนายก - - 519.8916 - 519.8916 18.อบจ.นครปฐม - - 337.3464 - 337.3464 19.อบจ.นครพนม - - 692.6495 - 692.6495 20.อบจ.นครราชสมี า - - 27,970.2671 - 27,970.2671 21.อบจ.นครศรีธรรมราช - - 196.4021 - 196.4021 22.อบจ.นครสวรรค์ - - 330.3018 - 330.3018 23.อบจ.นนทบุรี - - 681.2706 - 681.2706 สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ เท่านน้ั หน้า 32
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น หน่วยงาน แผนงาน แผนงาน แผนงาน แผนงาน รวม บุคลากร พ้นื ฐาน ยทุ ธศาสตร์ บรู ณาการ 24.อบจ.นราธิวาส ภาครฐั 201.5797 25.อบจ.นา่ น - 201.5797 - 249.2141 26.อบจ.บึงกาฬ - - 249.2141 - 213.7826 27.อบจ.บุรีรมั ย์ - - 213.7826 - 551.6884 28.อบจ.ปทมุ ธานี - - 551.6884 - 246.3929 29.อบจ.ประจวบคีรขี นั ธ์ - - 246.3929 - 204.4506 30.อบจ.ปราจนี บุรี - - 204.4506 - 272.4268 31.อบจ.ปตั ตานี - - 272.4268 - 227.9262 32.อบจ.พระนครศรีอยุธยา - - 227.9262 - 264.3646 33.อบจ.พะเยา - - 264.3646 - 232.1385 34.อบจ.พังงา - - 232.1385 - 205.2515 35.อบจ.พัทลุง - - 205.2515 - 305.4586 36.อบจ.พจิ ิตร - - 305.4586 - 267.3232 37.อบจ.พิษณุโลก - - 267.3232 - 338.1890 38.อบจ.เพชรบุรี - - 338.1890 - 148.0003 39.อบจ.เพชรบรู ณ์ - - 148.0003 - 301.6725 40.อบจ.แพร่ - - 301.6725 - 300.8289 41.อบจ.ภูเกต็ - - 300.8289 - 183.8988 42.อบจ.มหาสารคาม - - 183.8988 - 775.0677 43.อบจ.มุกดาหาร - - 775.0677 - 218.2221 44.อบจ.แมฮ่ อ่ งสอน - - 183.3045 *34.9176 183.6352 45.อบจ.ยโสธร - - 183.6352 - 271.1542 46.อบจ.ยะลา - - 271.1542 - 169.0726 47.อบจ.ร้อยเอ็ด - - 169.0726 - 665.3084 48.อบจ.ระนอง - - 665.3084 - 90.6527 49.อบจ.ระยอง - - 90.6527 - 545.5042 50.อบจ.ราชบุรี - - 545.5042 - 205.8722 51.อบจ.ลพบรุ ี - - 205.8722 - 225.0893 52.อบจ.ลาปาง - - 225.0893 - 312.1756 53.อบจ.ลาพูน - - 312.1756 - 235.1156 54.อบจ.เลย - - 235.1156 - 530.3523 55.อบจ.ศรีสะเกษ - - 350.3523 *180.0000 1,336.3032 56.อบจ.สกลนคร - - 1,336.3032 - 561.7711 57.อบจ.สงขลา - - 561.7711 - 310.9524 58.อบจ.สตลู - - 310.9524 - 166.8114 59.อบจ.สมทุ รปราการ - - 166.8114 - 163.7941 60.อบจ.สมทุ รสงคราม - - 163.7941 - 110.1825 61.อบจ.สมุทรสาคร - - 170.5174 62.อบจ.สระแก้ว - - 110.1825 - 430.6027 63.อบจ.สระบรุ ี - - 170.5174 - 189.9033 64.อบจ.สงิ ห์บุรี - - 430.6027 - 129.4914 65.อบจ.สุโขทัย - - 189.9033 - 234.2249 - - 129.4914 - - 234.2249 - หนา้ 33 สานักงบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ เท่าน้ัน
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน หนว่ ยงาน แผนงาน แผนงาน แผนงาน แผนงาน รวม บุคลากร พ้ืนฐาน ยทุ ธศาสตร์ บูรณาการ ภาครฐั 66.อบจ.สุพรรณบุรี - - 257.7550 - 257.7550 67.อบจ.สุราษฎร์ธานี - - 449.8936 - 449.8936 68.อบจ.สรุ นิ ทร์ - - 452.4831 - 452.4831 69.อบจ.หนองคาย - - 243.0729 - 243.0729 70.อบจ.หนองบวั ลาภู - - 146.8379 - 146.8379 71.อบจ.อ่างทอง - - 173.3098 - 173.3098 72.อบจ.อานาจเจริญ - - 641.3852 - 641.3852 73.อบจ.อดุ รธานี - - 232.6263 - 232.6263 74.อบจ.อุตรดิตถ์ - - 166.8413 - 166.8413 75.อบจ.อทุ ัยธานี - - 977.1929 - 977.1929 76.อบจ.อุบลราชธานี - - 146.8379 - 146.8379 ท่ีมาของขอ้ มูล : สานักงบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3 (ขาวคาดแดง) งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มท่ี 16 หมายเหตุ : *จดั สรรงบประมาณรายจ่ายให้แก่ อปท. โดยตรง ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาพน้ื ที่ภาค 5. การจัดสรรงบประมาณตามแผนงานบรู ณาการ ใหแ้ ก่ อปท. โดยตรง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อปท. จานวน 2 หน่วยงาน ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายโดยตรง ภายใต้แผนงานบรู ณาการ จานวน 1 แผนงาน จากแผนงานบรู ณาการทั้งหมด 15 แผนงาน กล่าวคือ แผนงาน บูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีภาค ซึ่งอยู่ภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณด้านการสร้างความสามารถในการ แข่งขัน >>ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 12 >> แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการท่องเที่ยว >> ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการ แข่งขัน ตามลาดับ โดยมีจานวนรวมท้ังส้ิน 214.9176 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.03 ของงบประมาณ แผนงานบูรณาการดังกล่าว (20,811.2027 ล้านบาท) และหรือคิดเป็นร้อยละ 0.39 ของงบประมาณรวม ท้ังสิ้นที่ อปท. ได้รับจัดสรรโดยตรง (55,251.9769 ล้านบาท) จาแนกตามหน่วยรับงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร 2 หน่วยงาน ได้แก่ อบจ.มุกดาหาร จานวน 34.9176 ล้านบาท และ อบจ.เลย จานวน 180.0000 ล้านบาท โดยได้รับ จัดสรรสาหรบั ดาเนินโครงการส่งเสริมและพฒั นาการทอ่ งเที่ยวธรรมชาตใิ นพื้นท่ที ่รี ับผิดชอบ ตามตารางท่ี 13 สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรับประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ เทา่ น้ัน หน้า 34
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ตารางที่ 13 การจดั สรรงบประมาณตามแผนงานบูรณาการใหแ้ ก่ อปท. โดยตรง ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปีงบประมาณ (ลบ) หน่วย: ลา้ นบาท 2562* 2563 เพิ่ม/(ลด) แผนงานบรู ณาการ จานวน รอ้ ยละ รวมทั้งสน้ิ - 214.9176 - 100.0000 แผนงานบรู ณาการพัฒนาพ้ืนที่ภาค - 214.9176 - 100.0000 อบจ. - 214.9176 - 100.0000 - อบจ.มกุ ดาหาร - 34.9176 - 100.0000 - อบจ.เลย - 180.0000 - 100.0000 ทมี่ าของขอ้ มลู : สานกั งบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 (ขาวคาดแดง) งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เลม่ ที่ 16 หมายเหตุ : *ไม่มงี บประมาณภายใต้แผนงานบรู ณาการพฒั นาพ้ืนทีภ่ าค เนื่องจากแผนงานฯ เร่ิมในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 6. รายการผกู พนั งบประมาณเกนิ 1 ปี ของ อปท. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อปท. ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายโดยตรงและมีงบประมาณที่เป็น รายการผกู พันข้ามปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หรอื เกิน 1 ปี มจี านวน 2 หนว่ ยงาน ได้แก่ กรงุ เทพมหานครและ เมืองพัทยา ซึ่งเป็น อปท.รูปแบบพิเศษ โดยเป็นรายการค่าใช้จ่ายผูกพันข้ามปีงบประมาณ ท้ังในส่วนรายการ เดิมที่ได้รับอนุมัติแล้วและรายการใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมการ กระจายอานาจให้แก่ อปท. จาแนกตามหนว่ ยงาน ดังนี้ 6.1 กรุงเทพมหานคร เป็นรายการผูกพันค่าสิ่งก่อสร้างทั้งหมด จานวน 18 รายการ วงเงินท้ังส้ิน 27,389.6902 ล้านบาท จาแนกเป็นเงินงบประมาณ จานวน 19,950.2160 ล้านบาท และ เงินนอก งบประมาณ จานวน 7,439.4742 ลา้ นบาท โดยได้รับจดั สรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 3,337.3734 ล้านบาท จาแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ รายการผูกพันตามสัญญาและตามกฎหมายที่ต้อง ดาเนนิ การตอ่ เน่ือง จานวน 9 รายการ เปน็ เงิน 1,283.7534 ลา้ นบาท และรายการที่ดาเนนิ การไม่แลว้ เสรจ็ ใน 1 ปงี บประมาณ จานวน 9 รายการ เป็นเงนิ 2,053.6200 ลา้ นบาท 6.2 เมืองพัทยา เป็นรายการผูกพันค่าส่ิงก่อสร้างท้ังหมด จานวน 11 รายการ วงเงินทั้งส้ิน 1,694.0288 ล้านบาท จาแนกเป็นเงินงบประมาณ จานวน 1,500.9918 ลา้ นบาท และ เงินนอกงบประมาณ จานวน 193.0370 ล้านบาท โดยได้รับจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 378.6554 ล้านบาท จาแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ เป็นรายการผูกพันตามสัญญาและตามกฎหมายที่ต้องดาเนินการ ต่อเน่ือง จานวน 3 รายการ เป็นเงิน 136.0928 ล้านบาท และรายการที่ดาเนินการไม่แล้วเสร็จใน 1 ปีงบประมาณ จานวน 8 รายการ เปน็ เงนิ 242.5626 ล้านบาท ท้ังน้ี สาหรับอบจ. (อบจ.) ไม่ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นรายการผูกพันข้ามปี งบประมาณ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ปรากฏขอ้ มูลตาม ตารางท่ี 14 สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ เทา่ นน้ั หนา้ 35
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ตารางที่ 14 อปท. ท่ีมรี ายการผูกพนั ข้ามปีงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน่วย: ลา้ นบาท หนว่ ยงาน จานวน ปีงบประมาณ เงินนอกฯ รายการ ปี 2563 ปี 2564 งงบบ5,งเปร9งบาี1ิน2ยล8อ5จง.ดุ26ท่า9หย5นุ 3นอ8นืุ่น ปี 2566-จบ รวม รวมท้ังสน้ิ 3,716.0288 10,334.7152 5,918.2938 1,454.1700 21,451.2078 7,632.5112 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรปู แบบพเิ ศษ 29 3,716.0288 10,334.7152 1,454.1700 21,451.2078 7,632.5112 29 1.กรงุ เทพมหานคร 18 3,337.3734 9,222.3788 5,918.2938 1,454.1700 19,950.2160 7,439.4742 2.เมืองพัทยา 11 378.6554 1,112.3364 - - 1,500.9918 193.0370 อบจ. (อบจ.) - - --- - - ทมี่ าของข้อมูล : สานกั งบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3 (ขาวคาดแดง) งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มที่ 16หนา้ 9 7. โครงการ/รายการสาคัญของ อปท. ทไ่ี ด้รบั จัดสรรงบประมาณโดยตรง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อปท. ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายโดยตรง และมีโครงการ/รายการ สาคัญ เช่น รายการผูกพันข้ามปีงบประมาณและมีวงเงินทงั้ สิ้นสูง ได้แก่ กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา ซึ่ง เป็น อปท.รูปแบบพิเศษ ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพ่ือดาเนินโครงการ/รายการสาคัญ เป็นรายการผูกพัน (ทั้งรายการใหม่และรายการต่อเน่ือง) และมีวงเงินสูง (รวมเงินงบประมาณและเงินนอก งบประมาณ) โดยจาแนกเป็น 7.1 กรุงเทพมหานคร มีโครงการ/รายการสาคัญเป็นรายการผูกพัน มีวงเงินท้ังสิ้นสูง (ต้ังแต่ 1,000 ลา้ นบาทขนึ้ ไป) จานวน 11 โครงการ รวมวงเงินทั้งส้นิ 26,579.20 ล้านบาท และ 7.2 เมอื งพัทยา มีโครงการ/รายการสาคญั เป็นรายการผกู พนั ทีม่ ีวงเงนิ ท้งั ส้นิ สูง (ต้ังแต่ 100 ล้านบาท ขน้ึ ไป) จานวน 5 โครงการ รวมวงเงินทง้ั สนิ้ 1,448.00 ล้านบาท ปรากฏขอ้ มูลตาม ตารางท่ี 15 ตารางท่ี 15 โครงการ/รายการสาคัญของ อปท. ทีไ่ ดร้ ับจัดสรรงบประมาณโดยตรง ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ชอื่ โครงการ/รายการ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ โครงการ/รายการสาคัญเปน็ รายการผูกพันทีม่ ีวงเงนิ ทั้งสิ้นสงู (ตงั้ แต่ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น 1,000 ล้านบาทข้นึ ไป) รปู แบบพเิ ศษ 1.โครงการพฒั นาริมฝง่ั แมน่ ้า เจ้าพระยา ชว่ งท่ี 1 ถึง 4 (จานวน 4 1.กรุงเทพมหานคร โครงการ) (วงเงินรวมทง้ั สิน้ 8,363.0 ลา้ นบาท) 2.โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมนา้ เสีย (เพ่ิมเติม) พื้นทเ่ี ขตหว้ ยขวาง เข้า โรงควบคุมคุณภาพนา้ ดินแดง (วงเงนิ ท้ังสน้ิ 1,600.0 ลา้ นบาท) 3.โครงการก่อสร้างสะพานขา้ มแมน่ ้าเจ้าพระยาบริเวณแยกเกียกกาย ชว่ งท่ี 2 ก่อสรา้ งสะพานขา้ มแมน่ า้ เจา้ พระยารวมทางขน้ึ -ลง พรอ้ มคา่ จ้างท่ี ปรึกษาควบคมุ การก่อสรา้ ง (วงเงนิ รวมท้งั สน้ิ 1,385.0 ลา้ นบาท) 4.โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้าคลองทววี ฒั นาบรเิ วณคอขวด พร้อม ค่าจ้างท่ีปรึกษาควบคุมการก่อสร้าง (วงเงินรวมทัง้ ส้ิน 2,274.2 ล้านบาท) 5.โครงการก่อสร้างอุโมงคร์ ะบายน้าคลองแสนแสบจากอโุ มงค์ระบายนา้ สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ เทา่ นั้น หนา้ 36
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ชื่อโครงการ/รายการ หน่วยงานรับผดิ ชอบ คลองแสนแสบและคลองลาดพร้าวถงึ บรเิ วณซอยลาดพร้าว 130 พร้อม คา่ จา้ งท่ปี รึกษาควบคมุ การก่อสร้าง (วงเงินรวมท้งั ส้นิ 1,751.0 ล้านบาท) 6.โครงการก่อสรา้ งอุโมงคร์ ะบายนา้ คลองเปรมประชากรจากคลองบางบวั ลงส่แู มน่ า้ เจ้าพระยา พร้อมค่าจา้ งทปี่ รกึ ษาควบคุมการก่อสรา้ ง (วงเงิน รวมท้งั ส้ิน 9,800.0 ล้านบาท) 7.โครงการก่อสร้างเข่ือน ค.ส.ล. คลองเปรมประชากร ช่วงท่ี 4 จากถนน แจ้งวัฒนะถึงถนนเทศบาลสงเคราะห์ (วงเงนิ ท้ังส้นิ 1,406.0 ล้านบาท) โครงการ/รายการสาคญั เป็นรายการผกู พันทีม่ ีวงเงินทั้งสิ้นสงู (ตั้งแต่ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน 100 ล้านบาทข้ึนไป) รูปแบบพิเศษ 1.โครงการก่อสร้างสนามฟุตบอล สนามกฬี าภาคตะวันออก เมืองพัทยา 2.เมอื งพัทยา ระยะที่ 3 จงั หวัดชลบุรี (วงเงนิ ท้งั ส้ิน 398.0 ลา้ นบาท) 2.โครงการก่อสร้างท่อรวบรวมนา้ เสียและท่อระบายน้าฝน ถนนจอมเทยี น สาย 1 (ช่วงโค้งดงตาลถึงแยกบุญย์กัญจนา) อาเภอบางละมุง จงั หวัดชลบุรี (วงเงนิ ทงั้ สนิ้ 150.0 ลา้ นบาท) 3.โครงการการกอ่ สร้างระบบระบายน้าถนนเลยี บทางรถไฟฝงั่ ตะวันออก ระยะท่ี 1 (วงเงินทั้งสนิ้ 627.0 ลา้ นบาท) 4.โครงการก่อสรา้ งท่อระบายน้าถนนเลียบทางรถไฟฝ่งั ตะวันออก (ชว่ งคลองนาเกลือถึงทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36) อาเภอบางละมงุ จังหวดั ชลบุรี (วงเงนิ ท้งั สน้ิ 145.0 ลา้ นบาท) 5.โครงการการปรบั ปรุงท่าเทียบเรือเพ่ือการทอ่ งเท่ยี วเกาะล้าน เมืองพทั ยา อาเภอบางละมงุ จังหวัดชลบรุ ี (วงเงินทง้ั สนิ้ 128.0 ลา้ นบาท) ทมี่ าของข้อมูล : สานักงบประมาณ. เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 (ขาวคาดแดง) งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มที่ 16 หมายเหตุ *รายละเอียดของโครงการปรากฏตามเอกสารทีม่ าของข้อมูล 8. ความสามารถการเบิกจา่ ยงบประมาณ 5 ปีงบประมาณย้อนหลัง (พ.ศ. 2558 - 2562) ของ อปท. ท่ไี ด้รบั จัดสรรงบประมาณโดยตรง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อปท. ไดร้ ับจดั สรรงบประมาณรายจ่ายโดยตรง ไดแ้ ก่ กรงุ เทพมหานคร เมอื งพทั ยา และ อบจ. 76 จงั หวัด มีระดบั ของความสามารถการเบิกจ่ายงบประมาณ 5 ปีงบประมาณยอ้ นหลัง (พ.ศ. 2558 - 2562) ซ่ึงเป็นปัจจัยท่ีสาคัญในการบ่งช้ีถึงระดับประสิทธิภาพของการใช้จ่ายงบประมาณท่ีได้รับ จัดสรรสาหรับการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของหน่วยงาน โดยเมื่อเปรียบเทียบผลการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562 ของ อปท. กับเป้าหมาย การใช้จ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ที่กาหนดเป้าหมายภาพรวมท้ังปีงบประมาณที่ รอ้ ยละ 100 (มติ ครม. วันที่ 13 ธนั วาคม 2561) จาแนกราย อปท. ดงั น้ี สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ เทา่ นนั้ หน้า 37
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 8.1 กรุงเทพมหานคร มีผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 อยู่ที่ ร้อยละ 91.34 ซึ่งตา่ กว่าเป้าหมายทร่ี อ้ ยละ 8.66 8.2 เมืองพัทยา มีผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 อยู่ที่ร้อยละ 47.91 ต่ากวา่ เป้าหมายรอ้ ยละ 52.09 8.3 อบจ. 76 จังหวัด ไม่มีข้อมูล เน่ืองจากก่อนปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อบจ.ยังไม่มีฐานะเป็น หน่วยรับงบประมาณ และผลการเบิกจา่ ยรวมอยกู่ ับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทย ปรากฏขอ้ มลู ตาม ตารางที่ 16 ตารางท่ี 16 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ 5 ปงี บประมาณยอ้ นหลัง (พ.ศ. 2558 - 2562) ของ อปท. หน่วยงาน ผลการเบกิ จา่ ย* (ร้อยละของงบประมาณท่ไี ด้รับจัดสรร) ปี 2558 ปี 2559 ป2ี 560 ปี 2561 ปี 2562 รวมทงั้ สิ้น 95.92 96.27 88.44 81.23 88.09 องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ รปู แบบ 95.92 96.27 88.44 81.23 88.09 พเิ ศ1ษ.กรงุ เทพมหานคร 98.14 97.84 89.47 82.35 91.34 2.เมืองพทั ยา 73.55 79.92 74.57 61.44 47.91 อบจ.* n/a n/a n/a n/a n/a ทีม่ าของขอ้ มลู : กรมบญั ชีกลาง, รายงานผลการเบกิ จา่ ย ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2562 หมายเหตุ *กอ่ นปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 อบจ.ยังไมม่ ีฐานะเป็นหนว่ ยรับงบประมาณ และผลการเบกิ จ่ายรวมอยกู่ บั กรม สง่ เสรมิ การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย 9. เงนิ กันไว้เบิกเหลื่อมปีและการขยายระยะเวลาเบกิ เงินจากคลงั ของ อปท. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อปท. ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายโดยตรง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และ อบจ. 76 จังหวัด มีเงินกันไว้เบิกจ่ายเหล่ือมปี ผลการเบิกจ่ายเงินกันฯ และสถานะของเงิน กันฯ คงเหลือ ซึ่งเป็นปจั จัยท่ีสาคัญในการบ่งช้ีถึงระดับประสิทธิภาพของการใชจ้ ่ายงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร สาหรับการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของหน่วยงาน โดยสถานะของเงินกันฯ ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 จาแนกราย อปท. ดังน้ี 9.1 กรุงเทพมหานคร มีเงินกันฯ สะสม รวมทั้งสิ้น 2,458.277 ล้านบาท เบิกจ่ายเงินกันฯ แล้ว จานวน 989.673 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 40.26 ของเงินกันฯ รวมท้ังสิ้น สาหรับเงินกันฯ คงเหลือ จานวน 1,468.603 ล้านบาท มีสถานะได้แก่ มีหน้ีผูกพันแล้ว 242.329 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 16.50 ของเงินกันฯ คงเหลือ และเงินกันฯ คงเหลืออีก 1,226.274 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 83.50 อยู่ระหว่าง ดาเนินการจัดซ้อื จัดจา้ งหรอื ก่อหน้ผี กู พัน 9.2 เมืองพัทยา มีเงินกันฯ สะสม รวมทั้งส้ิน 554.339 ล้านบาท เบิกจ่ายเงินกันฯ แล้ว จานวน 408.151 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 73.63 ของเงินกันฯ รวมทั้งสิ้น สาหรับเงินกันฯ คงเหลือ จานวน 146.188 ล้านบาท มีสถานะได้แก่ ไม่มีหนี้ผูกพัน 95.430 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 65.28 ของเงินกันฯ คงเหลือ และเงินกันฯ คงเหลืออีก 50.758 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 34.72 อยู่ระหว่างดาเนินการจัดซื้อ จดั จ้างหรอื ก่อหนผ้ี ูกพัน 9.3 อบจ. 76 จังหวัด ไม่มีข้อมูล เน่ืองจากก่อนปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อบจ.ยังไม่มีฐานะเป็น หน่วยรบั งบประมาณ และผลการเบิกจา่ ยรวมอยกู่ ับกรมสง่ เสริมการปกครองท้องถนิ่ กระทรวงมหาดไทย ปรากฏขอ้ มูลตาม ตารางที่ 17 สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ เท่าน้นั หน้า 38
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ตารางที่ 17 สถานะเงนิ กันไวเ้ บกิ จ่ายเหล่อื มปีของ อปท. ทไ่ี ดร้ บั การจดั สรรงบประมาณโดยตรง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หน่วยงาน หน่วย: ล้านบาท เงนิ กนั ไวเ้ บกิ เหล่ือมปี ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562 รวมเงินกนั ไว้ เบกิ จา่ ย คงเงหบลลอื งเทงุนิ กนั ไวเ้ บกิ เหล่ือมปี เบกิ เหลอื มปี (%) มีหน้ีผูกพนั ไมม่ ีหงนบี้ผเงกู นิ พอนั ดุ หนนุ อยู่ระหว่าง รวมคงเหลอื (%) (ง%บร)ายจ่ายอน่ื ดาเนนิ การ (%) (%) สะสม รวมท้ังสิน้ 3,012.616 1,398.129 242.329 95.43 1,277.032 1,614.791 (46.41%) (15.01%) (5.91%) (79.08%) (100.00%) องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 3,012.616 1,398.129 242.329 95.43 1,277.032 1,614.791 (46.41%) (15.01%) (5.91%) (79.08%) (100.00%) รปู แบบพิเศษ 1.กรงุ เทพมหานคร 2,458.277 989.673 242.329 0.000 1,226.274 1,468.603 (40.26%) (16.50%) (0.00%) (83.50%) (100.00%) 2.เมืองพทั ยา 554.339 408.151 0.000 95.430 50.758 146.188 (73.63%) (0.00%) (65.28%) (34.72%) (100.00%) อบจ.* n/a n/a n/a n/a n/a n/a ท่ีมาของข้อมลู : กรมบญั ชีกลาง. ข้อมลู เงนิ กันไว้เบิกจา่ ยเหล่อื มปี. ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562 หมายเหตุ : *ก่อนปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 อบจ. จานวน 76 จังหวัด ยังไม่มีฐานะเป็นหน่วยรับงบประมาณ และผล การเบกิ จา่ ยรวมอยู่กบั กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถิน่ กระทรวงมหาดไทย 10. ประเด็นข้อสงั เกตของสภาผู้แทนราษฎร ในการพิจาณาวาระ 1 รบั หลักการ ในคราวประชุมสภาผู้แทนราษฎร สมัยวิสามัญ เมื่อวันท่ี 17 - 19 ตุลาคม 2562 ณ อาคารรัฐสภา (เกียกกาย) เพื่อพิจารณารา่ งพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 วาระ 1 รับ หลักการ โดยสภาผู้แทนราษฎรมีประเด็นของการอภปิ รายและข้อสังเกตเก่ียวกับงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ทจี่ ัดสรรใหแ้ ก่ อปท. โดยตรง สรุปได้ดงั นี้ 10.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รัฐบาลจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ใน สัดส่วนร้อยละ 29.5 ของรายได้สุทธิของรัฐบาล (ไม่รวมเงินกู้) เป็นจานวนเงิน 804,826.0 ล้านบาท เพ่ิมขึ้น จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 53,345.9 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.1 โดยรัฐบาลจัดสรรงบประมาณ เป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. จานวน 307,950.0 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจานวน 31,819.9 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.5 โดยมีประเด็นที่ตั้งข้อสังเกตว่าการจัดสรรรายได้ให้แก่ อปท. อาจไม่เป็นไปตามมาตรา 30 (4) ของ พรบ.กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และท่ี แก้ไขเพ่ิมเติม ซึ่งกาหนดให้รัฐบาลจัดสรรภาษีและอากร เงินอุดหนุน และรายได้อ่ืนให้แก่ อปท. เพ่ือให้ สอดคล้องกับการดาเนินการตามอานาจและหน้าท่ีของ อปท. แต่ละประเภทอย่างเหมาะสม โดยต้ังแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ให้ อปท. มีรายได้คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 และโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ อปท. มีรายได้เพิ่มข้ึนคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลใน อัตราไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 35 โดยการจัดสรรสดั สว่ นท่ีเปน็ ธรรมแก่ อปท. และคานงึ ถึงรายไดข้ อง อปท. นั้นด้วย 10.2 สืบเน่ืองมาจากประเด็นข้อสังเกต 1. กล่าวคือ หน่วยงานของรัฐมีการประมาณการรายได้ท่ี อปท. จัดเก็บเองสูงเกินความเป็นจริง โดยเฉพาะการประมาณการรายได้จากการจัดเก็บภาษีท่ีดินและส่ิง ปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ทาให้จานวนของงบประมาณที่ต้องจัดสรรเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพื่อให้มี สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรับประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ เท่าน้ัน หน้า 39
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น รายได้เป็นไปตามเป้าหมายของมาตรา 30 (4) หายไปประมาณ 4 หม่ืนล้านบาท ส่งผลกระทบต่อการ จดั ทาบริการสาธารณะของ อปท. 10.3 การส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) นาเงินสะสมออกมาใช้ เพื่อ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน และสนับสนุนการดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการ กระตุ้นเศรษฐกิจ มีผลกระทบต่อฐานะทางการเงินการคลังของ อปท. หรือไม่ อย่างไร และมีผลการนาเงิน สะสมดังกลา่ วออกมาใชอ้ ยา่ งไร 10.4 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) เป็นหน่วยรับงบประมาณตาม พระราชบัญญัติวธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ทาให้สามารถขอต้งั และรบั การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายได้ โดยตรง ยกเว้นเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ท่ียังขอตั้งและรับการจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายผา่ นกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ินเช่นเดิม ท้ังนี้ การที่ อปท. เปน็ หน่วยรับงบประมาณเป็นเรื่องที่ดี และควรสนับสนุนให้ เทศบาล และ อบต. ซึ่งเป็นท้องถิ่นท่ีสาคัญและใกล้ชิดกับประชาชนเป็นหน่วยรับ งบประมาณทขี่ อต้ังและรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายโดยตรงดว้ ย 10.5 วิธีการจัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนนุ ให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) มีความ เหมาะสม และนาไปสกู่ ารลดความเหลื่อมลา้ หรอื ไม่ อย่างไร เม่ือวเิ คราะห์เงนิ อุดหนุนของอบจ. (อบจ.) ต่อ ประชากร พบว่าผลการจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อบจ. ส่วนหนึ่งมีจังหวัดท่ีประชากรมีรายได้ต่อครัวเรือนต่า ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนต่า ตรงกันข้ามจังหวัดที่ประชากรมีรายได้ต่อครัวเรือนสูง ได้รับการจัดสรรเงิน อุดหนนุ สูง วธิ กี ารจดั สรรงบประมาณดังกล่าวจะทาให้เกิดสภาพยง่ิ รวยย่งิ กระจุก ยง่ิ จนยิ่งกระจาย 11. ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ ทส่ี าคญั ในปีที่ผา่ นมา (เก่ยี วกับ อปท.) คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สภานิตบิ ัญญัติแห่งชาติ มปี ระเดน็ ขอ้ สงั เกตในส่วนทเ่ี กี่ยวข้องกับองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ดงั น้ี 11.1 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน ควรดาเนินการให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และสามารถใช้ได้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทุกแห่งทั่ว ประเทศ รวมท้ังสามารถเช่ือมโยงข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐอ่ืน ๆ และระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ของกรมบัญชีกลาง 11.2 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นควรให้ความสาคัญต่อการจัดสรรงบประมาณให้กับองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินในการสร้าง บารุง ซ่อมแซมถนนในความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งให้มีการ กระจายพ้ืนทีอ่ ย่างทัว่ ถงึ 11.3 กรุงเทพมหานคร กล้องวงจรปิดในปัจจุบันมีความสาคัญอย่างมาก กรุงเทพมหานครควรเพิ่ม การติดตั้งให้ครอบคลุมพื้นที่สาคัญ มีการพัฒนาศูนย์กล้องวงจรปิดและบุคลากรให้รองรับการดาเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเพ่ิมการติดต้ังกล้องวงจรปิดและไฟส่องสว่างในพ้ืนท่ีปลอดคน มืด รกร้าง เพื่อ สรา้ งความปลอดภยั ใหก้ บั ประชาชนมากยิง่ ข้นึ 11.4 กรุงเทพมหานคร ควรเพิ่มการดูแลและแก้ไขปัญหาคลองต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร ไม่ให้ ประชาชนรุกล้าลาคลองขยายตวั เพ่ิมอีก รวมถงึ การรักษาสิ่งแวดล้อมและเพม่ิ มาตรการในการกาจัดน้าเน่าเสีย และป้องกนั การปล่อยน้าเสยี ขยะลงไปในลาคลอง 11.5 กรงุ เทพมหานคร ควรมีการปรับปรุงทางเดิน โดยใช้หลกั การออกแบบเพื่อคนท้ังมวล หรือการ ออกแบบเพ่ือการใช้งานของคนทกุ กลมุ่ ในสงั คม (Universal Design) เพอื่ อานวยความสะดวกกับเด็ก ผ้สู ูงอายุ สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ เทา่ น้ัน หนา้ 40
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และคนพิการ รวมทั้งแก้ไขทางเดินเท้าให้มีความปลอดภัย เช่น ฝาท่อปิดไม่สนิท ทางเดิมเท้าที่แคบ ทางเดิน อฐิ ตัวหนอนที่ไมเ่ รียบเป็นอันตราย เปน็ ตน้ 11.6 เมืองพัทยา ควรมีมาตรการป้องกันไม่ให้มีการก่อสร้างถนน ทางเท้าและสิ่งก่อสร้างอ่ืนที่ ขวางทางน้าไม่ให้ไหลลงหาดพัทยา ทาให้เกิดปัญหาน้าท่วมบริเวณชายหาด และต้องสูญเสียงบประมาณใน การแกไ้ ขปัญหา รวมทั้งหาสาเหตุทแี่ ท้จรงิ ท่ีทาให้ทรายบริเวณชายหาดหายไป มมี าตรการป้องกนั กิจกรรมการ ท่องเที่ยวท่ีกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น เรือสปีดโบ๊ทที่เข้าออกบริเวณชายหาด ซ่ึงอาจจะเป็นสาเหตุทาให้ ชายหาดลดลง ตลอดจนแกไ้ ขปัญหาน้าเสียและขยะอย่างเรง่ ดว่ น 12. สรปุ รายงานวิชาการ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของสานักงบประมาณของรัฐสภา (PBO) เกย่ี วกบั อปท. สานักงบประมาณของรัฐสภา (Parliamentary Budget Office: PBO) จัดทารายงานวิชาการ เรื่อง การศึกษาผลกระทบของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ที่มีต่อรูปแบบและวิธีการขอตั้ง งบประมาณรายจ่ายประจาปีเพื่อสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) (อ่านรายงานท้ังเล่มได้ที่เว็บไซด์ ของสานักงบประมาณของรัฐสภา https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/ewt_dl_link.php?nid=663) โดยรายงานดังกลา่ วมคี วามคิดเห็น/ข้อเสนอแนะทเ่ี กี่ยวกบั อปท. สรุปได้ ดงั นี้ 12.1 อปท.กบั ศกั ยภาพต่อการใหบ้ รกิ ารสาธารณะท้องถ่นิ กับประชาชน อปท. เป็นหน่วยงานของรัฐท่ีมีความได้เปรียบมากกว่าหน่วยงานของรัฐประเภทอื่น ๆ ในการทา หน้าท่ีให้บริการสาธารณะท้องถ่ินกับประชาชน เนื่องจาก อปท. จัดระเบียบการบริหารงานราชการตาม หลักการกระจายอานาจ เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม มีความใกล้ชิดกับประชาชนในท้องถ่ิน มากกวา่ รฐั บาล จึงทาให้มีความไดเ้ ปรยี บในด้านข้อมูลขา่ วสารท่ีเก่ยี วกบั ความต้องการของผู้คนในท้องถนิ่ รบั รู้ ความต้องการของประชาชนที่ดีกว่า และสามารถสะท้อนความหลากหลายของแต่ละพื้นท่ี ดังน้ัน หาก อปท. ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากรัฐบาล ด้วยการพัฒนาให้ อปท. มรี ายได้ของตนเองและในระหว่างที่ยังไม่ สามารถมีรายได้ของตนเอง อปท. ควรได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนไปพลางก่อนในสัดส่วนที่ เหมาะสมกับปริมาณภารกิจและหน้าท่ีความรับผิดชอบซึ่งเป็นไปตามหลักท่ีการเงินต้องสอดคล้องกับภารกิจ (Finance Follows Function) และสอดคล้องตามเจตนารมณ์ของมาตรา 250 (4) แห่งรัฐธรรมนูญ ย่อมจะ ทาให้ อปท. สามารถจัดทาบริการสาธารณะท้องถิ่นให้แก่ประชาชนในความรับผิดชอบได้อย่างมีคุณภาพและ ตรงกับความต้องการอยา่ งยงั่ ยืน 12.2 การวิเคราะห์ความจาเป็นของเงินอุดหนุนต่อการดาเนินงานตามภารกิจและอานาจหน้าท่ี ของ อปท. ภารกิจและอานาจหน้าที่ของ อปท. เป็นปัจจัยที่มีความสาคัญต่อการกาหนดรายจ่ายของ อปท. (expenditure assignment) ซ่ึงเป็นไปตามหลักการท่ีการเงินต้องสอดคล้องกับภารกิจ (finance follows function) และจากการศึกษาพบว่ารัฐธรรมนูญได้วางหลักการพ้ืนฐาน โดยให้ อปท. มีหน้าท่ีและอานาจดูแล และจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะเพ่ือประโยชน์ของประชาชนในท้องถ่ิน ทั้งน้ี ตามกฎหมาย บัญญัติ ซ่ึงได้แก่ (1) กฎหมายจัดตั้งอปท. จานวน 5 ฉบับ ตามประเภทของ อปท. ได้แก่ อบจ. เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา (2) กฎหมายกาหนดแผนและขั้นตอนการ กระจายอานาจให้แก่ อปท. โดย อปท. รับผิดชอบเป็นภารกิจด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนใน ท้องถิ่น เป็นลาดับแรก รองลงมาเป็นด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษา สานักงบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ เทา่ นนั้ หน้า 41
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ความสงบเรียบร้อย ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการพาณิชย์ ด้านการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา จารีต ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และด้านอื่นๆ นอกจากน้ี อปท. ยังมี ภารกิจที่ไดร้ ับมอบหมายเพิ่มเติมจากรัฐ เนื่องจากกฎหมายจัดตง้ั อปท. เปิดช่องให้ อปท. มีหนา้ ท่ีดาเนินได้ และยัง ได้กาหนดรูปแบบการดาเนินงานตามภารกิจของ อปท. จาแนกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1) ต้องดาเนินการเอง (2) อปท. กับหน่วยงานราชการร่วมกันดาเนินการ และ (3) ภารกิจภาครัฐอื่นและหรือภารกิจภาครัฐท่ีไม่ได้ถ่ายโอนไป แต่ อปท. สามารถดาเนินการได้ เชน่ การจดั การศึกษาสูงกว่าการศึกษาข้ันพื้นฐาน เปน็ ตน้ จากภารกิจท่ีตอ้ งรับผิดชอบและรูปแบบการดาเนินการดังกล่าวข้างต้น ทาให้ อปท. มีภาระการเงินท่ี เกิดจากการดาเนินงาน ดังนัน้ รฐั ธรรมนูญและกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องจึงกาหนดแหลง่ รายไดใ้ หแ้ ก่ อปท. ดังนี้ (1) รัฐธรรมนูญ มาตรา 250 วรรคส่ี บัญญัติให้รัฐต้องดาเนินการให้ อปท. มีรายได้ของตนเอง โดย จัดระบบภาษีหรือการจัดสรรภาษีท่ีเหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการหารายได้ของอปท. ท้ังน้ี เพื่อให้ อปท. สามารถดาเนินการได้อย่างเพียงพอ ในระหว่างที่ยังไม่อาจดาเนินการให้อปท. มีรายได้ของตนเองได้ จึง ให้รัฐจัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุน อปท. ไปพลางก่อน (2) กฎหมายจัดต้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หมวดรายได้ กาหนดให้ อปท. มีรายได้จากเงิน อุดหนุนหรอื รายได้อ่ืนตามที่รฐั บาลหรือหน่วยงานของรฐั จัดสรรให้ เช่น พระราชบัญญัติอบจ. พ.ศ. 2540 และ แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 72 บัญญัติว่าทุกปีงบประมาณให้รัฐบาลจัดสรรเงินให้อบจ.เป็นเงินอุดหนุน และมาตรา 73 อบจ.อาจมีรายไดจ้ าก (8) เงินอดุ หนุนหรอื รายได้ตามท่ีรัฐบาลหรอื หน่วยงานของรัฐจัดสรรให้ เป็นตน้ (3) พรบ.กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม มาตรา 30 (4)9 กาหนดการจัดสรรภาษีและอากร เงนิ อุดหนนุ และรายได้อื่นให้แก่ อปท. เพ่ือให้สอดคล้องกับ การดาเนินการตามอานาจและหน้าท่ีของ อปท. แต่ละประเภทอย่างเหมาะสม โดยต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ให้ อปท. มีรายได้คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 และโดยมี จุดมุ่งหมายที่จะให้ อปท.มีรายได้เพ่ิมข้ึนคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 โดยการจัดสรรสัดส่วนที่เป็นธรรมแก่ อปท. และคานึงถึงรายได้ของ อปท. ท้ังนี้ กฎหมายได้กาหนดให้การ เพิ่มสัดส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลดังกล่าว โดยให้เพ่ิมขึ้นตามระยะเวลาท่ีเหมาะสมแก่ การพัฒนาให้ อปท. สามารถดาเนินกิจการบริการสาธารณะได้ด้วยตนเอง และให้เปน็ ไปตามภารกิจท่ีถ่ายโอน ให้แก่ อปท. ท่ีถ่ายโอนเพ่ิมข้ึนภายหลังปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป แต่ไม่ว่ากรณีใดเงินอุดหนุนที่ จัดสรรให้ต้องมีจานวนไม่น้อยกว่าเงินอุดหนุนที่ อปท. ได้รับการจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ซ่ึงมี จานวน 126,013 ลา้ นบาท จากการศึกษาสัดส่วนรายไดข้ อง อปท. ต่อรายไดส้ ุทธขิ องรฐั บาลระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2562 พบว่ารายได้ของ อปท. ในรอบ 10 ปี เพิ่มขึ้นเป็นจานวน 337,084.3 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 81.3 ขณะที่รายได้สุทธิรัฐบาลในรอบเวลาเดียวกันเพิ่มขึ้นเป็นจานวน 1,077,410.0 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 57.7 ทั้งนี้ การเพิ่มข้ึนของรายได้ อปท. ท่ีสูงกว่ารายได้สุทธิรัฐบาลดังกล่าว แสดงภาพรวมของการกระจาย อานาจด้านงบประมาณให้แก่ อปท. ว่ามีความก้าวหน้าเป็นไปตามเปา้ หมายของกฎหมายกระจายอานาจให้แก่ อปท. แต่หากพิจารณาสดั ส่วนดังกล่าวเป็นรายปีงบประมาณพบว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สัดส่วนรายได้ของ 9 มาตรา 30 (4) แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่อปท.(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 สานกั งบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ เท่าน้นั หน้า 42
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลมีค่าสูงสุดเท่ากับ 29.5 ขณะที่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สัดส่วนดังกล่าวมีค่า ต่าสุดเท่ากับ 22.4 ซ่ึงต่ากว่าเป้าหมายท่ีกาหนดตามมาตรา 30 (4) ของกฎหมายกระจายอานาจให้แก่ อปท. เน่ืองจากปลายปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการปรับปรุงประมาณการรายได้ของปีงบประมาณ 2553 จาก เดิม จานวน 1,350,000 ล้านบาท เพิ่มเป็น 1,522,000 ล้านบาท ตามมติ ครม. เม่ือวันที่ 26 มกราคม 2553 (ท่ีมา: เอกสารงบประมาณโดยสังเขป ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554, หน้า 5) แต่รัฐบาลกลับไม่ได้มีการ จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพ่ิมข้ึนตามไปด้วยเพื่อรักษาสัดส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้สุทธิของ รัฐบาลในปีงบประมาณดังกลา่ วให้เปน็ ไปตามเปา้ หมายตามมาตรา 30 (4) ของกฎหมายดังกล่าว อยา่ งไรก็ดี เงินอุดหนุนท่ีรัฐบาลจัดสรรให้แก่ อปท. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีจานวน 139,895.2 ล้านบาท (สานัก งบประมาณ, 2554, น.88) ซ่ึงเป็นจานวนไม่น้อยกว่าเงินอุดหนุนท่ี อปท. ได้รับการจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 (จานวน 126,013 ล้านบาท) ดังแสดงตาม แผนภมู ิท่ี 8 แผนภูมิที่ 8 สดั สว่ นรายได้ของ อปท.ต่อรายไดส้ ุทธิของรัฐบาล ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 – 2562 สัดส่วนรายไ ้ดของอปท.ต่อรายไ ้ดสุท ิธของ ัรฐบาล 35 26.1 26.8 27.3 27.4 27.8 28.2 29.4 28.8 29.5 30 28.1 25 22.4 20 15 10 5 0 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 ปี งบประมาณ พ.ศ. รวมท้ังเงินอุดหนุนจากรัฐบาลที่จัดสรรให้แก่ อปท. ในรอบ 10 ปีดังกล่าวเพิ่มขึ้น โดยพบว่าเงินอุดหนุนส่วนหนึ่ง เป็นค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐบาลหรือรายจ่ายของรัฐบาลท่ีฝากจ่ายผ่าน อปท. เช่น เงินอุดหนุนสนับสนุน การดาเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายสนับสนุนการสงเคราะห์ เบี้ยยงั ชพี ผู้สงู อายุ เปน็ ต้น ตลอดจนมรี ายจา่ ยของ อปท. ส่วนหนึ่ง เกิดจากการขอรับความสนับสนุนกิจกรรมของ กระทรวง กรม จังหวัด ส่วนราชการภายในพืน้ ที่ทอ้ งถ่ิน จากข้อเทจ็ จริงทเี่ กิดขึ้นดังกลา่ วส่งผลให้สดั ส่วนของเงิน อุดหนุนที่ อปท. ได้รับจัดสรรจากรัฐบาล ไม่เพิ่มข้ึนอย่างแท้จริงตามเป้าหมายตามมาตรา 30 (4) ของกฎหมาย และไมส่ อดคล้องตามวัตถุประสงคท์ ตี่ ้องการให้ อปท. มีรายได้เหมาะสมกบั ภารกิจ ความสามารถในการพ่งึ พาตนเองดา้ นการคลังและงบประมาณของ อปท. เงินอุดหนุนของรัฐบาลเพ่ือลดภาระทางการเงินจากการดาเนินภารกิจของ อปท. มีความสาคัญและจาก การเปรียบเทียบรายได้ของ อปท. จากแหล่งต่าง ๆ ในระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2560 พบว่ารายได้รวม ท้งั ส้ิน 3,716,009.10 ล้านบาท จาแนกเป็น (1) รายไดท้ ่ี อปท.จัดเกบ็ เอง (2) รายได้ที่รัฐบาลจัดเกบ็ ให้แก่ อปท. สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ เท่าน้ัน หนา้ 43
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน และภาษีท่ีรัฐบาลแบ่งให้ และ (3) เงนิ อุดหนุนจากรฐั บาล โดยสัดส่วนของรายไดท้ ั้ง 3 แหล่งดังกลา่ วเท่ากับ 1 : 5.9 : 4.6 ตามลาดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่ารายได้ประเภทเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นลาดับรองจากรายได้ที่รัฐบาล จดั เกบ็ ให้แก่ อปท. และภาษีทีร่ ัฐบาลแบ่งให้เพียงเล็กน้อย และมีจานวนมากกว่ารายไดท้ ี่ อปท. จัดเก็บเองกว่า 4 เท่า ซงึ่ บ่งช้ีถงึ ความสาคัญของเงินอุดหนนุ จากรัฐบาลต่อ อปท. หรือกล่าวอีกนัย อปท. ต้องพ่ึงพารัฐบาลด้าน การคลังและงบประมาณในสัดส่วนทีส่ ูง เพอื่ ลดภาระทางการเงินของตนเอง 12.3 ผลกระทบของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ต่อรูปแบบและวิธีการขอตั้ง งบประมาณรายจา่ ยประจาปเี พ่ือสนับสนุน อปท. โดยศกึ ษาเปรยี บเทียบก่อนและหลัง การใชบ้ งั คับ พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 256110 ประกาศใช้ทดแทน พรบ.วิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และ ท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม โดยท่ีกฎหมายดังกล่าวมีผลกระทบต่อ อปท. โดยเฉพาะต่อรูปแบบและวิธีการขอตั้งงบประมาณ รายจ่ายประจาปี ซ่งึ ศกึ ษาเปรียบเทยี บก่อนและหลังการใชบ้ ังคับกฎหมาย ดังน้ี (1) การเป็นหน่วยรับงบประมาณของ อปท. ตามมาตรา 4 โดยมีการปรับปรุงนิยามของ “หน่วยรับ งบประมาณ” ทาให้ อปท. เปน็ หน่วยงานของรฐั และเป็นหน่วยรบั งบประมาณตามกฎหมายดังกลา่ ว ส่งผลให้มี สิทธิและหรืออานาจด้านการงบประมาณ เช่น การขอตั้งงบประมาณรายจ่ายได้โดยตรง เป็นต้น ควบคู่ไปกับ การมีหน้าท่ีและความรับผิดชอบ เช่น หน่วยงานมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ ผู้อานวยการสานักงบประมาณกาหนด (ภาคผนวก) (2) รูปแบบและวิธีการขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีของ อปท. ตามมาตรา 29 ให้การขอต้ัง งบประมาณรายจ่ายเพื่อสนับสนุน อปท. เป็นเงินอุดหนุนสาหรับการดาเนินการโดยท่ัวไปหรือสาหรับการ ดาเนินการในเร่ืองใดเรื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ ให้ อปท. ยื่นคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยเพ่ือเสนอต่อผู้อานวยการสานักงบประมาณ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาท่ี ผู้อานวยการสานักงบประมาณกาหนด (ภาคผนวก) รวมทั้งให้การจัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนสาหรับการ ดาเนินการโดยท่ัวไปของ อปท. ให้สานักงบประมาณพิจารณาจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วย การกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่ อปท. โดยท่ีรูปแบบและวิธีการขอตั้งงบประมาณตาม กฎหมายดังกล่าวมีผลกระทบต่อ อปท. ได้แก่ อปท. สามารถขอต้ังงบประมาณรายจ่ายโดยตรง ทาให้มีผลเป็น การปรับเปล่ียนวิธีการขอตั้งงบประมาณรายจ่ายของ อปท. รูปแบบท่ัวไป จากเดิมซึ่งขอตั้งผ่านกรมส่งเสริม การปกครองท้องถ่ิน ทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว ลดขั้นตอนในการต้ังงบประมาณรายจ่ายเพื่อขอรับการ จัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาล อปท. สามารถติดต่อกับสานักงบประมาณเกี่ยวกับการงบประมาณได้โดยตรง และไม่ต้องผ่านตัวกลาง ทาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพ่ิมมากข้ึน รวมทั้งลดความเส่ียงที่เกิดจาก ความผิดพลาดที่เกิดจากการดาเนินการผ่านคนกลาง และเงินงบประมาณรายจ่ายสามารถกระจายลงพ้ืนที่ทั่ว ประเทศโดยตรง (3) อปท. ขอต้ังงบประมาณรายจ่ายโดยตรงในลักษณะเงินอุดหนุน ซึ่งเป็นประเภทงบรายจ่ายที่เอ้ือให้ การบริหารงบประมาณให้เกิดความคล่องตัวและสนับสนุนตามหลักการกระจายอานาจการปกครอง อย่างไรก็ดี เม่ือสานักงบประมาณจึงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการยื่นคาขอต้ังงบประมาณรายจ่ายของ อปท. ข้อ 13 (3) เทศบาลและ อบต. ยื่นคาขอตั้งคาขอต้ังงบประมาณรายจ่ายเพ่ือตั้งงบประมาณรายจ่ายไว้ท่ีกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถ่ิน โดยเสนอตั้งงบประมาณผ่านท้องถิ่นจังหวัด และผู้ว่าราชการจังหวัด ทาให้เทศบาลและองค์การ บริหารส่วนตาบลซ่ึงเปน็ อปท. ส่วนใหญ่ ไม่สามารถย่ืนคาขอต้งั งบประมาณรายจ่ายโดยตรงตามกฎหมายได้ ซึ่ง 10 ลงประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 135 ตอนท่ี 92 ก วันท่ี 11 พฤศจิกายน 2561 สานกั งบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ เท่านน้ั หน้า 44
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สานักงบประมาณให้เหตุผลด้านความพรอ้ มในการดาเนินการและมีเป้าหมายท่ีจะให้ อปท. ดาเนินการให้มีรูปแบบ และวิธกี ารเดียวกันท้ังหมด กล่าวคือ ขอรับหรือไดร้ ับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายได้โดยตรงในปีต่อไป 12.4 ผลกระทบของรูปแบบและวิธีการขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพื่อ สนับสนุนอปท. ท่ีกาหนดตามนัยพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ต่อหลักการกระจายอานาจ การปกครองและลักษณะการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดย อปท. เป็นหน่วยงานของรัฐท่ี จัดระเบียบการบริหารราชการตามหลักการกระจายอานาจการปกครองและมุ่งให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีส่วน ร่วมในการปกครองตนเอง โดยเฉพาะการจัดทาบริการสาธารณะท้องถิ่นและมีอิสระในการบริหารจัดการ ภายใต้การกากับดูแลของรัฐซ่ึงเป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ พรบ. วธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยเฉพาะมาตรา 4 ทาให้ อปท. มีฐานะเป็นหน่วยรับงบประมาณซึ่งส่งผลให้มี สิทธิและหรืออานาจและมีหน้าที่ความรับผิดชอบทางการงบประมาณ ตามกฎหมาย และ มาตรา 29 ปรับเปลี่ยนวิธีการขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพ่ือสนับสนุน อปท. จากเดิม เป็นการขอตั้งงบประมาณ รายจ่ายประจาปีโดยตรง รวมท้ังหลักเกณฑ์และวิธีการย่ืนคาของบประมาณรายจ่ายขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ซ่ึงออกตามนัยมาตรา 29 ดังกล่าวมีผลกระทบต่อ อปท. กล่าวคือ มีความสอดคล้องกับหลักการ กระจายอานาจการปกครองที่วางหลกั การให้ อปท. มีฐานะเป็นนิตบิ คุ คล มีงบประมาณ และทรัพยส์ ินเป็นของ ตนเอง และราชการส่วนกลาง/ภูมิภาคเพียงแต่ทาหน้าที่กากับดูแล อปท. ให้ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตาม กฎหมาย รวมท้ังให้ อปท. มีอานาจอสิ ระในการบริหารงาน จัดทากิจกรรมและวินจิ ฉัยสั่งการได้เองพอสมควร ด้วยงบประมาณและเจ้าหน้าท่ีของตนเอง อย่างไรก็ดีผลของกฎหมายดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นกับ อปท. ท้ังหมดใน การจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เนื่องจากประเด็นเรื่องของความพร้อมและสานัก งบประมาณมีเปา้ หมายที่จะดาเนนิ การให้เปน็ ไปนัยกฎหมายกับ อปท. ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ผลกระทบต่อลักษณะการดาเนนิ งานขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ โดยที่ อปท.เป็นหน่วยงานของรัฐ ที่มีหลักการเป็นการเฉพาะซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์และบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กล่าวคือ รัฐธรรมนูญมาตรา 249 วรรคแรก บัญญัติว่าภายใต้บังคับมาตรา 1 การจัดการปกครองส่วนท้องถ่ินตามหลักแห่งการปกครองตนเองตาม เจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถ่ิน ประกอบกับมาตรา 250 วรรคแรก ได้กาหนดภารกิจหน้าที่และอานาจ อปท. โดยให้มีหน้าที่และอานาจดูแลและจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของ ประชาชนในท้องถ่ินตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน จึงทาให้ อปท. มีลักษณะการดาเนินการเป็นการเฉพาะ โดยเฉพาะในการจัดทาบริการสาธารณะท้องถ่ินที่นอกจากต้องเป็นไปตามกรอบภารกิจและอานาจหน้าท่ีท่ี กฎหมายกาหนดแล้ว ยังต้องมีความยึดโยงกับประชาชนในท้องถิ่นและดาเนินการในระดับพื้นท่ีท้องถ่ินน้ัน ๆ ผ่านนโยบายหรือแผนพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องตามภูมิสังคม ปัญหา ความต้องการและประโยชน์ของประชาชน ในท้องถิน่ ซ่ึงแตกตา่ งตามสภาพพนื้ ที่ ดังน้นั ลักษณะการดาเนนิ งานของ อปท. จงึ แตกต่างจากราชการส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคซึ่งยึดโยงกับรัฐบาลเป็นหลักและมุ่งนานโยบายของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติกับพื้นที่ทั่วประเทศ ดงั น้ัน หากรูปแบบและวิธีการขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีของ อปท. เหมือนกับราชการส่วนกลางและ ภูมิภาค ย่อมเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินงานของ อปท. ที่มีหลักการและลักษณะวิธีการที่แตกต่างกัน ทั้งน้ี จากการวิเคราะห์หลักเกณฑ์และวิธีการย่ืนคาของบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณของ อปท. ตามคู่มือปฏิบัติการจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่สานักงบประมาณ กาหนด พบว่ามีหลักเกณฑ์บางประการท่ีให้ความสาคัญกับความแตกต่างของ อปท. กับส่วนราชการและ หน่วยงานของรัฐอ่ืน ๆ แต่อย่างไรก็ดีในรายละเอียดของวิธีปฏิบัติตามปรากฏในแบบฟอร์มคาของบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ใช้กบั กรุงเทพมหานคร เมอื งพทั ยา และอบจ. เป็นการวางแผนและ สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ เท่านั้น หนา้ 45
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จัดทางบประมาณที่เน้นบนลงล่าง (top - down approach) ที่ให้ความสาคัญกับเป้าหมายและยุทธศาสตร์ ของส่วนกลางเป็นสาคญั และการจัดทาคาของบประมาณรายจา่ ยตามแบบฟอรม์ กาหนดให้ลงรายละเอยี ดของ คาของบประมาณรายจ่าย โดยให้จาแนกค่าใช้จ่ายตามหมวดเงินรายจ่ายซ่ึงเป็นรูปแบบที่คล้ายคลึงกับคาขอ ของสว่ นราชการสว่ นกลางและภูมิภาค แม้จะเปน็ หน่วยรบั งบประมาณตามมาตรา 4 ของกฎหมายเช่นเดยี วกัน แต่ อปท. มีหลักการบริหารราชการและลักษณะการดาเนินงานซึ่งแตกต่างจากส่วนราชการ ดังนั้น รูปแบบ ดังกล่าวอาจส่งผลกระทบให้การจัดทาคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายของ อปท. ไม่สอดคล้องกับลักษณะการ ดาเนินงานของ อปท. ตามหลักการกระจายอานาจการปกครอง และการยึดโยงกับประชาชนในท้องถิ่นตาม แนวทางการวางแผนจากล่างข้ึนบน (bottom - up approach) ภายใต้แนวคิดประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (participatory democracy) 12.5 ข้อเสนอแนะ 12.5.1 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการนาผลการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนารูปแบบและวิธีการ ขอรับการจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพื่อสนับสนุน อปท. มดี ังนี้ (1) สานักงบประมาณและหน่วยงานที่เก่ียวข้องควรร่วมกันกาหนดเป้าหมาย แผนการ ดาเนินงาน วิธีการดาเนินงาน ผลสัมฤทธ์ิและตัวช้ีวัด ผู้รับผิดชอบ ฯลฯ เก่ียวกับการเตรียมความพร้อมให้แก่ อปท. สาหรับการดาเนินการเตรียมความพร้อมให้แก่ อปท. เพื่อดาเนินงานด้านการงบประมาณให้สอดคล้อง ตามนัยของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และนาไปแผนดังกล่าวไปดาเนินการอย่างบูรณา การร่วมกันอย่างจริงจัง เพื่อให้บรรลุผลเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธิ์ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพ่ือให้ อปท. ทั้งหมดท่ัวประเทศมีความพร้อมและมีความสามารถในการดาเนนิ งานด้านงบประมาณในฐานะหนว่ ยรับ งบประมาณตามนัยกฎหมายวิธกี ารงบประมาณดังกลา่ วได้อย่างมีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผล โดยเฉพาะ ในการขอต้ังและรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงเป็นเป้าหมายท่ีสานัก งบประมาณกาหนดไว้ (สานกั งบประมาณ, 2562, น. 10) ท้ังน้ี การดาเนินการดังกล่าวข้างต้น ควรต้ังอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจในลักษณะทั่วไป ของ อปท. (the nature of organization) ที่เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งจัดระเบียบการบริหารราชการตาม หลักการกระจายอานาจการปกครองภายใต้บทบัญญัติของกฎหมายและบริบทท่ีเกี่ยวข้อง รวมทั้งมีลักษณะที่ แตกต่างจากส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐประเภทอ่ืน ๆ เช่น ผู้บริหารท้องถ่ินและสมาชิกสภาท้องถ่ิน เป็นนักการเมืองท้องถ่ินที่มาจากการเลือกต้ังและมีวาระของการทางานตามที่กฎหมายกาหนด รวมทั้งในการ เลือกตั้งท้องถ่ินรอบใหม่ อาจมีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารท้องถ่ินและสมาชิกสภาท้องถิ่นได้ เป็นต้น ดังน้ัน การเตรียมความพร้อมให้แก่บุคลากรของ อปท. ประเภทดังกลา่ ว จึงมีความจาเป็น ควรมีวธิ ีการที่หลากหลาย ไมค่ วรเปน็ การดาเนินการเพียงครัง้ เดยี วในระยะเปลี่ยนผ่านปัจจุบัน หากแต่ควรมีการดาเนินการอย่างตอ่ เนื่อง ตามรอบระยะเวลาท่ีเหมาะสมตามลักษณะเฉพาะของ อปท. ดังกล่าว กล่าวคือ มีการเตรียมความพร้อม ดงั กลา่ วเปน็ สว่ นหน่ึงของหลักสตู รการปฐมนิเทศหรือหลักสตู รพัฒนาผบู้ รหิ ารท้องถ่นิ และสมาชิกสภาท้องถิ่น (2) สานักงบประมาณและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรกาหนดให้มีผู้ประสานงานหลัก (focal point) ซึ่งอาจเป็นหน่วยงานหรือกลุ่มบุคคล เพื่อเป็นเจ้าภาพในการดาเนินการเตรียมความพร้อมให้แก่ อปท. และการให้บริการคาปรึกษาและความช่วยเหลือแก่ อปท. หรือเป็นพี่เล้ียงแบบให้บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (one-stop service) ทั้งด้านการจัดทางบประมาณ กฎหมายวิธีการงบประมาณ และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือการจัดทาคาของบประมาณ หรือเร่ืองอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีช่องทางที่หลากหลาย เช่น ทางออนไลน์ สานกั งบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ เทา่ นัน้ หนา้ 46
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ทางการใช้สื่อสังคม เป็นต้น เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งสามารถรองรับการเข้าใจบริการ ของ อปท. จากทว่ั ประเทศซงึ่ มจี านวน 7,852 แห่ง (กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น, 30 เมษายน 2562) (3) สานกั งบประมาณควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจดั ทางบประมาณขององคก์ ร ปกครองส่วนท้องถน่ิ (ระบบ อปท. : BB LAO) ซึ่งใช้ในการจดั ทางบประมาณของ อปท. ในปัจจบุ ัน โดยกรอบ แนวคิดของการพัฒนาควรต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของความเข้าใจในลักษณะทั่วไปของ อปท. ซ่ึงมีความเหมือนและ ความแตกต่างจากส่วนราชการ และควรนาประสบการณ์จากการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ท่ีผ่านมาควบคู่ไปกับการรับฟังข้อมูลย้อนกลับ (feedback) จากบุคลากรของ อปท. ในฐานะผู้ใช้งานระบบ เช่น ปัญหา ความต้องการ ข้อเสนอแนะ เป็นต้น เพ่ือนามาวิเคราะห์และใช้ประโยชน์ สาหรับการพัฒนาระบบจากมุมมองของผู้ใช้งานระบบและทาให้ระบบงานมีความเป็นมิตรกับผู้ใช้งาน (user friendly) หรือสามารถใช้งานได้ง่ายและสะดวกเพิ่มข้ึน ท้ังน้ี ระบบสารสนเทศดังกล่าวมีความจาเป็นและ สาคัญอยา่ งย่ิงเนื่องจาก อปท. มจี านวนมากและตั้งอยู่กระจายทั่วประเทศ รวมทง้ั บุคลากรของ อปท. มีระดับ ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ทางเทคนิคด้านการงบประมาณทแี่ ตกตา่ งกนั จึงทาให้ อปท. มีช่องว่าง (gap) กับสานักงบประมาณ ดังนั้น การดาเนินการผ่านระบบสารสนเทศจึงตอบสนองกับข้อจากัดและช่วยลด ระยะหา่ งหรือปดิ ช่องวา่ งกล่าวได้ นอกจากน้ี ระบบสารสนเทศดังกล่าวข้างต้น ควรมีการบูรณาการและเช่ือมโยงกับระบบ สารสนเทศท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (e-LAAS)11 ซึ่งอยู่ในความ ดูแลรับผิดชอบของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai)12 ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของกรมบัญชีกลาง ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and Country Reform: eMENSCR) ซ่ึงอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นต้น เพื่อ ลดภาระของ อปท. และสานักงบประมาณ ในลักษณะของการทางานด้านข้อมูลที่ซ้าซอ้ นและสนับสนุนใหเ้ กิด การบรู ณาการเพื่อให้หน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลและใช้ประโยชนร์ ว่ มกนั ได้ (4) คณะกรรมการกระจายอานาจให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นควรพิจารณาการกาหนด หลักเกณฑ์การจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ของปีงบประมาณซ่ึงเป็นอานาจหน้าที่ตาม ความในมาตรา 12 (11) และมาตรา 29 แห่งพระราชบญั ญตั ิกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจใหแ้ ก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 ให้สอดคลอ้ งกบั การจัดทางบประมาณตามปฏิทินงบประมาณรายจา่ ย ประจาปี เนื่องจากการขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพื่อสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบ ทั่วไปได้เปลี่ยนแปลงไปเดิมเป็นการขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีโดยตรง ดังนั้น เพ่ื อให้สานัก งบประมาณใช้หลักเกณฑด์ ังกลา่ วสาหรบั พิจารณาคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปขี อง อปท. และจัดสรร งบประมาณในลักษณะเงินอุดหนนุ ใหส้ อดคลอ้ งตามเปา้ หมายและหลักเกณฑ์อย่างมีประสทิ ธิผล 11 เป็นโปรแกรมสาหรับการปฏิบัติงานด้านการคลงั ของ อปท. และ อปท. ต้องปฏิบัติงานการรับ-จ่าย ท่ีเกิดข้นึ จริงประจาวัน เพื่อแสดงสถานะการเงินท่แี ท้จริงของ อปท. 12 คณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเม่ือวันที่ 28 พฤษภาคม 2562 อนุมัติตามข้อเสนอกระทรวงการคลังให้ การพัฒนาการ เชื่อมโยงข้อมูลระบบบรหิ ารการเงินการคลังภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) กับระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ (e-LAAS) สานกั งบประมาณของรัฐสภา ใชส้ าหรบั ประกอบการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ เทา่ น้นั หน้า 47
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น 12.5.2 ข้อเสนอแนะทางเลือกของรูปแบบและวิธกี ารขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพื่อสนับสนุน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ที่สอดคล้องตามนัยพระราชบัญญั ติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 การกระจายอานาจการปกครองและลักษณะของการดาเนินงานตามภารกจิ ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ (1) สานักงบประมาณและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรพัฒนารูปแบบและวิธีการขอต้ัง งบประมาณ รายจ่ายประจาปีเพื่อสนับสนุน อปท. ในลักษณ ะของเงินอุดหนุน โดยแนวคิดใน การออกแบบ (design concept) ควรตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของความเข้าใจในลักษณะท่ัวไปของ อปท. ซ่ึงเป็น หน่วยงานของรัฐท่ีมีความแตกต่างจากหน่วยงานของรัฐประเภทส่วนราชการ กล่าวคือ มีการจัดระเบียบการ บริหารราชการตามหลักการกระจายอานาจการปกครอง (decentralization) เพื่อให้เกิดการจัดการปกครอง ตนเอง (self-government) ตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถ่ินภายใต้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง รวมทั้งบริบททางภูมิสังคมที่มีความแตกต่างหลากหลายตามท้องถิ่นต่าง ๆ ดังน้ัน รูปแบบและวิธีการขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพื่อสนับสนุน อปท. ควรออกแบบเป็นเครื่องมือในการ กาหนดทศิ ทางการใชท้ รัพยากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ (อปท.) ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ คุม้ คา่ และเกิด ประสิทธิผล ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดการดาเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภายในพ้ืนที่ (government integration) เพื่อนาไปสู่การพัฒนาให้เกิดการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (smart operations) กล่าวคือ มี การปฏิบัติงานในลักษณะท่ีเกิดผล มากขึ้น (do more) ดีข้ึน (do better) และมีการใช้งบประมาณและทรัพยากร เทา่ เดิม (do with the same amount of taxes) สาหรับการจดั ทาและนาส่งผลสัมฤทธ์ใิ หแ้ กป่ ระชาชนตามสภาพภมู ิ สงั คมท่มี คี วามแตกตา่ งและหลากหลายในแตล่ ะท้องถน่ิ ทั้งน้ี เน่ืองจาก อปท. ส่วนใหญ่เป็นเทศบาลตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล13 ซ่ึงมี ขนาดเล็กตามพ้ืนที่ท่ีรับผิดชอบ มีผู้บริหารและสมาชิกสภาท้องถิ่นมาจากการเลือกต้ังของประชาชนและดารง ตาแหน่งตามวาระท่ีแน่นอน มีจานวนบุคลากรและรายได้ที่จากัด แต่ต้องรับผิดชอบตามภารกิจและอานาจ หน้าที่ตามกฎหมายท่ีรอบด้านฯลฯ ทาให้การส่งั สมความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของบุคลากรในเชงิ เทคนิค ที่จากัด และขาดความเชี่ยวชาญและการส่ังสมองค์ความรู้ที่ต่อเนื่องเหมือนส่วนราชการทั้งส่วนกลางและ ภูมิภาคซ่ึงบริหารราชการตามหลักการรวมอานาจการปกครอง (centralization) และหลักการแบ่งอานาจการ ปกครอง (deconcentration) ดังน้ัน รูปแบบและวิธีการขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพ่ือสนับสนุน อปท. จึงควรมีความแตกต่างจากหน่วยรับงบประมาณที่เป็นส่วนราชการทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และ ควรเป็นรูปแบบและวิธีการที่ง่าย (simplicity) ต่อการใช้งานของบุคลากรท้องถ่ิน โดยมีกรอบ หลักเกณฑ์ วธิ ีการ ข้นั ตอน แบบฟอร์ม ฯลฯ เทา่ ทีจ่ าเปน็ ยดื หยนุ่ มนี ้อยและไมซ่ ับซ้อน ทั้งน้ี การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. สอดคล้องตามหลักการ จาแน กประเภ ทรายจ่ายของสานั กงบประมาณ ที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ความช่วยเหลือหรือสนั บส นุนการ ดาเนินงานของ อปท. ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐแต่ไม่ใช่ส่วนราชการ และมีลักษณะการดาเนินภารกิจและ อานาจหน้าท่ีของท้องถิ่นตามกฎหมายกาหนด โดยเฉพาะการจัดทาบริการสาธารณะทอ้ งถิ่นให้แก่ประชาชนที่ หลากหลายด้าน ให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และประสิทธิผล ควบคู่ไปกับความสามารถ ตอบสนองตามสภาพปัญหาและความต้องการที่แตกต่างและหลากหลายตามภูมิสังคมได้ ภายใต้ความจากัด ของทรัพยากรของท้องถ่ิน ดังนั้น รูปแบบและวิธีการขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปีของ อปท. ควรได้รับ 13 ณ วันท่ี 14 มิถุนายน 2562 มีจานวนเทศบาลตาบล และองค์การบริหารส่วนตาบลมีจานวน 2,233 และ 5,332 แห่ง ตามลาดบั รวมเปน็ จานวน 7,565 แห่ง หรอื คดิ เป็นร้อยละ 96.34 ของ อปท. ท้ังหมด (7,852 แหง่ ) สานักงบประมาณของรฐั สภา ใชส้ าหรับประกอบการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ เท่าน้นั หน้า 48
Search