Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สำนักนายกรัฐมนตรีในส่วนของสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ และแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

สำนักนายกรัฐมนตรีในส่วนของสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ และแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

Published by flowerz_uk, 2020-01-12 22:13:42

Description: สำนักนายกรัฐมนตรีในส่วนของสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ และแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

Search

Read the Text Version

สำนกั นำยกรฐั มนตรี ในสว่ นของ - สำนกั งำนทรพั ยำกรน้ำแหง่ ชำติ - แผนงำนบรู ณำกำรบรหิ ำรจดั กำร ทรพั ยำกรน้ำ

สารบัญ หน้า ส้ำนกั งำนทรัพยำกรนำ้ แห่งชำติ 1 แผนงำนบูรณำกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรนำ้ 5

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา สานกั งานทรัพยากรนา้ แหง่ ชาติ สานักนายกรัฐมนตรี 1. สรุปภาพรวมงบประมาณและการเบกิ จ่ายงบประมาณ สำนักงำนทรพั ยำกรน้ำแห่งชำติ ล้านบาท 1000 800 600 2561 2562 2563 400 77.60 746.22 899.02 200 32.19 290.47 - 0 งบประมาณ เบกิ จา่ ย ปีงบประมาณ พ.ศ. หมายเหตุ : งบประมาณปี 2561-2562 เปน็ งบประมาณหลังโอน/เปลยี่ นแปลง ท่มี า : เอกสารงบประมาณ พ.ศ.2563 ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ท่ี 1 หน้า 205 และผลการเบกิ จ่ายงบประมาณจาก GFMIS กรมบัญชีกลาง สรุปสาระสาคัญ สานักงานทรัพยากรนาแห่งชาติ ได้รับงบประมาณปี 2563 จานวน 899.0159 ล้านบาท เพิ่มขึนจากปี 2562 จานวน 152.7959 หรือเพ่ิมขึนร้อยละ 20.48 สาหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีผล การเบิกจ่าย รอ้ ยละ 38.93 2. สรุปภาพรวมงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (จาแนกตามงบรายจา่ ย) หน่วย : ลา้ นบาท หน่วยงาน งบบุคลากร งบดาเนินงาน งบลงทนุ งบเงนิ งบรายจ่าย เงินนอก รวมทงั้ ส้นิ อดุ หนนุ อน่ื งบประมาณ รวมทั้งสน้ิ 90.7191 81.1584 446.4597 33.9171 246.7616 899.0159 แผนงานบคุ ลากร 90.7191 1.6248 - - - - 92.3439 ภาครัฐ แผนงานพืนฐานดา้ น - 79.5336 152.2951 33.9171 17.0095 - 282.7553 การสรา้ งการเติบโตบน คุณภาพชวี ิตท่ีเปน็ มิตร ต่อส่ิงแวดล้อม แผนงานบูรณาการ - - 294.1646 - 229.7521 - 523.9367 บรหิ ารจดั การ ทรพั ยากรนา ที่มา : เอกสารงบประมาณ พ.ศ.2562 ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 2 หน้า 298/4 สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 1 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนา งบรายจา่ ยอ่นื งบบคุ ลากร งบดาเนนิ งาน 27% 10% 9% งบเงนิ อุดหนุน 4% งบลงทุน 50% 3. สรุปภาพรวมงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (จาแนกตามแผนงาน) หน่วย : ลา้ นบาท หน่วยงาน แผนงาน แผนงาน แผนงาน แผนงานบูรณาการ รวมท้ังสิ้น บุคลากร พน้ื ฐาน ยุทธศาสตร์ สานักงานทรัพยากรนาแห่งชาติ 92.3439 282.7553 - 523.9367 899.0159 แผนงานบรู ณา แผนงานบุคลากรภาครฐั การบรหิ าร 10% จดั การ ทรพั ยากรน้า แผนงานพน้ื ฐานดา้ น 58% การสรา้ งการเตบิ โต บนคุณภาพชวี ติ ท่ี เป็นมติ รต่อ… 4. ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 รายจ่ายประจา รายจ่ายลงทนุ พรบ. งปม.หลงั โอน/ เบิกจา่ ยทังสิน เบิกจ่าย พรบ. งปม.หลงั เบิกจา่ ยทังสิน เบกิ จา่ ย โอน/ เหลอ่ื มปี เปล่ียนแปลง เหลอื่ มปี เปลย่ี นแปลง 8.286 479.133 468.029 245.576 10.888 270.521 278.189 44.889 ท่ีมา : ระบบ GFMIS กรมบัญชกี ลาง ณ 30 กันยายน 2562 สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 2 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรัพยากรนา 5. เงนิ กนั ไว้เบกิ เหลื่อมปแี ละขยายระยะเวลาเบกิ จ่าย หน่วย : ล้านบาท หนว่ ยงาน รวมเงนิ กนั เบกิ จ่าย รวมทงั สิน อยรู่ ะหวา่ ง รวม ไว้เบิกเหลอื่ มปี ดาเนนิ การ เงินกันฯ เงนิ กันฯ สานักงานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ 43.9225 19.1736 กรณมี ี กรณไี ม่ 24.7489 24.7489 หนผี ูกพัน มีหนีผกู พัน -- ที่มา : ระบบ GFMIS กรมบัญชกี ลาง ณ 30 กันยายน 2562 6. รายการผูกพนั หนว่ ย : ลา้ นบาท หน่วยงาน จานวนรายการ ปงี บประมาณ เงินนอก ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566-จบ งบประมาณ 169.4347 438.7325 3.5586 3.5586 รวม แผนงาน 5 615.2844 - พืนฐาน 12 17 264.6646 304.7738 - - 569.4384 - แผนงาน บูรณาการ 434.0993 743.5063 3.5586 3.5586 1,184.7228 - รวม 7. ผลสัมฤทธ์ิท่ีได้จากงบประมาณของสานกั งานทรพั ยากรนา้ แห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงานทรัพยากรนาแห่งชาติ ได้ใช้งบประมาณในการดาเนินการพัฒนา ขอ้ มูลด้านทรพั ยากรนาในลุ่มนา และพฒั นาฐานข้อมูล เพ่ือประกอบการตดั สนิ ใจกาหนดนโยบายและพิจารณา กาหนดโครงการเพื่อแก้ปัญหาดา้ นทรัพยากรนา โดยมีโครงการ/กจิ กรรมทสี่ าคัญ ไดแ้ ก่ 1. จัดทาผังนา 5 โครงการ ใน 8 ลุ่มนา ได้แก่ ลุ่มนาชี ลุ่มนามูล ลุ่มนาบางปะกง ลุ่มนาสะแกกรัง ลุ่มนาป่าสัก ลมุ่ นาเจ้าพระยา ลุ่มนาทา่ จีน และลมุ่ นาแมก่ ลอง 2. จ้างศึกษาความเหมาะสม และศึกษาเพ่ือดาเนินโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง 7 โครงการ 3. โครงการศกึ ษาด้านทรพั ยากรนาอ่นื ๆ 13 รายการ 4. โครงการพฒั นาระบบฐานข้อมลู และระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจดา้ นบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนา 8. ขอ้ สงั เกตและข้อเสนอแนะของสานกั งบประมาณของรฐั สภา จากการวิเคราะห์โครงการ/กิจกรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงานทรัพยากรนาแห่งชาติได้ มุ่งเน้นพัฒนาข้อมูลในลุ่มน้า และฐานข้อมูลเพ่ือประกอบการตัดสินใจเพ่ือแก้ไขปัญหาทรัพยากรนาของ ประเทศ และเพ่ือให้การกากับดูแลและขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรนาของประเทศได้ สมบรู ณย์ ง่ิ ขนึ สานักงานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติควรพิจารณาดาเนินการเพิม่ เติม ดังนี 1) การจัดสรรงบประมาณเพ่ือแก้ไขปัญหาทรัพยากรนา ควรให้ความสาคัญในระดับลุ่มนาและกล่มุ ลุ่ม นา ซึ่งแผนงานและงบประมาณควรพิจารณาจากการมีสว่ นร่วมในการกาหนดแผนงานบริหารจดั การทรพั ยากร นาในระดับลุ่มนา โครงการ/กจิ กรรมจากประชาชนในพืนที่ เนื่องจากในแตล่ ะลุ่มนามลี ักษณะทางกายภาพและ สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 3 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา ข้อมูลด้านทรัพยากรนาท่ีแตกต่างกัน เพ่ือให้เกิดการแก้ปัญหาท่ีเกิดขึนจริง และตรงกับความต้องการของ ประชาชนในแต่ละพนื ท่ี 2) จะต้องมีการบูรณาการข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา อุทกวิทยา และข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับ การบรหิ ารจัดการนาต่างๆ รวมไปถึงข้อมลู การศึกษาวิจยั ด้านทรัพยากรนาซ่ึงมีอยูม่ ากกระจายอยู่ในหนว่ ยงาน ภาครัฐ สถานศึกษา และภาคเอกชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณเพื่อการ บริหารจดั การนาตอ่ ไป 3) ที่ผ่านมาการบริหารจัดการนามีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกระจัดกระจายอยู่หลายหน่วยงานทาให้ องคก์ รและโครงสรา้ งหลกั ในการบริหารจดั การทรัพยากรนายงั ไม่เป็นเอกภาพ ขาดความตอ่ เน่อื งในการกาหนด นโยบายและการจัดทาแผน ขาดการวางแผนและแก้ไขปัญหาในพืนท่ีอย่างบูรณาการ สานักงานทรัพยากรนา แห่งชาติ ซึ่งเป็นหน่วยงานท่ีสาคัญในการขับเคล่ือน กากับ ติดตาม และประเมินผล ควรดาเนินการสร้างการมี ส่วนร่วม สารวจปัญหาด้านทรัพยากรนาในแต่ละพืนที่ กาหนดเป้าหมาย จัดทาแผนงาน โครงการ/กิจกรรม มอบหมายโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณ ให้กับหน่วยงานท่ีมีหน้าที่รับผดิ ชอบตามแต่ละภารกจิ ตามความ เหมาะสม พร้อมติดตามและประเมนิ ผลโครงการ/กิจกรรม ในภาพรวมทังประเทศ เพื่อใหก้ ารบริหารจัดการนา เป็นในทิศทางเดียวกัน และเป็นเอกภาพ ไม่เกิดความซาซ้อนในการดาเนินการ เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการ บรหิ ารจัดการทรพั ยากรนาของประเทศ สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 4 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา้ 1. สถานการณแ์ ละประเดน็ ทเ่ี กีย่ วข้องกับการพิจาณางบประมาณด้านทรัพยากรน้าของประเทศ สานักงบประมาณของรัฐสภา (PBO) ได้จัดทารายงานการศึกษาวิเคราะห์แผนงานบูรณาการบริหาร จัดการทรัพยากรนาและการจัดสรรงบประมาณไว้เมื่อ พ.ศ. 2560 โดยได้ทาการศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์ ปัญหาทรัพยากรนาของประเทศ ทัง 6 ด้าน เพื่อเปรียบเทียบกับ 6 เป้าหมาย ของแผนงานบูรณาการบริหาร จัดการทรัพยากรนา ซ่ึงเป็นประโยชน์ในการประกอบการพิจารณางบประมาณแผนงานบูรณาการบริหาร จัดการทรัพยากรนา พ.ศ. 2563 โดยมีประเดน็ สาคญั สรุปได้ ดังนี เปา้ หมายที่ 1 : การจัดการน้าเพอื่ การอุปโภค ข้อมูลจากแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรนา พ.ศ. 2558 ระบุว่า พ.ศ. 2557 มีความ ตอ้ งการอุปโภคบรโิ ภค 6,490 ล้านลูกบาศก์เมตร และได้มีการคาดการณ์ความตอ้ งการใช้นาอุปโภคบริโภคในปี พ.ศ. 2570 ไว้ท่ี 8,260 ล้านลูกบาศก์เมตร และจากข้อมูล กชช.2ค พ.ศ. 2556 ซ่ึงมีการสารวจข้อมูลพืนฐาน ระดับหมู่บ้านของกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พบว่าจากจานวนหมู่บ้านในประเทศไทยทังหมด 70,372 หมู่บ้าน มีหมู่บ้านที่ยังไม่มีระบบประปาจานวน 7,860 หมู่บ้าน โดยส่วนใหญ่อยู่ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ทังนี จังหวัดท่ีมีหมู่บ้านท่ีไม่มีระบบประปามากที่สุด คือ ศรีสะเกษ สุรินทร์ และบุรีรัมย์ ตามลาดับ ซึ่งประชาชนยังคงใช้นาจากแหล่งนาธรรมชาติในการอุปโภค บริโภค ทาให้ประสบปัญหาด้าน คุณภาพนา ความเพียงพอของปริมาณนา และความสะดวกของประชาชน นอกจากนี ข้อมูลกรมชลประทาน พบว่าเม่ือเกดิ สภาวะรกุ ตวั ของนาเค็ม จาเป็นต้องใช้นาจืดจากระบบชลประทานในการผลักดันนาเค็มเพ่ือรักษา คุณภาพในเกษตรและนาต้นทุนในการผลิตนาประปาเพ่ือใช้ในการอุปโภคบริโภคในกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ซ่งึ จะสง่ ผลต่อปรมิ าณนาในพนื ท่ีต้นนาที่จะใชใ้ นการอปุ โภคบรโิ ภค เพ่ือต้องการทราบปริมาณความต้องการนาตอ่ พืนทีในแต่ละภาค จึงได้นาข้อมูลความต้องใชน้ าอปุ โภค บริโภค มาคานวณเฉล่ียต่อพืนท่ีในแต่ละกลุ่มลุ่มนาพบว่า แต่ละกลุ่มลุ่มนามีความต้องใช้นาอุปโภคบริโภค แตกต่างกนั ขึนอยู่กบั ความหนาแน่นของประชากรและกิจกรรมในการใช้นา โดยเรยี งลาดับจากความต้องใช้นา อุปโภคบรโิ ภคมาคิดเฉลยี่ ตอ่ พืนท่ีมากไปน้อยได้ดงั นี กลมุ่ ลุ่มนา้ ความตอ้ งการใชน้ า้ อุปโภคบริโภค เฉลย่ี ตอ่ พนื้ ท่ีต่อปี (ลา้ น ลบ.ม./ลา้ นไร่) 1. กลุ่มลุม่ นาภาคตะวันออก 24.07 2. กลมุ่ ลมุ่ นาภาคเหนือและภาคกลาง 19.21 3. กลมุ่ ลุม่ นาภาคใต้ 13.05 4. กลุม่ ลมุ่ นาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 11.01 5. กลมุ่ ลุ่มนาภาคตะวนั ตก 6.83 สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 5 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนา ที่ผา่ นมาแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนาปงี บประมาณ พ.ศ.2561 ไดจ้ ัดสรรงบประมาณ ต่อพืนที่เรียงลาดับจากมากท่ีสุดไปน้อยท่ีสุด ได้แก่ 1) กลุ่มลุ่มนาภาคเหนือและภาคกลาง 2) กลุ่มลุ่มนาภาค ตะวนั ตก 3) กลมุ่ ลมุ่ นาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 4) กลุ่มลุ่มนาภาคใต้ และ 5) กลมุ่ ล่มุ นาภาคตะวันออก ดงั นัน เพอื่ ให้การใช้จ่ายงบประมาณได้ตรงกับปัญหาท่ีเกิดขึนจริงอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ควรนาข้อมลู ความตอ้ งการการ ใช้นาอุปโภคบริโภคแต่ละพืนท่ีมาประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาแหล่งนาดิบและการ ผลิตนาประปา นอกจากนี การพิจารณาจัดลาดับความสาคัญของการกาหนดพืนท่ีโครงการเพ่ือจัดสรร งบประมาณนาข้อมลู พนื ท่หี มบู่ ้านท่ยี งั ไม่มนี าประปาใช้มาประกอบการพจิ ารณาจดั สรรงบประมาณด้วย เปา้ หมายที่ 2 : น้าสาหรับภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม ประเทศไทยมีพืนที่ 321.2 ล้านไร่ เป็นพืนท่ีการเกษตร 149.2 ล้านไร่ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี พืนท่ีการเกษตรมากที่สุด 63.6 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 43 ของพืนท่ีการเกษตรทังประเทศ รองลงมา คือภาค กลางมีพนื ที่การเกษตร 27.2 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 18 ของพืนที่การเกษตรทังประเทศ ที่ผ่านมาจนถึงปี พ.ศ. 2557 ได้มีการพัฒนาพืนที่ชลประทานรวม 30.22 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 20 ของพืนท่ีทางการเกษตร นอกจากนันเป็นพืนท่ีนอกเขตชลประทานท่ีปลูกพืชโดยใช้นาฝนเป็นหลัก ซ่ึงมีความเส่ียงต่อการขาดแคลนนา อันเนื่องมาจากความผันแปรของสภาพภูมิอากาศ อีกทังในพืนที่ยังมีสภาพทางกายภาพท่ีไม่เอืออานวยต่อการ ลาเลยี งนาจากแหล่งนามาใช้ประโยชนด์ ว้ ย ข้อมูลพืนที่ท่ีประสบภัยแล้ง ตังแต่ปี พ.ศ. 2554-2558 พบว่ามีจังหวัดท่ีไม่เกิดภัยแล้งในรอบ 5 ปี จานวน 7 จงั หวัด โดยมจี ังหวัดที่มีพืนที่เกิดภัยแล้งซาทัง 5 ปี จานวน 27 จงั หวัด ดงั ภาพที่ 1 สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 6 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนา ภาพท1่ี แสดงแผนทีส่ รุปขอ้ มูลการเกิดภยั แล้ง ปี พ.ศ. 2554-2558 สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 7 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา ภาพที่ 2 แสดงความตอ้ งการใช้นาในแต่ประเภทเปรียบเทียบกบั ความจเุ ก็บกักของแหลง่ นาแยกเปน็ กล่มุ ลุ่มนา จากผลการศกึ ษาความปริมาณความต้องการใช้นาเปรียบเทียบกับความจุเก็บกักของแหลง่ นาในแต่ละ พืนที่ พบว่า 1. พืนที่ทีม่ ีความจเุ ก็บกกั ของแหลง่ นามากกว่าปรมิ าณความต้องการใชน้ า คือกลุ่มล่มุ นาภาคตะวนั ตก 2. พืนทท่ี มี่ ีความจเุ ก็บกกั ของแหลง่ นาใกล้เคยี งปริมาณความตอ้ งการใช้นา คือ กลุ่มลุม่ นาภาคเหนอื และภาคกลาง 3. พืนที่ที่มีความจุเก็บกักของแหล่งนาน้อยกว่าปริมาณความต้องการใช้นา ได้แก่ กลุ่มลุ่มนาภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื กลุ่มลุม่ นาภาคตะวันออก และกลมุ่ ลุ่มนาภาคใต้ เป้าหมายที่ 3 : การจัดการนา้ ท่วมและอุทกภยั จากข้อมูลพืนทที่ ่ีประสบอุทกภัยของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมาวิเคราะห์และจัดทาแผนที่ พืนท่ีประสบอุทกภัยตังแต่ปี พ.ศ. 2554-2558 พบว่าทุกจังหวัดในประเทศไทยมีพืนท่ีที่เคยเกิดอุทกภัย โดยมี จงั หวดั ที่มีพืนทีป่ ระสบอุทกภัยซาทงั 5 ปีถงึ 27 จังหวัด ซงึ่ ถือว่าเป็นท่เี กดิ อุทกภยั ซาซากจะต้องให้ความสาคัญ เร่งแก้ไขในลาดับแรกๆ อยู่ในกลุ่มลมุ่ นากลุ่มลุ่มนาภาคเหนือและภาคกลาง กลุ่มลุ่มนาภาคตะวันออก กลุ่มลุ่ม นาภาคใต้ และกลมุ่ ลมุ่ นาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือบางสว่ น รายละเอยี ดแสดงตามภาพท่ี 3 สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 8 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา ภาพท่ี 3 แสดงแผนทีส่ รปุ ขอ้ มูลการเกิดอุทกภยั ปี พ.ศ. 2554 – 2558 สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 9 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา เม่ือนาข้อมูลภัยแล้ง และอุทกภัยมาประมวลผลร่วมกัน พบว่า มีจังหวัดทีม่ ีการเกดิ พืนท่ีที่เกิดอุทกภัย และภัยแล้งในปีเดียวกัน 14 จังหวัด (ดังภาพท่ี 3) เกี่ยวข้องกับเงินทดรองราชการท่ีรัฐจ่ายเพื่อให้ความ ช่วยเหลือแก่ประชาชนที่ประสบภัยทัง 2 ประเภท ตังแต่ปี พ.ศ. 2544-2557 คิดเป็นเงินจานวนทังสิน 69,518,470,159 บาท โดยแบ่งเป็นเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลืออุทกภัย 54,546,129,795 บาท และเงิน ทดรองราชการเพื่อชว่ ยเหลือภัยแล้ง 14,972,340,364 บาท ภาพที่ 4 แสดงแผนท่สี รุปข้อมลู การเกิดอทุ กภยั และภยั แล้งซา 5 ปี ในพนื ทีจ่ ังหวัดเดยี วกัน สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 10 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรัพยากรนา เป้าหมายท่ี 4 : การจดั การคณุ ภาพนา้ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาคุณภาพนาในภาพรวมของประเทศมีแนวโน้มเส่ือมโทรมลงอันเน่ืองมาจากการ ปนเป้ือนของนาเสียจากชมุ ชน จากอตุ สาหกรรมและจากเกษตรกรรม ตารางแสดงคณุ ภาพนา้ แหลง่ ผวิ ดินที่ทาการตรวจวดั คุณภาพ ปี พ.ศ. 2557 แยกตามภมู ภิ าค เกณฑค์ ุณภาพ แหล่งน้าผิวดินในภาคต่างๆของประเทศ ร้อยละของ นา้ แหลง่ นา้ ดี เหนือ กลาง ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตะวนั ออก ใต้ วงั ตาปตี อนบน 29 (71-90) กก แควนอ้ ย มลู ตราด องิ ตรงั 49 พอใช้ แมจ่ าง เพชรบุรตี อนบน ลาชี เวฬุ สายบรุ ี (61-70) ปัตตานตี อนบน 22 ปิง หนองหาร จันทบุรี เส่อื มโทรม ยม ชมุ พร (51-60) น่าน สงคราม พังราด ตาปีตอนลา่ ง ลี หลงั สวนตอนลา่ ง กว้านพระเยา ลาตะคองตอนบน ตอนลา่ ง หลงั สวนตอนบน กวง เจ้าพระยาตอนบน ลาปาว บางปะกง พุมดวง บงึ บอระเพ็ด ปากพนงั เจา้ พระยาตอนกลาง เลย ประแสร์ ทะเลนอ้ ย ทะเลหลวง กุยบุรี ชี ปราจนี บรุ ี ทะเลสาบสงขลา ปตั ตานตี อนลา่ ง ปราณบุรี พอง - น้อย อนู ท่าจนี ตอนบน เสยี ว แควใหญ่ แมก่ ลอง เจา้ พระยาตอนล่าง ลาตะคองตอนลา่ ง นครนายก ท่าจนี ตอนกลาง ระยองตอนบน ทา่ จนี ตอนล่าง ระยอง ป่าสัก ตอนลา่ ง เพชรบรุ ีตอนลา่ ง พงั ราดตอนบน ลพบรุ ี สะแกกรัง การศึกษาสถานการณ์และปัญหาด้านทรัพยากรนาในประเด็นคุณภาพนา พบว่า แหล่งนาผิวดินท่ีมี สภาพเสื่อมโทรม อนั เน่ืองมาจากการปนเป้อื นของนาเสยี ชุมชน พืนท่ีอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ กวง บึงบอระเพ็ด เจ้าพระยาตอนล่าง ท่าจีนตอนกลาง ท่าจีนตอนล่าง ป่าสัก เพชรบุรีตอนล่าง ลพบุรี สะแกกรัง ลาตะคองตอนล่าง นครนายก ระยองตอนบน ระยองตอนล่าง พังราดตอนบน ซ่ึงอยู่ในพืนที่ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ซ่ึงจะต้องเร่งแก้ไขปัญหาคุณภาพนา สาหรับแผนงานบูรณาการบริหารจัดการ ทรัพยากรนา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ก่อสร้างระบบบาบัดนาเสียขนาดเล็กจานวน 5 แห่ง ในพืนท่ีจังหวัด ภูเกต็ นนทบรุ ี ประจวบคีรขี นั ธ์ นครศรีธรรมราช และเพชรบรุ ี เป้าหมายที่ 5 : การอนรุ กั ษฟ์ ืน้ ฟพู ้นื ทป่ี ่าต้นน้าท่เี สื่อมโทรมและปอ้ งกนั การพงั ทลายของดิน จากผลการประเมินลาดับความรุนแรงของสถานการณ์ โดยเรียงลาดับความรุนแรงจากมากไปน้อยใน พืนท่ภี าคตา่ งๆ ซ่ึงปรากฏว่ามพี นื ทีว่ กิ ฤตรุนแรง 12 จงั หวดั และพนื ท่ีวกิ ฤต 33 จังหวัด ซง่ึ เป็นพืนท่ีทจ่ี ะต้องให้ ความสาคัญในการแก้ปญั หาในลาดับต้นๆ โดยในแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 พบว่า เป็นการใช้งบประมาณเพ่อื ปลูกพืนทปี่ ่าเนอื ที่ 60,000 ไร่ เพ่ือฟ้ืนฟูปา่ ตน้ นา ซง่ึ มีพืนท่ีอยู่ใน สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 11 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา พืนทีวกิ ฤตรุนแรง 11 จังหวัด ขาดจังหวดั กระบที่ ี่ไม่มพี ืนที่ดาเนนิ การ และดาเนินการในพืนทว่ี ิกฤต 14 จงั หวัด ยังขาดอีก 19 จังหวัดท่ีไม่มีการดาเนนิ การ ได้แก่ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ตรงั ตราด ประจวบครี ขี ันธ์ พังงา พัทลุง ภูเก็ต ระนอง ศรีษะเกษ สงขลา สตูล สุราษฎร์ธานี สุรินทร์ อุทัยธานี สระแก้ว นครพนม หนองคาย และ อานาจเจริญ ซึ่งกรมป่าไม้ และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช จะต้องเร่งดาเนินการต่อไป นอกจาก การปลูกป่าแล้วยังมปี ระเดน็ ทางสังคมที่จะต้องมีการบริหารจดั การให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลป่า จึงจะสามารถฟื้นฟูและรักษาป่าให้ยั่งยืน และหน่วยงานจะต้องจัดสรรงบประมาณในการศึกษาวิจัยในเร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของการใช้ประโยชน์ที่ดิน และปริมาณของป่าไม้กับปริมาณของนาที่เกิดจากป่า ต้นนา อีกทังจะต้องนามาเผยแพร่ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าท่ีและประชาชนเพ่ือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ บริหารจดั การนาอย่างเป็นธรรม มปี ระสิทธภิ าพและยง่ั ยืน เป้าหมายที่ 6 : การบรหิ ารจดั การ ด้านการบริหารจดั การทรพั ยากรนาของประเทศไทยประสบปญั หาตา่ ง ๆ สรปุ ได้ ดังนี 1) องค์กรบริหารจัดการนามีหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกระจัดกระจายหลายหน่วยงาน ทาให้ขาดองค์กร และโครงสร้างหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรนายังไม่เป็นเอกภาพ ขาดเป้าหมายร่วมกันในการบริหาร จัดการและไม่มีประสิทธิภาพเท่าท่ีควร เพราะหน่วยงานส่วนราชการต่าง ๆ ท่ีมีหน้าที่รับผิดชอบแก้ไขปัญหา ทรัพยากรนามีอยู่หลากหลายยังคงสังกัดอยู่ภายใต้การบริหารจัดการของหลายกระทรวง ขาดการบริหาร จัดการร่วมกันแบบบูรณาการ ไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบเป็นเจ้าภาพหลักในการบริหารจัดการท่ีแท้จริงและ เปน็ รูปธรรมในการกาหนดทศิ ทางการบรหิ ารจัดการใหเ้ ปน็ เอกภาพและมกี รอบแผนท่ชี ัดเจน 2) นโยบายและแผนหลกั การจัดการทรัพยากรนาของรัฐแต่ละสมัยไม่มีความชัดเจน และไม่ครอบคลุม ในทุกด้านท่ีเกี่ยวข้องกัน ขาดความต่อเนื่อง การจัดทานโยบายและแผนด้านการจัดการทรัพยากรนาจากัดอยู่ ในวงแคบ ไม่มีการดาเนนิ การแบบองค์รวมและพจิ ารณาอยา่ งครบถ้วนในทกุ ด้าน ท่ีเกยี่ วขอ้ งกนั 3) ขาดการวางแผนและการพัฒนาพืนที่อย่างบูรณาการ การพัฒนาที่ผ่านมาขาดการบูรณาการแบบ องค์รวม ทังความร่วมมือและการประสานงานระหว่างหน่วยงาน/องค์กร/สถาบันท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนา รวมทงั กลุ่มจังหวดั ในแต่ละพืนที่ เน่อื งจากในแตล่ ะพืนท่ีคานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของตนเอง เป็นหลัก พืนที่ท่ีมีการพัฒนามากกว่าย่อมจะต้องใช้ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศในสัดส่วนท่ีสูงกว่าพืนที่ ชนบท นาเป็นตัวอย่างท่ีสาคัญท่ีแสดงให้เห็นว่าการใช้ประโยชน์จากนาตกอยู่กับกลุ่มผู้ใช้บางส่วน (สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2540) ทาให้การพัฒนาโดยองค์รวมขาดความเช่ือมโยง และไมเ่ ป็นไปในทิศทางเดยี วกัน 4) ปัญหาด้านฐานข้อมูลและองค์ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรนา ได้แก่ ข้อมูลท่ีมีอยู่กระจัด กระจายในหลายหน่วยงาน และหลายครังมีการขัดแย้งของข้อมลู ข้อมูลมีความหลากหลาย และยงั ไม่มีการจัด กลุ่มข้อมูลอย่างเป็นระบบและอยู่ในมาตรฐานเดียวกัน ทาให้ยากต่อการนาไปใช้ การขาดความเช่ือมโยง เช่อื มตอ่ ของข้อมูลท่ีสมบรู ณแ์ ละทันสมัย การขาดบคุ ลากรทีม่ ีความเชย่ี วชาญ การขาด ศูนยร์ ะบบข้อมูลและองคค์ วามรดู้ า้ นทรัพยากรนาของประเทศ 5) กระบวนการจัดการทยี่ ังไม่เต็มประสิทธิภาพ เนอื่ งจากขาดการบูรณาการและประสานความร่วมมือ ของหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่หลายหน่วยงานแต่ขาดการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ เช่น การจัดสรรนา การ จัดหานาเพ่ือแก้ปัญหาภัยแล้ง การแก้ปัญหาอุทกภัยและการแก้ไขปัญหานาเสียที่มีประสิทธิภาพ การสร้างส่ิง กีดขวาง การประสานงานระหว่างหน่วยงานเก่ียวกับปัญหาด้านการบริหารจัดการทรัพยากรนา ที่ผ่านมา สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 12 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนา สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้รายงานว่า ในการพัฒนาแหล่งกักเก็บนา ขนาดใหญ่มีน้อย ประสิทธิภาพการกักเก็บนาของแหล่งนาธรรมชาติและท่ีจัดสร้างไว้ลดลงและมีคุณภาพนา เสื่อมโทรม ส่วนการใช้ประโยชน์จากนาใต้ดินยังไม่เหมาะสมจึงมีผลทาให้เกิดภาวการณ์ขาดแคลนนา ความ ขัดแย้งระหว่างผู้ใชน้ าในภาคเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม การบรกิ าร และการอุปโภคบริโภคในครัวเรอื น รวมทัง เพ่ือการผลักดันนาเค็ม มีแนวโน้มรุนแรงขึนตามอัตราความต้องการใช้นาที่เพิ่มขึนอย่างรวดเร็ว ความไม่ สมา่ เสมอของปริมาณนาในแต่ละชว่ งของปที าใหเ้ กิดปัญหานาท่วมและวกิ ฤติ ภัยแลง้ 6) ผู้ใช้นาในกิจกรรมต่าง ๆ ยังขาดจิตสานึกในการใช้นาอย่างประหยัด ขาดวินัยของผู้ใช้นาอย่าง ถูกตอ้ ง รวมทังไมร่ ้วู ิธกี ารอนรุ ักษน์ าท่ถี ูกวิธแี ละมีประสทิ ธิภาพ ซ่ึงเป็นสาเหตุสาคญั ด้านหน่ึง ทท่ี าใหน้ ามปี ริมาณไม่พอใช้เช่นกนั 7) ขาดการศึกษาวิจัยทคี่ รอบคลุมประเด็นปัญหาและความจาเป็นในเชิงพืนท่ี บุคคลเป้าหมายทุกภาค ส่วนและการมองอนาคตในระยะยาว 8) ปัญหาด้านการขาดงบประมาณและแผนงบประมาณในการดาเนินงานในการจัดทางบประมาณของ ประเทศเป็นไปในลักษณะของการจัดสรรงบประมาณรายกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งเป็นการพิจารณา งบประมาณโดยยึดพืนฐานจากงบประมาณเดิมท่ีแต่ละหน่วยงานเคยได้รับในปีท่ีผ่านมาและตามท่ีหน่วยงาน เสนอขอ โดยขาดการพิจารณาด้วยปัญหาในภาพรวมของประเทศโดยเฉพาะด้านการจัดการทรัพยากรนาซึ่งมี หนว่ ยงานดาเนินการอยเู่ ปน็ จานวนมากในหลายกระทรวง ทาใหก้ ารปฏิบัติงานเป็นไปในลกั ษณะต่างคนตา่ งทา ตามภารกิจและงบประมาณที่ได้รับมา จึงขาดการประสานงานหรือไม่ประสานแผนปฏิบัติการอย่างจริงจัง ทา ให้การแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างไม่สมบูรณ์ในแต่ละพืนที่ หรือปัญหาบางอย่างไม่ได้รับความสนใจแก้ไขอย่าง จริงจงั เพราะงบประมาณทีจ่ ัดสรรการกระจายมากและแก้ไขปัญหาไม่มีประสิทธภิ าพ สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 13 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนา 2. สรปุ ภาพรวมงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (จาแนกตามหน่วยงาน) แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา ได้รับการจัดสรรงบประมาณทังสินจานวน 59,431.0725 ล้านบาท และเงินนอกงบประมาณจานวน 203.9041 ล้านบาท มีหน่วยงานร่วมบูรณาการ จานวน 18 หนว่ ยงาน ภายใต้ 9 กระทรวง โดยมีสานักงานทรัพยากรนาแห่งชาติ เปน็ หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบประมาณสูงท่ีสุด 3 อันดับแรก คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้รับ งบประมาณ 42,333.8511 ล้านบาท รองลงมาคือ กระทรวงมหาดไทย 11,472.6493 ล้านบาท และ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จานวน 5,826.1711 ล้านบาท ตามลาดับ โดยมีรายละเอียด งบประมาณของแต่ละหน่วยงาน ดังนี หนว่ ย : ล้านบาท งบรายจ่าย กระทรวง /หน่วยงาน งบดาเนนิ งาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจา่ ย รวม อนื่ รวมทง้ั สิ้น 468.4891 57,954.5519 197.4269 810.6046 59,431.0725 สานักนายกรฐั มนตรี - 294.1646 - 229.7521 523.9167 1. สานกั งานทรัพยากรนา - 294.1646 - 229.7521 523.9167 แหง่ ชาติ 194.4269 - - 194.4269 - กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์วจิ ัย และ - - 194.4269 - 194.4269 นวัตกรรม 465.6071 40,988.1085 3.0000 - 41,456.7156 1. สถาบันสารสนเทศ - 40,982.9725 - - 40,982.9725 ทรัพยากรนา (องค์การ มหาชน) กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ 1. กรมชลประทาน 2. กรมปศสุ ตั ว์ 5.7095 - 3.0000 - 8.7095 3. กรมฝนหลวงและการบนิ 452.4436 - - - 452.4436 เกษตร 4. กรมพัฒนาทดี่ ิน 7.4540 5.1360 - - 12.5900 กระทรวงคมนาคม - 271.0600 - - 271.0600 1. กรมเจ้าท่า - 271.0600 - - 271.0600 กระทรวงดจิ ิทัลเพือ่ - 81.0920 - - 81.0920 เศรษฐกจิ ฯ - 81.0920 - - 81.0920 1. กรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวง - 4,156.3977 - 580.8525 4,737.2502 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดลอ้ ม สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 14 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนา กระทรวง /หน่วยงาน งบดาเนินงาน งบรายจา่ ย งบรายจา่ ย รวม งบลงทุน งบเงินอดุ หนนุ อ่ืน 50.0176 99.1214 1. สานกั งานปลัดฯ - 49.1038 - 10.4000 14.0960 - 3.6960 - 272.5391 3,154.6566 2. กรมควบคุมมลพิษ - 2,882.1175 - 247.8958 1,342.0983 - 1,094.2025 - - 5.2650 3. กรมทรพั ยากรนา - 5.2650 - - 122.0129 - 122.0129 - 4. กรมทรพั ยากรนาบาดาล - 10,714.5939 - 10,714.5939 - - 10,714.5939 5. กรมป่าไม้ - 10,714.5939 - - 2.8820 6. กรมอุทยานแห่งชาติ 2.8820 - - - 2.8820 สัตว์ป่าฯ 2.8820 - - - 1,449.1352 กระทรวงมหาดไทย 1,449.1352 - - 1,144.2552 - 1,144.2552 1. กรมโยธาธิการและผัง - - - 304.8800 เมอื ง - กระทรวงสาธารณสุข 1. กรมอนามยั รฐั วสิ าหกจิ 1. การประปาสว่ นภมู ภิ าค 2. องค์การจดั การนาเสยี - 304.8800 ทม่ี า : เอกสารงบประมาณฉบบั ที่ 3 เลม่ ที่ 18 (1) หน้า 243-246 3. สรปุ เปา้ หมายและการจัดสรรงบประมาณ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนาดาเนินการเพ่ือแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรนาใน 6 ด้าน ภายใต้ 6 เป้าหมาย โดย เป้าหมายท่ี 2 : การจัดการนาภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมอย่างสมดุล รวมถึง การเพ่ิมผลิตภาพการใช้นา ได้รับการจัดสรรงบประมาณสูงที่สุดจานวน 33,995.5014 ล้านบาท โดยมี รายละเอียดงบประมาณและตัวชีวัดในแตล่ ะเป้าหมาย ดังนี หนว่ ย : ล้านบาท เป้าหมาย งบประมาณ เงนิ นอก งบประมาณ เป้าหมายที่ 1 : ทกุ หมูบ่ า้ นและชมุ ชนเมืองมีนาสะอาดเพอ่ื อุปโภคบรโิ ภค จดั หา 1,354.5617 203.9041 แหล่งนาสารองในพนื ทข่ี าดแคลน และมคี ณุ ภาพมาตรฐานในราคาทเ่ี หมาะสมและ ประหยดั นาทกุ ภาคส่วน ตัวชี้วดั ที่ 1 : จานวนครัวเรือนนอกเขตกรุงเทพมหานครเขา้ ถึงนาประปา 124,545 ครัวเรอื น เปา้ หมายที่ 2 : การจดั การนาภาคการเกษตรและอตุ สาหกรรมอย่างสมดลุ รวมถึง 33,995.5014 - การเพิม่ ผลิตภาพการใช้นา สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 15 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา เป้าหมาย งบประมาณ เงินนอก งบประมาณ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1 : พนื ที่รบั ประโยชนจ์ ากแหลง่ นาเพ่ิมขึน 345,387 ไร่ 21,984.9478 ตวั ชี้วัดที่ 2 : ปริมาตรการเกบ็ กักนา/ปรมิ าณนาต้นทนุ เพมิ่ ขนึ 334.4312 ลา้ น 511.6098 - ลกู บาศกเ์ มตร 139.8679 ตัวชี้วัดท่ี 3 : ครัวเรอื นไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการพฒั นาแหล่งนา 62,771 ครัวเรอื น - เป้าหมายท่ี 3 : การบรรเทานาท่วมและอทุ กภยั ในพนื ทชี่ ุมชน พืนท่ีเศรษฐกิจ 1,444.5839 สาคัญและพนื ท่เี กษตรอยา่ งเปน็ ระบบ - ตวั ชวี้ ัดท่ี 1 : พนื ทที่ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากนาท่วมและอุทกภยั ลดลง 603,778 ไร่ - ตวั ชวี้ ดั ท่ี 2 : เพิม่ ประสิทธภิ าพการระบายนา 9 รอ่ งนา ตัวชี้วัดที่ 3 : ป้องกนั ตลิง่ 115,748 เมตร เป้าหมายที่ 4 : การจัดการนาเสยี และฟ้นื ฟูแหล่งนาธรรมชาติทัว่ ประเทศใหม้ ี คณุ ภาพอยใู่ นระดับพอใชข้ ึนไป รวมถึงการนานาเสยี กลบั มาใชใ้ หม่ และการจัดการนาเพื่อรักษาสมดลุ ของระบบนิเวศ ตวั ช้ีวดั ท่ี 1 : แหลง่ นาธรรมชาตไิ ด้รบั การฟื้นฟู พนื ทไี่ ดร้ บั การพัฒนาและเพม่ิ ประสิทธภิ าพการจดั การนาเสีย 130 แหง่ เปา้ หมายที่ 5 : พนื ทีป่ ่าต้นนาที่เส่ือมโทรมไดร้ ับการอนุรักษ์ฟืน้ ฟู รวมถงึ การ ปอ้ งกนั การชะล้างพงั ทลายของดนิ ในพืนท่ตี ้นนา และพนื ทล่ี าดชนั ตวั ชี้วัดท่ี 1 : จานวนพนื ที่ป่าที่ไดร้ บั การปลูกฟ้ืนฟูและป้องกันการชะล้างพงั ทลาย ของดนิ ในพืนทตี่ น้ นา 24,350 ไร่ เป้าหมายท่ี 6 : บริหารจดั การทรพั ยากรนาครอบคลุมทุกล่มุ นาอย่างสมดลุ ตัวช้วี ดั ท่ี 1 : มีแผนการบริหารจดั การทรัพยากรนาครอบคลมุ ทกุ ลมุ่ นาอย่างสมดุล 25 ลุ่มนา 4. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ หน่วย : ลา้ นบาท แผนงานบรู ณาการ วงเงนิ งบประมาณ/ เบกิ จ่าย งบประมาณ งปม.หลงั โอน/ปป. แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรพั ยากรนา จานวนเงิน ร้อยละ คงเหลอื ทง้ั สิน้ 49,228.6673 78.35 13,602.9242 62,831.5915 รายจา่ ยประจา รายจา่ ยลงทุน รวมทัง้ ส้ิน พรบ. งบฯ หลงั เบกิ จ่าย พรบ. งบฯ หลัง เบิกจา่ ย พรบ. งบฯ หลงั เบิกจา่ ยทงั สิน โอน/ปป. ทังสิน โอน/ปป. ทงั สนิ โอน/ปป. ทงั สนิ ทังสิน ทงั สิน 886.547 1,339.694 991.710 61,945.045 61,491.898 48,236.957 62,831.592 62,831.592 49,228.667 ท่ีมา : ระบบ GFMIS กรมบัญชีกลาง ณ 30 กันยายน 2562 สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 16 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรพั ยากรนา 5. ความสอดคล้องกับแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) เม่ือวิเคร าะห์ เป้าห มาย ใน การดาเนิ น การ ภ าย ใต้ แผ น งาน บูรณาการ บริห ารจั ดการ ทรัพย ากร น า ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เปรียบเทียบกับเป้าหมายของแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรนา 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ซึง่ เป็นแผนหลักในระดบั นโยบายดา้ นการบริหารจดั การทรัพยากรนาของประเทศ พบว่า เป้าหมายแต่ละเป้าหมายที่กาหนดมีความสอดคล้องกันในเชิงวิธีการดาเนินการ อย่างไรก็ตาม โครงการท่ีบรรจุอยู่ในแผนบูรณาการฯ และตัวชีวัดเป็นการกาหนดกลุ่มเป้าหมายท่ีมีจานวนน้อยและมีแนว ทางการดาเนินการที่ยังไม่ครบถ้วน เม่ือเปรียบเทียบกับเป้าหมายของแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากร นา 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) โดยมีรายละเอยี ด ดังนี แผนแม่บทการบริหารจัดการ เปา้ หมายแผนบรู ณาการฯ สรปุ การดาเนินงาน /กิจกรรม ทรัพยากรนา้ 20 ปี ปี 2563 (พ.ศ. 2561-2580) ด้านท่ี 1 การจดั การนา้ อุปโภคบริโภค เปา้ หมายท่ี 1 : ทกุ หมู่บา้ นและชมุ ชน แนวทางท่ี 1.1 : จดั หา พฒั นาแหล่งนา 1. ขยายเขต/เพิ่มประสิทธิภาพระบบ เมืองมีนาสะอาดเพื่ออุปโภคบรโิ ภค ต้นทุน เพ่ิมประสิทธิภาพและ ขยาย ประปา 14,534 หม่บู ้าน จัดหาแหล่งนาสารองในพนื ท่ีขาดแคลน เขตระบบประปาเพ่อื อุปโภคบรโิ ภค 2. พัฒนาระบบประปาเมืองและพืนที่ และมีคณุ ภาพมาตรฐานในราคาท่ี เศรษฐกิจ 388 เมอื ง เหมาะสมและประหยดั นาทุกภาคส่วน 3. พัฒนานาด่ืมให้ได้มาตรฐานและ ตัวช้วี ัดที่ 1 : จานวนครวั เรือนนอกเขต ราคาท่ีเหมาะสมทุกหมู่บ้าน (4,015 กรุงเทพมหานครเข้าถึงนาประปา หมู่บ้าน) 124,545 ครัวเรือน 4. การประหยัดนาในทุกภาคส่วน ไม่ เกนิ 215 ลติ ร/คน/วนั ด้านที่ 2 การสรา้ งความมัน่ คงของน้า เปา้ หมายที่ 2 : การจดั การนาภาค แ น ว ท า ง ที่ 2 . 1 : พั ฒ น า เ พ่ิ ม ภาคการผลิต (ภาคการเกษตรและ การเกษตรและอตุ สาหกรรมอยา่ ง ประสิทธิภาพ อนุรักษ์ ฟ้ืนฟูแหล่งนา อุตสาหกรรม) สมดลุ รวมถงึ การเพิ่มผลติ ภาพการใช้ ระบบกระจายนาและเช่ือมโยงวาง 1. จดั การด้านความต้องการ 182 ล้าน นา ระบบเครือข่ายนา/ลุ่มนาทังในและ ลบ.ม./ปี ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1 : พนื ทีร่ บั ประโยชนจ์ าก นอกเขตชลประทาน 2. เพ่ิมประสิทธิภาพโครงการแหล่งนา แหล่งนาเพ่ิมขนึ 345,387 ไร่ 6,356 ล้าน ลบ.ม. ตัวชวี้ ดั ที่ 2 : ปริมาตรการเก็บกักนา/ 3. จัดหานาในพืนที่เกษตรนาฝน ปริมาณนาตน้ ทนุ เพิ่มขนึ 334.4312 13,860 ลา้ น ลบ.ม. ล้านลูกบาศกเ์ มตร 4. พัฒนาแหล่งกักเก็บนา 13,439 ลา้ น ตัวชี้วัดท่ี 3 : ครัวเรือนได้รับประโยชน์ ลบ.ม. พนื ทีส่ ง่ นา 18 ลา้ นไร่ จ า ก กา ร พั ฒน า แ ห ล่ งน า 62,771 5. พัฒนาระบบผันนาและระบบ ครวั เรอื น เช่อื มโยงแหลง่ นา 2.596 ลา้ น ลบ.ม. สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 17 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนา แผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การ เป้าหมายแผนบูรณาการฯ สรปุ การดาเนินงาน /กิจกรรม ทรพั ยากรน้า 20 ปี ปี 2563 (พ.ศ. 2561-2580) 6. เพ่ิมผลิตภาพมูลค่าภาคการผลิต 1.242 แปลง (6.210 ไร)่ 7. เพ่ิมนาต้นทุนจากการปฏิบัติการฝน หลวง ด้านท่ี 3 การจัดการน้าท่วมและ เป้าหมายที่ 3 : การบรรเทานาท่วม แนวทางท่ี 3.1 : ปรับปรุงทางนา ทาง อทุ กภยั และอุทกภยั ในพืนทช่ี มุ ชน พนื ที่ ผันนา พืนที่รับนานอง เขตการใช้ 1. ปรับปรุงลานาธรรมชาติสายหลัก เศรษฐกจิ สาคญั และพืนทีเ่ กษตรอย่าง ประโยชนท์ ดี่ นิ จัดทาผังเมอื ง และสาขา 6,721 กม. และปรับปรุงสิ่ง เป็นระบบ และระบบป้องกันนาท่วมชุมชนและ กดี ขวางทางนา 562 แหง่ ตัวช้ีวัดที่ 1 : พนื ทที่ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบ พนื ทเ่ี ศรษฐกิจ 2. ปอ้ งกนั นาทว่ มชุมชนเมอื ง 764 แหง่ จากนาทว่ มและอทุ กภยั ลดลง พนื ท่ี 1.7 ลา้ นไร่ และจัดทาผังนา 603,778 ไร่ 3. การจัดการพืนที่นาท่วม/พืนท่ีชะลอ ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2 : เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการ นา 4,612 ล้าน ลบ.ม. ระบายนา 9 ร่องนา ตัวชี้วัดที่ 3 : ป้องกันตล่ิง 115,748 เมตร ด้านที่ 4 การจัดการคุณภาพน้าและ เป้าหมายท่ี 4 : การจดั การนาเสยี แ น ว ท า ง ท่ี 4 . 1 : พั ฒ น า เ พ่ิ ม อนรุ ักษ์ทรัพยากรน้า และฟ้ืนฟูแหล่งนาธรรมชาตทิ ัว่ ประเทศ ประสิทธิภาพระบบบาบัดนาเสีย 1. การป้องกันและลดการเกิดนาเสียท่ี ใหม้ คี ุณภาพอยู่ในระดบั พอใช้ขึนไป ป้องกันระดับความเค็มและลดนาเสีย ต้นทางทกุ ครวั เรือนในชมุ ชนเมือง รวมถงึ การนานาเสียกลบั มาใช้ใหม่ จากแหล่งกาเนิดชุมชนและพืนที่ 2. ระบบบาบัดนาเสีย 741 แห่ง และ และการจดั การนาเพอ่ื รกั ษาสมดลุ ของ เศรษฐกจิ นานาเสียกลับมาใช้ใหม่ 132 ลา้ น ลบ. ระบบนิเวศ ม./ ปี ตัวช้ีวัดท่ี 1 : แหล่งนาธรรมชาติได้รับ 3. การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ 13 การฟื้นฟู พืนท่ีได้รับการพัฒนาและ ลุ่มนาหลกั เพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการนาเสีย 4. อนุรักษ์และฟ้ืนฟูแม่นาลาคลอง 130 แหง่ และแหล่งนาธรรมชาติทว่ั ประเทศ ด้านที่ 5 การอนุรักษ์ฟ้ืนฟูสภาพป่า เป้าหมายที่ 5 : พืนท่ีป่าต้นนาท่ีเสื่อม แนวทางท่ี 5.1 : อนุรักษ์ ฟ้ืนฟูพืนที่ป่า ต้นน้าท่ีเสื่อมโทรมและป้องกันการ โทรมได้รบั การอนรุ กั ษ์ฟื้นฟู รวมถงึ ตน้ นา ท่ีเส่ือมโทรม ป้องกันการชะล้าง พังทลายของดิน การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ พังทลายของดิน 1. การอนุรักษ์ฟ้ืนฟูพืนที่ป่าต้นนาท่ี ในพืนท่ีตน้ นา และพนื ท่ีลาดชัน ในพนื ทตี่ ้นนา เส่ือมโทรม 3.52 ล้านไร่ ตัวช้ีวัดที่ 1 : จานวนพืนท่ีป่าที่ได้รับ 2. การป้องกันและลดการชะล้าง การปลูกฟื้นฟูและป้องกันการชะล้าง พงั ทลายของดิน 21.45 ล้านไร่ ฝายต้น พังทลายของดินในพืนที่ต้นนา 24,350 นา 541,894 แหง่ ไร่ สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 18 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา แผนแม่บทการบรหิ ารจดั การ เปา้ หมายแผนบูรณาการฯ สรปุ การดาเนนิ งาน /กิจกรรม ทรพั ยากรนา้ 20 ปี ปี 2563 (พ.ศ. 2561-2580) ด้านที่ 6 การบริหารจัดการ เปา้ หมายที่ 6 : บริหารจดั การ แนวทางท่ี 6.1 : จดั ทาแผนยุทธศาสตร์ 1. จั ด ตั ง อ ง ค์ ก ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ทรัพยากรนาครอบคลมุ ทกุ ลุม่ นาอย่าง การบริหารจัดการทรัพยากรนาในลุ่ม ทรพั ยากรนาและปรบั ปรุงกฎหมาย สมดลุ นา แผนปฏิบัติการประจาปี เพ่ิม 2. กา ร จั ด ทา แ ผ นบ ริ ห า ร จั ด กา ร ตัวชี้วัดท่ี 1 : มีแผนการบริหารจัดการ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ทรพั ยากรนา ทรัพยากรนาครอบคลุมทุกลุ่มนาอย่าง สนับสนุนองค์กรลุ่มนา พัฒนาระบบ 3. การตดิ ตามประเมินผล สมดลุ 25 ลุม่ นา ฐ า น ข้ อ มู ล ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ผ ล ประชาสมั พนั ธแ์ ละการมีส่วนรว่ ม 6. สดั สว่ นการจดั สรรงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้า ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 งบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จัดสรร เพอื่ ดาเนินโครงการ/กิจกรรมใน 6 เป้าหมาย ได้แก่ เป้าหมายที่ 1 การจัดการนาเพือ่ อปุ โภคบริโภค เป้าหมาย ท่ี 2 การจัดการนาเพอ่ื ภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม เป้าหมายที่ 3 การปอ้ งกันบรรเทานาท่วมและอุทกภัย เป้าหมายที่ 4 การจัดการนาเสีย เป้าหมายที่ 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นนา และเป้าหมายที่ 6 การบริหาร จดั การ โดยมีสดั ส่วนการจดั สรรงบประมาณในแตล่ ะเป้าหมาย ดังนี เปา้ หมายที่ 4 : เป้าหมายที่ 6 : เป้าหมายท่ี 1 : การจดั การน้าเสยี บรหิ ารจัดการ น้าเพ่อื อุปโภค ทรพั ยากรน้า 0.86% บริโภค 2.43% 2.28% เปา้ หมายท่ี 5 : การอนุรักษ์ฟืน้ ฟู ป่าตน้ น้า 0.24% เป้าหมายท่ี 3 : เปา้ หมายที่ 2 : บรรเทานา้ ท่วม นา้ ภาค และอุทกภยั การเกษตรและ 36.99% อตุ สาหกรรม 57.20% สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 19 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนา เป้าหมายท่ีได้รับงบประมาณสูงสุด ได้แก่ เป้าหมายที่ 2 นาภาคเกษตรและอุตสาหกรรม ร้อยละ 57.20 ซึ่งทังหมดเป็นงบลงทุน รองลงมาคือ เป้าหมายท่ี 3 บรรเทานาท่วมและอุทกภัย ร้อยละ 36.99 ส่วน ใหญ่เป็นงบประมาณของกรมชลประทาน เพ่ือก่อสร้าง/ปรับปรุงส่ิงก่อสร้างระบบระบายนาระบบส่งนา และ คลองส่งนา ดังนนั ควรพิจารณากาหนดเป้าหมายและจัดลาดับความสาคัญโดยดาเนินการแก้ปัญหาในพืนท่ีลุ่ม นา กลมุ่ ลุม่ นาท่ปี ระสบปญั หาท่รี นุ แรงและเกดิ ขึนบ่อยเปน็ อนั ดบั แรก ทังนี ควรมีข้อมูลความต้องการใช้นาท่ี แท้จริงของแต่ละพืนท่ี และกาหนดการก่อสร้างทเี่ ก็บกกั นาและระบบสง่ นาใหเ้ หมาะสม สาหรับ เป้าหมายท่ี 1 นาเพ่ือการอุปโภค บริโภค เป้าหมายท่ี 4 การจัดการนาเสีย และเป้าหมายท่ี 5 การอนรุ กั ษฟ์ ้นื ฟปู ่าต้นนา ไดร้ บั งบประมาณไม่เกนิ ร้อยละ 3 7. สรปุ การจดั สรรงบประมาณเพอ่ื ดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมในแตล่ ะเป้าหมาย และข้อสังเกต ขอ้ เสนอแนะ ของสานักงบประมาณของรัฐสภา จากการศึกษาวิเคราะห์งบประมาณภายใตแ้ ผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา พ.ศ. 2563 สามารถสรุปการดาเนนิ งาน ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของสานกั งบประมาณของรฐั สภาในแต่ละเป้าหมาย โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี เป้าหมายท่ี 1 : ทุกหมู่บ้านและชุมชนเมืองมีนาสะอาดเพื่ออุปโภคบริโภค จัดหาแหล่งนาสารองในพืนที่ขาด แคลน และมคี ุณภาพมาตรฐานในราคาทเี่ หมาะสมและประหยัดนาทุกภาคส่วน เปา้ หมาย / แนวทาง / ตวั ชว้ี ัด หนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบ/กจิ กรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอียด เป้าหมายท่ี 1 : ทกุ หมู่บา้ นและชมุ ชนเมอื งมีนาสะอาดเพ่อื อุปโภคบริโภค จดั หาแหลง่ นาสารองในพืนทข่ี าดแคลน และมี คุณภาพมาตรฐานในราคาทเ่ี หมาะสมและประหยดั นาทกุ ภาคสว่ น ตัวชว้ี ัดที่ 1 : จานวนครัวเรอื นนอกเขตกรงุ เทพมหานครเขา้ ถงึ นาประปา 124,545 ครัวเรอื น แนวทางที่ 1.1 : จัดหา พัฒนาแหลง่ นาต้นทุน เพม่ิ ประสิทธิภาพและ ขยายเขตระบบประปาเพ่ืออปุ โภคบริโภค ตัวชีว้ ดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม รวมงบประมาณรายจา่ ย 1. แหล่งนาสารองเพอ่ื ระบบประปา 1. สานกั งานปลดั กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ 1,354.5617 ลา้ นบาท 11.36 ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร 11 แหง่ และสง่ิ แวดล้อม รวมเงนิ นอกงบประมาณ 2. หม่บู า้ นมนี าสะอาดและได้มาตรฐาน - โครงการพัฒนาคุณภาพนาประปาหมู่บา้ น 203.9041 ล้านบาท 650 แหง่ 68,326,300 บาท สว่ นใหญ่เปน็ ค่าครภุ ณั ฑ์ 3. พฒั นาระบบประปาเมอื งและพนื ที่ 2. กรมทรพั ยากรน้าบาดาล เศรษฐกจิ 124,454 ครัวเรอื น - โครงการสารวจหาแหล่งนาบาดาลในพนื ที่ ศกั ยภาพตา่ 114,185,700 บาท - โครงการพฒั นานาบาดาลระดบั ลึกเพ่อื แก้ไข ปัญหาคณุ ภาพนาบาดาลกรอ่ ยเคม็ 24,912,500 บาท ทงั 2 รายการเปน็ คา่ ก่อสรา้ งแหลง่ นาทมี่ ีราคา ต่อหนว่ ยตา่ กว่า 10 ล้านบาท กระทรวงสาธารณสขุ 1. กรมอนามยั - โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการจดั การนาเพอื่ การ บริโภค 2,882,000 บาท เป็นคา่ เบยี เลียงฯ และ ค่าจ้างเหมาบรกิ าร สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 20 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนา เปา้ หมาย / แนวทาง / ตัวชว้ี ัด หนว่ ยงานที่รับผิดชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอียด รฐั วิสาหกจิ 1. การประปาสว่ นภมู ภิ าค - โครงการพัฒนาเพิ่มประสทิ ธิภาพระบบประปา เมอื งและพนื ทเ่ี ศรษฐกจิ งบประมาณ 1,095,307,200 บาท เงินนอกงปม. 196,798,300 บาท ส่วนใหญ่เป็นค่าก่อสร้าง /ปรบั ปรุงขยายการ ประปาซึ่งรวมรายการผูกพนั - โครงการพัฒนาเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบประปา หมูบ่ า้ น งบประมาณ 48,948,000 บาท เงินนอก งบประมาณ 7,105,800 บาท เป็นคากอสราง และ ปรบั ปรุงกจิ การประปาภายหลังการรับโอน ขอ้ สงั เกตและข้อเสนอแนะของสานกั งบประมาณของรฐั สภา การพิจาณาจัดสรรงบประมาณเพื่ออุปโภคบริโภค ในเชิงพืนท่ีควรพิจารณาหมู่บ้านที่ยังไม่มนี าประปา ใช้จานวน 4,128 หมู่บ้าน ใน 68 จังหวัดทั่วประเทศประกอบในการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณในแต่ละ พืนที่ ส่วนในเชิงปริมาณนาการจัดสรรงบประมาณควรพิจารณาถึงความต้องการการใช้นาในแต่ละพืนท่ีซ่ึง เรียงลาดบั จากมากไปน้อย ไดแ้ ก่ 1) กลุ่มลุ่มน้าภาคตะวันออกมีความต้องการใช้นาอุปโภคบริโภคเฉล่ียต่อพืนท่ีมากท่ีสุดคิด เป็นปีละ 24.07 ล้านลกู บาศก์เมตร/ลา้ นไร่ 2) กลุ่มลุ่มน้าภาคเหนือและภาคกลางความต้องการใช้นาอุปโภคบริโภคเฉล่ียต่อพืนที่ปีละ 19.21 ล้านลกู บาศกเ์ มตร/ลา้ นไร่ 3) กลุ่มลุ่มน้าภาคใต้มีความต้องการใช้นาอุปโภคบริโภคต่อพืนที่ปีละ 13.05 ล้านลูกบาศก์ เมตร/ล้านไร่ 4) กลุ่มลุ่มน้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความต้องการใช้นาอุปโภคบริโภคต่อพืนที่ปีละ 11.01 ล้านลกู บาศกเ์ มตร/ล้านไร่ และ 5) กลุ่มลุ่มน้าภาคตะวันตกมีความต้องการใช้นาอุปโภคบริโภคต่อพืนที่ปีละ 6.83 ล้าน ลูกบาศก์เมตร/ลา้ นไร่ ตามลาดบั สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 21 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา เปา้ หมายที่ 2 : การจัดการนาภาคการเกษตรและอตุ สาหกรรมอย่างสมดลุ รวมถึงการเพิ่มผลติ ภาพการใชน้ า เป้าหมาย / แนวทาง / ตวั ช้ีวัด หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอียด เปา้ หมายที่ 2 : การจดั การนาภาคการเกษตรและอตุ สาหกรรมอย่างสมดลุ รวมถงึ การเพม่ิ ผลิตภาพการใช้นา ตัวชว้ี ัดที่ 1 : พืนทร่ี บั ประโยชนจ์ ากแหลง่ นาเพ่มิ ขึน 345,387 ไร่ ตัวชว้ี ดั ท่ี 2 : ปริมาตรการเก็บกักนา/ปริมาณนาต้นทุนเพมิ่ ขึน 334.4312 ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร ตัวชวี้ ัดที่ 3 : ครวั เรือนได้รับประโยชนจ์ ากการพฒั นาแหล่งนา 62,771 ครัวเรือน แนวทางท่ี 2.1 : พัฒนา เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ อนุรักษ์ ฟืน้ ฟูแหล่งนา ระบบกระจายนา และเช่ือมโยงวางระบบเครือขา่ ยนา/ ลมุ่ นา ทงั ในและนอกเขตชลประทาน ตัวช้ีวดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมงบประมาณรายจา่ ย 1. พืนที่ทรี่ ับประโยชน์จากการพัฒนา 1. กรมชลประทาน ทงั หมดเป็นงบลงทุน เพ่ือซือ 33,995.5014 ลา้ นบาท แหลง่ นาผวิ ดนิ และใตด้ ินเพิม่ ขนึ ทีด่ นิ /ก่อสร้าง/ปรับปรงุ สิ่งกอ่ สรา้ งระบบระบายนา 62,771 ไร่ ระบบสง่ นา และคลองสง่ นา 2. ปรบั ปรุง/กอ่ สร้างแหลง่ นาพรอ้ ม - โครงการเพ่ิมปริมาณนาในอา่ งเกบ็ นาเขือ่ นแม่กวง ระบบกระจายนา (ใหม่) เพมิ่ ขนึ 880 อุดมธารา จงั หวดั เชยี งใหม่ แห่ง - โครงการพัฒนาลมุ่ นาตาปี - พมุ ดวง จงั หวดั สุ 3. พืนทช่ี ลประทานเพิ่มขึน 134,279 ราษฎร์ธานี ไร่ - โครงการเข่อื นทดนาผาจกุ จงั หวดั อุตรดติ ถ์ 4. ปรมิ าตรการเก็บกักนา/ปรมิ าณนา - โครงการอา่ งเกบ็ นาคลองหลวง จงั หวัดชลบุรี ต้นทนุ ในเขตพืนท่ีชลประทานเพมิ่ ขนึ - โครงการห้วยโสมงอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ 186.38 ลา้ น ลบ.ม. จงั หวัดปราจนี บรุ ี 5. ปรมิ าณนาเพมิ่ ขนึ จากการพัฒนา - โครงการอา่ งเก็บนาห้วยนารีอันเน่ืองมาจากพระ แหลง่ นาในพนื ที่นอกเขตชลประทาน ราจังหวัดอุตรดติ ถ์ 148.0512 ลา้ น ลบ.ม. - โครงการปรบั ปรงุ งานชลประทาน 6. พนื ทไ่ี ดร้ บั ประโยชน์เพมิ่ ขึนจากการ - โครงการจัดหาแหลง่ นาและเพมิ่ พืนทช่ี ลประทาน ปรบั ปรุงพนื ทชี่ ลประทาน (เดมิ ) - โครงการอ่างเกบ็ นานาป้อี ันเนอื่ งมาจาก 917,436 ไร่ พระราชดาริจังหวดั พะเยา 7. แหล่งนาในพืนท่เี กษตรนาฝน (นอก - โครงการประตูระบายนาศรีสองรกั อนั เนอื่ งมาจาก เขตชลประทาน) ไดร้ บั การปรบั ปรงุ พระราชดารอิ าเภอเชยี งคาน จังหวดั เลย เพิ่มประสิทธภิ าพ 53 แห่ง - โครงการพฒั นาลมุ่ นาห้วยหลวงตอนล่าง จงั หวดั 8. จานวนครวั เรอื นไดร้ บั ประโยชนจ์ าก หนองคาย การพัฒนาแหลง่ นาผวิ ดินและใต้ดนิ ใน - โครงการอา่ งเกบ็ นาลาสะพงุ อนั เนื่องมาจาก พนื ท่ี พระราชดาริจังหวดั ชัยภมู ิ นอกเขตชลประทาน 62,771 - โครงการประตรู ะบายนาบา้ นกอ่ พร้อมระบบส่งนา ครัวเรอื น จังหวัดสกลนคร 9. ร้อยละความสาเร็จของการ - โครงการอ่างเกบ็ นาลานาชี อนั เนื่องมาจาก ปฏิบัตกิ ารตามทรี่ ้องขอ ร้อยละ 70 พระราชดาริจงั หวดั ชัยภมู ิ 10. ร้อยละพืนที่การเกษตรท่ปี ระสบ 2. กรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร ภยั แลง้ ไดร้ บั การช่วยเหลอื ร้อยละ 75 - โครงการปฏิบตั กิ ารฝนหลวง 452,443,600 บาท ส่วนใหญ่เป็นงบดาเนนิ งาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม 1. กรมทรพั ยากรนา้ สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 22 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบริหารจดั การทรพั ยากรนา เป้าหมาย / แนวทาง / ตวั ช้ีวัด หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ/กจิ กรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอยี ด - โครงการอนุรักษ์ ฟืน้ ฟู พฒั นาแหล่งนาและบรหิ าร จัดการนา 1,273,710,100 บาท เป็นงบลงทนุ เพอ่ื ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมอา่ งเก็บนา ปรบั ปรุงแหล่งนา - โครงการพฒั นาและเพิ่มประสทิ ธิภาพระบบ กระจายนา 1,374,808,300 บาท เป็นงบลงทุน ค่า อนรุ ักษฟ์ นื้ ฟแู หลง่ นา 2. กรมทรพั ยากรน้าบาดาล - โครงการพฒั นานาบาดาลเพือ่ การเกษตร 1,069,290,000 บาท เป็นคากอสรางแหลงนาท่มี ี ราคาตอหนวยตา่ กวา 10 ลา้ นบาท 797 รายการ (รวม 1,517 หนว่ ย) ขอ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะของสานักงบประมาณของรัฐสภา การจัดสรรงบประมาณเพ่ือการสร้างความม่ันคงของนาภาคการผลิต (ภาคเกษตรและอุตสาหกรรม) ลาดับแรกควรดาเนินการเพิ่มประสิทธิภาพแหล่งเก็บกกั นาทม่ี ีอยแู่ ลว้ ให้สามารถใช้การได้เต็มประสิทธิภาพกอ่ น โดยมีแนวทางการจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องการสถานการณ์ด้านทรัพยากรนาในแต่ละพืนท่ีตามผล การศึกษาขา้ งตน้ สรปุ ได้ ดงั นี - พื้นทที่ ี่มีความจุเก็บกักแหล่งนา้ มากกว่าความต้องการใช้น้าการเกษตรแล้ว และพ้นื ท่ที ี่มี ความจุเกบ็ กกั แหล่งน้าใกลเ้ คยี งความต้องการใชน้ ้าการเกษตร แต่ยังเกดิ ภัยแล้งซา้ ซากอยู่ เชน่ กลมุ่ ลุ่มนา ภาคตะวันตก กลมุ่ ล่มุ นาภาคเหนือและภาคกลาง ควรเน้นพจิ ารณาจัดสรรงบประมาณแกป้ ัญหาภัยแลง้ โดยการ ดาเนินโครงการก่อสร้างระบบลาเลียงนาจากอ่างเก็บนาหลักไปยัง อ่างเกบ็ นาขนาดกลาง อ่างเก็บนาขนาดเล็ก และพืนท่ีทางการเกษตร เพ่อื แก้ปัญหาภัยแล้งมากกว่าการก่อสร้างอ่างเก็บนาขนาดใหญ่ นอกจากนี ยังจะเป็น การช่วยแก้ปัญหาอุทกภัยได้เน่ืองจากสามารถระบายนาส่วนเกินในฤดูนาเยอะไปในพืนที่การเกษตรและ อตุ สาหกรรมอ่ืน ๆ ไดด้ ว้ ย - พื้นที่ที่มีความจุเก็บกักแหล่งน้าน้อยกว่าความต้องการใช้น้าการเกษตรอยู่มากและเกิด ภัยแล้งซ้าซาก ได้แก่ กลุ่มลุ่มนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกลุ่มลุ่มนาภาคตะวันออก ควรจะต้องมีการ จัดสรรงบประมาณเพ่ือก่อสร้างแหล่งกักเก็บนา อาจจะเป็นอ่างเก็บนาขนาดใหญ่ อ่างเก็บนาขนาดกลาง หรือ อา่ งเกบ็ นาขนาดเล็กขนึ อยู่กับความเหมาะสมของแต่ละพืนที่ นอกจากการดาเนินการในข้างต้นซ่ึงเป็นการเพิ่มอุปทานเพ่ือการใช้นาแล้ว หน่วยงานควรจะต้อง ดาเนินการจัดการหรือลดอุปสงค์ในการใช้นาควบคู่กันไปด้วย เช่น การส่งเสริมการปลูกพืชใช้นาน้อยท่ีมี ผลตอบแทนสงู การจดั โซนพนื ทก่ี ารเกษตรให้สอดคล้องกบั ศักยภาพนาในแต่ละพนื ท่ี การสร้างแรงจงู ใจสาหรับ อตุ สาหกรรมที่ใชน้ านอ้ ย เปน็ ตน้ เพ่อื ให้ทกุ ภาคสว่ นใช้ทรพั ยากรนาได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 23 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนา เปา้ หมายท่ี 3 : การบรรเทานาทว่ มและอทุ กภัยในพืนท่ีชุมชน พนื ทเี่ ศรษฐกจิ สาคญั และพนื ทเ่ี กษตรอยา่ งเปน็ ระบบ เปา้ หมาย / แนวทาง / ตวั ชว้ี ดั หนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบ/กจิ กรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอียด เปา้ หมายท่ี 3 : การบรรเทานาท่วมและอุทกภยั ในพนื ที่ชุมชน พนื ที่เศรษฐกจิ สาคญั และพนื ทีเ่ กษตรอยา่ งเปน็ ระบบ ตัวชี้วดั ที่ 1 : พืนที่ทไ่ี ดร้ ับผลกระทบจากนาท่วมและอุทกภยั ลดลง 603,778 ไร่ ตวั ชีว้ ดั ที่ 2 : เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการระบายนา 9 รอ่ งนา ตัวชีว้ ดั ที่ 3 : ป้องกนั ตลิ่ง 115,748 เมตร แนวทางที่ 3.1 : ปรับปรงุ ทางนา ทางผันนา พืนทรี่ ับนานอง เขตการใช้ประโยชนท์ ีด่ ิน จดั ทาผงั เมือง และระบบปอ้ งกนั นาท่วมชุมชนและพืนท่ีเศรษฐกจิ ตวั ชี้วัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมงบประมาณรายจา่ ย 1. เส้นทางนาไดร้ บั การปรับปรงุ เพ่ิม 1. กรมชลประทาน 21,984.9478 ลา้ นบาท ประสิทธภิ าพการระบายนา 9 รอ่ งนา - โครงการบรรเทาอุทกภัยอาเภอหาดใหญ่ (ระยะท่ี 2. พนื ทไี่ ดร้ ับการป้องกนั และลด 2) จงั หวดั สงขลา 193,480,600 บาท เป็นงบลงทุน ผลกระทบจากนาท่วมและอทุ กภยั - โครงการบรรเทาอทุ กภัยเมืองนครศรีธรรมราช อัน 603,778 ไร่ เนื่องมาจากพระราชดารจิ งั หวดั นครศรธี รรมราช 3. พืนที่ทีไ่ ดร้ บั การป้องกนั นาทว่ มรมิ 42,763,500 บาท เปน็ งบลงทุนผูกพนั ตลิ่งเพิม่ ขึน 115,748 เมตร - โครงการปอ้ งกันและบรรเทาภยั จากนา 4. พืนท่ีเส่ยี งไดร้ บั การจดั การเพ่ือ 8,279,979,600 บาท เป็นงบลงทนุ สว่ นใหญ่ รองรบั ปัญหานาทว่ มและอุทกภยั 6 ก่อสร้างระบบระบายนาพรอ้ มอาคารประกอบ/ แหง่ (โครงการ) ประตรู ะบายนา ซ่ีงมที งั รายการปีเดียวและรายการ ผูกพัน รวม 164 รายการ - โครงการคลองระบายนาหลาก บางบาล-บางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา - โครงการบรรเทาอทุ กภยั เมอื งชยั ภูมิ จงั หวดั ชัยภมู ิ (ระยะท่ี 1) 1,866,230,800 บาท เปน็ งบลงทุนมที งั ปเี ดยี วและผกู พัน เพ่ือขดุ คลองระบายนาหลาก พร้อมอาคารประกอบ - โครงการประตรู ะบายนาพุง-นาก่าอนั เน่อื งมาจาก พระราชดาริจังหวดั สกลนคร 159,236,000 บาท เป็นงบลงทุน คา่ สารวจออกแบบ และค่ากอ่ สร้าง - โครงการปรบั ปรงุ คลองยม-น่าน จังหวดั สุโขทยั 70,000,000 บาท คาซือทด่ี ิน คาทดแทน คารอื ยาย ในการจดั หาที่ดนิ กระทรวงคมนาคม 1. กรมเจา้ ท่า - โครงการการพฒั นาโครงสรา้ งพนื ฐานเพื่อ สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา 271,060,000 บาท เปน็ งบลงทุน คา่ สารวจ ออกแบบ จ้างเหมาขดุ ลองและบารุงรักษาร่องนา กระทรวงมหาดไทย 1. กรมโยธาธกิ ารและการผังเมือง สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 24 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา เปา้ หมาย / แนวทาง / ตวั ชว้ี ัด หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ/กจิ กรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอียด - โครงการกอ่ สรา้ งเข่อื นป้องกันตล่งิ ริมแมน่ า ภายในประเทศ 7,223,992,600 บาท เปน็ งบลงทนุ ค่าสารวจออกแบบ คา่ จา้ งท่ีปรกึ ษาควบคมุ งาน ก่อสรา้ งทว่ั ประเทศ มีทังรายการปีเดียวและรายการ ผูกพัน รวม 553 รายการ - โครงการป้องกันนาท่วมพืนท่ชี มุ ชน 3,490,601,300 บาท เป็นงบลงทุน ค่าควบคุมงาน ท่มี รี าคาต่อหน่วยต่ากวา่ 10 ล้านบาท 32 รายการ และกอ่ สร้างสร้างระบบระบายนา/ป้องกนั นาทว่ ม ข้อสังเกตและขอ้ เสนอแนะของสานักงบประมาณของรฐั สภา การแก้ปัญหาอุทกภัยในปัจจุบันเน้นการแก้ไขปัญหาด้วยมาตรการใช้ส่ิงก่อสร้างทาให้ต้องใช้ งบประมาณค่อนข้างสูงในแต่ละปี รัฐบาลควรพิจารณาใช้การแก้ไขปัญหาด้วยมาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง เช่น การวางผังเมือง การเข้มงวดควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน การบุกรุกลานาสาธารณะ การบูรณการข้อมูล ระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรนาควบคู่กันไปด้วย ในส่วนของการแก้ไขปัญหา ด้วยมาตรการใช้สิ่งก่อสร้างควรพิจารณาจัดสรรงบประมาณในพืนที่ที่เกิดอุทกภัยซาซาก และมีความรุนแรง สรา้ งความเสยี หายต่อชีวติ และทรพั ย์สินของประชาชนในปริมาณที่สูงก่อน เปา้ หมายท่ี 4 : การจัดการนาเสยี และฟ้ืนฟูแหล่งนาธรรมชาติทว่ั ประเทศใหม้ คี ุณภาพอยใู่ นระดบั พอใช้ขนึ ไป รวมถึงการนานาเสยี กลับมาใชใ้ หม่และการจัดการนาเพือ่ รักษาสมดลุ ของระบบนิเวศ เป้าหมาย / แนวทาง / ตัวช้ีวดั หน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอียด เป้าหมายที่ 4 : การจัดการนาเสยี และฟืน้ ฟแู หลง่ นาธรรมชาติท่วั ประเทศใหม้ ีคณุ ภาพอยู่ในระดบั พอใชข้ ึนไป รวมถึงการ นานาเสยี กลับมาใชใ้ หมแ่ ละการจดั การนาเพอ่ื รักษาสมดุลของระบบนิเวศ ตัวช้วี ดั ที่ 1 : แหลง่ นาธรรมชาตไิ ด้รับการฟนื้ ฟู พนื ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาและเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจดั การนาเสยี 130 แหง่ แนวทางที่ 4.1 : พฒั นา เพ่มิ ประสทิ ธิภาพระบบบาบดั นาเสีย ปอ้ งกนั ระดบั ความเคม็ และลดนาเสยี จากแหล่งกาเนดิ ชมุ ชน และพนื ท่ีเศรษฐกจิ ตัวช้ีวัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมงบประมาณรายจา่ ย 1. พัฒนาและเพิ่มประสิทธภิ าพการ 1. กรมชลประทาน 511.6098 ลา้ นบาท จดั การนาเสยี /ปรมิ าณนาเสยี ที่ไดร้ บั - โครงการจัดการคณุ ภาพนา 158,429,200 บาท การบาบัด 130 แหง่ เปน็ งบลงทนุ ค่าสถานสี บู นาและประตรู ะบายนา 2. แหล่งนาธรรมชาตไิ ดร้ บั การฟนื้ ฟู และคา่ กอ่ สร้างที่มรี าคาตอ่ หนว่ ยตา่ กวา่ 10 ล้าน (ลานาสายหลกั สาขา และลาคลองที่ บาท 107 โครงการ ผ่านเมอื งและชุมชนพืนที่ช่มุ นา) 16 2. กรมปศุสัตว์ แหลง่ - โครงการเฝา้ ระวังดา้ นปศุสตั ว์เพอ่ื แก้ไขปญั หาล่มุ นาวกิ ฤต 8,709,500 บาท เป็นงบดาเนินงาน เบยี เลียงฯ อบรม วัสดุการแพทย์ และเงนิ อดุ หนนุ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพบ่อบาบัดนาเสียให้ฟาร์มเลยี งสตั ว์ โรง ฆ่าสัตว์ ฯ สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 25 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบริหารจดั การทรัพยากรนา เป้าหมาย / แนวทาง / ตัวช้วี ัด หน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบ/กจิ กรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอยี ด กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 1. สานกั งานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การ คุณภาพนา 30,795,100 บาท เปน็ คา่ ครภุ ณั ฑ์ วิทยาศาสตร์ 12 รายการและรายจ่ายอ่นื คา่ ใชจ้ ่าย โครงการลดของเสยี ในแหลง่ นาวิกฤติ 2. กรมควบคุมมลพิษ - โครงการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาคุณภาพนาและ นาเสยี 3,100,000 บาท เปน็ งบรายจา่ ยอน่ื ค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ โครงการปอ้ งกันและแกไ้ ข ปญั หาคณุ ภาพนาและนาเสีย 1 เรอื่ ง - โครงการพัฒนาและบังคับใชก้ ฎหมายดา้ น ส่ิงแวดล้อม 5,696,000 บาท เปน็ ค่าครุภณั ฑ์ วทิ ยาศาสตร์ 4 รายการ และ งบรายจา่ ยอื่น ค่าใชจ้ า่ ยในการตรวจสอบและบงั คับกากับ แหลง่ กาเนดิ มลพิษ รฐั วสิ าหกิจ 1. องค์การจัดการน้าเสีย - โครงการปรับปรุง ฟ้ืนฟแู ละบรหิ ารจัดการ คณุ ภาพนา 304,880,000 บาท เปน็ งบลงทนุ คา่ จ้างท่ีปรกึ ษาควบคุมงาน และกอ่ สรา้ งศนู ย์ บริหารจดั การคณุ ภาพนา ขอ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะของสานักงบประมาณของรัฐสภา การจัดสรรงบประมาณเพ่ือฟ้นื ฟูตน้ นานนั นอกการปลูกป่าแล้ว ยงั ต้องดาเนนิ การทางสังคม โดยตอ้ งมี การบริหารจัดการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลป่า จึงจะสามารถฟ้ืนฟูและรักษาป่าให้ยั่งยืน และ หน่วยงานจะตอ้ งจัดสรรงบประมาณในการศึกษาวิจยั ในเรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของการใช้ประโยชน์ ที่ดินและประเภท และปริมาณของป่าไม้ กับปริมาณของนาท่ีเกิดจากป่าต้นนา อีกทังจะต้องนามาเผยแพร่ให้ ความร้แู ก่เจ้าหน้าท่ี และประชาชนเพือ่ ใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ มในการบริหารจัดการนา อยา่ งเป็นธรรม มปี ระสทิ ธิภาพและยั่งยนื เป้าหมายท่ี 5 : พนื ที่ป่าต้นนาทเ่ี ส่อื มโทรมไดร้ บั การอนุรักษ์ฟน้ื ฟู รวมถงึ การปอ้ งกันการชะล้างพงั ทลายของ ดนิ ในพนื ทตี่ น้ นา และพืนท่ลี าดชัน สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 26 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา เป้าหมาย / แนวทาง / ตัวชวี้ ัด หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอียด เปา้ หมายท่ี 5 : พนื ทปี่ า่ ต้นนาทีเ่ สอื่ มโทรมไดร้ บั การอนุรักษ์ฟื้นฟู รวมถงึ การปอ้ งกันการชะล้างพงั ทลายของดนิ ในพืนทต่ี ้น นา และพืนทลี่ าดชนั ตัวชวี้ ัดที่ 1 : จานวนพนื ทีป่ ่าท่ไี ด้รับการปลูกฟน้ื ฟูและปอ้ งกันการชะล้างพงั ทลายของดนิ ในพืนท่ตี ้นนา 24,350 ไร่ แนวทางท่ี 5.1 : อนรุ กั ษ์ ฟืน้ ฟูพืนที่ป่าตน้ นาท่ีเส่อื มโทรม ป้องกนั การชะล้างพงั ทลายของดินในพืนทต่ี น้ นา ตัวชี้วัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมงบประมาณรายจา่ ย 1. จานวนพืนท่ีปา่ ทไ่ี ดร้ บั การปลกู 1. กรมพฒั นาท่ีดนิ 139.8679 ลา้ นบาท ฟืน้ ฟู เนอื ท่ี 24,350 ไร่ - โครงการป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและ 2. จานวนพืนท่ีป้องกันการชะลา้ ง ฟ้ืนฟพู ืนท่เี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และนา พงั ทลายของดินในพืนทีต่ ้นนา และ 12,590,000 บาท เป็นงบดาเนนิ งาน และงบลงทนุ พนื ทล่ี าดชัน ครอบคลมุ 907 แห่ง ค่าครุภณั ฑ์วทิ ยาศาสตร์ 10 รายการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม 1. กรมปา่ ไม้ - โครงการปลกู ปา่ เพอื่ ฟน้ื ฟรู ะบบนเิ วศ 5,265,000 บาท เป็นงบลงทุน คา่ กอ่ สรา้ งที่มรี าคาตอ่ หน่วยตา่ กว่า 10 ลา้ นบาท 1 รายการ (1,350 หนว่ ย) 2. กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธุพ์ ชื - โครงการฟื้นฟูพนื ทป่ี ่าอนรุ กั ษ์ (ลมุ่ นา) ระยะท่ี 1 122,012,900 บาท เปน็ งบลงทุน ค่าครุภณั ฑ์ 2 รายการ (4 หน่วย) และค่ากอ่ สรา้ งที่มีราคาต่อ หน่วยตา่ กว่า 10 ลา้ น รวม 24 รายการ (รวม 5 ,723,897 หนวย) ข้อสงั เกตและข้อเสนอแนะของสานกั งบประมาณของรฐั สภา เน่ืองจากการกอ่ สรา้ งโรงบาบดั นาเสยี ขนาดใหญม่ มี ูลคา่ การลงทนุ สูงมาก และเกิดขึนไดย้ ากเนือ่ งจากมี การต่อต้านจากชุมชนที่จะกอ่ สร้างโรงบาบดั นาเสีย เพราะฉะนั้นรฐั บาลควรจะเน้นการดาเนนิ การด้านการลด น้าเสียจากแหล่งกาเนิด ทั้งจากภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคครัวเรือน ซึ่งจะต้องดาเนินการ ร่วมกับอีกหลายหน่วยงาน เช่น กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ องค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย ฯลฯ เม่ือพิจารณาถึงแผนงานบริหารจัดการทรัพยากรนาท่ีผ่านมามีการจัดสรรงบประมาณเพ่ือการจัดการ คณุ ภาพนาในสดั ส่วนท่ีน้อยมาก แต่ภารกิจการบาบัดนาเสยี เป็นภารกิจที่สาคัญซึ่งถ้าดาเนนิ เต็มรูปแบบจะต้อง ใช้งบประมาณค่อนข้างสูง และมีกระบวนการที่แตกต่างจากการบริหารจัดการนาในยุทธศาสตร์อื่น ๆ ซ่ึง สามารถแยกเปา้ หมาย แนวทางการดาเนินการ ตวั ชีวัด และการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ออกจากยุทธศาสตร์ อ่นื ๆ ได้ ดงั นัน เพอ่ื เปน็ การคลอ่ งตวั สามารถบรู ณาการการดาเนินการกบั หนว่ ยงานอ่นื ๆ ได้เกิดประสิทธิภาพ มากขนึ จึงควรแยกภารกจิ การจดั การคณุ ภาพนาออกเปน็ อกี แผนงานฯ ได้ เปา้ หมายท่ี 6 : บริหารจัดการทรัพยากรนาครอบคลุมทุกลุ่มนาอย่างสมดลุ สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 27 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา เป้าหมาย / แนวทาง / ตัวชีว้ ดั หนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอียด เป้าหมายท่ี 6 : บรหิ ารจดั การทรพั ยากรนาครอบคลุมทกุ ลมุ่ นาอยา่ งสมดลุ ตัวชวี้ ัดท่ี 1 : มแี ผนการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนาครอบคลมุ ทกุ ลมุ่ นาอย่างสมดุล 25 ลมุ่ นา แนวทางท่ี 6.1 : จัดทาแผนยุทธศาสตรก์ ารบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนาในล่มุ นา แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ การบริหารจัดการสนับสนุนองค์กรลุม่ นา พฒั นาระบบ ฐานขอ้ มลู ตดิ ตามประเมนิ ผล ประชาสมั พันธแ์ ละการมสี ่วนร่วม ตวั ชว้ี ัด สานักนายกรัฐมนตรี รวมงบประมาณรายจา่ ย 1. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คับดา้ น 1. สานักงานทรัพยากรนา้ แห่งชาติ 1,444.5839 ลา้ นบาท ทรพั ยากรนา 6 ฉบบั 2 เรอื่ ง - โครงการขบั เคลอ่ื นการดาเนินการตามกฎหมาย 2. องค์กรล่มุ นา เครอื ขา่ ย ประชาชน นโยบาย และแผนแมบ่ ทด้านการบริหารจดั การ ไดร้ บั การพฒั นาเพม่ิ ประสิทธิภาพการ ทรพั ยากรนา 465,276,700 บาท เป็นงบลงทุน คา่ บรหิ ารจดั การทรัพยากรนา ครบทกุ ลุ่ม สารวจออกแบบ โครงการจดั ทาผงั นาลุ่มนาต่างๆ นา (การจัดทาแผนงาน การติดตาม และงบรายจา่ ยอ่ืน 200.61 ล้านบาท เพื่อเปน็ ประเมินผล การจดั สรรนา ค่าใช้จ่ายโครงการต่างๆ 13 โครงการ การอบรมใหค้ วามรู้ งานเลขานุการลุ่ม - โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบ นา) 25 ลุ่มนา 1 เรื่อง สนบั สนนุ การตัดสินใจแบบบรู ณาการ 58,640,000 3. มแี ผนการบริหารจัดการทรัพยากร บาท เปน็ งบลงทนุ เกยี่ วกับการจดั ทาสารสนเทศ นาทกุ ระดับ 7 เร่อื ง และงบรายจา่ ยอื่น 6 โครงการ 4. มีงานศกึ ษา วจิ ยั นวัตกรรม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและ แนวทางบริหารจัดการทรพั ยากรนา นวัตกรรม 11 เร่ือง 1. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรนา้ (องค์การ 5. พัฒนาเพ่มิ ประสิทธภิ าพระบบ มหาชน) ฐานขอ้ มูลสนับสนุนการตดั สินใจ 22 - โครงการพฒั นาโครงสรา้ งพืนฐาน และเทคโนโลยี เรอ่ื ง 11 ระบบ ด้านการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา 194,426,900 6. กลไกการบรกิ ารจดั การทรพั ยากร บาท เปน็ เงนิ อดุ หนุนเพือ่ เปน็ ค่าใชจ้ ่ายดาเนินงาน นาไปใช้ประโยชนไ์ มน่ ้อยกวา่ ร้อยละ และครภุ ณั ฑ์ คา่ ก่อสร้างระบบโทรมาตร คา่ พัฒนา 80 จานวน 2 เร่ือง ระบบแบบจาลองเพ่อื การบรหิ ารจดั การนา กระทรวงดิจิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม 1. กรมอตุ นุ ิยมวิทยา - โครงการปรับปรงุ เคร่อื งเรดาร์ตรวจอากาศแบบ Dual Polarization 59,092,000 บาท เปน็ งบ ลงทุนปรับปรุงเครื่องเรดาห์ตรวจอากาศ - โครงการปรับปรงุ ระบบตรวจวดั ระดบั นาอตั โนมตั ิ เพือ่ การพยากรณอ์ ุตุนยิ มวิทยาอทุ กและเตือนภยั 22,000,000 บาท เปน็ งบลงทนุ เพื่อ) ปรับปรงุ ระบบตรวจวัดระดับนาอตั โนมตั เิ พอ่ื การพยากรณ์ อุตนุ ยิ มวทิ ยาอทุ กและเตอื นภยั (รายการผกู พนั ) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 1. กรมควบคมุ มลพษิ - โครงการพฒั นาระบบอนญุ าตระบายมลพิษและ ขดี ความสามารถในการรองรบั มลพิษ 5,300,000 บาท เป็นงบลงทนุ เพื่อจัดซอื ครภุ ณั ฑ์ระบบ ตรวจสอบแหลง่ กาเนดิ มลพิษโดยผูท้ ่ีไดร้ บั อนุญาต สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 28 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรพั ยากรนา เปา้ หมาย / แนวทาง / ตวั ช้ีวดั หนว่ ยงานทรี่ ับผิดชอบ/กิจกรรม-โครงการ งบประมาณ / รายละเอยี ด และ งบรายจา่ ยอืน่ คา่ ใช้จ่ายในการพัฒนาระบบ อนญุ าตระบายมลพษิ ทางนา 1 ระบบ 2. กรมทรพั ยากรน้า - โครงการพฒั นากลไกและเพ่ิมประสทิ ธิภาพการ บริหารจดั การนา 506,138,200 บาท เปน็ งบลงทุน ค่าจ้างท่ีปรึกษาศกึ ษาความเหมาะสม สารวจ ออกแบบ และงบรายจ่ายอื่น 10 รายการ 3. กรมทรัพยากรนา้ บาดาล - โครงการระบบตดิ ตามเฝา้ ระวังระดับนาบาดาล และคณุ ภาพนาบาดาลท่วั ประเทศ 30,003,100 บาท เป็นงบรายจ่ายอ่นื คา่ ก่อสร้างแหลง่ นาที่มีราคา ตอ่ หน่วยต่ากว่า 1 ล้านบาท 12 หนว่ ย - โครงการเตมิ นาใต้ดนิ ระดับตืน 46,007,000 บาท เปน็ งบลงทนุ คา่ กอ่ สรา้ งแหล่งนาท่ีมรี าคาต่อหน่วย ตา่ กว่า 10 ล้านบาท รวม 1 รายการ (รวม 530 หนว่ ย) - โครงการบริหารจดั การพัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ทรพั ยากรนาบาดาล 57,700,000 บาท เปน็ งบ รายจ่ายอืน่ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั ทาระบบสารอง ข้อมูลสารสนเทศ 1 ระบบ และ ค่าใช้จา่ ยในการ จดั ทาระบบองค์ความรู้ดา้ นทรัพยากรนาบาดาล แบบดจิ ทิ ัล 1 ระบบ ข้อสังเกตและขอ้ เสนอแนะของสานกั งบประมาณของรัฐสภา การบริหารจัดการทรัพยากรนาควรให้ความสาคัญในระดับลุ่มนาและกลุ่มลุ่มนา ซึ่งแผนงานและ งบประมาณควรพิจารณาจากการมีส่วนร่วมในการกาหนดแผนงานบริหารจัดการทรัพยากรนาในระดับลุ่มนา โครงการ/กิจกรรมจากประชาชนในพืนท่ี เน่ืองจากในแต่ละลุ่มนามีลักษณะทางกายภาพและข้อมูลด้าน ทรัพยากรนาที่แตกต่างกัน เพ่ือให้เกิดการแก้ปัญหาที่เกิดขึนจริง และตอบสนองความต้องการท่ีแท้จริงของ ประชาชน นอกจากนีจะต้องมีการบูรณาการข้อมูล ไม่วา่ จะเป็นข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา อุทกวิทยา และข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการนาต่างๆ รวมไปถึงข้อมูลการศึกษาวิจัยด้านทรัพยากรนาซึ่งมีอยู่มากกระจาย อยู่ในหน่วยงานภาครัฐ สถานศึกษา และภาคเอกชน เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือประกอบการพิจารณาจัดสรร งบประมาณเพือ่ การบรหิ ารจัดการนาตอ่ ไป 8. ขอ้ เสนอแนะระดับนโยบาย สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 29 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรัพยากรนา 8.1 เนื่องจากทรัพยากรนาเป็นส่ิงสาคัญพืนฐานของมนุษย์ และมีส่วนเก่ียวข้องกับเร่ืองสาคัญในทุก ๆ ด้านของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นความต้องการพืนฐานอุปโภคบริโภคเพื่อการดารงชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม ซ่ึง ประเทศไทยประสบปัญหาในด้านทรัพยากรนามาในทุก ๆ ปี ซึ่งการกระทาของมนุษย์ก็เป็นส่วนสาคัญที่เป็น ปัจจัยในการเร่งภัยพิบัติด้านนาให้เกิดขึนบ่อยและทวีความรุนแรงยิ่งขึน เพราะฉะนันรัฐบาลจึงควรท่ีจะ ประกาศใหก้ ารแก้ปัญหาดา้ นทรัพยากรนาเปน็ วาระเร่งด่วนแห่งชาติทีจ่ ะตอ้ งแก้ไขเป็นลาดับต้น ๆ และต้องนา ข้อมูลด้านทรัพยากรนาไปเป็นปัจจัยที่สาคัญในการพิจารณากาหนดนโยบายในการบริหารและพัฒนาประเทศ ในทกุ ๆ ด้าน หรอื โครงการใหญ่ ๆ ท่รี ัฐบาลจะอนมุ ตั ิดาเนินการ 8.2 ที่ผ่านมาการบริหารจัดการนามีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกระจัดกระจายอยู่หลายหน่วยงานทาให้ องคก์ รและโครงสร้างหลกั ในการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนายงั ไมเ่ ป็นเอกภาพ ขาดความตอ่ เน่ืองในการกาหนด นโยบายและการจัดทาแผน ขาดการวางแผนและแก้ไขปัญหาในพืนที่อย่างบูรณาการ จึงควรมีหน่วยงาน สานักงานนโยบายและแผนการบริหารจัดการนา ขนึ ตรงกับนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรที ี่กาหนดนโยบายด้าน การบริหารจัดการนา โดยมีสานักงานอยู่ในแต่ละลุ่มนา มีภารกิจในการสร้างการมีส่วนร่วม สารวจปัญหาด้าน ทรัพยากรนาในแต่ละพืนท่ี กาหนดเป้าหมาย จัดทาแผนงาน โครงการ/กิจกรรม มอบหมายโครงการ/กจิ กรรม และงบประมาณ ให้กับหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามแต่ละภารกิจตามความเหมาะสมพร้อมติดตามและ ประเมินผลโครงการ/กิจกรรม ในภาพรวมทังประเทศ เพื่อให้การบริหารจัดการนาเป็นในทิศทางเดียวกัน และเป็นเอกภาพ ไม่เกดิ ความซาซ้อนในการดาเนินการ เกิดประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนาของ ประเทศสงู สุด 8.3 การกาหนดโครงการ/กิจกรรมเพ่ือแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรนา นอกจากจะพิจารณาในแง่มุมเชิง วิศวกรรมแหล่งนาแล้ว ยังต้องพิจารณาในความเป็นธรรมระหว่างประชาชนกลุ่มผู้ได้รับผลประโยชน์กับผู้เสีย ผลประโยชน์ด้วย และจาเป็นต้องบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่มีภารกิจในแต่ละยุทธศาสตร์ หน่วยงานต้อง ร่วมกันกาหนดเป้าหมายโดยพิจารณาจากปัญหาท่ีเกิดขึนในแต่ละพืนที่ และร่วมกันหารือกาหนดแนวทาง โครงการ/กิจกรรม เพ่ือแก้ไขปัญหาทเี่ กิดขึนทังระบบในแต่ละลมุ่ นาและกลุ่มลุ่มนา โดยจัดลาดับความสาคัญใน การพจิ ารณาจัดสรรงบประมาณตามสภาพปญั หาทเ่ี กิดขึนอยา่ งแทจ้ ริง 8.4 ในการจัดสรรงบประมาณเพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากรนาในแต่ละยุทธศาสตร์ ควรพิจารณา จัดลาดบั ความสาคญั โดยดาเนนิ การแก้ปัญหาในพืนท่ีลุ่มนา กล่มุ ลุ่มนาที่ประสบปัญหาทร่ี ุนแรงและเกิดขนึ บ่อย ตามผลการศกึ ษาขา้ งต้นก่อน ในส่วนของวธิ ีการนนั ควรจะดาเนินการอนุรักษ์แม่นา ลาคลอง แหลง่ นาธรรมชาติ อน่ื ๆ เข้มงวดบังคับใช้กฎหมายเพ่ือจัดการผู้รุกลาแม่นา ลาคลอง รวมไปถึงปรับปรุงอ่างเก็บนา ระบบขนส่งนา ระบบอาคารบังคับนา ที่มอี ยู่แล้วใหส้ ามารถใช้งานสรา้ งประโยชนไ์ ด้เต็มประสทิ ธิภาพก่อนเปน็ ลาดับแรก 8.5 เนื่องจากสภาพภูมิประเทศ การเติบโตของเมือง และการใช้ประโยชน์ท่ีดินของประเทศมีการ เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ จึงควรมีการทบทวน กลยทุ ธ์ แนวทางดาเนินการ ภายใต้แผนยุทธศาสตรก์ ารบริหาร จัดการทรัพยากรนาใหต้ รงกบั ข้อมูลจรงิ ในปัจจบุ ันเสมอ 8.6 ควรเร่งแก้ไขปัญหาพืนท่ีท่ีเกิดทังอุทกภัยและภัยแล้งในปีเดียวกันและเกิดซากันทัง 5 ปีติดต่อกัน จานวน 14 จังหวัด ได้แก่ จันทบุรี เชียงใหม่ ตราด ตาก นครสวรรค์ บุรีรัมย์ ปราจีนบุรี พิจิตร พิษณุโลก มหาสารคาม แมฮ่ ่องสอน สระแก้ว สโุ ขทัย และอตุ รดิตถ์ ดงั รปู ท่ี 4 ซึง่ รฐั บาลควรให้ความสาคัญเปน็ ลาดบั ตน้ ๆ ในการพิจารณาจดั สรรงบประมาณในการแก้ไขปญั หาด้านการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา 8.7 จากผลการศึกษาพบว่าพืนที่การเกษตรส่วนใหญ่อยู่นอกเขตพืนท่ีชลประทานคิดเป็นสัดส่วนถึง ร้อยละ 87 ของพืนท่ีการเกษตรทังหมดในประเทศ ซ่ึงหน่วยงานภาครัฐจะต้องดาเนิน โครงการ/กิจกรรม เพ่ือ สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 30 เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 : สานกั งานทรัพยากรนาแหง่ ชาติ และ แผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนา เพิ่มพืนท่ีชลประทานเพ่ือจัดสรรนาให้เพียงพอกับพืนท่ีการเกษตรเหล่านัน แต่ควรพิจารณาถึงความสมดุลและ คุ้มค่าระหวา่ งงบประมาณท่ีจะต้องลงทุนเพื่อขยายพืนที่ชลประทานกับมูลค่าท่ีได้กลับคนื ในรูปแบบผลผลติ ทาง การเกษตรและการแก้ไขความเดือดร้อนของเกษตรกร โดยควรมุ่งเน้นขยายพืนที่ชลประทานในพืนท่ีท่ีมี ศักยภาพในด้านทรัพยากรนาและมีผู้ได้รับประโยชน์ในจานวนมากก่อน อีกทังควรใช้วิธีการอื่นๆเพ่ือดาเนิน ควบคกู่ ันไปดว้ ย เช่น การสนบั สนนุ เกษตรกรในการเพาะปลูกพืชที่มมี ลู ค่าสงู และมีความต้องการใชน้ าท่ตี ่า การ จัดรูปที่ดินเพื่อการเกษตรเพ่ือให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งนาได้มากขึนเพ่ือลดงบประมาณในการก่อสร้างระบบ กระจายนาเพ่อื การเกษตรทต่ี อ้ งใช้งบประมาณในการดาเนินการค่อนข้างสงู ฯลฯ สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 31 เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณารา่ ง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2563