Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัฒนธรรมและประเพณีไทยภาคเหนือ

วัฒนธรรมและประเพณีไทยภาคเหนือ

Published by prasthana.kae, 2021-01-18 03:11:10

Description: วัฒนธรรมและประเพณีไทยภาคเหนือ

Search

Read the Text Version

วฒั นธรรมและประเพณีไทยภาคเหนือ

ภาคเหนือมที ้งั สิ้น 17 จังหวัด แบง่ ออกเปน็ ภาคเหนือตอนบน และภาคเหนือตอนลา่ ง ดังนี้ ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนลา่ ง มีทงั้ หมด 9 จงั หวัด ไดแ้ ก่ มีทั้งหมด 8 จงั หวัด ได้แก่ 1. จังหวัดเชียงราย 1. จงั หวดั ตาก 2. จังหวดั เชยี งใหม่ 2. จงั หวัดพิษณโุ ลก 3. จงั หวดั นา่ น 3. จงั หวัดสุโขทัย 4. จังหวดั พะเยา 4. จงั หวดั เพชรบูรณ์ 5. จังหวัดแพร่ 5. จงั หวดั พจิ ติ ร 6. จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน 6. จงั หวดั กาแพงเพชร 7. จงั หวดั ลาปาง 7. จงั หวดั นครสวรรค์ 8. จงั หวัดลาพนู 8. จงั หวัดอุทยั ธานี 9. จังหวัดอุตรดติ ถ์

วัฒนธรรมในท้องถิน่ ของภาคเหนือ แบง่ ออกได้ ดังนี้ วฒั นธรรมทางภาษาถิน่ วัฒนธรรมการกนิ ชาวไทยทางภาคเหนือมีภาษาล้านนาที่ ชาวเหนือมีวัฒนธรรมการกินคล้ายกับคนอีสาน นมุ่ นวลไพเราะ ซึ่งมีภาษาพดู และภาษาเขียน คือ กินข้าวเหนียวและปลาร้า ซึ่งภาษาเหนือ ที่เรียกว่า \"คาเมือง\" ของภาคเหนือเอง โดย เรียกว่า ข้าวนิ่งและฮ้า ส่วนกรรมวิธีการปรุง การพูดจะมีสาเนียงที่แตกต่างกันไปตามพื้นที่ อาหารของภาคเหนือจะนิยมการตม้ ปิ้ง ปจั จบุ นั ยงั คงใช้พูดติดต่อสื่อสารกนั แกง หมก ไมน่ ิยมใชน้ า้ มนั สว่ นอาหารขึ้นชื่อ เรียกว่าถ้าไดไ้ ปเทย่ี วต้องไปลิ้มลอง ได้แก่ น้าพริกหนุม่ , น้าพริกออ่ ง, น้าพริกนา้ ปู, ไส้อั่ว แกงโฮะ, แกงฮงั เล, แคบหมู, ผักกาดจอ, ลาบหมู, ลาบเนื้อ, จิน้ ส้ม (แหนม), ข้าวซอย, ขนมจีนน้าเงีย้ ว เปน็ ต้น

วัฒนธรรมในท้องถน่ิ ของภาคเหนือ แบง่ ออกได้ ดังน้ี วฒั นธรรมทีเ่ ก่ยี วกบั ศาสนา-ความเชือ่ ชาวล้านนามีความผูกพันอยู่กับการนับถือผีซึ่ง เชื่อว่ามีส่ิงเร้าลับให้ความคุ้มครองรักษาอยู่ ซึ่ง สามารถพบเห็นได้จากการดาเนินชีวิตประจาวัน เชน่ เมือ่ เวลาที่ต้องเข้าป่าหรือต้องค้างพักแรมอยู่ ในปา่ จะนิยมบอกกล่าวและขออนุญาตเจ้าที่-เจ้า ทางอยู่เสมอ และเมื่อเวลาที่กินข้าวในป่าจะแบ่ง อาหารบางส่วนให้เจ้าที่อีกด้วย เช่นกัน ซึ่งเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่าวิถีชีวิตที่ยังคงผูกผันอยู่กับการนับ ถอื ผีสาง

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีของภาคเหนือ เกิดจากการผสมผสานการดาเนินชีวิต และศาสนาพุทธความเชื่อเรื่องการ นับถือผี ส่งผลทาให้มีประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ของประเพณีที่จะแตกต่างกันไปตามฤดูกาล ทั้งนี้ ภาคเหนือ จะมีงานประเพณีในรอบปแี ทบทุกเดือน จึงขอยกตวั อยา่ งประเพณีภาคเหนือบางสว่ นมานาเสนอ ดงั นี้ สงกรานต์งานประเพณี ถือเป็นช่วงแรกของการเริ่มต้นปี๋ใหม่เมือง หรือสงกรานต์งานประเพณี โดยแบง่ ออกเปน็ วนั ที่ 13 เมษายน หรือวันสงั ขารล่อง ถอื เปน็ วนั สิน้ สุดของปี โดยจะมีการยงิ ปนื ยงิ สโพก และจุดประทัดตั้งแต่ก่อนสว่างเพื่อขับ ไลส่ ่งิ ไม่ดี วนั นี้ตอ้ งเก็บกวาดบา้ นเรือน และ ทาความสะอาดวดั

ประเพณีของภาคเหนือ วนั ที่ 14 เมษายน หรือวันเนา ตอนเช้าจะมีการจัดเตรียมอาหารและเครือ่ งไทยทาน วนั ที่ 15 เมษายน หรือวนั พญาวนั เปน็ วนั เริม่ ศกั ราชใหม่ มีการทาบญุ ถวายขันข้าว ถวายตุง วนั ที่ 16-17 เมษายน หรือวันปากปีและวนั ปากเดือน เป็นวนั ทาพิธีทางไสยศาสตร์ สะเดาะเคราะห์ และบูชาสิง่ ศกั ดิ์สิทธิต์ ่าง ๆ

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีปอยนอ้ ย/บวชลกู แก้ว/แหลส่ ่างลอง ประเพณปี อยหลวง หรืองานบญุ ปอยหลวง เป็นประเพณีบวช หรือการบรรพชาของ เป็นเอกลักษณ์ของชาวล้านนาซึ่งเป็นผลดี ชาวเหนือ นิยมจัดภายในเดือนกุมภาพันธ์ ต่อสภาพทางสังคม ถือว่าเป็นการให้ชาวบ้าน มีนาคม หรือเมษายน ตอนช่วงเช้า ซึ่งเก็บ ได้มาทาบุญรว่ มกนั เกี่ยวพืชผลเสร็จแล้ว ในพิธีบวชจะมีการจัด งานเฉลิมฉลองอย่างย่ิงใหญ่ มีการแห่ง ชว่ งเวลาจัดงานเริม่ จากเดือน 5 จนถึงเดือน ลูกแก้วหรือผู้บวชที่จะแต่งตัวอย่างสวยงาม 7 เหนือ (ตรงกับเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือน เลียนแบบเจ้าชายสิทธัตถะ ปัจจุบันประเพณี เมษายนหรือเดือนพฤษภาคมของทุกปี ) บวชลูกแก้วที่มีชื่อเสียง คือ ประเพณีบวช ระยะเวลา 3-7 วนั ลูกแก้ว ทีจ่ งั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณวี ันลอยกระทง วันลอยกระทง เป็นเทศกาลของกลุ่มชาติพันธุ์ไทตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งประเทศไทย ตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ประเพณีนี้กาหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคาซึ่งเป็น เทวดาในคติฮินดู แต่เทศกาลนี้มีร่องรอยหลักฐานย้อนไปถึงจีนและอินเดียโบราณ ในประเทศพม่า ใช้ชื่อว่า \"เทศกาลตาซองได\" (Tazaungdaing) ในประเทศจีน ใช้ชื่อว่า \"เทศกาลโคมลอย\" (Lantern festival)

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีในแตล่ ะทอ้ งถิ่น - จังหวัดเชียงใหม่ มีประเพณี\"ยเ่ี ปง็ \"เชียงใหม่ ในทุกๆ ปีจะมี การจัดงานขึ้นอย่างย่ิงใหญ่ตระการตา และมีการปล่อยโคม ลอยขึ้นเตม็ ทอ้ งฟา้ - จังหวัดลาปาง มีประเพณี\"ล่องสะเปา\"(สะเปาหมายถึง กระทง) ซึ่งจะมีการประกวดอยสู่ องวันดว้ ยกัน ได้แก่วันแรก\" สะเปานา้ \"จดั ขึน้ ในแม่นา้ วังและวันทีส่ องจะมี\"สะเปาบก“ - จงั หวดั ตาก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเป็น สาย เรียกว่า \"กระทงสาย\" - จังหวัดสุโขทัย ขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุ ตะไล ไฟพะเนียง

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีลอยโคม -เธทปปนัศรก-ทกเวรกปะละี่รามาเ็นเคพะาลีพคปมงดณกเณดวเจราาพีลียาีะตะษรอือ่วมเงมั้ ปสยพกธใีกเกหานรัลขาณชรรตาด้้ไร่อมื่ะอองเีลิวด้กยทหแคยอใ่ีบยงรลเนใวยมสวคนนวาโกาจงรเ\"โมคขยดงึ คาา(าจรม้หือเะรรทว้ะอนรหงดปชศมอืนไ3อน์าปีกปลพม\"วมา์รห่ลอ้ไ(าะลรหรคผ่อเโทยอื้าากือค่แียปนปช่ียขมลโพาโรนวา้ คละตศ้วนวัา\"มิ)อขจสกมดจาแา้กุยุดวแังลณวลกงหขตลปอะ่อเึ้นทวะีดทะ\"นยัด่ีจไเือเอขปกซงัรเนดา้ชหีื่ยใึ่องธผวนวียนงัทปงา้ดั งอไีปรว)าตใฟา่า้าาพหาดคกตยอกใม้มวานรถ่ใศยๆงึงมนี ต่างๆ ให้ไปพ้นจากตัว

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีตานตงุ --ปปรระะเพเพณณีลอีตยากนระตทุงสใานยภหราอื ษปารถะทิ่นีปลพ้านั นดนวงา ทต่ีจุงงั หหวมดั ตาายกถใึงน เ“ทธศงก”าลจเุดดปียวรกะนัสดงวค้ ย์ขใอนงเดกือานรท3าหตรุงอื ใปนรละม้านาณนเาดกือ็คนือธนั กวารคทมามี ถวปาระยเเพปณ็นีตพง้ั ุธทรธรมบหูชลาวงชา(เวทลศ้านนม์ หนาาชถาือตวิ) ่าแเลปะ็ทนอกดาผรา้ ทปา่าบใุญน อธุทนั วิศาใคหม้แจกะ่ผมู้ทีกาี่ลร่วเกง่ียลวับ\"ไขปา้ แวดลอ้ว\" ห(ครือือขถา้ ววสากุยกเ่อพนื่อขเา้ปว็นปีป) พัจอจถัยึง ส่งกุศลให้แก่ตขาน้ งไแปรใมนจชงึ จาะตมิหีกนา้ารเกด่ีย้ววย\"คขวา้ าวมปี\"เชื่อที่ว่า เมื่อ ตายไปแล้วก็จะได้เกาะยึดชายตุงขึ้นสวรรค์พ้น จาก ขุมนรก วันที่ถวายตุงน้ันนิยมกระทาในวันพญาวันซึ่ง เปน็ วันสดุ ท้ายของเทศกาลสงกรานต์

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีตานตุง - ปรชะาเพวณล้าีลนอนยการจะะททงาสกายาหรรตอื าปนรตะทุงีปในพงนั าดนวปง รทะ่ีจเงั พหณวดั ีตต่างก ๆใน เทชศ่นกางลานเดปียีใวหกนมั ด่ หว้ ยรใือนปเดรือะนเพ3ณหีสรอืงปกรระามนาตณ์ขเดอืองนปธรนั ะวชาาคชมนมี จะปทระาเเพคณรื่อีตง้ั สธรักรกมาหรละวงค(ือเทศธนูปม์ นห้าสชา้มตปิ)่อแยละตทุงอแดลผะา้ ปช่า่อใตนุง หธนรั ือวาธคุงมอจะันมเีกปา็นรเกค่ียรวื่อ\"งขสา้ วักดกอา\" ร(คะือขมา้ี ว4สกุปกร่อะนเขภา้ ทวปคี)ือพอตถุงงึ เดี่ยว หรือตุงขคา้ ่างคแริงมสจงึาจหะรมับีกบารูชเกา่ียแวท\"นขา้ตวนปเี\"อง ตุงไส้หมู บูชาพระเจดีย์ พระธาตุท้ังหลาย ตุงไจย ถวายบูชา พระพุทธรูป เพื่อสร้างความสวัสดีมีชัย และช่อหรือ ธงชยั สาหรบั ปักเครือ่ งบชู าต่าง ๆ ตงุ จัดเปน็ เครือ่ ง

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีกรวยสลาก หรือตานก๋วยสลาก -เปป็นระปเพรณะเีลพอณยกีขรอะงทชงสาาวยพหุทรธอื ทปรี่มะีกทาีปรพทนั าดบวุญง ทให่ีจงั้ทหาวนดั รตับากพรใน เจทาศกกพาลรเะดีจยวะกทนั าดใหว้ ยเ้ กในิดเสดริือิมนง3คหลรแอื กปต่ ระนมแาลณะเอดุทือิศนสธนั่ววนากคุศมลมี ใหป้แระกเ่พผณู้ล่วีตงง้ั ลธรับรมไปหลแวลง้ว(เเทปศ็นนมก์ หาารชราะตลิ)ึกแลถะึงทบอุญดผคา้ ุณป่าขใอนง ผธู้มนั วีพารคะมคจุะณมีกแาลรเะกเ่ียปว็น\"ขกา้ าวรดแอส\" (ดคงืออขา้อวกสถกุ ึกง่อคนวขาา้มวสปีา) มพัอคถคึงี ของคนในชุมชขนา้ งแรมจงึ จะมีการเก่ียว \"ขา้ วปี\"

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีขึ้นขนั ดอกอินทขิล ประเพณีขึ้นขันดอกอินทขิล บูชาเสาหลักเมือง -เชปียระงเใพหณมีล่ ทอยุกกวรันะแทรงสมาย1ห3รอื คป่าระเดทีปือพนนั 8ดวตง่อทเ่ีจนงั ื่อหงวไดั ปตจากนถในึง เเทดศือกนาล9เดหียรวือกนัเดดือว้ ยนใพนฤเดษือภนา3คมหรขอื อปงรทะกุมปาณี ชเาดวือเนชธียนั งวใาหคมม่จมะี รกู้ปนัระวเ่าพนณั่นีตคง้ั ือธรชร่วมงหพลิธวงีกร(เรทมศทนมี่ต์ ห้อางชเตาตริ)ียแมลขะ้าทวอตดอผกา้ ปด่าอใกนไม้ มธนัาวถาวคามยจเะสมาีกอาินรเทก่ียขวิล\"หขา้รวือดเอส\"า(คหือลขักา้ เวมสือกุ กง่อเชนียขา้งวใปหี)มพ่ อเพถึงื่อ ความร่มเย็นขเปา้ ง็นแสรมุขจงึแจละะมตีการระเกห่ียนวัก\"ขถา้ึงวสปัญี\" ลักษณ์ที่ยึด เหนี่ยวจิตใจผู้คนในพื้นที่ นี่คือประเพณีการใส่ขัน ดอกไม้เพ่ือบูชาเสาหลักเมืองที่สืบต่อกันมาในชื่อ ‘ประเพณีบชู าเสาอนิ ทขิล’ เป็นอีกหนึ่งคุณค่าทางความ เชือ่ และศิลปวัฒนธรรมเกา่ แกอ่ ยคู่ เู่ มืองมาถึงปัจจบุ ัน

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีนบพระเลน่ เพลง ประเพณีนบพระเล่นเพลง เป็นประเพณีที่สืบทอด ซป-เง่ึทรปไจมอพอะศดรเึังงญกาะรก้พคไาจเละพณดเล์พาา่บชณ้มเีนวกรดิญรถีกบีลสะียมึงอพพาเวุโวธจยกขรรรา่ าะดกนจัทะใตเรียดัดลนบัยะุ ว์้น่สขทกรวยซเมบงมพัาดใสึ่งยันรวสลพไาพเจนงาดยดรญัดรขเ้หือกะปีรางนอรบล็นลิอืกางร่า3ปิไปนธเมทวรจรหนาถไะธะ้ารดตเบทึงาอืพผอุ้จวีปตปพณู้ญคั ่าาพุรรรตีทกะเนัใชะอม่าีสลนดญิเาบงืบลัวงสณนพทลงก่นมรคอเนทาเดัะยดรพ่มีจคบือพมไงัรานลรปหาญมชบธงจวนสนัุมราาดั ถมาวกรลตรดาืัอสสจิาไรีคังโุเทกกิกุไขมปนวธาไทใ็้้ัานทนดมรนยัต้ี่ี ุ งานประจาปีของจังหวัดกาแพงเพชร เป็นการ ฟื้นฟู และเผยแพร่ประเพณีดั้งเดิมที่ถ่ายทอดให้กับคนรุ่น ใหมไ่ ด้เข้าใจถงึ ประวตั ิความเป็นมาของท้องถิ่นตน

ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีทอดผ้าป่าแถว - ปประรเะพเณพีลณอีทยกอรดะผท้างปสา่ายแหถรวอื ปเประ็นทวีปันพทนั ี่พดุทวงธทศ่ีจางัสหนวิกดั ชตานกจะใน เทศไดกา้ถลวเาดยี วเคกนัรื่อดวง้ ยนใุ่งนหเด่มือแนล3ะไหทรยอื ปธรระรมมาณเปเด็นือเนคธรนั ื่อวงาบคูชมามี ปแรดะเ่พพรณะีตสงั้ งธฆรร์กม่อหนลจวงะท(เทาพศนิธม์ีลหอายชกาตริ)ะแทลงะบทูชอาดพผรา้ ปะ่พา ใุทนธ ธนั บวาทคมตจาะมมคีกตาริคเกว่ียาวม\"เขชา้ ื่อวดแอต\"่โ(บคือรขาา้ ณวสกุ กร่อะนทขาา้ ใวนปีว) ันพอขถึ้นงึ 15 ค่า เดือขนา้ งแ1ร2มจงึ(วจันะมลีกอายรกเกร่ียะวท\"งข)า้ วปี\"

ขอบคุณคะ่

อา้ งองิ 1.https://sites.google.com/site/wwwmbwathnthrrmlaeaprapheni/prawati-laea-khwam-pen-ma- khxng-wathnthrrm-laea-prapheni 2.https://www.google.com/search?q=%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E 0%B8%9E%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B9%80% E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B8%AD&tbm=isch&hl=en&rlz=1C1CHBD_enTH92 2TH922&sa=X&ved=2ahUKEwj_h_Ph05XuAhVlUsFHUJsA4YQrNwCKAF6BQgBENcB&biw=1583 &bih=757 3. https://sites.google.com/site/khanyarat06/ 4. https://sites.google.com/site/praphenithiy8862/pra-phe


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook