Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อบังคับการประชุม สผ 2562

ข้อบังคับการประชุม สผ 2562

Published by flowerz_uk, 2019-12-02 23:30:01

Description: ข้อบังคับการประชุม สผ 2562

Search

Read the Text Version

สารบัญ ข้อบงั คบั การประชมุ สภาผแู้ ทนราษฎร พ.ศ. 2562 หนา้ หมวด 1 การเลือกประธานสภาและรองประธานสภา ๒๓ หมวด 2 หน้าท่ีและอานาจของประธานสภา รองประธานสภา ๒๔ ๒๕ และหนา้ ทขี่ องเลขาธกิ าร ๒๕ หมวด 3 คณะกรรมการประสานงาน ๒๖ หมวด 4 ส่วนท่ี 1 คณะกรรมการประสานงานร่วมสภาผแู้ ทนราษฎร ๒๗ ส่วนที่ 2 คณะกรรมการประสานงานพรรคการเมอื งฝ่ายค้าน ๒๗ ๓๑ ในสภาผู้แทนราษฎร ๓๓ การประชุม ๓๕ ส่วนท่ี 1 วิธีการประชมุ ๓๗ สว่ นท่ี 2 การเสนอญตั ติ ๔๖ สว่ นที่ 3 การอภปิ ราย ส่วนท่ี 4 การลงมติ ๕๑ ๕๒ หมวด 5 กรรมาธิการ ๕๒ ๕๓ หมวด 6 การเสนอและการพิจารณาร่างพระราชบญั ญัติ ๕๔ ๕๕ หมวด 7 การพจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัติท่ีรัฐสภามมี ตเิ ห็นชอบ ๕๖ ๕๖ ใหพ้ ิจารณาตอ่ ไป ๕๗ ๕๗ หมวด 8 กระทถู้ าม ๕๘ ๕๙ สว่ นท่ี 1 บทท่ัวไป สว่ นท่ี 2 กระทถู้ ามสดดว้ ยวาจา สว่ นท่ี 3 กระทู้ถามท่วั ไป ส่วนที่ 4 กระทถู้ ามแยกเฉพาะ หมวด 9 การเปิดอภปิ รายท่วั ไป ส่วนที่ 1 การเปิดอภปิ รายทั่วไปเพอ่ื ลงมติไมไ่ วว้ างใจ สว่ นท่ี 2 การเปดิ อภิปรายทั่วไปตามมาตรา ๑5๒ ของรฐั ธรรมนูญ หมวด 10 การรักษาระเบยี บและความเรยี บร้อย หมวด 11 บทสุดท้าย บทเฉพาะกาล

หน้า ๒๓ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ขอ้ บังคับ การประชมุ สภาผ้แู ทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๑๒๘ ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สภาผแู้ ทนราษฎรจงึ ตราข้อบงั คบั การประชมุ ของสภาผแู้ ทนราษฎรขน้ึ ไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ขอ้ บังคับนเ้ี รยี กว่า “ข้อบงั คับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒” ข้อ ๒ ขอ้ บังคับนใ้ี หใ้ ชบ้ ังคับต้งั แตว่ ันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป ข้อ ๓ ในขอ้ บังคับนี้ คาวา่ “ประธานสภา” หมายความวา่ ประธานสภาผ้แู ทนราษฎร “รองประธานสภา” หมายความวา่ รองประธานสภาผแู้ ทนราษฎร “สภา” หมายความว่า สภาผูแ้ ทนราษฎร “ประธาน” หมายความว่า ประธานของท่ปี ระชุมสภาผู้แทนราษฎร “สมาชิก” หมายความว่า สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร “กรรมาธิการ” หมายความว่า กรรมาธกิ ารสามัญหรือกรรมาธกิ ารวิสามญั ของสภาผแู้ ทนราษฎร “บริเวณสภา” หมายความว่า อาณาบริเวณอันเป็นขอบเขตของสภาผู้แทนราษฎร อาคารที่ทาการของสภาผู้แทนราษฎร และให้หมายความรวมถึงสถานท่ีสาหรับใช้เป็นที่ประชุม สภาผูแ้ ทนราษฎรเป็นการช่วั คราว และอาคารท่ที าการของสานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรด้วย “เลขาธกิ าร” หมายความว่า เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร “การประชมุ ” หมายความวา่ การประชมุ สภาผูแ้ ทนราษฎร “ท่ีประชุม” หมายความว่า ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร และให้หมายความรวมถึง ห้องกระทู้ถามดว้ ย “ศาล” หมายความวา่ ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง หรอื ศาลรฐั ธรรมนูญ ข้อ ๔ ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรรักษาการตามข้อบังคับ และมีอานาจออกระเบียบ เพ่อื ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คบั นี้ หมวด ๑ การเลอื กประธานสภาและรองประธานสภา ข้อ ๕ การเลือกประธานสภาและรองประธานสภาคร้ังแรก ให้เลขาธิการเชิญสมาชิก ผู้มีอายุสูงสุดซึ่งอยู่ในที่ประชุมเป็นประธานชั่วคราวของท่ีประชุม เพื่อให้ที่ประชุมดาเนินการ เลือกประธานสภาและรองประธานสภา และเพื่อให้ท่ีประชุมดาเนินการในเรื่องอ่ืนที่จาเป็นจะต้อง ประชุมปรึกษาในการประชมุ ครั้งนั้นดว้ ย

หน้า ๒๔ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา ในการดาเนินการเลือกตามวรรคหน่ึง ถ้าผู้เป็นประธานช่ัวคราวของท่ีประชุมได้รับการเสนอช่ือ เป็นประธานสภาหรือรองประธานสภา ให้สมาชิกผู้มีอายุสูงสุดในลาดับถัดไปซ่ึงอยู่ในท่ีประชุม เปน็ ประธานชวั่ คราวของทีป่ ระชมุ ข้อ ๖ การเลือกประธานสภา สมาชิกแต่ละคนมสี ิทธิเสนอชื่อสมาชิกได้หนึง่ ช่ือ การเสนอนนั้ ต้องมจี านวนสมาชกิ รบั รองไม่นอ้ ยกวา่ ย่สี บิ คน ให้ผู้ถูกเสนอชื่อตามวรรคหนึ่ง กล่าวแสดงวิสัยทัศน์ในการท่ีจะดารงตาแหน่งต่อท่ีประชุม ภายในระยะเวลาท่ีประธานกาหนด โดยไม่มีการอภิปราย ถ้ามีการเสนอชื่อผู้ใดเพียงชื่อเดยี ว ให้ถือว่าผู้ถูกเสนอชื่อนั้นเป็นผู้ได้รับเลือก ถ้ามีการเสนอช่ือ หลายชอื่ ใหอ้ อกเสยี งลงคะแนนเปน็ การลบั ใหป้ ระธานประกาศช่ือผูไ้ ดร้ บั เลือกต่อทีป่ ระชมุ ข้อ ๗ การเลอื กรองประธานสภา ใหน้ าความในข้อ ๖ มาใช้บังคบั โดยอนุโลม ในกรณีที่สภามีมติให้มีรองประธานสภาสองคน ให้เลือกรองประธานสภาคนที่หนึ่งก่อน แล้วจึงเลือกรองประธานสภาคนท่ีสอง ข้อ ๘ เม่ือเลือกประธานสภาและรองประธานสภาได้แล้ว ให้เลขาธิการมีหนังสือแจ้งไปยัง นายกรัฐมนตรีโดยเร็ว เพ่ือนาความกราบบังคมทูลเพ่ือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตงั้ ต่อไป เมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงแต่งต้ังประธานสภาและรองประธานสภาแล้ว ให้เลขาธิการ สง่ สาเนาประกาศพระบรมราชโองการไปยงั วฒุ ิสภาเพือ่ ทราบดว้ ย หมวด ๒ หนา้ ทแี่ ละอานาจของประธานสภา รองประธานสภา และหนา้ ที่ของเลขาธิการ ข้อ ๙ ประธานสภามหี นา้ ที่และอานาจ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เป็นประธานของท่ีประชมุ และต้องวางตนเป็นกลางในการปฏบิ ตั หิ น้าที่ (๒) กากบั ดแู ลการดาเนนิ กจิ การของสภา (๓) ควบคมุ การรักษาความสงบเรยี บร้อยในทีป่ ระชุม ตลอดถงึ บรเิ วณสภา (๔) เปน็ ผู้แทนสภาในกจิ การภายนอก (๕) แต่งต้งั กรรมการเพือ่ ดาเนินกจิ การใด ๆ อนั เป็นประโยชน์ต่อกจิ การของสภา (๖) หนา้ ทแ่ี ละอานาจอ่นื ตามที่มกี ฎหมายบญั ญตั ไิ วห้ รือตามทกี่ าหนดไว้ในข้อบงั คับนี้ ข้อ ๑๐ รองประธานสภามีหน้าท่ีและอานาจช่วยประธานสภาในกิจการอันเป็นหน้าท่ีและอานาจ ของประธานสภา หรือปฏิบตั กิ ารตามทป่ี ระธานสภามอบหมาย

หน้า ๒๕ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานุเบกษา เมื่อไม่มีผู้ดารงตาแหน่งประธานสภา หรือมีแต่ไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ ในกรณี ที่มีรองประธานสภาสองคน ให้รองประธานสภาคนท่ีหน่ึงเป็นผู้ปฏิบัติหน้าท่ีแทนประธานสภา ถ้ารองประธานสภาคนที่หน่ึงไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้รองประธานสภาคนท่ีสอง เปน็ ผ้ปู ฏบิ ตั หิ นา้ ที่แทนประธานสภา ข้อ ๑๑ เลขาธกิ ารมีหน้าท่ี ดังตอ่ ไปน้ี (๑) นดั ประชมุ สภาและคณะกรรมาธกิ ารครัง้ แรก (๒) เชิญผู้เปน็ ประธานชั่วคราวของท่ปี ระชมุ และที่ประชมุ คณะกรรมาธกิ ารเข้าปฏิบัตหิ นา้ ท่ี (๓) ช่วยประธานในการประชุม (๔) จดั ทารายงานการประชมุ และบันทกึ การออกเสียงลงคะแนน (๕) ยืนยนั มตขิ องสภาไปยังผทู้ ่เี ก่ยี วขอ้ ง (๖) รักษาสรรพเอกสาร ขอ้ มูลและโสตทศั นวัสดุของสภา (๗) ควบคุมการปฏบิ ตั ิงานให้เปน็ ไปตามระเบียบที่ประธานสภากาหนด (๘) สนบั สนุนการประชมุ และการดาเนนิ งานของสมาชิก (๙) หน้าทอ่ี นื่ ตามทม่ี กี ฎหมายบญั ญตั ิไวห้ รือตามทีก่ าหนดไว้ในข้อบังคบั นี้ (๑๐) ปฏบิ ตั กิ ารอื่นตามที่ประธานสภามอบหมาย หมวด ๓ คณะกรรมการประสานงาน ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการประสานงานรว่ มสภาผูแ้ ทนราษฎร ข้อ ๑๒ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการประสานงานร่วมสภาผู้แทนราษฎร” ประกอบด้วย ประธานสภาหรือรองประธานสภาท่ีประธานสภามอบหมายเป็นประธานกรรมการ และกรรมการอื่นอีกไม่เกินสิบคน ซึ่งประธานสภาแต่งตั้งจากสมาชิกซ่ึงเป็นกรรมการประสานงาน สภาผู้แทนราษฎรพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาลจานวนห้าคน และกรรมการประสานงานพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ในสภาผู้แทนราษฎรจานวนห้าคน ตามมติของคณะกรรมการประสานงานแตล่ ะฝา่ ย หลักเกณฑ์ วิธีการในการแต่งตั้งและสิทธิประโยชน์ของคณะกรรมการประสานงานร่วม สภาผแู้ ทนราษฎร ให้เป็นไปตามระเบยี บทป่ี ระธานสภากาหนด ข้อ ๑๓ กรรมการประสานงานรว่ มสภาผแู้ ทนราษฎร พน้ จากตาแหนง่ เมอ่ื (๑) สภาส้นิ อายุ หรอื สภาถูกยบุ (๒) ตาย (๓) ลาออก

หน้า ๒๖ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา (๔) พน้ จากการเป็นสมาชิก (๕) พ้นจากการเป็นกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎรพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล หรอื กรรมการประสานงานพรรคการเมอื งฝ่ายคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร แลว้ แตก่ รณี (๖) มกี ารแต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานร่วมสภาผแู้ ทนราษฎรใหมแ่ ทนคณะเดิม ข้อ ๑๔ คณะกรรมการประสานงานรว่ มสภาผู้แทนราษฎร มีหนา้ ทีแ่ ละอานาจ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) พิจารณาดาเนนิ การหรือประสานงานในเรอ่ื งท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการประชุมและกจิ การของสภา (๒) หน้าที่และอานาจอืน่ ตามท่ปี ระธานสภามอบหมาย ส่วนที่ ๒ คณะกรรมการประสานงานพรรคการเมอื งฝ่ายคา้ นในสภาผ้แู ทนราษฎร ข้อ ๑๕ ให้มีคณะกรรมการคณะหน่ึงเรียกว่า “คณะกรรมการประสานงานพรรคการเมือง ฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร” ประกอบด้วย ผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิก ซึ่งสังกัด พรรคการเมืองฝ่ายค้านท่ีผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรมอบหมายเป็นประธานกรรมการ และกรรมการอ่ืนอีกไม่เกินย่ีสิบส่ีคน ซึ่งผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรเสนอให้ประธานสภาแต่งตั้ง จากสมาชิกในสังกัดพรรคการเมืองฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรตามอัตราส่วนจานวนสมาชิกของ พรรคการเมอื งฝา่ ยค้านแตล่ ะพรรค หลักเกณฑ์ วิธีการในการแต่งต้ังและสิทธิประโยชน์ของคณะกรรมการประสานงาน พรรคการเมืองฝ่ายค้านในสภาผแู้ ทนราษฎร ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบที่ประธานสภากาหนด ข้อ ๑๖ กรรมการประสานงานพรรคการเมอื งฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร พ้นจากตาแหนง่ เมอ่ื (๑) สภาสน้ิ อายุ หรือสภาถกู ยบุ (๒) ตาย (๓) ลาออก (๔) พน้ จากการเป็นสมาชิก (๕) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานพรรคการเมืองฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรใหม่ แทนคณะเดิม ข้อ ๑๗ คณะกรรมการประสานงานพรรคการเมืองฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร มีหน้าท่ี และอานาจ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) พิจารณาดาเนินการหรือประสานงานในเรื่องของพรรคการเมืองฝ่ายค้านท่ีเกี่ยวข้องกับ การประชุมและกจิ การของสภา (๒) หนา้ ทีแ่ ละอานาจอน่ื ตามท่ีผู้นาฝ่ายค้านในสภาผแู้ ทนราษฎรมอบหมาย

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง หน้า ๒๗ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา หมวด ๔ การประชมุ สว่ นที่ ๑ วิธกี ารประชุม ข้อ ๑๘ การประชุมย่อมเป็นการเปิดเผย เว้นแต่คณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกจานวนไมน่ ้อยกว่า หนึ่งในสีข่ องจานวนสมาชิกทั้งหมดเทา่ ทมี่ อี ย่ขู องสภาร้องขอให้ประชุมลับ ก็ให้ประชมุ ลบั การประชุมเปิดเผย ให้บุคคลภายนอกเข้าฟังการประชุมได้ตามระเบียบที่ประธานสภากาหนด และประธานสภาต้องจัดให้มีการถ่ายทอดสดการประชุมทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์หรือ ทางสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอ่ืนท่ีประชาชนท่ัวไปสามารถรับได้อย่างท่ัวถึง โดยจัดให้มี ล่ามภาษามอื ดว้ ย เวน้ แตม่ เี หตุขัดขอ้ งใหแ้ จ้งที่ประชมุ ทราบ ในกรณีท่ีไม่สามารถถ่ายทอดสดการประชุมตามวรรคสองได้ ให้ประธานสภาจัดให้มี การเผยแพรบ่ ันทกึ ภาพและเสียงการประชุมดังกล่าวผ่านทางสอื่ ทเ่ี หมาะสมโดยเรว็ ในการประชุมลับ ห้ามบุคคลภายนอกเข้าฟังการประชุม เว้นแต่ผู้ที่ได้รับอนุญาต จากประธานเท่าน้ัน และให้ประธานดาเนินการเพื่อมิให้มีการบันทึกภาพ บันทึกเสียง หรือกระทาการใด ๆ ท่ีเปน็ การถ่ายทอดการประชุมส่บู คุ คลภายนอกโดยมิได้รับอนญุ าต ข้อ ๑๙ ให้มีการประชุมครั้งแรกภายในสิบวันนับแต่วันเปิดสมัยประชุมสามัญหรือวิสามัญ ของรฐั สภา การประชุมคร้ังต่อไปให้เป็นไปตามมติที่สภากาหนดไว้ แต่ถ้ามีเหตุอันสมควรประธานสภา จะส่ังงดการประชุมคร้ังใดก็ได้ โดยให้ทาเป็นหนังสือ และให้ประธานสภาแจ้งเหตุที่ส่ังงดในการประชุม ครัง้ ถดั ไป เวน้ แต่ประธานบอกงดในทปี่ ระชุมแลว้ ในกรณีทีป่ ระธานสภาเห็นสมควรเรยี กประชุมเปน็ พิเศษ ใหเ้ รียกประชมุ ได้ ข้อ ๒๐ การนัดประชุมต้องทาเป็นหนังสือ เว้นแต่เม่ือประธานได้บอกนัดในที่ประชุมแล้ว หรอื เหน็ ว่าเปน็ เร่อื งดว่ นจะนัดประชุมโดยวธิ อี นื่ ใดก็ได้ การนัดประชุมให้นัดล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวัน แต่ถ้าประธานสภาเห็นสมควรจะนัด เร็วกว่านน้ั กไ็ ด้ ข้อ ๒๑ ให้สง่ ระเบียบวาระการประชุมไปพร้อมกับหนังสอื นัดประชุม โดยเอกสารท่ีเก่ียวข้อง จะเผยแพรท่ างสื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ในกรณีที่ประธานสภาเห็นสมควรจะบรรจุเรื่องใดเพ่ิมเติมในระเบียบวาระการประชุมอีกก็ได้ แตต่ ้องก่อนวนั ประชมุ ไม่นอ้ ยกวา่ หนง่ึ วนั

หน้า ๒๘ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา ข้อ ๒๒ การนัดประชุมตามข้อ ๒๐ หรือการส่งเอกสารตามข้อ ๒๑ อาจดาเนินการทาง สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอ่ืนเพ่ิมเติมด้วยก็ได้ เม่ือประธานสภาเห็นสมควร เว้นแตก่ ารจดั สง่ เอกสารลับ ใหเ้ ปน็ ไปตามทีป่ ระธานสภากาหนด ข้อ ๒๓ การจัดระเบยี บวาระการประชมุ ใหจ้ ัดลาดบั ดังต่อไปน้ี (๑) กระทถู้ าม (๒) เรอ่ื งทป่ี ระธานจะแจ้งตอ่ ทปี่ ระชุม (๓) รับรองรายงานการประชุม (๔) เรอ่ื งที่คณะกรรมาธิการพจิ ารณาเสรจ็ แล้ว (๕) เรอื่ งทคี่ า้ งพจิ ารณา (๖) เรอื่ งที่เสนอใหม่ (๗) เรอ่ื งอ่นื ๆ ในกรณีที่ประธานสภาเห็นว่าเร่ืองใดเป็นเรื่องด่วน จะจัดไว้ในลาดับใดของระเบียบวาระ การประชมุ กไ็ ด้ แตจ่ ะจัดไวก้ อ่ นเร่อื งทีค่ ณะกรรมาธกิ ารพิจารณาเสร็จแล้วไม่ได้ ข้อ ๒๔ ก่อนเข้าสู่ระเบียบวาระการประชุม ประธานอาจอนุญาตให้สมาชิกปรึกษาหารือ ปัญหาท่ีเก่ียวกับความเดือดร้อนของประชาชนหรือปัญหาอื่นใดได้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ท่ีประธานสภากาหนด และให้ประธานสภาส่งเร่ืองดังกล่าวให้นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีหรือหน่วยงาน ของรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งช้แี จงภายในสามสบิ วนั และแจง้ ให้สมาชกิ ทราบ ข้อ ๒๕ ก่อนเข้าประชุมทุกคร้ังให้สมาชิกผู้มาประชุมลงชื่อในเอกสารท่ีจัดไว้หรือแสดงตน ตามระเบยี บทป่ี ระธานสภากาหนด เมื่อมีสมาชิกลงช่ือมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจานวนสมาชิกท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ของสภา จึงจะเปน็ องคป์ ระชมุ เว้นแตใ่ นกรณีพิจารณาระเบยี บวาระกระทู้ถามตามมาตรา ๑๕๐ ของรฐั ธรรมนูญ ถ้ามีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่าหน่ึงในห้าของจานวนสมาชิกท้ังหมดเท่าท่ีมีอยู่ของสภาก็ ให้ถือว่า เป็นองคป์ ระชุมพจิ ารณาได้ เมื่อมีสมาชิกมาลงช่ือครบองค์ประชุมและมีสัญญาณให้เข้าประชุมแล้ว ให้ประธานดาเนินการ ประชมุ ได้ เม่ือประธานขึ้นบัลลังก์ ให้ผู้ที่อยู่ในทปี่ ระชุมยนื ข้นึ จนกว่าประธานไดน้ ่ังลง ในกรณีอ่านพระบรมราชโองการหรือกระแสพระราชดารัส ให้ผู้ที่อยู่ในท่ีประชุมยืนฟัง ตลอดเวลาที่อา่ น ข้อ ๒๖ เมื่อพ้นกาหนดเวลาประชุมไปสามสิบนาทีแล้ว จานวนสมาชิกยังไม่ครบองค์ประชุม ประธานจะสั่งให้เลอื่ นการประชุมไปกไ็ ด้

หน้า ๒๙ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๒๗ เมื่อไม่มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานของท่ีประชุม ให้สมาชิกผู้มีอายุสูงสุดซ่ึงมาประชุม เป็นประธานชั่วคราวของท่ีประชุม เพ่ือให้ที่ประชุมดาเนินการเลือกประธานสภาและรองประธานสภา ตามข้อ ๕ ข้อ ๖ และข้อ ๗ หรือเพ่ือให้ท่ีประชุมดาเนินการเลือกประธานเฉพาะคราวสาหรับ การประชมุ คร้งั นัน้ ในกรณที ที่ ่ปี ระชมุ ต้องประชมุ ปรกึ ษาเร่ืองอ่ืน ในการเลือกประธานเฉพาะคราว ให้นาความในข้อ ๕ และข้อ ๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม เว้นแต่กรณีตามข้อ ๖ วรรคสอง มิให้นามาใช้บังคับ ส่วนการลงคะแนนให้กระทาเป็นการเปิดเผย ตามข้อ ๘๓ ข้อ ๒๘ การประชุม ให้ท่ีประชุมพิจารณาเฉพาะเรื่องท่ีมีอยู่ในระเบียบวาระการประชุม และตอ้ งดาเนินการพิจารณาตามลาดับระเบยี บวาระการประชมุ ทจี่ ัดไว้ เวน้ แต่ทป่ี ระชมุ จะลงมตเิ ปน็ อยา่ งอ่ืน ข้อ ๒๙ ผู้ใดประสงค์จะกล่าวถ้อยคาต่อที่ประชุม ให้ยกมือข้ึนพ้นศีรษะ เมื่อประธานอนุญาตแล้ว จงึ ยนื ขน้ึ กล่าวได้ และตอ้ งเปน็ คากล่าวกับประธานเท่าน้ัน ข้อ ๓๐ ถ้านายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีขอแถลงหรือชี้แจงเรื่องใดต่อที่ประชุม ให้ประธาน พิจารณาอนญุ าต สมาชิกอาจซักถามเพื่อความกระจ่างแจ้งในเร่ืองที่แถลงหรือช้ีแจงน้ัน แต่นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีจะไม่ตอบก็ได้ ถ้าเห็นว่าข้อซักถามนั้นยังไม่ควรเปิดเผยเพราะเกี่ยวกับความปลอดภัย หรอื ประโยชนส์ าคัญของแผ่นดิน ข้อ ๓๑ ในกรณีท่ีสภาพิจารณาเร่ืองที่เก่ียวกับศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ หรือหน่วยงานอ่ืนที่กฎหมายกาหนดให้ต้องรายงานผลการปฏิบัติงานต่อสภา ให้ผู้แทนขององค์กรน้ัน มีสิทธเิ ขา้ แถลงหรือชแ้ี จงต่อทปี่ ระชมุ ได้ เมื่อประธานอนุญาต ในการแถลงหรือช้ีแจง ให้นาความในข้อ ๖๙ ข้อ ๗๐ ข้อ ๗๑ และข้อ ๗๒ มาใช้บังคับ โดยอนโุ ลม ข้อ ๓๒ ประธานมีอานาจปรึกษาหารือที่ประชุมในปัญหาใด ๆ กาหนดวิธีการตรวจสอบ องคป์ ระชุม ส่ังพักการประชมุ เลอ่ื นการประชมุ หรอื เลิกการประชมุ ไดต้ ามทเ่ี ห็นสมควร ถ้าประธานสภาลงจากบัลลังก์โดยไม่ได้ส่ังอย่างใด และไม่มีรองประธานสภาปฏิบัติหน้าท่ีแทน ให้เลิกการประชมุ ข้อ ๓๓ รายงานการประชุม เมื่อคณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎรตรวจแล้ว กอ่ นท่ีจะเสนอให้สภารับรอง ให้ทาสาเนาวางไว้ไมน่ ้อยกว่าเจ็ดวัน ณ บริเวณสภาเพื่อให้สมาชิกตรวจดูได้ โดยสมาชิกอาจร้องขอตรวจดูทางส่ืออิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอ่ืนด้วยก็ได้ ท้งั นี้ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทปี่ ระธานสภากาหนด รายงานการประชมุ ทุกคร้ังจะต้องมีรายชือ่ สมาชกิ ที่มาประชุม ท่ลี าการประชุม ทีข่ าดการประชุม และบันทกึ การออกเสียงลงคะแนนแตล่ ะเรือ่ ง

หน้า ๓๐ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา สมาชิกมีสิทธิขอแก้ไขเพ่ิมเติมรายงานการประชุมดังกล่าวให้ตรงตามที่เป็นจริง โดยย่ืนคาขอ แก้ไขเพ่ิมเติมต่อประธานคณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร ถ้าคณะกรรมาธิการไม่ยอม แกไ้ ขเพม่ิ เติมใหต้ ามท่ีขอ สมาชกิ ผ้นู น้ั มีสทิ ธทิ จ่ี ะยนื ยันคาขอแก้ไขเพ่ิมเติมเพ่อื ขอใหส้ ภาวนิ ิจฉยั ข้อ ๓๔ รายงานการประชุมคร้ังใด เมื่อได้วางสาเนาไว้เพื่อให้สมาชิกตรวจดูตามข้อ ๓๓ แล้ว ถ้ามีการแก้ไขเพิ่มเติมในภายหลังโดยคณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎรแก้ไขเพิ่มเติมเอง หรือโดยสมาชิกขอแก้ไขเพ่ิมเติมก็ตาม ในคราวที่สภาพิจารณารับรองรายงานการประชุมนั้น คณะกรรมาธิการกจิ การสภาผ้แู ทนราษฎรจะต้องแถลงตอ่ ท่ปี ระชุมถงึ การแก้ไขเพม่ิ เติมดังกล่าว ข้อ ๓๕ เมื่อสภาได้รับรองรายงานการประชุมครั้งใดแล้ว ให้ประธานสภาลงลายมือช่ือไว้ เปน็ หลกั ฐาน รายงานการประชุมท่ีได้รับรองแล้ว แต่ประธานสภายังมิได้ลงลายมือช่ือไว้เป็นหลักฐาน หรือรายงานการประชุมท่ียังมิได้มีการรับรองเพราะเหตุที่สภาสิ้นอายุ หรือสภาถูกยุบ ให้เลขาธิการ บันทกึ เหตนุ นั้ ไว้ และเปน็ ผ้รู บั รองความถูกตอ้ งของรายงานการประชมุ นนั้ ข้อ ๓๖ สภาอาจมมี ติไมใ่ หจ้ ดรายงานการประชุมลบั คร้งั ใดทัง้ หมด หรือแตเ่ พยี งบางส่วนกไ็ ด้ แตใ่ หม้ บี ันทึกเหตกุ ารณไ์ ว้ ข้อ ๓๗ การเปิดเผยรายงานการประชุมลับ ใหค้ ณะกรรมาธิการกิจการสภาผูแ้ ทนราษฎรพจิ ารณา และเสนอความเห็นเพ่ือให้สภามีมตวิ า่ จะเปิดเผยหรือไม่ ข้อ ๓๘ สภาอาจมีมติห้ามโฆษณาข้อความอันเก่ียวกับความปลอดภัยหรือประโยชน์สาคัญ ของแผน่ ดินทีไ่ ด้กล่าวหรือปรากฏในการประชุมกไ็ ด้ ข้อ ๓๙ ในกรณีที่สมาชิกกล่าวถ้อยคาในท่ีประชุมที่มีการถ่ายทอดทางวิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน์หรือทางสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอ่ืน อันอาจเป็นเหตุให้บุคคลอ่ืนซึ่งไม่ใช่ นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีหรือสมาชิกได้รับความเสียหาย บุคคลนั้นมีสิทธิร้องขอต่อประธานสภา ภายในกาหนดเวลาสามเดอื นนบั แตว่ ันทมี่ ีการประชมุ ครั้งนั้น เพอื่ ให้มกี ารโฆษณาคาช้ีแจง การย่ืนคาร้องต้องทาเป็นหนังสือพรอ้ มคาชแี้ จงประกอบข้อเทจ็ จริงอย่างชัดเจนและอยู่ในประเดน็ ทีผ่ รู้ อ้ งอ้างว่าก่อให้เกิดความเสยี หายเท่านนั้ ข้อ ๔๐ ให้เป็นอานาจของประธานสภาท่ีจะวินิจฉัยว่าคาร้องและคาชี้แจงท่ีผู้ร้องกล่าวอ้างมาน้ัน เปน็ ไปตามข้อ ๓๙ หรอื ไม่ ให้ประธานสภาวินิจฉยั คาร้องและคาชแ้ี จงใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในสามสิบวนั นบั แตว่ ันที่ได้รับคารอ้ ง ในกรณีท่ีประธานสภาวินิจฉัยว่าคาร้องและคาช้ีแจงไม่เป็นไปตามข้อ ๓๙ ให้ยกคาร้องเสีย และแจง้ ให้ผู้ร้องทราบ คาวินิจฉัยของประธานสภาใหถ้ ือเปน็ เดด็ ขาด

หน้า ๓๑ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๔๑ ในกรณีที่ประธานสภาได้วินิจฉัยว่าคาร้องและคาช้ีแจงเป็นไปตามข้อ ๓๙ ให้ประธานสภาจัดให้มีการโฆษณาโดยวิธีปิดประกาศคาชี้แจงไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ไว้ ณ บริเวณสภา ทีป่ ระชาชนเข้าไปตรวจสอบได้ และโฆษณาโดยวิธกี ารอน่ื ตามทีป่ ระธานสภาเห็นสมควร ข้อ ๔๒ เมื่อประธานสภาดาเนินการตามข้อ ๔๑ แล้ว ให้แจ้งผู้ร้อง ผู้กล่าวถ้อยคา ท่กี ่อให้เกิดความเสียหาย และท่ีประชมุ รับทราบในโอกาสแรกทมี่ ีการประชมุ ข้อ ๔๓ ให้เลขาธิการเป็นผู้พิมพ์และโฆษณารายงานการประชุม เพื่อเป็นการเปิดเผย ให้ประชาชนทราบได้ทั่วไป โดยอาจมีการเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภทอืน่ ดว้ ยกไ็ ด้ เวน้ แต่รายงานการประชมุ ลับทส่ี ภามีมตไิ ม่ให้เปดิ เผย ส่วนที่ ๒ การเสนอญัตติ ข้อ ๔๔ ญัตติ คือ ข้อเสนอใด ๆ ที่มีความมุ่งหมายให้สภาลงมติหรือช้ีขาดว่าจะให้ปฏิบัติ หรอื ดาเนินการอย่างไรต่อไป ข้อ ๔๕ ญัตติทั้งหลายต้องเสนอล่วงหน้าเป็นหนังสือต่อประธานสภา และต้องมีจานวนสมาชิก รับรองไมน่ อ้ ยกวา่ หา้ คน เว้นแต่ข้อบงั คับน้ไี ด้กาหนดไว้โดยเฉพาะเปน็ อยา่ งอ่นื ข้อ ๔๖ ญตั ติขอให้ประชมุ ลับตามมาตรา ๑๒๗ ญตั ติทเี่ ปน็ รา่ งพระราชบัญญตั ิตามมาตรา ๑๓๓ ญัตติขอเปิดอภปิ รายท่ัวไปตามมาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๒ ของรัฐธรรมนูญ และญัตติท่ีคณะรัฐมนตรี เปน็ ผเู้ สนอ ไม่ตอ้ งมผี รู้ บั รอง ข้อ ๔๗ ญัตติขอให้สภามีมติให้นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีผู้ใดเข้าร่วมประชุมในเรื่องใด ในที่ประชมุ ถ้าสมาชิกเป็นผู้เสนอต้องมีจานวนสมาชกิ รับรองไม่น้อยกว่าย่สี บิ คน ข้อ ๔๘ ญัตติขอให้สภามีมติว่ากรณีมีปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอานาจของสภา ตามมาตรา ๒๑๐ (๒) ของรัฐธรรมนูญ ถ้าสมาชิกเป็นผู้เสนอต้องมีจานวนสมาชิกรับรองไม่น้อยกว่า ยีส่ ิบคน ข้อ ๔๙ ญัตติขอให้สภาต้ังคณะกรรมาธิการหรือขอให้คณะกรรมาธิการสามัญคณะใด คณะหนึ่งกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในหน้าท่ีและ อานาจของสภาตามมาตรา ๑๒๙ ของรัฐธรรมนูญ ถ้าสมาชิกเป็นผู้เสนอต้องมีจานวนสมาชิกรับรอง ไมน่ อ้ ยกวา่ ยี่สบิ คน ข้อ ๕๐ ในกรณีที่เก่ียวกับประโยชน์สาคัญของแผ่นดิน หรือมีความจาเป็นรีบด่วนในอันที่จะ รักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือความมั่นคงของประเทศไม่ว่าในทางเศรษฐกิจ หรือในทางใด ๆ ก็ตาม หรือในอันท่ีจะขจัดเหตุใด ๆ ท่ีกระทบกระเทือนต่อเสรีภาพของประชาชน อยา่ งรา้ ยแรง จะเสนอญตั ตดิ ่วนเพอ่ื ใหส้ ภาพจิ ารณาเปน็ การดว่ นกไ็ ด้

หน้า ๓๒ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา ญัตติด่วนต้องไม่มีลักษณะทานองเดียวกับกระทู้ถาม และต้องมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้สภา ดาเนนิ การอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ด้วย ข้อ ๕๑ ให้เป็นอานาจของประธานสภาที่จะวินิจฉัยว่าญัตติใดเป็นญัตติด่วนหรือไม่ และเม่ือ วินิจฉยั แล้วใหแ้ จง้ ผ้เู สนอญตั ติทราบพร้อมดว้ ยเหตผุ ลภายในห้าวนั นับแต่วันทไี่ ด้รบั ญัตตนิ ้ัน ใหป้ ระธานสภาบรรจุญัตติดว่ นเขา้ ระเบยี บวาระการประชมุ เป็นเรือ่ งดว่ น ญตั ตทิ ่ีประธานสภาวนิ จิ ฉัยวา่ ไม่ไดเ้ ปน็ ญตั ตดิ ่วน ให้ประธานสภาดาเนนิ การต่อไปตามข้อ ๕๓ ข้อ ๕๒ ญัตติที่จะก่อให้เกิดผลใช้บังคับเป็นกฎหมาย ต้องเสนอเป็นร่างพระราชบัญญัติ และปฏิบัติตามบทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนญู ข้อ ๕๓ ภายใต้บังคับข้อ ๕๑ และข้อ ๕๒ ให้ประธานสภาบรรจุญัตติเข้าระเบียบวาระ การประชุมภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับญัตตินั้นตามลาดับที่ย่ืนก่อนหลัง กาหนดวันดังกล่าว ให้หมายถงึ วนั ในสมัยประชมุ ข้อ ๕๔ ญตั ตติ อ่ ไปน้ีไมต่ อ้ งเสนอลว่ งหนา้ หรอื เป็นหนงั สือ (๑) ขอให้พิจารณาเป็นเรื่องด่วน (๒) ขอเปลย่ี นระเบยี บวาระการประชุม (๓) ขอใหล้ งมตติ ามข้อ ๓๖ หรือข้อ ๓๘ (๔) ญัตติในขอ้ ๕๕ ข้อ ๘๐ ข้อ ๘๓ ข้อ ๘๔ ข้อ ๑๒๐ หรอื ขอ้ ๑๘๔ (๕) ญตั ติที่ประธานอนุญาตตามทเี่ หน็ สมควร ญัตติตาม (๒) ถ้าเป็นการเสนอเพ่ือพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ เม่ือท่ีประชุมลงมติเห็นชอบ ตามทเ่ี สนอแล้ว ให้มีผลบังคับในการประชุมคร้ังตอ่ ไป ข้อ ๕๕ เมื่อท่ีประชุมกาลงั พจิ ารณาญตั ติใดอยู่ ห้ามเสนอญัตตอิ น่ื ขึ้นมาพิจารณา เว้นแตญ่ ัตติ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ขอแปรญัตตเิ ฉพาะในเรอื่ งที่ไมใ่ ช่ร่างพระราชบญั ญัติ (๒) ขอใหร้ วมระเบยี บวาระการประชมุ ที่เป็นเร่ืองเดยี วกนั ทานองเดียวกัน หรอื เกีย่ วเนอ่ื งกัน เพอ่ื พิจารณาพรอ้ มกนั (๓) ขอให้ส่งปัญหาไปยังคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณา หรือขอให้บุคคลใดส่งเอกสารหรือ มาแถลงขอ้ เทจ็ จริงหรอื แสดงความคดิ เห็น (๔) ขอให้รวมหรอื แยกประเด็นพจิ ารณาหรือลงมติ (๕) ขอใหเ้ ล่ือนการปรกึ ษาหรือพจิ ารณา (๖) ขอให้ปดิ อภปิ ราย (๗) ขอให้ยกเร่อื งอ่นื ข้นึ ปรึกษาหรอื พจิ ารณา ญัตติตาม (๓) (๕) (๖) หรือ (๗) เม่ือท่ีประชุมลงมติเห็นชอบตามที่เสนอแล้ว ห้ามไม่ให้ เสนอญตั ติอ่ืนในข้อนีอ้ ีก

หน้า ๓๓ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๕๖ ญตั ตติ ามข้อ ๕๕ (๖) และ (๗) หา้ มเสนอในคราวเดียวกับการอภิปรายของตน ข้อ ๕๗ ญัตติตามขอ้ ๕๕ (๗) ห้ามเสนอในการพจิ ารณาร่างพระราชบัญญัติ ข้อ ๕๘ ในกรณที ที่ ่ีประชุมลงมติใหย้ กเร่อื งอนื่ ขนึ้ ปรกึ ษาหรือพจิ ารณา ให้ญัตติเดมิ เป็นอนั ตกไป ข้อ ๕๙ ญตั ตทิ ่เี สนอล่วงหน้าเป็นหนังสือ ผู้เสนอและผู้รับรองตอ้ งลงลายมือช่อื ในญตั ตนิ นั้ ข้อ ๖๐ ญัตติท่ีไม่ต้องเสนอล่วงหน้าเป็นหนังสือ ให้ผู้รับรองญัตติแสดงการรับรองโดยวิธี ยกมอื ขน้ึ พ้นศีรษะ ข้อ ๖๑ การแก้ไขเพิ่มเติมญัตติหรือการถอนญัตติที่ประธานสภาสั่งบรรจุเข้าระเบียบวาระ การประชุม จะกระทาไดต้ อ่ เมือ่ ไดร้ ับความยนิ ยอมของท่ปี ระชมุ ข้อ ๖๒ การถอนชือ่ จากการเป็นผู้ร่วมกันเสนอญัตติใด หรือจากการเปน็ ผู้รับรอง จะกระทาได้ เฉพาะก่อนท่ีประธานสภาสั่งบรรจุญัตตินั้นเข้าระเบียบวาระการประชุม ในกรณีที่ประธานสภาส่ังบรรจุ ญตั ตินั้นเข้าระเบียบวาระการประชุมแลว้ จะถอนชื่อได้ตอ่ เมื่อได้รบั ความยินยอมของท่ีประชมุ ข้อ ๖๓ การถอนคาแปรญัตติจะกระทาเมื่อใดก็ได้ แต่การขอแก้ไขเพิ่มเติมคาแปรญัตติ จะกระทาไดเ้ ฉพาะภายในกาหนดเวลาแปรญตั ติ ข้อ ๖๔ ญัตติใดถึงวาระพิจารณาในท่ีประชุมแล้ว การเสนอญัตติซ่ึงมีหลักการเช่นเดียวกัน จะกระทามไิ ด้ ถ้าผู้เสนอญัตติหรือผู้แปรญัตติไม่ชี้แจงในท่ีประชุม หรือผู้เสนอญัตติหรือผู้แปรญัตติไม่อยู่ ในที่ประชมุ โดยไม่มผี ู้ชแ้ี จงแทนในฐานะผ้รู บั มอบหมาย ญัตตหิ รือคาแปรญตั ตนิ ั้นเปน็ อันตกไป การมอบหมายให้ชแี้ จงแทนตอ้ งทาเปน็ หนังสือยน่ื ต่อประธานสภา ข้อ ๖๕ ญัตติใดตกไปแล้ว ห้ามนาญัตติซึ่งมีหลักการเช่นเดียวกันขึ้นเสนออีกใน สมัยประชมุ เดียวกนั เวน้ แต่ญตั ติที่ยงั ไมไ่ ด้มีการลงมติหรือญัตตทิ ่ีประธานสภาจะอนุญาตในเมื่อพิจารณา เหน็ วา่ เหตุการณไ์ ดเ้ ปลย่ี นแปลงไป ส่วนท่ี ๓ การอภิปราย ข้อ ๖๖ ผู้มีสิทธิอภิปรายก่อน คือ ผู้เสนอญัตติหรือผู้แปรญัตติ แต่ถ้าผู้เสนอญัตติหรือ ผแู้ ปรญตั ติมีหลายคน ใหป้ ระธานอนุญาตใหอ้ ภปิ รายกอ่ นไดเ้ พยี งคนเดยี ว กรรมาธิการซ่ึงได้สงวนความเห็น กรรมาธิการผู้รับมอบหมายจากกรรมาธิการซึ่งได้สงวนความเห็น หรือสมาชิกหรือกรรมาธิการผู้รับมอบหมายจากผู้แปรญัตติซ่ึงได้สงวนคาแปรญัตติไว้ในช้ันคณะกรรมาธิการ ให้มฐี านะเสมอื นเปน็ ผแู้ ปรญัตตดิ ้วย ข้อ ๖๗ เม่ือผู้อภปิ รายกอ่ นไดอ้ ภปิ รายแล้ว การอภปิ รายในลาดับตอ่ ไปจะต้องเปน็ การอภปิ ราย สลับกันระหว่างฝ่ายคัดค้านและฝ่ายสนับสนุน เว้นแต่ในวาระของฝ่ายใดไม่มีผู้อภิปราย อีกฝ่ายหนึ่ง จงึ อภิปรายซ้อนได้

หน้า ๓๔ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานุเบกษา การอภิปรายไม่สนับสนุนและไม่คัดค้าน ย่อมกระทาได้โดยไม่ต้องสลับและไม่ให้นับเป็นวาระ อภิปรายของฝา่ ยใด ข้อ ๖๘ ถ้ามีผู้ขออภิปรายหลายคน ประธานจะให้คนใดอภิปรายก็ได้ แต่ให้คานึงถึง ผู้เสนอญตั ติ ผู้แปรญตั ติ และผู้ซง่ึ ยังไม่ไดอ้ ภิปรายดว้ ย ข้อ ๖๙ การอภิปรายต้องอยู่ในประเด็นหรือเก่ียวกับประเด็นท่ีกาลังปรึกษากันอยู่ ต้องไม่ฟุ่มเฟือย วนเวียน ซ้าซาก หรือซ้ากับผู้อื่น และห้ามไม่ให้นาเอกสารใด ๆ มาอ่านให้ท่ีประชุมฟัง โดยไมจ่ าเปน็ และห้ามไมใ่ หน้ าวตั ถใุ ด ๆ เขา้ มาแสดงในทีป่ ระชุม เวน้ แต่ประธานจะอนญุ าต ห้ามผู้อภิปรายแสดงกิริยาหรือใช้วาจาอันไม่สุภาพ ใส่ร้าย หรือเสียดสีบุคคลใด และห้าม กลา่ วถงึ พระมหากษตั รยิ ห์ รอื ออกชื่อสมาชิกหรือบคุ คลใดโดยไมจ่ าเปน็ ข้อ ๗๐ ถา้ ประธานเห็นว่าผูใ้ ดไดอ้ ภิปรายพอสมควรแลว้ ประธานจะให้ผู้นั้นหยดุ อภิปรายกไ็ ด้ ข้อ ๗๑ สมาชิกผู้ใดต้องการประท้วงว่ามีการฝ่าฝืนข้อบังคับ ให้ยืนและยกมือข้ึนพ้นศีรษะ ประธานต้องให้โอกาสผู้น้ันชี้แจง แล้วให้ประธานวินิจฉัยว่าได้มีการฝ่าฝืนข้อบังคบั ตามท่ีประท้วงหรือไม่ คาวนิ จิ ฉัยของประธานถือเปน็ เดด็ ขาด ให้นาความในวรรคหน่ึงมาใช้บังคับโดยอนุโลมแก่ผู้ถูกอภิปรายพาดพิงถึงเรื่องส่วนตัวหรือ เร่ืองอ่นื ใดอันเปน็ ทีเ่ สียหายแกผ่ นู้ ้นั ข้อ ๗๒ เมื่อมีผู้ประท้วงตามข้อ ๗๑ ผู้อภิปรายอาจถอนคาพูดของตนหรือตามคาวินิจฉัย ของประธานได้ ถ้าผู้อภิปรายออกไปจากที่ประชุมโดยไม่ถอนคาพูดตามคาวินิจฉัยของประธาน ให้ประธาน บันทึกการไม่ปฏิบัตติ ามคาวินจิ ฉัยไว้ในรายงานการประชุม ข้อ ๗๓ การอภปิ รายเป็นอนั ยุติ เม่อื (๑) ไมม่ ีผู้ใดอภปิ ราย (๒) ทปี่ ระชุมลงมติให้ปิดอภปิ ราย (๓) ท่ปี ระชมุ ลงมตใิ ห้ยกเรือ่ งอนื่ ข้ึนปรึกษา ข้อ ๗๔ ในกรณีที่ประธานพิจารณาเห็นว่าได้อภิปรายกันพอสมควรแล้ว จะขอให้ท่ีประชุม วินจิ ฉยั ว่าจะปิดอภิปรายหรอื ไมก่ ไ็ ด้ ข้อ ๗๕ เมื่อการอภิปรายได้ยุติแล้ว ห้ามผู้ใดอภิปรายอีก เว้นแต่ท่ีประชุมจะต้องลงมติ ในเร่ืองน้ัน จึงให้ผู้ซึ่งมีสิทธิอภิปรายก่อนคนใดคนหน่ึงในแต่ละญัตติ มีสิทธิอภิปรายสรุปได้อีกคร้ังหนึ่ง เป็นครั้งสุดทา้ ยกอ่ นทที่ ี่ประชมุ จะลงมติ ข้อ ๗๖ ประธานอาจอนุญาตให้นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมายให้บุคคลใด ๆ ชแ้ี จงข้อเทจ็ จรงิ ตอ่ ทปี่ ระชุมประกอบการอภปิ รายของนายกรฐั มนตรหี รอื รฐั มนตรีก็ได้ ข้อ ๗๗ ถ้าประธานให้สัญญาณด้วยการเคาะค้อนหรือยืนขึ้น ให้ผู้ท่ีกาลังพูด หยุดพูดและ นั่งลงทันที

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง หน้า ๓๕ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา ส่วนที่ ๔ การลงมติ ข้อ ๗๘ ในกรณีท่ีจะต้องมีมติของสภา ให้ประธานมีสัญญาณให้สมาชิกทราบ เพ่ือแสดงตน และตรวจสอบองคป์ ระชุมก่อนลงมติ ประธานมีอานาจส่ังให้รวมหรือแยกประเด็นพิจารณาหรือลงมติ เว้นแต่ที่ประชุมจะมีมติ เปน็ อย่างอื่น ข้อ ๗๙ เสียงข้างมากตามมาตรา ๑๒๐ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญน้ัน ถ้าความเห็นของ ท่ปี ระชมุ มีตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ให้ถอื เอาจานวนคะแนนเสียงฝ่ายที่มากท่ีสดุ ในกรณีมคี ะแนนเสียงเทา่ กัน ให้ประธานออกเสียงเพมิ่ ขึน้ อกี เสยี งหนง่ึ เปน็ เสียงชขี้ าด ข้อ ๘๐ การออกเสียงลงคะแนนให้กระทาเป็นการเปิดเผย แต่เม่ือสมาชิกเสนอญัตติ โดยมผี ้รู ับรองไมน่ อ้ ยกวา่ ยี่สบิ คนขอให้กระทาเป็นการลับ จึงให้ลงคะแนนลับ ในกรณีที่สมาชิกเสนอญัตติให้ลงคะแนนลับตามวรรคหนึ่ง ถ้ามีสมาชิกคัดค้านและมีผู้รับรอง ไมน่ อ้ ยกว่าหน่งึ ในสามของสมาชิกในท่ีประชุม ให้ถือเป็นเอกสิทธ์ทิ จี่ ะลงคะแนนโดยเปดิ เผย การออกเสยี งลงคะแนนจะกระทาแทนกันมิได้ ข้อ ๘๑ การออกเสียงลงคะแนนเลือกหรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดารงตาแหน่งใด ตามมาตรา ๑๒๐ วรรคห้า ของรฐั ธรรมนญู ให้กระทาเปน็ การลับ ข้อ ๘๒ การออกเสียงลงคะแนน นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน เวน้ แต่นายกรฐั มนตรีหรอื รฐั มนตรผี ้นู ้นั เป็นสมาชกิ ด้วย ข้อ ๘๓ การออกเสียงลงคะแนนเปิดเผยมวี ธิ ปี ฏบิ ตั ิ ดังต่อไปน้ี (๑) ใชเ้ คร่อื งออกเสยี งลงคะแนนตามทป่ี ระธานกาหนด (๒) เรียกชื่อสมาชิกตามหมายเลขประจาตัวสมาชิก ให้ออกเสียงลงคะแนนเป็นรายคนตามวิธี ที่ประธานกาหนด (๓) วิธีอื่นใดซึ่งที่ประชุมเห็นสมควรเฉพาะกรณี การออกเสียงลงคะแนนตาม (๑) หากเครื่องออกเสียงลงคะแนนขัดข้องให้เปลี่ยนเป็นวิธีการ ตามท่ปี ระธานกาหนด การออกเสียงลงคะแนนให้ใช้วิธีตาม (๑) จะใช้วิธีตาม (๒) หรือ (๓) ได้ต่อเมื่อสมาชิก เสนอญตั ติและที่ประชมุ อนมุ ัติ หรอื เม่อื มกี ารนับคะแนนเสียงใหม่ตามขอ้ ๘๕ การออกเสียงลงคะแนนตาม (๒) หรือวรรคสอง ให้ประธานเชิญสมาชิกไม่น้อยกว่าหกคน เป็นผ้ตู รวจนับคะแนน

หน้า ๓๖ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๘๔ การออกเสยี งลงคะแนนลับมวี ธิ ปี ฏิบัติ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ใชเ้ คร่ืองออกเสียงลงคะแนนตามทีป่ ระธานกาหนด (๒) ใช้บัตรออกเสียงลงคะแนนโดยการเขียนเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงในช่องทาเคร่ืองหมาย ตามประเด็นท่ีจะออกเสยี ง (๓) วธิ อี น่ื ใดซง่ึ ทปี่ ระชุมเห็นสมควรเฉพาะกรณี ทั้งนี้ การดาเนินการตาม (๑) (๒) และ (๓) ให้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ทปี่ ระชมุ กาหนด ให้นาความในข้อ ๘๓ วรรคสามและวรรคส่ี มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม ข้อ ๘๕ เม่อื มีการออกเสยี งลงคะแนนตามขอ้ ๘๓ (๑) แลว้ ถา้ สมาชิกรอ้ งขอให้มกี ารนับใหม่ โดยมผี ู้รับรองไม่น้อยกว่าย่ีสิบคน กใ็ ห้มกี ารนับคะแนนเสียงใหม่ และให้เปล่ียนวิธีการลงคะแนนเป็นวิธี ตามข้อ ๘๓ (๒) เว้นแต่คะแนนเสียงต่างกันเกินกว่ายี่สิบห้าคะแนนจะขอให้มีการนับคะแนนเสียงใหม่ ไม่ได้ เมื่อได้มีการออกเสียงลงคะแนนตามข้อ ๘๓ (๒) แล้ว จะขอให้มีการนับคะแนนเสียงใหม่ อีกไม่ได้ ข้อ ๘๖ สมาชิกซ่ึงเข้ามาในที่ประชุมระหว่างการออกเสียงลงคะแนนอาจออกเสียงลงคะแนนได้ กอ่ นประธานสงั่ ปิดการนับคะแนน ข้อ ๘๗ เมื่อได้นับคะแนนเสียงแล้ว ให้ประธานประกาศมติต่อที่ประชุมทันที ถ้าเร่ืองใด ที่รัฐธรรมนูญ กฎหมาย หรือข้อบังคับนี้กาหนดไว้ว่ามติจะต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงถึงจานวนเท่าใด ก็ใหป้ ระกาศด้วยวา่ คะแนนเสยี งข้างมากถึงจานวนทกี่ าหนดไวน้ ้ันหรอื ไม่ ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้าได้ประกาศมติต่อที่ประชุมจากผลการออกเสียงลงคะแนนด้วยวิธี ตามข้อ ๘๔ แล้ว ให้ประธานสั่งให้เจ้าหน้าที่ทาลายบัตรออกเสียงหรือลบข้อมูลการออกเสียง ลงคะแนนนน้ั ดว้ ย ข้อ ๘๘ ญัตติใดไม่มีผู้คัดค้าน ให้ประธานถามท่ีประชุมว่ามีผู้เห็นเป็นอย่างอ่ืนหรือไม่ เม่อื ไมม่ ีผเู้ หน็ เป็นอยา่ งอ่ืน ใหถ้ อื วา่ ทีป่ ระชมุ ลงมตเิ ห็นชอบดว้ ยญตั ตนิ ั้น ความในวรรคหนึ่งไมใ่ ห้ใช้บังคับแกญ่ ัตติท่ีเป็นร่างพระราชบัญญัติ หรือเร่ืองอื่นใดที่รัฐธรรมนญู หรอื ขอ้ บังคับนี้กาหนดใหท้ ่ปี ระชุมวนิ จิ ฉัยโดยการออกเสียงลงคะแนน ข้อ ๘๙ ให้เลขาธิการจัดทาบันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกแต่ละคนและเปิดเผย บันทึกดังกล่าวไว้ ณ บริเวณสภา รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอ่ืน เพ่ือให้ประชาชนทราบไดท้ ว่ั ไป เว้นแต่การออกเสียงลงคะแนนเป็นการลับตามข้อ ๘๔

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง หน้า ๓๗ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา หมวด ๕ กรรมาธกิ าร ข้อ ๙๐ ให้สภาต้ังคณะกรรมาธิการสามัญข้ึนสามสิบห้าคณะ แต่ละคณะประกอบด้วย กรรมาธิการมีจานวนสบิ หา้ คน โดยใหม้ หี น้าทีแ่ ละอานาจ ดงั นี้ (๑) คณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน มีหน้าที่และอานาจ กระทากจิ การ พิจารณาสอบหาข้อเทจ็ จรงิ หรือศึกษาเรอ่ื งใด ๆ ท่ีเก่ียวกับการดาเนินการตามแนวนโยบาย ด้านกฎหมาย การยุติธรรม สิทธิมนุษยชน สิทธิชุมชน สิทธิในกระบวนการยุติธรรม และความเป็นธรรม ในระยะเปล่ียนผา่ น (๒) คณะกรรมาธิการกิจการสภาผู้แทนราษฎร มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ท่ีเกี่ยวกับกิจการของสภา สมาชิกและผู้เคยเป็นสมาชิก การพัฒนาระบบและปรับปรุงการดาเนินกิจการของสภา คาร้องเรียน ข้อเสนอแนะของสมาชิก และประชาชนในส่วนท่ีเกี่ยวกับกิจการของสภา รวมท้ังเรื่องใด ๆ ที่อยู่ในหน้าท่ีและอานาจของสภา และองค์กรรัฐสภาระหว่างประเทศ ตรวจสอบรายงานการประชุม พิจารณาให้ความเห็นเก่ียวกับ การเปิดเผยรายงานการประชมุ ลับ และตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ติ ามมติของสภา (๓) คณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เกี่ยวกับการดาเนินงานของหน่วยงานของศาล องค์กรอิสระและองค์กรอัยการ การดาเนินงาน ของรัฐวิสาหกิจ การบริหารจัดการขององค์การมหาชน และกองทุนต่าง ๆ รวมท้ังตรวจสอบรายงาน ตามรฐั ธรรมนญู และกฎหมายทีเ่ สนอตอ่ สภา (๔) คณะกรรมาธิการกีฬา มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ท่ีเกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน การแก้ไขปัญหาอุปสรรคและการพัฒนา การกีฬาของไทย รวมทงั้ กีฬาอิเลก็ ทรอนิกส์ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ (๕) คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธ์ุ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เก่ียวกับเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธ์ุ และผู้มี ความหลากหลายทางเพศ รวมท้ังประสานกับองค์กรภายในประเทศ ต่างประเทศและประชาคมนานาชาติ เก่ียวกบั แนวทางความร่วมมือเพ่ือแก้ปัญหาและส่งเสริมการคุ้มครองสิทธิและการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก เยาวชน สตรี ผสู้ งู อายุ ผพู้ กิ าร กลุ่มชาติพันธุ์ และผมู้ คี วามหลากหลายทางเพศ

หน้า ๓๘ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา (๖) คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาหนสี้ นิ แห่งชาติ มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณา สอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ เพ่ือแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับหน้ีสินทุกระดับ ได้แก่ ปัญหาหน้ีสิน ของประเทศ หน้ีสินภาคธุรกิจ หนี้สินภาคอุตสาหกรรม หนี้สินภาคประชาชน และหน้ีสินเจ้าหน้าที่ ของรฐั ตลอดจนหนส้ี ินเกษตรกร (๗) คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณา สอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ท่ีเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดินทางการเกษตร การพัฒนา การเกษตร การสหกรณ์ การพฒั นาการผลิต และการตลาด (๘) คณะกรรมาธิการการคมนาคม มหี น้าท่ีและอานาจกระทากจิ การ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เกี่ยวกับการคมนาคมท้ังการจราจรทางบก ทางน้า ทางอากาศ ทางอวกาศ การขนส่งมวลชน การขนสง่ สินค้า ระบบโลจสิ ติกส์ และการพาณชิ ยน์ าวี (๙) คณะกรรมาธิการความม่ันคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติและ การปฏิรูปประเทศ มหี น้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศกึ ษาเรื่องใด ๆ ที่เก่ียวกับความมัน่ คงแห่งรัฐ การค้าชายแดน การคา้ ผ่านแดน จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรนเพ่ือการค้า ช่องทางธรรมชาติ และช่องทางตามกฎหมายศุลกากร การเดินทางข้ามแดน การจัดการและการดูแลแรงงานข้ามแดน การส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน และเร่ืองอื่น ๆ ที่เก่ียวข้องกับการแก้ปัญหาและการพัฒนาชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ โดยเฉพาะปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคง ท้ังเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมทั้งสง่ เสริม สนับสนนุ และแก้ไขปัญหาเกยี่ วกบั ดนิ แดนและความม่ันคงของประชาชน (๑๐) คณะกรรมาธิการการคุ้มครองผู้บริโภค มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณา สอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ท่ีเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งปัญหาความเดือดร้อน ของผบู้ รโิ ภค (๑๑) คณะกรรมาธกิ ารการเงิน การคลงั สถาบันการเงินและตลาดการเงนิ มีหนา้ ทแี่ ละอานาจ กระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เก่ียวกับการเงิน การคลัง การธนาคาร ตลาดการเงนิ และสถาบันการเงินของประเทศ (๑๒) คณะกรรมาธิการการต่างประเทศ มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหา ขอ้ เท็จจรงิ หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ทเ่ี กี่ยวกบั การต่างประเทศ ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ ภาพลกั ษณ์ ของประเทศ รวมท้ังกระทากิจการทั้งปวงท่ีเกี่ยวข้องกับชาวไทยซึ่งต้ังถ่ินฐานหรือไปประกอบอาชีพ ในต่างประเทศ (๑๓) คณะกรรมาธิการการตารวจ มีหน้าท่ีและอานาจกระทากจิ การ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจรงิ หรอื ศกึ ษาเรื่องใด ๆ ทีเ่ ก่ยี วกับกิจการตารวจ การปฏบิ ตั ิใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย การปอ้ งกนั และรักษา ความสงบเรียบรอ้ ยภายในประเทศ

หน้า ๓๙ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา (๑๔) คณะกรรมาธิการศึกษาการจัดทาและติดตามการบริหารงบประมาณ มีหน้าที่และ อานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ท่ีเก่ียวกับนโยบายของรัฐบาล ในด้านงบประมาณ การจัดทางบประมาณ ติดตามและประเมินผลการรับ การใช้จ่ายเงินงบประมาณ ประจาปีของส่วนราชการ หนว่ ยงานของรัฐ และรัฐวสิ าหกจิ (๑๕) คณะกรรมาธิการการทหาร มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่อื งใด ๆ ที่เกี่ยวกับกิจการทหาร การปอ้ งกนั การรักษาความม่นั คง และการพฒั นาประเทศ (๑๖) คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว มีหนา้ ทแ่ี ละอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ท่ีเกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน การแก้ไขปัญหาอุปสรรค และการพัฒนา การท่องเท่ียวของไทย (๑๗) คณะกรรมาธิการการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีหน้าที่และอานาจ กระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการใช้ท่ีดิน การบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนการส่งเสริม บารุงรกั ษา และคมุ้ ครองคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทัง้ การคมุ้ ครองสัตว์ (๑๘) คณะกรรมาธิการการปกครอง มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ท่ีเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินส่วนกลางและส่วนภูมิภาค การพัฒนา ระบบราชการและการปฏิบัติของเจ้าหน้าท่ขี องรฐั ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง (๑๙) คณะกรรมาธิการการกระจายอานาจ การปกครองส่วนท้องถิ่น และการบริหารราชการ รูปแบบพิเศษ มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารราชการและการปฏิบัติของเจ้าหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมท้ัง สง่ เสริมการกระจายอานาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และการบริหารราชการรูปแบบพิเศษ (๒๐) คณะกรรมาธิการการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและยาเสพติด มีหน้าที่และอานาจ กระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เก่ียวกับการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงนิ และยาเสพตดิ (๒๑) คณะกรรมาธิการการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและสาธารณภัย มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ท่ีเก่ียวกับ การดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการและมาตรการการป้องกัน ภัยธรรมชาติและสาธารณภัย การแจ้งเตือนภัยพิบัติทางธรรมชาติ การฟื้นฟูหลังเกิดภัยธรรมชาติ และสาธารณภัย การพัฒนามาตรการในการป้องกันภัยธรรมชาติและสาธารณภัย รวมท้ังติดตาม การใหค้ วามชว่ ยเหลือและดูแลประชาชนทีไ่ ดร้ บั ผลกระทบจากภยั ดงั กลา่ ว (๒๒) คณะกรรมาธิการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ มีหน้าท่ีและ อานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ท่ีเก่ียวกับกระบวนการ และมาตรการการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมชิ อบ

หน้า ๔๐ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานุเบกษา (๒๓) คณะกรรมาธิการการพลังงาน มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เก่ียวกับการบริหาร การพัฒนา การจัดหา การใช้ การอนุรักษ์พลังงาน และผลกระทบจากการจัดหาและการใชพ้ ลงั งาน รวมทั้งการแสวงหาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (๒๔) คณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วม ของประชาชน มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน การส่งเสริม และเผยแพร่การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข วิถีคิดและวิถีปฏิบัติที่เป็นประชาธิปไตย รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการบังคับใช้รัฐธรรมนูญ กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ส่งเสริมการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน เสรีภาพและ ความรับผิดชอบในการแสดงความคดิ เห็นของบุคคลและสื่อมวลชน การคมุ้ ครองผู้เสียหายจากการเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมือง และการตรวจสอบการใชอ้ านาจรฐั ทุกระดบั (๒๕) คณะกรรมาธิการการพัฒนาเศรษฐกิจ มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณา สอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เก่ียวกับผลกระทบต่อการเศรษฐกิจของชาติ ธุรกิจภาคเอกชน ประชาชน สถานการณ์ทางเศรษฐกิจในประเทศและเศรษฐกิจของภูมิภาคต่าง ๆ ในสังคมโลกท่ีอาจ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของไทย รวมทั้งนโยบายและแผนการพฒั นาเศรษฐกิจของรฐั (๒๖) คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เก่ียวกับการค้า การส่งออก ดุลการค้า ลิขสิทธ์ิ ตราสาร ทะเบียน การประดิษฐ์หรือการค้นคิดเพ่ือให้เกิดความรู้ใหม่ และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน และภูมิปัญญาไทย รวมทงั้ การให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปญั ญา (๒๗) คณะกรรมาธิการการแรงงาน มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหา ข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกบั กาลังแรงงานทัง้ หมดในประเทศ แรงงานไทยในต่างประเทศ รวมท้ังการพัฒนาความสัมพันธ์กับองค์กรแรงงานในต่างประเทศ ตลอดจนการลงทุนที่มีผลต่อ คณุ ภาพชีวติ แรงงานโดยรวม (๒๘) คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม มีหน้าที่และอานาจ กระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เก่ียวกับการวางแผน การส่งเสริม และการพัฒนาดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม (๒๙) คณะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาราคาผลิตผลเกษตรกรรม มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ท่ีเก่ียวกับการส่งเสริมและแก้ไขปัญหาราคาผลิตผล ทางการเกษตรให้สามารถคุ้มต่อต้นทุนการผลิตของเกษตรกรทุกประเภทและสามารถแข่งขันได้ ในตลาดการค้า ตลอดจนมีความม่นั คงอยา่ งยง่ั ยนื ในอาชีพ

หน้า ๔๑ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา (๓๐) คณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศกึ ษาเร่ืองใด ๆ ที่เกี่ยวกับการอุปถัมภ์ ทานุบารุงและคมุ้ ครองศาสนา และโบราณสถาน การอนุรักษ์และส่งเสริมศิลปะ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมท้องถ่ิน วัฒนธรรมประชาธปิ ไตย ภูมปิ ัญญาชาวบา้ น เอกลักษณ์ แบบวถิ ชี ีวติ ไทย และศิลปวฒั นธรรมรว่ มสมยั (๓๑) คณะกรรมาธิการการศกึ ษา มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษา การพัฒนาการศึกษาของชาติ และการส่งเสริมวัฒนธรรม ประชาธิปไตย รวมทัง้ แนวทางการปรบั ฐานการเรยี นรขู้ องประชาชนสู่โลกยุคโลกาภวิ ตั น์ (๓๒) คณะกรรมาธิการการสวัสดิการสังคม มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณา สอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคมไม่น้อยกว่าสิทธิข้ันพื้นฐาน การให้บริการด้านสวัสดิการสังคมเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างท่ัวถึง โดยเฉพาะผู้ยากไร้ ในเมอื งและชนบท และผู้ด้อยโอกาสในสังคม (๓๓) คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข มีหน้าที่และอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ที่เกี่ยวกับการแพทย์ การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และการสาธารณสุข ในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟ้ืนฟูสุขภาพ ตลอดจน การพฒั นาการรกั ษาเพ่อื ให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขทมี่ ีประสิทธภิ าพอยา่ งทวั่ ถงึ (๓๔) คณะกรรมาธิการการส่ือสาร โทรคมนาคม และดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับ การส่งเสรมิ และการพัฒนาด้านการส่อื สาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม (๓๕) คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม มีหน้าท่ีและอานาจกระทากิจการ พิจารณาสอบหา ข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ท่ีเก่ียวกับการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดยอ่ ม และศกึ ษาผลกระทบอนั เกิดจากอตุ สาหกรรม รวมทง้ั แนวทางในการแก้ไขปญั หา สมาชิกคนหนึ่งจะดารงตาแหน่งกรรมาธกิ ารสามญั ได้ไม่เกินสองคณะ กรรมาธิการสามัญซ่ึงตั้งจากผู้ซ่ึงเป็นสมาชิกต้องมีจานวนตามหรือใกล้เคียงกับอัตราส่วน ของจานวนสมาชิกของแต่ละพรรคการเมอื งท่ีมีอย่ใู นสภา เม่ือคณะกรรมาธกิ ารสามัญจะกระทากจิ การ พจิ ารณาสอบหาขอ้ เท็จจริง หรอื ศึกษาเรื่องใด ๆ ให้คณะกรรมาธิการสามัญรายงานให้ประธานสภาทราบ ในการกระทากิจการ พิจารณาสอบหา ข้อเท็จจริง หรอื ศึกษาเรื่องใดเร่อื งหนงึ่ ต้องไมเ่ ป็นเร่อื งซา้ ซอ้ นกัน ในกรณที ่กี ารกระทากิจการ การสอบหา ขอ้ เท็จจรงิ หรอื การศึกษาในเร่ืองใดมีความเกยี่ วข้องกัน ให้เป็นหนา้ ที่ของประธานสภาทจ่ี ะต้องดาเนินการ ให้คณะกรรมาธิการสามัญที่เก่ยี วข้องทุกคณะรว่ มกนั ดาเนินการ ในการสอบหาข้อเท็จจริง คณะกรรมาธิการจะมอบอานาจหรือมอบหมายให้บุคคลหรือ คณะบุคคลใดกระทาการแทนมไิ ด้ หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารดาเนินการตามวรรคสี่ ให้เป็นไปตามระเบียบทีป่ ระธานสภากาหนด

หน้า ๔๒ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา ข้อ ๙๑ การเลือกต้ังคณะกรรมาธิการ สมาชิกแต่ละคนมีสิทธิเสนอช่ือได้ไม่เกินจานวน กรรมาธกิ าร การเสนอนน้ั ต้องมีจานวนสมาชิกรับรองไมน่ อ้ ยกวา่ หา้ คน การเลือกต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญ ให้ตั้งจากบุคคลที่คณะรัฐมนตรีเสนอชื่อมีจานวนไม่เกิน หน่ึงในส่ีของจานวนกรรมาธิการท้ังหมด จานวนนอกจากน้ันให้ท่ีประชุมเลือกจากรายช่ือท่ีสมาชิกเสนอ โดยใหม้ ีจานวนตามหรือใกล้เคียงกับอตั ราสว่ นของจานวนสมาชกิ ของแตล่ ะพรรคการเมืองท่ีมีอยใู่ นสภา การออกเสียงลงคะแนนเลือกต้ังคณะกรรมาธิการ ถ้ามีการเสนอชื่อกรรมาธิการเท่ากับจานวน กรรมาธิการทั้งหมด ให้ถือว่าผู้ถูกเสนอชื่อน้ันเป็นผู้ได้รับเลือก ถ้ามีการเสนอชื่อมากกว่าจานวน กรรมาธิการทั้งหมด ให้ออกเสยี งลงคะแนนเปน็ การลบั ข้อ ๙๒ การประชุมคณะกรรมาธิการ ต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม ของจานวนกรรมาธิการท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในการประชุมคณะกรรมาธิการ ที่จะมีการลงมติในเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ต้องมกี รรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึง่ หนึ่งของกรรมาธิการท้ังหมด เท่าทม่ี ีอยู่ การนัดประชุมคณะกรรมาธิการนอกจากครั้งแรก ให้ทาเป็นหนังสือลงลายมือช่ือเลขานุการ คณะกรรมาธิการหรอื ผู้ปฏิบตั ิหน้าท่แี ทนเลขานกุ ารคณะกรรมาธิการกไ็ ด้ ข้อ ๙๓ การประชุมคณะกรรมาธิการ ให้นาข้อบังคับนี้เฉพาะท่ีเกี่ยวกับการประชุมมาใช้บังคับ โดยอนโุ ลม ให้คณะกรรมาธิการแต่ละคณะเลือกตั้งประธาน รองประธาน เลขานุการ โฆษก และตาแหน่งอ่ืน ตามความจาเปน็ จากกรรมาธกิ ารในคณะนัน้ ประธานคณะกรรมาธิการสามัญแต่ละคณะ จะต้องมีจานวนตามหรือใกล้เคียงกับอัตราส่วน ของจานวนสมาชกิ ของแต่ละพรรคการเมอื งทม่ี ีอยใู่ นสภา ให้คณะกรรมาธิการแต่ละคณะมีผู้ช่วยเลขานุการคนหน่ึงประจาคณะกรรมาธิการ โดยให้แต่งตั้ง จากขา้ ราชการสานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎรตามรายชื่อทเี่ ลขาธกิ ารเสนอ ข้อ ๙๔ เมื่อไม่มีผู้ดารงตาแหน่งประธานคณะกรรมาธิการ หรือมีแต่ไม่อยู่หรือไม่สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้ ในกรณีท่ีมีรองประธานคณะกรรมาธิการหลายคน ให้รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หน่ึงเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานคณะกรรมาธิการ ถ้ารองประธานคณะกรรมาธิการคนที่หน่ึง ไม่อยหู่ รอื ไมส่ ามารถปฏิบตั หิ น้าที่ได้ ใหร้ องประธานคณะกรรมาธิการลาดับตอ่ ไปเป็นผู้ปฏิบัติหน้าท่ีแทน ประธานคณะกรรมาธิการ ข้อ ๙๕ เพื่อประโยชน์ในการดาเนินงาน คณะกรรมาธิการสามัญอาจตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ เปน็ ทป่ี รกึ ษา ผชู้ านาญการ นักวิชาการ และเลขานุการ ประจาคณะกรรมาธิการก็ได้ ทงั้ นี้ ให้เป็นไป ตามระเบียบทปี่ ระธานสภากาหนด

หน้า ๔๓ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ข้อ ๙๖ คณะกรรมาธิการมีอานาจตั้งคณะอนุกรรมาธิการเพ่ือพิจารณาปัญหาอันอยู่ในหน้าท่ี และอานาจของคณะกรรมาธิการ เว้นแต่หน้าท่ีและอานาจในการสอบหาข้อเท็จจริง แล้วรายงาน คณะกรรมาธกิ ารภายในเวลาที่คณะกรรมาธิการกาหนด ในกรณีท่ีคณะอนุกรรมาธิการกระทากิจการ หรือศึกษาเร่ืองใดไม่เสร็จภายในเวลาที่กาหนด ให้ประธานคณะอนกุ รรมาธกิ ารขออนญุ าตขยายเวลาตอ่ ที่ประชมุ คณะกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการแต่ละคณะประกอบด้วยอนุกรรมาธิการมีจานวนไม่เกินสิบคน โดยให้ตั้ง จากบุคคลที่เป็นกรรมาธิการในคณะนั้นมีจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจานวนอนุกรรมาธิการท้ังหมด จานวนนอกจากนั้นให้ท่ีประชุมเลือกจากรายช่ือที่กรรมาธิการเสนอ ท้ังน้ี ประธานคณะอนุกรรมาธิการ ต้องตง้ั จากบคุ คลท่เี ปน็ กรรมาธกิ ารในคณะนั้น ข้อ ๙๗ การเรียกเอกสารจากบุคคลใด ๆ หรือเรียกบุคคลใด ๆ มาแถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในกิจการท่ีกระทาหรือในเร่ืองท่ีพิจารณาสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาอยู่ ให้ทาเป็นหนังสือลงลายมือช่ือประธานคณะกรรมาธิการหรือรองประธานคณะกรรมาธิการผู้ปฏิบัติหน้าท่ี แทนประธานคณะกรรมาธกิ าร ในกรณีท่ีบุคคลตามวรรคหน่ึงเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ให้ประธานคณะกรรมาธิการแจ้งให้ นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีซ่ึงบังคบั บัญชาหรือกากับดูแลหน่วยงานที่บุคคลน้ันสังกดั ทราบ และให้เป็นหน้าท่ี ของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีท่ีรับผิดชอบสั่งการให้บุคคลน้ันให้ข้อเท็จจริง ส่งเอกสาร หรือแสดงความเห็น ตามทค่ี ณะกรรมาธิการเรยี ก การเรียกเอกสารจากบุคคลหรือการเรียกบุคคลมาแถลงข้อเท็จจริงตามวรรคหน่ึง มใิ ห้ใช้บังคับ แก่ผู้พิพากษาหรือตุลาการที่ปฏิบัติตามหน้าท่ีหรือใช้อานาจในกระบวนวิธีพิจารณาพิพากษาอรรถคดี หรือการบริหารงานบุคคลของแต่ละศาล และมิให้ใช้บังคับแก่ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระในส่วนท่ี เก่ียวกับการปฏิบัติตามหน้าท่ีและอานาจโดยตรงในแต่ละองค์กรตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญหรือ ตามพระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญ แล้วแตก่ รณี ข้อ ๙๘ ในการประชุมคณะกรรมาธิการ สมาชิก นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี และผู้ซ่ึงประธาน ของที่ประชมุ คณะกรรมาธิการอนุญาต มสี ทิ ธิเขา้ ฟังการประชุม ในกรณีประชุมลับ ผู้ท่ีจะเข้าฟังการประชุมได้ต้องเป็นผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการประชุม และไดร้ ับอนญุ าตจากประธานของท่ปี ระชมุ คณะกรรมาธิการ ข้อ ๙๙ ภายใตบ้ ังคบั ขอ้ ๙๘ ผู้เสนอญัตติ นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี และผซู้ ึง่ คณะรฐั มนตรี มอบหมาย มีสิทธิชี้แจงแสดงความคิดเห็นในท่ีประชุมคณะกรรมาธิการได้ตลอดเรื่อง ส่วนผู้แปรญัตติ มีสทิ ธิช้ีแจงแสดงความคิดเหน็ ได้เฉพาะทแี่ ปรญัตติไว้ การชแ้ี จงแสดงความคดิ เห็นตามวรรคหนึ่ง ผ้เู สนอญตั ตหิ รือผ้แู ปรญตั ตอิ าจมอบหมายเป็นหนงั สอื ให้สมาชิกอนื่ หรอื กรรมาธิการคนใดคนหนง่ึ กระทาการแทนได้

หน้า ๔๔ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๑๐๐ ให้เลขาธิการประกาศกาหนดการประชุมคณะกรรมาธิการไว้ ณ บริเวณสภา และมีหนังสือนัดผู้เสนอญัตติหรือผู้แปรญัตติมาช้ีแจงประกอบญัตติหรือคาแปรญัตติ แล้วแต่กรณี ล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวัน หากเร่ืองใดจะก่อให้เกิดผลใช้บังคับเป็นกฎหมายหรือเก่ียวกับการบริหาร ราชการแผ่นดนิ ให้แจ้งคณะรฐั มนตรที ราบด้วย ข้อ ๑๐๑ ถ้าผ้แู ปรญัตตหิ รือผรู้ บั มอบหมายไม่มาช้ีแจงตอ่ คณะกรรมาธกิ ารตามนดั จนเวลาล่วงไป เกินกว่าสามสิบนาทีนับแต่เวลาที่ได้เร่ิมพิจารณาคาแปรญัตติใด ให้คาแปรญัตติน้ันเป็นอันตกไป เว้นแต่คณะกรรมาธิการพิจารณาเรื่องนั้นยังไม่เสร็จหรือท่ีประชุมคณะกรรมาธิการอนุญาตให้เล่ือน การชี้แจงไปวันอ่ืน ข้อ ๑๐๒ ถ้าผู้แปรญัตติหรือผู้รับมอบหมายไม่เห็นด้วยกับมติของคณะกรรมาธิการในข้อใด จะสงวนคาแปรญัตตใิ นขอ้ น้นั ไวเ้ พอ่ื ขอให้สภาวนิ จิ ฉยั ก็ได้ ข้อ ๑๐๓ กรรมาธิการผู้ใดไม่เห็นด้วยกับมติของคณะกรรมาธิการในข้อใดจะสงวนความเห็น ในขอ้ น้ันไวเ้ พ่อื ขอใหส้ ภาวนิ จิ ฉัยกไ็ ด้ ข้อ ๑๐๔ เมื่อคณะกรรมาธิการได้กระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษา เร่ืองใด ๆ ตามหน้าที่และอานาจหรือตามที่สภามอบหมายเสร็จแล้วให้รายงานต่อสภาตามระยะเวลา ทีส่ ภากาหนด ในท่ีประชุมสภา คณะกรรมาธิการมีสิทธิแถลง ชี้แจง หรือแก้ไขเพิ่มเติมเก่ียวกับการกระทา ดังกล่าวในวรรคหนึ่ง ในการน้ี คณะกรรมาธิการอาจมอบหมายให้บุคคลใดแถลงหรือช้ีแจงแทนก็ได้ เม่ือไดร้ ับอนุญาตจากประธาน ข้อ ๑๐๕ ในการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ ถ้าคณะกรรมาธิการเห็นว่ามีข้อสังเกต ท่ีคณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ หรือหน่วยงานอื่นที่เกยี่ วข้องควรทราบหรือควรปฏิบัติ กใ็ ห้บนั ทกึ ขอ้ สงั เกตดังกลา่ วไวใ้ นรายงานของคณะกรรมาธิการเพ่อื ให้สภาพจิ ารณา ในการพิจารณาข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ ให้สภาลงมติว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย โดยไม่มีการอภปิ ราย ในกรณีทส่ี ภาเหน็ ด้วยกบั ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการ ให้ประธานสภาส่งรายงานและขอ้ สังเกต ไปยังคณะรฐั มนตรี ศาล องคก์ รอสิ ระ องค์กรอยั การ หรือหน่วยงานอื่นทีเ่ กยี่ วขอ้ ง เม่ือพ้นกาหนดระยะเวลาหกสิบวันนับแต่วันท่ีประธานสภาส่งข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ ให้คณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ หรือหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องทราบ คณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ หรือหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องได้ปฏิบัติตามข้อสังเกตน้ันประการใด หรือไม่ ใหป้ ระธานสภาแจ้งให้ท่ีประชมุ ทราบในโอกาสแรกที่มีการประชมุ

หน้า ๔๕ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๑๐๖ ถ้าสภามีมติให้คณะกรรมาธิการใดกระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใดให้เสร็จภายในกาหนดเวลาใด และคณะกรรมาธิการนั้นกระทากิจการ พิจารณาสอบหา ข้อเท็จจริง หรือศึกษาไม่เสร็จภายในเวลาท่ีกาหนด ประธานคณะกรรมาธิการต้องรายงาน ให้ประธานสภาทราบโดยด่วน ในกรณีดังกล่าวตามวรรคหนึ่ง ถ้าอยู่ในระหว่างสมัยประชุม ให้ประธานสภาเสนอต่อที่ประชุม โดยพลัน และท่ีประชุมอาจลงมติให้ขยายเวลาที่ได้กาหนดไว้หรือให้ต้ังคณะกรรมาธิการใหม่ แทนคณะเดิม หรือให้ดาเนินการอย่างอ่ืนสุดแต่ท่ีประชุมจะเห็นสมควร แต่ถ้าอยู่นอกสมัยประชุม กใ็ ห้ประธานสภามีอานาจอนุญาตให้ขยายเวลาที่กาหนดไว้ได้ตามที่พิจารณาเห็นสมควร แล้วแจ้งให้สภาทราบ ภายหลัง การนับระยะเวลาดังกล่าวในวรรคหน่ึงและวรรคสอง ให้เริ่มนับแต่วันถัดจากวันที่สภามีมติ กาหนดระยะเวลา ข้อ ๑๐๗ บันทึกการประชุม รายงานการดาเนินการ รายงานการสอบหาข้อเท็จจริง หรือรายงานการศกึ ษา แลว้ แต่กรณี ของคณะกรรมาธกิ ารใหเ้ ปดิ เผยใหป้ ระชาชนทราบ ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ปี ระธานสภากาหนด ในกรณีท่ีจะไม่เปิดเผยบันทึกการประชุมหรือรายงานตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมาธิการ ท่ีเกี่ยวข้องเสนอความเห็นต่อสภาเพื่อให้สภามีมติมิให้เปิดเผย ท้ังนี้ หากสภามีมติมิให้เปิดเผย ให้สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจัดเก็บบันทึกการประชุมหรือรายงานดังกล่าวไว้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขท่ีเลขาธิการกาหนด หากสภามิได้มีมติไปตามความเห็นของคณะกรรมาธิการดังกล่าว ให้ดาเนนิ การตามวรรคหนึ่งต่อไป การรับรองความถูกต้องของบันทึกการประชุม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ประธานสภากาหนด ข้อ ๑๐๘ กรรมาธกิ ารพ้นจากตาแหน่ง เม่อื (๑) สภาส้นิ อายุ หรอื สภาถูกยบุ (๒) ตาย (๓) ลาออก (๔) มีการต้งั คณะกรรมาธกิ ารใหมแ่ ทนคณะเดมิ (๕) สภามีมตใิ หพ้ ้นจากตาแหนง่ (๖) ขาดการประชุมสามครั้งติดต่อกันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรและไม่ได้แจ้งเป็นหนังสือ ให้ประธานคณะกรรมาธกิ ารทราบ ข้อ ๑๐๙ ในกรณีที่ตาแหน่งกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการใดว่างลง ให้ประธาน คณะกรรมาธิการแจง้ เปน็ หนังสือต่อประธานสภา เพ่ือขอให้สภาตง้ั แทนตาแหน่งท่วี ่างลง

หน้า ๔๖ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา หมวด ๖ การเสนอและการพิจารณารา่ งพระราชบัญญตั ิ ข้อ ๑๑๐ ร่างพระราชบัญญตั ติ ้องแบ่งเปน็ มาตรา และตอ้ งมบี นั ทึกประกอบ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) หลกั การแห่งร่างพระราชบญั ญัติ (๒) เหตุผลในการเสนอร่างพระราชบญั ญัติ (๓) บันทกึ วิเคราะห์สรปุ สาระสาคญั ของรา่ งพระราชบญั ญตั ิ สรุปผลการรับฟังความคดิ เห็นและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนจากร่างพระราชบัญญัติ ให้เสนอมาพรอ้ มบนั ทกึ ประกอบตามวรรคหนึง่ หลักการแหง่ ร่างพระราชบัญญตั นิ นั้ ให้กาหนดโดยชดั แจ้ง ก่อนบรรจุระเบียบวาระการประชุมร่างพระราชบัญญัติที่มีผู้เสนอตามมาตรา ๑๓๓ (๒) หรอื (๓) ของรัฐธรรมนูญ การพจิ ารณาความจาเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งรบั ฟังความคดิ เหน็ และวิเคราะห์ผลกระทบ ที่อาจเกิดข้ึนจากร่างพระราชบัญญัติ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการที่ประธานสภากาหนด ซึ่งต้อง ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ ของกฎหมาย ข้อ ๑๑๑ ร่างพระราชบัญญัติท่ีมีผู้เสนอตามมาตรา ๑๓๓ ของรัฐธรรมนูญ ให้ประธานสภา ทาการตรวจสอบ และหากมีขอ้ บกพร่อง ใหป้ ระธานสภาแจ้งผูเ้ สนอทราบภายในเจด็ วันนบั แตว่ ันที่ได้รับ ข้อ ๑๑๒ ในกรณีที่มีการขอแก้ไขเพ่ิมเติมร่างพระราชบัญญัติก่อนที่ประธานสภาสั่งบรรจุ ร่างพระราชบัญญัตินั้นเข้าระเบียบวาระการประชุม ให้ผู้เสนอท่ีลงช่ือไว้เดิมทุกคนร่วมลงชื่อขอแก้ไข เพม่ิ เติมรา่ งพระราชบัญญัตดิ ้วย เวน้ แต่เปน็ การขอแก้ไขเพิ่มเตมิ เล็กน้อย ข้อ ๑๑๓ ร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกต้ังเข้าชื่อเสนอ ให้เลขาธิการจัดทารายงานผล การดาเนนิ การร่างพระราชบญั ญัตนิ น้ั เพอ่ื ใหส้ ภาทราบดว้ ย ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหน่ึง ให้ผู้แทนของผู้มีสิทธิเลือกตั้งซ่ึงเข้าช่ือเสนอ รา่ งพระราชบญั ญัตินั้นเปน็ ผู้เสนอและช้ีแจงรา่ งพระราชบญั ญัติต่อที่ประชุม ข้อ ๑๑๔ ในกรณีที่ประธานสภาเห็นว่าร่างพระราชบัญญัติท่ีมีผู้เสนอตามมาตรา ๑๓๓ (๒) และ (๓) ของรัฐธรรมนูญ เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน ให้ประธานสภาแจ้งให้ผู้เสนอทราบ หากผู้เสนอไม่คัดค้านความเห็นของประธานสภาภายในเจ็ดวันนับแต่วันส่งคาแจ้ง ให้ถือว่าไม่มีกรณี เป็นท่ีสงสัยตามมาตรา ๑๓๔ ของรัฐธรรมนูญ ก็ให้ประธานสภาส่งร่างพระราชบัญญัตินั้นไปยัง นายกรฐั มนตรีเพอื่ พจิ ารณาใหค้ ารบั รอง เมื่อนายกรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหน่ึงแล้ว หากไม่พิจารณาให้คารับรอง ภายในสามสิบวนั นบั แตว่ นั ท่ไี ด้รบั ใหป้ ระธานสภาแจ้งเหตุขัดข้องให้ผูเ้ สนอทราบ

หน้า ๔๗ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา หากผู้เสนอแจ้งคัดค้านตามวรรคหน่ึง ให้เป็นอานาจของที่ประชุมร่วมกันของประธานสภา และประธานคณะกรรมาธิการสามัญทกุ คณะเป็นผู้วินิจฉยั ข้อ ๑๑๕ ให้ประธานสภาจัดให้มีการประชุมร่วมกันของประธานสภาและประธาน คณะกรรมาธิการสามัญทุกคณะเพื่อพิจารณากรณีตามข้อ ๑๑๔ วรรคสาม ภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีมี กรณีดงั กลา่ ว การประชุมร่วมกันของประธานสภาและประธานคณะกรรมาธิการสามัญทุกคณะเพ่ือพิจารณา วินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติใดเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน ให้เป็นไปตามระเบียบ ท่ปี ระธานสภากาหนด และใหน้ าขอ้ บงั คับนีเ้ ฉพาะท่เี กีย่ วกบั การประชุม มาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม ข้อ ๑๑๖ การพิจารณารา่ งพระราชบญั ญตั ิให้กระทาเปน็ สามวาระตามลาดบั ข้อ ๑๑๗ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระท่ีหน่ึง ให้สภาพิจารณาและลงมติว่า จะรบั หลกั การหรอื ไมร่ ับหลักการแห่งร่างพระราชบญั ญัตนิ ั้น เพื่อประโยชน์แก่การวินิจฉัยดังกล่าวในวรรคหน่ึง สภาจะให้คณะกรรมาธิการพิจารณา กอ่ นรบั หลกั การก็ได้ ทัง้ นี้ ตอ้ งพิจารณาให้แลว้ เสร็จภายในหกสิบวนั นบั แตว่ ันที่สภามีมติ ในกรณีที่สภามมี ติให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่มหี ลักการทานองเดียวกันหลายฉบับรวมกัน สภาจะลงมติรับหลักการหรือไม่รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติแต่ละฉบับหรือท้ังหมดรวมกันก็ได้ และเมื่อสภาได้มีมติรับหลักการแล้ว ให้สภาลงมติว่าจะให้ร่างพระราชบัญญัติฉบับใดเป็นหลักในการพิจารณา ในวาระท่ีสอง ข้อ ๑๑๘ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่มีผู้เสนอตามมาตรา ๑๓๓ (๒) และ (๓) ของรฐั ธรรมนูญ ถา้ คณะรฐั มนตรขี อรับร่างพระราชบัญญตั นิ น้ั ไปพิจารณากอ่ นที่สภาจะลงมติตามขอ้ ๑๑๗ เมื่อที่ประชุมอนมุ ตั ิก็ใหร้ อการพิจารณาไว้กอ่ น แตต่ ้องไม่เกนิ หกสิบวันนับแต่วันท่สี ภามีมติ เม่ือประธานสภาไดร้ ับร่างพระราชบญั ญตั ิคนื จากคณะรัฐมนตรีหรอื พน้ กาหนดเวลาท่ีรอการพิจารณา ตามวรรคหนงึ่ แลว้ ใหบ้ รรจุร่างพระราชบัญญัติน้ันเขา้ ระเบียบวาระการประชุมเปน็ เรอ่ื งดว่ น ข้อ ๑๑๙ ในกรณีที่สภามีมติในวาระท่ีหนึ่งรับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ ให้สภาพิจารณา ตามลาดับตอ่ ไปเปน็ วาระท่ีสอง การพจิ ารณาในวาระทีส่ อง ให้พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัติโดยคณะกรรมาธกิ าร ข้อ ๑๒๐ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยคณะกรรมาธิการ สภาจะให้คณะกรรมาธิการสามัญ หรือคณะกรรมาธิการวสิ ามญั เป็นผู้พิจารณาก็ได้ การพิจารณาโดยกรรมาธิการเต็มสภาจะกระทาได้ต่อเมื่อคณะรัฐมนตรีร้องขอ หรือเม่ือสมาชิก เสนอญัตติโดยมีจานวนสมาชกิ รบั รองไม่นอ้ ยกวา่ ยส่ี ิบคนและทปี่ ระชมุ อนุมตั ิ คณะกรรมาธิการอาจเพิ่มมาตราขึ้นใหม่หรือตัดทอนหรือแก้ไขมาตราเดิมได้ แต่ต้องไม่ขัดกับ หลกั การแห่งรา่ งพระราชบญั ญัตนิ นั้

หน้า ๔๘ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา ข้อ ๑๒๑ การเลือกต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่มีสาระสาคัญ เกยี่ วกับเดก็ เยาวชน สตรี ผูส้ งู อายุ หรอื คนพกิ ารหรือทุพพลภาพ ให้ดาเนินการดังน้ี (๑) ให้ตั้งจากบุคคลประเภทดังกล่าวหรือผู้แทนองคก์ รเอกชนท่ีทางานเกยี่ วกับบุคคลประเภทนั้น โดยตรง จานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจานวนกรรมาธิการวิสามัญท้ังหมด ทั้งนี้ วิธีการคัดเลือก และการเสนอชอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบท่ปี ระธานสภากาหนด (๒) ให้ต้ังจากบุคคลที่คณะรัฐมนตรีเสนอช่ือไม่เกินหน่ึงในหกของจานวนกรรมาธิการวิสามัญ ทง้ั หมด (๓) จานวนกรรมาธิการวิสามัญท่ีเหลือให้ที่ประชุมเลือกจากรายชื่อท่ีสมาชิกเสนอ โดยให้มี จานวนตามหรือใกล้เคยี งกับอตั ราส่วนของจานวนสมาชิกของแตล่ ะพรรคการเมืองทมี่ ีอย่ใู นสภา การเลือกตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญให้นาความในข้อ ๙๑ วรรคหนึ่งและวรรคสาม มาใช้บังคับ โดยอนโุ ลม ข้อ ๑๒๒ การเลือกตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติท่ีผู้มีสิทธิเลือกต้ัง เข้าชอื่ เสนอ ใหต้ ง้ั จากผู้แทนของผู้มสี ิทธิเลอื กตั้งซึ่งเข้าชอื่ เสนอร่างพระราชบัญญัตนิ ้ันจานวนไมน่ อ้ ยกว่า หนงึ่ ในสามของจานวนกรรมาธิการวิสามญั ท้ังหมด และใหน้ าความในขอ้ ๑๒๑ (๒) (๓) และวรรคสอง มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม ข้อ ๑๒๓ ในกรณีท่ีผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติต่อสภาแล้ว หากคณะรัฐมนตรี หรือสมาชิกได้เสนอร่างพระราชบัญญัติท่ีมีหลกั การเดียวกับร่างพระราชบัญญัตนิ น้ั อกี ถ้าสภามีมติรับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวนั้น ในการเลือกตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ ใหน้ าความในข้อ ๑๒๒ มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม ข้อ ๑๒๔ การเลือกตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เข้าช่ือเสนอและท่ีมีสาระสาคัญเก่ียวกับเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ หรือคนพิการหรือทุพพลภาพ ให้ต้ังจากผู้แทนของผู้มสี ิทธิเลือกต้ังซ่ึงเข้าช่ือเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้น จานวนไมน่ ้อยกว่าหนึ่งในสาม ของจานวนกรรมาธกิ ารวิสามัญท้งั หมด และให้ดาเนินการเลอื กต้งั ตามขอ้ ๑๒๑ ต่อไป ข้อ ๑๒๕ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในชั้นคณะกรรมาธิการท่ีสภาต้ัง สมาชิกผู้ใด เห็นควรแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ ก็ให้เสนอคาแปรญัตติล่วงหน้าเป็นหนังสือต่อประธาน คณะกรรมาธิการภายในกาหนดเจ็ดวันนับแต่วันถัดจากวันที่สภารับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ เวน้ แต่สภาจะได้กาหนดเวลาแปรญตั ตสิ าหรบั รา่ งพระราชบัญญตั นิ ั้นไว้เปน็ อย่างอ่นื การแปรญัตตติ ้องแปรเป็นรายมาตรา การแปรญัตติเพ่ิมมาตราข้ึนใหม่หรือตัดทอนหรือแก้ไขมาตราเดิมต้องไม่ขัดกับหลักการ แหง่ ร่างพระราชบัญญตั นิ ั้น

หน้า ๔๙ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา ข้อ ๑๒๖ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และร่างพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่าย ในชั้นคณะกรรมาธิการที่สภาตั้ง หากสภาเห็นว่างบประมาณรายจ่ายที่ได้รับการจัดสรรไม่เพียงพอกับ การปฏิบตั หิ นา้ ท่ใี ห้เสนอคาขอแปรญตั ตติ อ่ ประธานคณะกรรมาธิการ ข้อ ๑๒๗ เม่ือคณะกรรมาธิการได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเสร็จแล้ว ให้เสนอ ร่างพระราชบัญญัตินั้น โดยแสดงร่างเดิมและการแก้ไขเพิ่มเติมพร้อมทั้งรายงานต่อประธานสภา รายงานนั้นอย่างน้อยต้องระบุว่าได้มีหรือไม่มีการแก้ไขเพ่ิมเติมในมาตราใดบ้าง และถ้ามีการแปรญัตติ มติของคณะกรรมาธิการเก่ียวด้วยคาแปรญัตติน้ันเป็นประการใด หรือมีการสงวนคาแปรญัตติของ ผู้แปรญัตติ หรือมีการสงวนความเห็นของกรรมาธิการ และในกรณีท่ีคณะกรรมาธิการมีการรับฟัง ความคดิ เหน็ และวเิ คราะหผ์ ลกระทบทีอ่ าจเกดิ ขึน้ จากรา่ งพระราชบญั ญัติ ก็ใหร้ ะบไุ ว้ในรายงานดว้ ย ในกรณีที่คณะกรรมาธิการเห็นว่ามขี อ้ สังเกตท่ีคณะรฐั มนตรีควรทราบหรอื ควรปฏิบตั ิ ใหบ้ ันทึก ข้อสังเกตดังกล่าวนั้นไว้ในรายงานของคณะกรรมาธิการเพื่อให้ที่ประชุมสภาพิจารณา และให้นาความ ในข้อ ๑๐๕ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม ข้อ ๑๒๘ ร่างพระราชบัญญัติใดทสี่ มาชิกหรือผู้มีสิทธิเลือกตั้งเป็นผู้เสนอ และในช้ันรับหลักการ ไม่เป็นร่างพระราชบัญญัตเิ ก่ียวด้วยการเงิน แต่ในการพจิ ารณาในวาระที่สอง ถ้าสภาได้ลงมติแก้ไขเพิ่มเตมิ ในมาตราใดและประธานสภาเห็นเอง หรือมีสมาชิกทักท้วงต่อประธานสภาโดยมีจานวนสมาชิกรับรอง ไม่น้อยกว่าย่ีสิบคนว่าการแก้ไขเพิ่มเติมน้ันทาให้มีลักษณะเป็นร่างพระราชบัญญัติเก่ียวด้วยการเงิน ให้ประธานสภาสั่งระงับการลงมติในวาระท่ีสามไว้ก่อน และส่งให้ที่ประชุมร่วมกันของประธานสภา และประธานคณะกรรมาธิการสามญั ทุกคณะเปน็ ผู้วินจิ ฉัยภายในสบิ ห้าวันนับแต่วนั ทมี่ ีกรณดี งั กล่าว และ ใหน้ าความในข้อ ๑๑๔ และขอ้ ๑๑๕ มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม ข้อ ๑๒๙ เมื่อประธานสภาได้รับแจ้งเร่ืองการรับรองร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินจาก นายกรัฐมนตรีตามข้อ ๑๒๘ แล้ว ให้สภาดาเนินการลงมติในวาระท่ีสามต่อไป แต่ถ้านายกรัฐมนตรี ไม่ให้คารับรองก็ให้สภาดาเนินการแก้ไข เพื่อมิให้ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นร่างพระราชบัญญัติ เกี่ยวดว้ ยการเงนิ ข้อ ๑๓๐ ในกรณีที่สภามีมติให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยกรรมาธิการเต็มสภา ให้ถือว่า สมาชิกทุกคนในท่ีประชุมประกอบกันเป็นคณะกรรมาธิการ และประธานมีฐานะเป็นประธาน คณะกรรมาธิการดว้ ย การพิจารณาโดยกรรมาธิการเต็มสภาเป็นการพิจารณาในชน้ั คณะกรรมาธิการและการพจิ ารณา ของสภาในวาระที่สองเรยี งตามลาดับมาตรารวมกนั ไป

หน้า ๕๐ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๑๓๑ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติท่ีคณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว ให้สภา พิจารณาเร่ิมต้นด้วยชื่อร่าง คาปรารภ แล้วพิจารณาเรียงตามลาดับมาตราและให้สมาชิกอภิปรายได้ เฉพาะถ้อยคาหรือข้อความท่ีมีการแก้ไขเพิ่มเติม หรือผู้แปรญัตติท่ีมีการสงวนคาแปรญัตติ หรอื กรรมาธิการท่มี ีการสงวนความเห็นไว้ เวน้ แตท่ ีป่ ระชมุ จะลงมติเป็นอย่างอ่นื การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่เป็นการแกไ้ ขเพิ่มเติมกฎหมายเดิม ให้พิจารณาเรียงตามลาดับ มาตราทไ่ี ดแ้ กไ้ ขเพมิ่ เติมในกฎหมายเดมิ ดว้ ย และให้นาความในวรรคหน่ึง มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม ข้อ ๑๓๒ เม่ือได้พิจารณาตามข้อ ๑๓๑ จนจบร่างแล้ว ให้สภาพิจารณาท้ังร่างเป็นการสรุป อีกคร้ังหน่ึง และในการพิจารณาคร้ังนี้สมาชิกอาจขอแก้ไขเพิ่มเติมถ้อยคาได้ แต่จะขอแก้ไขเพิ่มเติม เนอื้ ความใดไมไ่ ด้ นอกจากเนื้อความทีเ่ หน็ ว่ายังขดั แยง้ กันอยู่ ข้อ ๑๓๓ เมอื่ ได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระท่ีสองเสร็จแล้ว ให้สภาลงมติในวาระท่ีสามว่า เห็นชอบหรือไม่เหน็ ชอบโดยไมม่ ีการอภิปราย ข้อ ๑๓๔ ในกรณีท่ีสภาลงมติในวาระที่หนึ่งไม่รบั หลักการแหง่ ร่างพระราชบัญญตั ิก็ดี หรือลงมติ ในวาระทสี่ ามไม่เห็นชอบกด็ ี ร่างพระราชบญั ญัตนิ ้ันเปน็ อนั ตกไป ข้อ ๑๓๕ ร่างพระราชบัญญัติใดต้องยับยั้งไว้โดยบทบัญญัติมาตรา ๑๓๗ ของรัฐธรรมนูญ เมื่อกาหนดเวลาตามมาตรา ๑๓๘ ของรัฐธรรมนูญได้ล่วงพ้นไป สมาชิกอาจเสนอญัตติโดยมีผู้รับรอง ไม่น้อยกว่ายี่สิบคน ให้ยกร่างพระราชบัญญัติที่ต้องยับย้ังไว้นั้นขึ้นเพื่อให้สภาพิจารณาลงมติยืนยัน ร่างท่ีผ่านการพิจารณาจากสภาหรือร่างท่ีคณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณา เว้นแต่กรณียับยั้ง ร่างพระราชบัญญัติตามมาตรา ๒๗๑ (๑) หรือ (๒) ของรัฐธรรมนูญ ให้กระทาในท่ีประชุมร่วมกัน ของรัฐสภา ข้อ ๑๓๖ ในกรณีที่สภามีมติในวาระที่สามเห็นชอบด้วยร่างพระราชบัญญตั ิใด ใหป้ ระธานสภา ดาเนินการเสนอรา่ งพระราชบัญญัตินน้ั ต่อวฒุ สิ ภา ให้มีสารบบลงวันท่ีสภาส่งร่างพระราชบัญญัติไปยังวุฒิสภา และวันที่สภาได้รับร่างพระราชบัญญัติ คนื จากวฒุ สิ ภา ข้อ ๑๓๗ ในกรณีที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติที่ได้เสนอไปตามข้อ ๑๓๖ ให้ประธานสภาบรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุมเป็นเร่ืองด่วน เพ่ือให้สภาพิจารณาว่าจะเห็นชอบด้วย กบั การแกไ้ ขเพิ่มเติมของวุฒิสภาหรือไม่ ถ้าสภาไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพ่ิมเติม ให้ประธานดาเนินการให้สภากาหนดจานวน และต้ังกรรมาธิการร่วมกัน เมื่อสภาได้กาหนดจานวนและต้ังกรรมาธิการร่วมกันแล้ว ให้ประธานสภา แจ้งไปยงั วุฒสิ ภา เม่ือคณะกรรมาธิการร่วมกันได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเสร็จแล้ว ให้เสนอรายงานและ ร่างพระราชบัญญัติน้ันต่อประธานสภา เพ่ือให้สภาพิจารณาลงมติว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบด้วยกบั รา่ งพระราชบัญญตั ทิ คี่ ณะกรรมาธกิ ารรว่ มกันได้พจิ ารณาแล้ว

หน้า ๕๑ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา ในกรณีที่คณะกรรมาธิการร่วมกันเห็นว่ามีข้อสังเกตท่ีคณะรัฐมนตรีควรทราบหรือควรปฏิบัติ ให้บันทึกข้อสังเกตดังกล่าวน้ันไว้ในรายงานของคณะกรรมาธิการร่วมกันเพ่ือให้ท่ีประชุมสภาพิจารณา และให้นาความในขอ้ ๑๐๕ มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม ข้อ ๑๓๘ ในกรณีร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้วมีข้อความผิดพลาด ซึ่งเกิดข้ึนในระหว่างการพิจารณาของสภา ประธานสภาอาจขอปรึกษาหรือสมาชิกเสนอญัตติโดยมี ผู้รับรองไม่น้อยกว่ายี่สิบคน ให้นาร่างพระราชบัญญัตินั้นมาพิจารณาทบทวน หากท่ีประชุมสภา ลงมติเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าท่ีมีอยู่ของสภา ก็ใหด้ าเนนิ การได้ การขอปรึกษาหรือญัตติตามวรรคหนึ่งต้องระบุประเด็นท่ีจะขอนามาพิจารณาทบทวนและ ใหเ้ หตุผลท่ชี ดั เจน การพิจารณาแกไ้ ขเพิม่ เตมิ ให้กระทาไดเ้ ท่าท่ีจาเป็น และให้กระทาในทีป่ ระชมุ สภา เมื่อได้ดาเนินการตามวรรคสามแล้ว ให้ประธานสภาแจ้งไปยังวุฒิสภาเพื่อดาเนินการ ตามมาตรา ๘๑ ของรัฐธรรมนูญตอ่ ไป ข้อ ๑๓๙ ร่างพระราชบัญญัติใดท่ีรัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว ก่อนส่งร่างพระราชบัญญัติ ไปยังนายกรัฐมนตรีเพื่อดาเนินการตามมาตรา ๘๑ ของรัฐธรรมนูญ ให้ประธานสภาชะลอไว้สามวัน เพือ่ เปดิ โอกาสใหส้ มาชิกจานวนไม่นอ้ ยกวา่ หน่ึงในสบิ ของจานวนสมาชกิ ทั้งหมดเท่าทม่ี อี ยูข่ องทัง้ สองสภา เสนอความเห็นต่อประธานสภาวา่ รา่ งพระราชบญั ญัตินนั้ มีขอ้ ความขดั หรอื แยง้ ต่อรัฐธรรมนูญ หรอื ตราขน้ึ โดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และให้ประธานสภาส่งความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญ เพือ่ วนิ จิ ฉัย ข้อ ๑๔๐ เพ่ือประโยชน์ในการมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้เก่ียวข้อง สภาหรอื คณะกรรมาธกิ ารจะจัดใหม้ กี ารรบั ฟงั ความคดิ เห็นเก่ยี วกับรา่ งพระราชบญั ญัติเพิ่มเติมก็ได้ หมวด ๗ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติทรี่ ัฐสภามีมตเิ ห็นชอบให้พิจารณาตอ่ ไป ข้อ ๑๔๑ เม่ือรัฐสภามีมติให้ความเห็นชอบให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติต่อไป ตามมาตรา ๑๕๖ (๙) ประกอบมาตรา ๑๔๗ ของรัฐธรรมนูญ ถ้าร่างพระราชบัญญัติน้ันค้างการพิจารณา อยู่ในวาระใด ก็ให้พิจารณาต่อไปในวาระน้ัน และให้ประธานสภาบรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุม เปน็ เรื่องด่วน การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ถ้าอยู่ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ ใหส้ ภาต้งั คณะกรรมาธิการขึน้ ใหม่ ข้อ ๑๔๒ ถ้าร่างพระราชบัญญัตินั้นอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการร่วมกัน ให้สภาตัง้ กรรมาธิการร่วมกนั ฝ่ายสภาขน้ึ ใหมแ่ ละให้ประธานสภาแจง้ ไปยงั วฒุ ิสภาเพอื่ ทราบ

หน้า ๕๒ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๑๔๓ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ค้างการพิจารณาให้ดาเนินกระบวนการพิจารณาต่อไป ตามท่กี าหนดไว้ในหมวด ๖ การเสนอและการพจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญัติ หมวด ๘ กระทู้ถาม ส่วนท่ี ๑ บททั่วไป ข้อ ๑๔๔ กระทู้ถาม คือ ข้อซักถามที่สมาชิกมีต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเกี่ยวกับงาน ในหน้าที่ โดยจะถามเปน็ หนงั สอื หรือด้วยวาจากไ็ ด้ ตามมาตรา ๑๕๐ ของรัฐธรรมนญู ข้อ ๑๔๕ กระทถู้ ามมี ๓ ประเภท คือ (๑) กระทถู้ ามสดดว้ ยวาจา (๒) กระทถู้ ามทว่ั ไป (๓) กระทู้ถามแยกเฉพาะ ข้อ ๑๔๖ การตั้งกระทู้ถาม ให้ผู้ตั้งกระทู้ถามมอี ิสระ ไม่อย่ใู นความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงาใด ๆ กระทู้ถามแต่ละกระท้นู น้ั ให้ตง้ั ถามและซกั ถามไดเ้ ฉพาะคนเดยี ว ข้อ ๑๔๗ กระทู้ถามต้องไม่มลี กั ษณะอย่างหนึง่ อยา่ งใด ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เปน็ เชงิ ประชด เสียดสี หรือกลัน่ แกลง้ ใส่รา้ ย (๒) เคลอื บคลมุ หรือเขา้ ใจยาก (๓) เป็นเรื่องทไ่ี ด้ตอบแล้วหรอื ชแี้ จงแลว้ ว่าไม่ตอบ (๔) เป็นเรอ่ื งทีม่ ปี ระเด็นคาถามซา้ กบั กระทู้ถามซ่ึงมีผู้เสนอมากอ่ น (๕) เป็นการใหอ้ อกความเห็น (๖) เปน็ ปญั หาขอ้ กฎหมาย (๗) เปน็ เร่อื งทีไ่ มม่ สี าระสาคญั (๘) เป็นเรื่องส่วนตัวของบคุ คลใด เว้นแต่ทเี่ กี่ยวกบั การงานในหนา้ ทรี่ าชการ ข้อ ๑๔๘ กระทู้ถามตามข้อ ๑๔๗ (๓) และ (๔) น้ัน จะต้ังกระทู้ถามข้ึนใหม่ได้ในเมื่อ สาระสาคัญต่างกัน หรือพฤติการณ์ในขณะท่ีมีกระทู้ถามคร้ังนั้นได้เปลี่ยนแปลงไปจากเม่ือตั้งกระทู้ถาม คร้งั กอ่ น ข้อ ๑๔๙ กระทถู้ ามท่ีสมาชกิ ตัง้ ถาม ใหป้ ระธานสภาทาการตรวจสอบ และหากมขี ้อบกพร่อง ให้ประธานสภาแจง้ สมาชกิ ผ้นู ้ันทราบ

หน้า ๕๓ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ข้อ ๑๕๐ การประชุมคร้ังหน่ึง ๆ ให้บรรจุกระทู้ถามสดด้วยวาจาได้ไม่เกินสามกระทู้และ กระทู้ถามท่ัวไปไม่เกินสามกระทู้ แต่ถ้าหากมีกระทู้ถามท่ัวไปรอบรรจุระเบียบวาระการประชุมจานวนมาก หรือมีกระทถู้ ามท่วั ไปทเ่ี ลื่อนมาจากการประชุมครั้งทแ่ี ลว้ ประธานสภาจะบรรจุกระทูถ้ ามทั่วไปเกินกว่านี้ก็ได้ การจัดลาดับกระทู้ถามในท่ีประชุม ให้จัดตามลาดับ คือ กระทู้ถามสดด้วยวาจาและ กระท้ถู ามทว่ั ไป ข้อ ๑๕๑ นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีท่ีถูกต้ังกระทู้ถามต้องเข้าร่วมประชุมสภาเพ่ือตอบ กระทู้ถามในเรื่องนั้นด้วยตนเอง เว้นแต่มเี หตุจาเป็นอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ทาให้ไม่อาจตอบกระทู้ แต่ต้องแจ้ง เหตุจาเปน็ น้นั เปน็ หนงั สือต่อประธานสภาก่อนหรอื ในวันประชุมสภา และให้กาหนดวา่ จะตอบได้เมื่อใด ในกรณีที่มีการมอบหมายให้รัฐมนตรีอื่นท่ีเก่ียวข้องเป็นผู้ตอบกระทู้ถาม จะต้องแจ้งเป็นหนังสือ ต่อประธานสภากอ่ นถึงระเบียบวาระกระทู้ถาม นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีย่อมมีสิทธิท่ีจะไม่ตอบกระทู้ถามเม่ือคณะรัฐมนตรีเห็นว่าเรื่องน้ัน ยงั ไมค่ วรเปดิ เผย เพราะเกย่ี วกับความปลอดภยั หรือประโยชนส์ าคัญของแผ่นดิน ข้อ ๑๕๒ การต้ังกระทู้ถามต้องชัดเจน ไม่ฟุ่มเฟือย วนเวียน ซ้าซาก หรือมีลักษณะ เป็นการอภิปราย การตอบกระทู้ถามของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ให้นาความในวรรคหนึ่ง มาใช้บังคับ โดยอนุโลม ข้อ ๑๕๓ ผู้ตัง้ กระทถู้ ามมีสิทธิถอนกระทถู้ ามเม่ือใดกไ็ ด้ ข้อ ๑๕๔ กระทู้ถามใดที่ประธานสภาพิจารณาเห็นว่าเหตุการณ์ได้เปล่ียนแปลงไป ประธานสภาอาจสั่งให้นาออกจากการรอบรรจุระเบียบวาระการประชุมได้ เม่ือได้รับความยินยอม ของผ้ตู ้งั กระทูถ้ าม ข้อ ๑๕๕ กระทู้ถามตกไป เมือ่ (๑) ถึงระเบยี บวาระกระทู้ถามของผู้ใด ถา้ ผู้ตั้งกระทู้ถามไม่ถามหรือไม่อยู่ในทปี่ ระชมุ (๒) สมาชิกภาพของผตู้ ง้ั กระทู้ถามสนิ้ สุดลง (๓) คณะรฐั มนตรีทง้ั คณะพ้นจากตาแหนง่ (๔) สภาสิ้นอายุ หรอื สภาถกู ยุบ สว่ นที่ ๒ กระทูถ้ ามสดดว้ ยวาจา ข้อ ๑๕๖ การต้ังกระทู้ถามสดด้วยวาจา สมาชิกแต่ละคนมีสิทธิตั้งกระทู้ถามได้ครั้งละ หนึ่งกระทู้ ในวันประชุมที่มีวาระการตอบกระทู้ถาม โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า และต้องมีลักษณะ อย่างหน่งึ อย่างใด ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เป็นเรื่องสาคญั ทีอ่ ยูใ่ นความสนใจของประชาชน

หน้า ๕๔ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา (๒) เป็นเรอ่ื งท่ีกระทบถงึ ผลประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน (๓) เปน็ เรอ่ื งเร่งด่วน ให้เปน็ อานาจของประธานสภาทจ่ี ะวินิจฉัยว่ากระทู้ถามใดเป็นกระทู้ถามสดดว้ ยวาจาหรอื ไม่ ข้อ ๑๕๗ ในการประชุมครั้งใดมีกระทู้ถามสดด้วยวาจาที่ประธานสภาวินิจฉัยแล้วเกินจานวน สามกระทู้ ให้ประธานสภาจับสลากให้เหลือเพียงสามกระทู้ ในจานวนสามกระทู้นี้ หากปรากฏว่า มีกระทู้ถามทเี่ ป็นเร่ืองทานองเดียวกัน ใหก้ ระทู้ถามท่ีถูกจบั สลากข้นึ มาในลาดบั หลังตกไป ข้อ ๑๕๘ กระทู้ถามสดด้วยวาจาท่ีประธานสภาวินิจฉัยตามข้อ ๑๕๖ หรือได้ดาเนินการ ตามข้อ ๑๕๗ แลว้ ให้บรรจุเข้าระเบยี บวาระกระทถู้ ามสดดว้ ยวาจา ข้อ ๑๕๙ การถามและการตอบกระทถู้ ามสดดว้ ยวาจาในการประชมุ ครง้ั หนึ่ง ๆ มกี าหนดเวลา ไมเ่ กนิ เกา้ สบิ นาที เรื่องใดท่ีประธานสภาวินิจฉัยว่าไม่เข้าลักษณะกระทู้ถามสดด้วยวาจาตามข้อ ๑๕๖ หรือไม่อนุญาตให้บรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุม หรือมิได้มีการถามตอบด้วยเหตุอื่นใดที่มิใช่การขอเลื่อน การตอบของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีใหเ้ ป็นอันตกไป หากสมาชกิ ยงั ประสงคท์ จ่ี ะตั้งเปน็ กระทู้ถามสด ด้วยวาจาอยู่ ให้เสนอใหม่เพอื่ พจิ ารณาในคราวถดั ไป ข้อ ๑๖๐ กระทู้ถามสดด้วยวาจาแต่ละกระทู้ให้ถามได้เรื่องละไม่เกินสามครั้งและต้องถามตอบ ให้แลว้ เสร็จภายในกาหนดเวลาสามสบิ นาที เวน้ แต่ในการประชุมครั้งใดมีกระท้ถู ามสดด้วยวาจาน้อยกว่า สามกระทู้ กใ็ หข้ ยายเวลาออกไปอกี ตามสดั สว่ นภายในเวลาหกสิบนาที ข้อ ๑๖๑ ในระหว่างการถามกระทู้ถามสดด้วยวาจา หากประธานวินิจฉัยว่าคาถามข้อใด เข้าลกั ษณะต้องหา้ มตามขอ้ ๑๔๗ ใหป้ ระธานมอี านาจส่งั ใหเ้ ปลย่ี นแปลงคาถาม สว่ นที่ ๓ กระท้ถู ามทวั่ ไป ข้อ ๑๖๒ การตั้งกระทู้ถามทั่วไปให้เสนอล่วงหน้าเป็นหนังสือย่ืนต่อประธานสภา โดยมขี ้อความ เปน็ คาถามในขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื นโยบาย และระบุว่าจะใหต้ อบในทป่ี ระชมุ สภาหรือในราชกิจจานเุ บกษา ข้อเท็จจริงที่อ้างประกอบกระทู้ถามท่ัวไป ต้องเป็นข้อเท็จจริงท่ีผู้ต้ังกระทู้ถามรับรองว่าถูกต้อง แม้ไม่ได้ยืนยันรับรองไว้ในกระทู้ถามทั่วไปก็ตาม และถ้าจาเป็นจะต้องมีคาชี้แจงประกอบให้ระบุ แยกเป็นส่วนหนง่ึ ตา่ งหาก ข้อ ๑๖๓ ให้ประธานสภาวนิ ิจฉัยวา่ กระทู้ถามใดมีลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามข้อ ๑๔๗ หรอื มลี กั ษณะ ตามข้อ ๑๔๘ และเมื่อวนิ ิจฉยั แล้วใหแ้ จ้งผูต้ ้ังกระท้ถู ามทราบภายในเจ็ดวนั กระทู้ถามที่ประธานสภาวินิจฉัยว่าเป็นกระทู้ถาม ให้จัดส่งไปยังนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทถ่ี ูกตัง้ กระทถู้ าม

หน้า ๕๕ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๑๖๔ กระทู้ถามท่ีต้องตอบในที่ประชุมสภา ให้บรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุม ภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีส่งไปยงั นายกรัฐมนตรีหรอื รฐั มนตรตี ามขอ้ ๑๖๓ วรรคสอง ข้อ ๑๖๕ กระทู้ถามท่ีต้องตอบในราชกิจจานุเบกษา ให้ประธานสภาแจ้งนายกรัฐมนตรีหรือ รัฐมนตรีที่ถูกต้ังกระทู้ถามเพื่อดาเนินการตอบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ส่งไปยังนายกรัฐมนตรีหรือ รัฐมนตรีตามข้อ ๑๖๓ วรรคสอง เมื่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีได้ตอบแล้วให้ส่งราชกิจจานุเบกษาท่ีมีคาตอบกระทู้ถามมา เพือ่ ให้ประธานสภาแจ้งให้ผู้ตัง้ กระทูถ้ ามทราบ หากนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีไม่สามารถตอบภายในกาหนดเวลาตามวรรคหน่ึง ใหแ้ จง้ เหตุขัดข้อง เป็นหนังสือและใหก้ าหนดว่าจะตอบไดเ้ มื่อใดเพ่ือประธานสภาแจง้ ให้ผตู้ ัง้ กระท้ถู ามทราบ ข้อ ๑๖๖ การต้ังกระทู้ถามท่ัวไปตามข้อ ๑๖๒ ในการประชุมให้บรรจุกระทู้ลาดับแรก ของสมาชกิ เขา้ ระเบียบวาระการประชมุ ตามลาดับก่อนหลังที่ไดย้ ืน่ ตอ่ ประธานสภา เมื่อได้ตอบกระทู้ตามวรรคหน่ึงแล้ว ให้พิจารณาบรรจุกระทู้ลาดับถัดไปของแต่ละบุคคลเข้าสู่ ระเบียบวาระการประชมุ ตามลาดบั ท่ีไดย้ ่นื ไว้ต่อประธานสภา กระท้ทู ่ตี ้องตอบในท่ปี ระชมุ สภา ทั้งทีไ่ ด้รบั การบรรจแุ ละยงั ไม่ได้รับการบรรจุเขา้ ระเบยี บวาระ การประชุมในสมัยประชุมหนึ่ง ๆ เมื่อส้ินสุดสมัยประชุมให้ประธานสภารวบรวมแจ้งนายกรัฐมนตรี หรอื รัฐมนตรีทเี่ กย่ี วขอ้ งดาเนนิ การตอบในราชกิจจานเุ บกษาภายในสามสิบวัน ข้อ ๑๖๗ กระทู้ถามท่ีขอให้ตอบในที่ประชุมสภา เม่ือนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีได้ตอบแล้ว ผู้ตั้งกระทู้ถามมีสิทธิซักถามได้อีกหนึ่งคร้ัง เว้นแต่จะขอซักถามต่อไปเพราะคาตอบยังไม่หมดประเด็น และประธานอนุญาต ส่วนท่ี ๔ กระทถู้ ามแยกเฉพาะ ข้อ ๑๖๘ กระทู้ถามที่มีลักษณะเฉพาะเร่ือง เฉพาะพื้นท่ี เฉพาะบุคคล หรือสมาชิกระบุว่า ให้ตอบในห้องกระทู้ถาม ให้ถือเป็นกระทู้ถามแยกเฉพาะ ประธานสภาอาจกาหนดให้มีการถามและ การตอบในห้องกระทถู้ ามก็ได้ การตั้งกระทู้ถามแยกเฉพาะให้เสนอล่วงหน้าเป็นหนังสือย่ืนต่อประธานสภา ข้อเท็จจริง ทอี่ า้ งประกอบกระทู้ถามแยกเฉพาะ ต้องเป็นขอ้ เทจ็ จริงที่ผตู้ ้ังกระทู้ถามรับรองว่าถกู ต้อง แมไ้ มไ่ ด้ยืนยัน รบั รองไว้ในกระทู้ถามแยกเฉพาะกต็ าม และถา้ จาเปน็ จะต้องมคี าชีแ้ จงประกอบให้ระบแุ ยกเป็นส่วนหน่ึง ตา่ งหาก และใหน้ าความในขอ้ ๑๖๓ มาใช้บงั คบั โดยอนุโลม ข้อ ๑๖๙ ให้ประธานสภาจัดให้มีห้องกระทู้ถามในบริเวณสภา เพื่อให้มีการถามและ การตอบกระทูถ้ ามแยกเฉพาะได้โดยสะดวก

หน้า ๕๖ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกจิ จานเุ บกษา ข้อ ๑๗๐ ให้ประธานสภาแจ้งนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีท่ีถูกตั้งกระทู้ถามแยกเฉพาะ เพื่อมาตอบภายในสิบห้าวันนับแต่วนั ท่ีสง่ ไปยงั นายกรัฐมนตรีหรอื รัฐมนตรีตามขอ้ ๑๖๓ วรรคสอง หากนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีไม่สามารถมาตอบภายในกาหนดเวลาตามวรรคหน่ึง ใหแ้ จ้งเหตุขดั ข้องเปน็ หนังสือและใหก้ าหนดว่าจะตอบได้เม่ือใด เพ่อื ประธานสภาแจง้ ให้ผูต้ ้งั กระทู้ถามทราบ ข้อ ๑๗๑ ให้บรรจุกระทู้ถามแยกเฉพาะ เข้าระเบียบวาระการประชุมภายในสิบห้าวันนับแต่ วันท่สี ่งไปยงั นายกรัฐมนตรีหรอื รัฐมนตรีตามข้อ ๑๖๓ วรรคสอง ตามลาดบั ก่อนหลงั ทีไ่ ด้ยนื่ ตอ่ ประธานสภา กระทู้ถามแยกเฉพาะที่ยังไม่ได้ตอบหรือที่ยังไม่ได้บรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุมในสมัย ประชุมหนึ่ง ๆ เมื่อส้ินสุดสมัยประชุม ให้ประธานสภารวบรวมแจ้งนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทีเ่ กยี่ วขอ้ งดาเนินการตอบในราชกิจจานเุ บกษาภายในสามสิบวนั ข้อ ๑๗๒ เม่ือเข้าสู่ระเบียบวาระกระทู้ถามให้ประธานสั่งให้ดาเนินการถามและตอบกระทู้ถาม แยกเฉพาะในห้องกระทู้ถาม ให้ประธานสภาหรือรองประธานสภาที่ประธานสภามอบหมายทาหน้าที่ประธานในห้องกระทู้ถาม และให้นาความในข้อ ๑๖๗ มาใชบ้ งั คับโดยอนโุ ลม ข้อ ๑๗๓ ในการประชุมคร้ังหนึง่ ใหม้ กี ระท้ถู ามแยกเฉพาะตามจานวนท่ปี ระธานสภากาหนด กระทูถ้ ามแยกเฉพาะแต่ละกระทตู้ ้องถามและตอบให้แล้วเสรจ็ ภายในกาหนดเวลายส่ี ิบนาที ข้อ ๑๗๔ การเผยแพร่การถามและการตอบกระทู้ถามแยกเฉพาะให้นาความในข้อ ๑๘ วรรคสองและวรรคสาม มาใชบ้ ังคับโดยอนุโลม หมวด ๙ การเปดิ อภปิ รายทวั่ ไป ส่วนที่ ๑ การเปดิ อภิปรายท่วั ไปเพอ่ื ลงมตไิ มไ่ วว้ างใจ ข้อ ๑๗๕ เมื่อสมาชิกมีความประสงค์จะเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายท่ัวไปตามมาตรา ๑๕๑ ของรัฐธรรมนูญ ให้ย่ืนต่อประธานสภาเป็นหนังสือแสดงว่า จะเปิดอภิปรายท่ัวไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ รัฐมนตรเี ป็นรายบคุ คลหรือท้งั คณะในเรือ่ งใดบ้าง ข้อ ๑๗๖ เมอ่ื ประธานสภาได้รับญัตติตามข้อ ๑๗๕ แล้ว ให้ทาการตรวจสอบ หากมขี ้อบกพร่อง ใหป้ ระธานสภาแจ้งผู้เสนอทราบภายในเจด็ วนั นบั แตว่ ันท่ีได้รับญตั ติ เม่ือประธานสภาได้ตรวจสอบความถูกต้องของญัตติแล้ว ให้บรรจุเข้าระเบียบวาระการประชุม เปน็ เรือ่ งดว่ นและแจง้ ใหน้ ายกรฐั มนตรที ราบ

หน้า ๕๗ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา ข้อ ๑๗๗ นายกรฐั มนตรีและรัฐมนตรีเทา่ นั้นทม่ี สี ิทธิอภิปรายชี้แจง การช้ีแจงตามวรรคหนึ่ง จะชี้แจงคาอภิปรายของสมาชิกทีละคนเป็นลาดับไปหรือจะรอรวม ช้แี จงครั้งละหลายคนกไ็ ด้ ข้อ ๑๗๘ ในการอภิปรายและการลงมติไม่ไว้วางใจ สมาชิกมีอิสระจากพรรคการเมือง ไม่อยใู่ นความผูกมัดแห่งอาณตั มิ อบหมาย หรือความครอบงาใด ๆ การอภิปรายตามวรรคหนงึ่ นอกจากทก่ี าหนดไวใ้ นสว่ นนี้แลว้ ให้นาความในหมวด ๔ ส่วนที่ ๓ การอภิปราย มาใช้บังคับโดยอนุโลม ยกเว้นข้อ ๖๗ และข้อ ๖๙ เฉพาะส่วนท่ีเก่ียวกับการห้ามมิให้ นาเอกสารใด ๆ มาอ่านในท่ีประชุมโดยไม่จาเป็น และห้ามมิให้นาวัตถุใด ๆ เข้ามาแสดงในท่ีประชุม มใิ หน้ ามาใชบ้ งั คับ การนาเอกสารหรือวัตถุใด ๆ เข้ามาแสดงในที่ประชุม ในการอภิปรายตามวรรคหนึ่งท่ีอาจเป็นเหตุ ให้บุคคลอ่ืนซ่ึงมิใช่นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีหรือสมาชิกได้รับความเสียหาย หรือเป็นการฝ่าฝืนหรือ ไม่ปฏิบตั ิตามมาตรฐานทางจริยธรรม สมาชกิ ผูน้ นั้ ต้องรบั ผิดชอบผลแหง่ การกระทานน้ั ส่วนที่ ๒ การเปิดอภิปรายทวั่ ไปตามมาตรา ๑๕๒ ของรัฐธรรมนญู ข้อ ๑๗๙ ญัตติขอเปิดอภิปรายท่ัวไปตามมาตรา ๑๕๒ ของรัฐธรรมนูญ ให้ทาเป็นหนังสือ ยน่ื ตอ่ ประธานสภาโดยระบุให้ชัดเจนว่าจะซกั ถามข้อเท็จจรงิ หรือเสนอแนะปัญหาต่อคณะรฐั มนตรีในเร่ืองใด เม่ือประธานสภาได้รับญตั ติตามวรรคหน่งึ แลว้ ใหน้ าความในข้อ ๑๗๖ มาใชบ้ งั คับโดยอนโุ ลม ข้อ ๑๘๐ ในการอภิปราย ให้นาความในหมวด ๔ ส่วนที่ ๓ การอภิปราย มาใช้บังคับ โดยอนโุ ลม หมวด ๑๐ การรักษาระเบยี บและความเรยี บรอ้ ย ข้อ ๑๘๑ สถานที่ประชุมของสภาย่อมเป็นท่ีเคารพและเป็นเขตหวงห้าม บุคคลซ่ึงเข้าไป ต้องประพฤติตนให้เรียบร้อย มีสัมมาคารวะ และต้องแต่งกายตามท่ีประธานสภากาหนด บุคคลอ่ืน ทไ่ี มใ่ ช่สมาชกิ หรือเจา้ หน้าที่ เม่อื หมดภารกจิ ต้องออกนอกสถานทป่ี ระชมุ ของสภา การแต่งกายของสมาชิกน้ัน ให้แต่งเครื่องแบบสมาชิกรัฐสภา หรือสากลนิยม หรือ ชุดพระราชทาน หรอื ชุดตามระเบยี บทปี่ ระธานสภากาหนด ห้ามใชเ้ ครื่องมอื สอ่ื สารใด ๆ ซึ่งก่อให้เกดิ การรบกวนในท่ีประชุม ข้อ ๑๘๒ ผู้ใดฝ่าฝืนข้อบังคับน้ี ประธานมีอานาจเตือน ห้ามปราม ให้ถอนคาพูด ห้ามพูด ในเรื่องท่ีกาลังปรึกษากันอยู่ ให้กล่าวขออภัยในท่ีประชุม หรือส่ังให้ออกไปจากที่ประชุมโดยมี หรือไม่มกี าหนดเวลาในครั้งนน้ั ก็ได้

หน้า ๕๘ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานเุ บกษา ในกรณีที่ประธานสงั่ ใหผ้ ้ใู ดออกจากท่ีประชมุ หากผูน้ ั้นขดั ขืน ประธานมีอานาจสง่ั ใหเ้ จ้าหน้าที่ ตารวจรัฐสภานาตัวออกจากสถานท่ีประชุมของสภาหรือออกไปให้พ้นบริเวณสภา ทั้งนี้ วิธีการ หรือขนั้ ตอนการนาตวั ผทู้ ีป่ ระธานสั่งใหอ้ อกจากที่ประชุม ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบทปี่ ระธานสภากาหนด เจา้ หนา้ ที่ตารวจรฐั สภาท่ปี ฏบิ ัตหิ น้าท่ีตามคาสัง่ ของประธานย่อมไดร้ ับความคมุ้ ครอง คาสงั่ ของประธานตามข้อน้ี ผใู้ ดจะโต้แย้งไมไ่ ด้ ข้อ ๑๘๓ การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อยในส่วนท่ีเกี่ยวกับบุคคลภายนอกท่ีจะเข้ามา ในที่ประชุม หรือบริเวณสภา หรือเข้าฟังการประชุม ตลอดจนมารยาทของบุคคลเช่นว่านั้น และการโฆษณาขอ้ ความเกย่ี วดว้ ยการประชมุ ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บที่ประธานสภากาหนด หมวด ๑๑ บทสดุ ทา้ ย ข้อ ๑๘๔ ถ้าประธานขอปรึกษา หรือสมาชิกเสนอญัตติโดยมีจานวนสมาชิกรับรองไม่น้อยกว่า ย่ีสิบคน ให้งดใช้ข้อบังคับข้อหน่ึงข้อใดทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นการชั่วคราวเฉพาะกรณี หากที่ประชุม อนมุ ตั ิด้วยคะแนนเสยี งไม่น้อยกวา่ สองในสามของสมาชกิ ในทป่ี ระชุมกใ็ หง้ ดใชไ้ ด้ ข้อ ๑๘๕ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๔๙ ของรัฐธรรมนูญ ถ้ามีปัญหาท่ีจะต้องตีความข้อบังคับน้ี ให้เป็นอานาจของสภาท่ีจะวินิจฉัย และเมื่อที่ประชุมได้ลงมติวินิจฉัยโดยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึง ของจานวนสมาชกิ ทง้ั หมดเทา่ ท่มี อี ยขู่ องสภาเป็นประการใดแลว้ ใหถ้ อื วา่ คาวนิ ิจฉัยน้ันเป็นเดด็ ขาด การขอให้ที่ประชุมวินิจฉัยตามวรรคหนึ่ง อาจกระทาได้โดยประธานขอปรึกษาหรือสมาชิก เสนอญตั ติโดยมจี านวนสมาชิกรบั รองไม่นอ้ ยกว่ายสี่ บิ คน ข้อ ๑๘๖ การขอแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับน้ี ต้องเสนอเป็นญัตติโดยมีจานวนสมาชิกรับรอง ไม่น้อยกวา่ ย่ีสบิ คน การเสนอและพิจารณาญัตติในวรรคหนึ่ง ให้นาข้อบังคับว่าด้วยการเสนอและการพิจารณา ร่างพระราชบญั ญตั ิ มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม ข้อ ๑๘๗ ในกรณีมีเรื่องท่ีสภาจะต้องพิจารณาเก่ียวกับการอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้มีการจับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิกไปทาการสอบสวนในฐานะเป็นผู้ต้องหาในคดีอาญาในระหว่าง สมัยประชุมตามมาตรา ๑๒๕ วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญ ให้ประธานสภาบรรจุเข้าระเบียบวาระ การประชุมเป็นเรื่องดว่ น การขออนุญาตตามวรรคหน่ึง หากประธานสภาเห็นว่าเหตุการณ์ได้เปล่ียนแปลงไป ประธานสภาอาจส่งั ให้นาออกจากระเบยี บวาระการประชมุ ได้ แลว้ แจง้ ใหท้ ี่ประชุมทราบ ข้อ ๑๘๘ ในกรณีที่ประธานสภาได้ดาเนินการตามมาตรา ๑๒๕ วรรคสองหรือวรรคสาม ของรัฐธรรมนญู แลว้ ให้ประธานสภาแจ้งใหท้ ่ีประชมุ รบั ทราบในโอกาสแรกทมี่ ีการประชุม

เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๒๑๖ ง หน้า ๕๙ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา บทเฉพาะกาล ข้อ ๑๘๙ ข้อบังคับนี้ไม่กระทบกระเทือนถึงการใดที่ได้กระทาเสร็จไปแล้วก่อนใช้ข้อบังคับนี้ สว่ นการใดทีย่ ังกระทาคา้ งอยูใ่ ห้ดาเนินการตอ่ ไปตามข้อบงั คับทใ่ี ชอ้ ยกู่ ่อนวนั ใชข้ อ้ บังคบั นี้ ข้อ ๑๙๐ ให้นาข้อบังคับว่าด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาใช้บังคับกบั สมาชิกและกรรมาธิการโดยอนุโลม จนกว่าจะได้มกี ารประกาศใช้ข้อบังคับ ว่าด้วยประมวลจริยธรรมตามมาตรา ๑๒๘ วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา ๒๑๙ วรรคสอง ของรฐั ธรรมนญู แล้ว เพ่ือดาเนินการให้เป็นไปตามวรรคหนึ่ง ให้สภาต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญยกร่างข้อบังคับ ว่าด้วยประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและกรรมาธิการตามมาตรา ๑๒๘ วรรคหน่ึง ประกอบมาตรา ๒๑๙ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ ภายในสามสิบวันนบั แต่วันประกาศใช้ขอ้ บังคับน้ี ข้อ ๑๙๑ ให้คณะกรรมาธิการวิสามัญที่สภาต้ังก่อนวันท่ีข้อบังคับน้ีใช้บังคับ คงดารงตาแหน่ง ต่อไปจนกวา่ จะปฏบิ ัติหน้าทเ่ี สรจ็ ส้ิน ข้อ ๑๙๒ ให้บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคาส่ังที่ออกตามข้อบังคับการประชุม สภาผู้แทนราษฎรท่ีใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่ข้อบังคับน้ีใช้บังคับ ยังคงใช้บังคับต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับ บทแห่งขอ้ บังคบั นี้ จนกวา่ จะมีขอ้ บังคบั ระเบียบ ประกาศ หรือคาส่งั ท่อี อกตามข้อบงั คับน้ีใชบ้ งั คบั ประกาศ ณ วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖2 ชวน หลกี ภัย ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook