Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเรื่องและข้อสงสัยเกี่ยวกับพิธีทางทหาร

รวมเรื่องและข้อสงสัยเกี่ยวกับพิธีทางทหาร

Description: เอกสารสรุปผลการอบรมเพิ่มเติมความรู้ เกี่ยวกับข้อสงสัยในการปฏิบัติพิธีทางทหาร

Search

Read the Text Version

 รายงานการอบรมเพิม่ เติมความรปู้ ระจาํ ปี ๒๕๕๙ สายวิทยาการ อศจ.ทบ. เรือ่ ง การปฏิบัติศาสนพิธีทางทหาร ณ หอ้ งประชุมพระพทุ ธสิงห์ชัยมงคล ๑ – ๒ มิถุนายน ๒๕๕๙ รวมเรือ่ งควรร้แู ละขอ้ ซกั ถามเกี่ยวกับศาสนพิธีทุกมิติ โดย นายจาํ ลอง ยิง่ นึก ผ้อู าํ นวยการกองพระราชพิธี สํานกั พระราชวงั นายชวลิต ศิริภิรมย์ ที่ปรึกษากรมการศาสนา และคณะอนศุ าสนาจารย์กองทพั บก .......................................................................................................... โดยแผนกวิชาการและการศึกษา กองอนุศาสนาจารย์ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก 

สรปุ ผลการอบรมเพ่มิ เตมิ ความรปู้ ระจาํ ปี สายวิทยาการ อศจ.ทบ. ประจําปีงบประมาณ ๒๕๕๙ หว้ ง ๑ - ๒ ม.ิ ย. ๕๙ ณ หอ้ งประชมุ พระพุทธสงิ หช์ ัยมงคล กอศจ.ยศ.ทบ. ...................................... ๑. หวั ขอ้ การอบรม “การปฏบิ ตั ศิ าสนพิธที างทหาร” ๒. วนั เวลา สถานที่ วนั ที่ ๑ และ ๒ ม.ิ ย. ๕๙ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๖๓๐ ณ หอ้ งประชุมพระพุทธสงิ ห์ชัยมงคล กอศจ.ยศ.ทบ. ๓. ผเู้ ข้ารบั การอบรม ประกอบดว้ ย อศจ.ทบ. ,ผช.อศจ.ทบ., เสมียน อศจ.ทบ. และกาํ ลงั พลที่ปฏบิ ัตหิ น้าทใี่ นสายงาน อศจ.ของหน่วย จาํ นวนทั้งสิน้ ๑๔๐ นาย (ตามผนวก ก ประกอบเอกสารสรุปผลการอบรม) ๔. จดุ มุ่งหมายของการอบรม ๔.๑ เพื่อดําเนินตามนโยบายดา้ นการพัฒนากาํ ลังพลของ ทบ. ๔.๒ พัฒนาศักยภาพ อศจ.ทบ., ผช.อศจ.ทบ., เสมยี น อศจ.ทบ. และกําลังพลทีป่ ฏบิ ัติหน้าท่ีในสายงานอศจ.ของหน่วย ๕. เนอื้ หาการอบรม ประกอบดว้ ย ๕.๑ ความคาดหวังของผบู้ งั คับบญั ชาต่ออนุศาสนาจารย์ ๕.๒ การพัฒนาศกั ยภาพของ อศจ.ทบ., ผช.อศจ.ทบ., เสมียน อศจ.ทบ. และกาํ ลังพลที่ปฏิบัตหิ น้าที่ในสายงาน อศจ.ของหน่วย ๕.๓ การปฏบิ ตั ิศาสนพธิ ีทางราชการของกองทัพบก ๕.๕ การจดั งานพระราชพิธี รฐั พิธี และพิธีเกี่ยวกับราชสํานัก ๖. วิธดี ําเนนิ การจดั อบรม ๖.๑ ฟงั การบรรยายจาก จก.ยศ.ทบ. เรอื่ งความคาดหวงั ของผู้บงั คับบญั ชาตอ่ อนศุ าสนาจารย์ เพ่ือรบั ทราบนโยบายและแปลงนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ัติท่เี ปน็ รูปธรรม ๖.๒ ร่วมกนั จดั ทาํ แผนพัฒนาศกั ยภาพของ อศจ.ทบ., ผช.อศจ.ทบ., เสมียน อศจ.ทบ. และกําลังพลที่ปฏิบตั หิ น้าท่ีในสายงาน อศจ.ของหน่วย ๖.๓ฟังการช้แี จงเรอื่ งการปฏิบตั ิศาสนพิธที างราชการของกองทพั บกที่ ยศ.ทบ.ได้ไปช้ีแจงแก่หน่วยในทบ.เพ่อื ใหก้ ารปฏิบตั ิเปน็ เอกภาพมมี าตรฐานเดียวกนั ๖.๔ อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์และถกประเด็นข้อสงสัยต่าง ๆ ในการปฏิบัติศาสนพธิ ที แ่ี ตกตา่ งกนั และหาข้อยุตริ ่วมกนั ๖.๕ ฟงั การบรรยายและชมการสาธติ การปฏบิ ตั ิศาสนพิธีจากวิทยากรสํานักพระราชวังและกรมการศาสนา เพ่อื ยืนยันแนวทางที่ยตุ ิแลว้ และจดั ทําเอกสารอา้ งอิงเกีย่ วกบั ประเดน็ ขอ้ สงสัยน้ัน ๆ

-๒-๗. วิทยากรประกอบดว้ ย จก.ยศ.ทบ. ๗.๑ พล.ท.ถกลเกียรติ นวลยง ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ๗.๒ พ.อ.สมพงษ์ ถ่นิ ทวี ผอ.กองพระราชพิธี สาํ นักพระราชวัง ๗.๓ นายจาํ ลอง ยิง่ นึก ท่ปี รกึ ษากรมการศาสนา ๗.๔ นายชวลิต ศริ ภิ ิรมย์ ๘. ผลการอบรม ๘.๑ เร่อื งความคาดหวังของผบู้ งั คับบญั ชาต่ออนศุ าสนาจารย์ โดย จก.ยศ.ทบ. ทาํ ให้ผ้เู ขา้ รบั การอบรมไดร้ บั ทราบนโยบายและขอ้ หว่ งใยของผูบ้ ังคบั บญั ชา ดงั นี้ ๘.๑.๑ ให้ อศจ. ปรบั วิธคี ดิ วิธกี ารการทาํ งานให้ก้าวทันเทคโนโลยี หากก้าวไมท่ นั ปรบั ตัวไมไ่ ด้จะกลายเป็นกําลังพลทล่ี ้าหลงั และกลมุ่ เปา้ หมายของ อศจ. คือ กําลังพลและบุคคลนอกหนว่ ย ๘.๑.๒ ในการปฏิบตั งิ านต้องมีความรจู้ ริงในงานทร่ี บั ผดิ ชอบ และรลู้ ึกในรายละเอียดและปจั จยัแวดลอ้ มต่าง ๆ เช่น วัฒนธรรมทอ้ งถิ่นนั้น ๆ อศจ.ต้องไมไ่ ปขดั แย้ง แต่ต้องเปน็ ผู้ประสาน เพอื่ ใหป้ ระชาชนเกดิความเชือ่ ถือ เช่อื มอื และเช่อื มัน่ ในกองทพั บก ๘.๑.๓ อศจ.ตอ้ งเป็นผู้สร้างขวญั แกก่ าํ ลังพลทข่ี วญั ไมด่ ี และสร้างกําลงั ใจแก่กําลังพลท่เี ปน็ กล่มุเสีย่ ง ไม่ให้เพลยี่ งพล้ํากลายเป็นกาํ ลังพลเสื่อม ๘.๑.๔ อศจ.ตอ้ งมีความรอบรเู้ กี่ยวกับศาสนาของตน และศาสนาอนื่ เพ่ือการอยู่รว่ มกนั อย่างเขา้ ใจ เป็นท่ีปรึกษาท่ีดแี ก่กําลังพลทกุ ศาสนา และ อศจ.ตอ้ งมเี ทคนิคในการเผยแผแ่ ละถา่ ยทอด เพ่อื ใหผ้ ู้ฟงั เกิดความซาบซ้งึ ในศาสนาของตน ๘.๑.๕ อศจ.ตอ้ งเป็นผ้ปู ระสานงานกับชาวบ้าน ใหข้ อ้ คิดแก่ชาวบา้ น โดยยึดหลกั เขา้ ถึง เข้าใจ ให้แนวทางท่ีถกู ต้อง ๘.๑.๖ อศจ.ต้องอยู่ใน ๒ ฐานะ กล่าวคือ ในฐานะผู้บังคับบัญชา อศจ.ต้องไม่ดี ไม่เด่นคนเดียวต้องให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดีและเด่นด้วย และในฐานะผู้ใต้บังคับบัญชา อศจ.ต้องแสวงหาความรับผิดชอบ อย่าปฏิเสธงานทีผ่ ู้บังคับบัญชามอบหมาย เพราะผู้บังคับบญั ชาพจิ ารณาแล้ววา่ อศจ.ทาํ ได้ ไม่ผดิ วินยั ของ อศจ. และขอ้ บังคับของสายวิทยาการ อศจ.ทบ. ๘.๑.๗ อศจ.เปน็ ส่วนหน่ึงในการสรา้ งภาพลักษณ์ทีด่ ใี หก้ บั กองทพั บก ดังนั้นต้องปรากฏตวั ให้สงา่ งาม ทัง้ ด้านเคร่อื งแตง่ กาย ลกั ษณะท่าทางและวินยั ทหาร เพราะ อศจ.ต้องไปสนบั สนุนงานแก่สว่ นราชการตา่ ง ๆ ในพน้ื ท่ี และต้องใหเ้ กยี รตแิ ก่หวั หน้าส่วนราชการนน้ั ๆ ไมต่ ตี วั เสมอท่าน ๘.๑.๘ อศจ.ตอ้ งมีความคดิ ริเร่ิมในหนา้ ทท่ี ัง้ ทางตรงและทางอ้อม โดยตอ้ งมีการประเมินตนเองอยู่เสมอ ๘.๑.๙ อศจ.ตอ้ งมีส่วนร่วมในการสรา้ งครอบครัวทีเ่ ขม้ แข็ง โดยการปลูกฝังคณุ ธรรมแก่บุตรหลานและครอบครวั กาํ ลงั พล เพือ่ ใหเ้ ขามีความรใู้ นการครองตน และครองเรือน ไม่เปน็ ปัญหาของสงั คมในภายภาคหน้า โดยใหต้ ัง้ เจตนาท่เี ป็นกศุ ล

-๓- ๘.๒ เรื่องการพฒั นาศกั ยภาพ อศจ.ทบ., ผช.อศจ.ทบ., เสมยี น อศจ.ทบ.และผ้ปู ฏบิ ัติหน้าทีใ่ นสายงาน อศจ.ของหนว่ ย โดย ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ทาํ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมไดม้ ีสว่ นร่วมในการปลูกฝังอดุ มการณ์อนุศาสนาจารยแ์ ละรบั ทราบนโยบายดงั นี้ ๘.๒.๑ อศจ.ทบ.ทุกนายไดร้ ําลึกถึงคุณปู การของ อดีต อศจ.ทงั้ ๓ เหล่าทพั คือ ทบ., ทร., และทอ. ผ่านพธิ อี าจรยิ บูชา หลังจากน้นั ไดร้ ับฟังโอวาทจาก พล.ต.ชอบ อินทฤทธิ์ อดีต ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ๘.๒.๒ ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ไดน้ าํ คณะ อศจ.ทบ.กลา่ วคําปฏญิ าณตนวา่ ด้วยวินัยของอนุศาสนาจารย์ ๑๓ ขอ้ เบอ้ื งหน้าพระพทุ ธสิงหช์ ยั มงคล และกระทาํ พธิ รี บั อศจ.ใหม่ (ซึง่ ไดร้ บั การบรรจเุ มอ่ื ปี๒๕๕๘) จํานวน ๙ นาย เข้าหมคู่ ณะ โดย อศจ.ใหม่ ไดส้ มาทานศีล ๕, กลา่ วคําสัตย์ปฏิญาณ อศจ.ใหม่ ๕ ขอ้ ,ดื่มน้ําพระพทุ ธมนต์, รบั มอบปลอกแขน อศจ., รบั ใบคาํ สตั ย์ปฏิญาณและโอวาทจาก ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ๘.๓ แผนก/ฝา่ ย/และผู้บงั คบั บญั ชา ใน กอศจ.ยศ.ทบ. ได้ชแี้ จงการปฏบิ ัตงิ านดังน้ี ๘.๓.๑ แผนกกาํ ลังพล กอศจ.ยศ.ทบ. ๘.๓.๑.๑) ให้ อศจ.ทบ, ผช.อศจ.ทบ และเสมียน อศจ.ทบ กรอกรายละเอียดในแบบฟอร์มขอ้ มูลกําลงั พล เพือ่ เปน็ ฐานข้อมลู ในการปรบั ยา้ ยและใหก้ ารชว่ ยเหลอื ในโอกาสต่าง ๆ ๘.๓.๑.๒) ให้สํารวจอัตราผู้ช่วย อศจ.ของหน่วย ส่งให้ กอศจ.ยศ.ทบ. เพื่อวางแผนเปิดสอบเลอ่ื นฐานะประจาํ ปีตอ่ ไป ๘.๓.๒ แผนกศาสนพิธี กอศจ.ยศ.ทบ. ๘.๓.๒.๑) กฐนิ ทบ.ปี ๕๙ กําหนดทอดถวาย ณวัดพชิ ยญาตกิ ารามใน ๘พ.ย.๕๙ ๘.๓.๒.๒) ทบ.มีกําหนดจัดกิจกรรมอุปสมบทเฉลิมพระเกียรติฯ ใน ๕-๑๙ ส.ค.๕๙ โดยกอศจ.ยศ.ทบ. จะมีหนังสือประสานขอรับการสนับสนุน อศจ.ช่วยปฏิบัติพิธีและดูแลพระสงฆ์ปฏิบัติธรรม ณศูนย์ปฏิบตั ิธรรมธรรมโมลี อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสีมา ๘.๓.๓ แผนกวชิ าการและการศึกษา กอศจ.ยศ.ทบ. ๘.๓.๓.๑ ปงี บประมาณ ๒๕๖๐ นี้ ไดจ้ ัดทําคําของบประมาณ ดงั น้ี - งบงานศึกษาตามหลกั สูตรประจําปี จํานวน๓รายการคือหลักสูตรอศจ.ชั้นตน้ รุ่นที่ ๑๐จํานวน ๒๐ นาย (ใน ต.ค.๕๙ -ม.ค.๖๐),หลักสูตร การปฐมนิเทศ อศจ.บรรจุใหม่ รุ่นที่ ๖ จํานวน ๙ นาย(ใน ก.พ.-มี.ค.๖๐),การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในของ ทบ.(ในมี.ค.-เม.ย.๖๐) - งบงานการศึกษาพิเศษ จํานวน ๕ รายการ คือ การพัฒนาบุคลากร ทบ. รุ่นท่ี๖๔-๖๖, การอบรมพิธีกรด้านศาสนาประเพณีและวัฒนธรรมไทย รุ่นท่ี ๑๒ จํานวน ๕๐ นาย (ใน มี.ค. - เม.ย.๖๐), การอบรมเพิ่มเติมความรู้ประจําปี ๒๕๖๐, การจัดพิมพ์เอกสารเผยแผ่ธรรมะ, การตรวจกิจการ อศจ.ทบ.จาํ นวน ๖ ครง้ั - งบงานเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๔ รายการ คือกิจกรรมอุปสมบทเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว,กิจกรรมปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กิจกรรมอุปสมบทเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ, กิจกรรมปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินนี าถ,

-๔- - งบงานบรหิ ารระบบราชการ จํานวน ๑ รายการ คือ อบรมทักษะดา้ นจติ วทิ ยาการใหค้ าํ ปรึกษาแก่ อศจ.ทบ. ๘.๓.๓.๒ การส่งเสรมิ อศจ.ทบ.ให้เขา้ รบั การศกึ ษาหลักสตู รตา่ ง ๆ เพือ่ พฒั นาขดีความสามารถ เช่น นบส., น.ปจว., น.ปชส., จ่โู จม และสง่ ทางอากาศ ซงึ่ กอศจ.ยศ.ทบ.จะได้ทําแผนและสง่ เสริมให้ อศจ.เข้าศกึ ษา ต่อไป ๘.๓.๔ แผนกอบรม กอศจ.ยศ.ทบ. ๘.๓.๔.๑ ประสานใหห้ นว่ ยสง่ กําลงั พลมาปฏิบตั ธิ รรมกบั ทบ. ดงั ต่อไปนี้ -หลกั สตู รพฒั นาบคุ ลากร ทบ.ประจําปี ๒๕๕๙ จาํ นวน ๓ รนุ่ คอื รุ่นท่ี๖๑-๖๓ ณ วดั อมั พวนั จ.สงิ หบ์ รุ ี -โครงการปฏิบตั ิธรรมในพรรษาประจําปี ๒๕๕๙จํานวน๓รนุ่ คือรนุ่ ที่ ๗๘-๘๐ณวัดอมั พวนั จ.สงิ หบ์ ุรี -โครงการปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ ณวดั ตาลเอน อ.บางปะหันจ.พระนครศรีอยุธยาจํานวน ๒ รุ่น คือ ปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ใน ๑๕-๒๓ ส.ค.๕๙, ปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ใน๑๓-๒๑ต.ค.๕๙, ๘.๓.๔.๒ แผนการอบรมศีลธรรมประจําเดือนในปี ๒๕๕๙น้ี ยศ.ทบ. จะทําแผนให้หน่วยในทบ.สวดมนต์ บําเพ็ญจิตภาวนาถวายเป็นพระราชกุศลฯ ในห้วงเดือน ส.ค. และ ธ.ค. สําหรับบทสวดมนต์ให้ติดต่อขอรับได้ท่ีแผนกอบรมกอศจ.ยศ.ทบ. ๘.๓.๔.๓ ขอประสานหนว่ ยอย่าสง่ กําลังพลที่ติดสุรา ยาเสพตดิ หรอื มีความประพฤติเสื่อมเสียมาปฏบิ ตั ธิ รรม เพราะมาแล้วจะสรา้ งความว่นุ วายใหก้ ับผูป้ ฏบิ ัติธรรม ไม่เช่นนั้นแลว้ ยศ.ทบ.จาํ เป็นตอ้ งส่งกลบั ๘.๓.๕ รอง ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ไดใ้ ห้แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านดังน้ี ๘.๓.๕.๑ ขอฝาก อศจ. ไดต้ ระหนักในเรอื่ งวนิ ัยและความประพฤติของ อศจ. ขอให้ดาํ รงความประพฤติท่ีดงี ามไว้ หากไม่สามารถปฏิบัตไิ ดจ้ ะทาํ ให้องค์กรเสยี หาย ๘.๓.๕.๒ ให้ อศจ. เอาใจใสใ่ นความรู้เฉพาะทางของตน เชน่ การสวดมนต์ขอใหถ้ กู ตอ้ งตามอักขระ ทาํ นองสงั โยค เพ่อื เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับกาํ ลังพล ๘.๓.๕.๓ ขอให้ อศจ.เอาใจใส่เรอื่ งครอบครวั เอาธรรมะมาอบรมบตุ รหลาน ให้เปน็ คนดีให้ครอบครวั มคี วามสุข เพอื่ เปน็ ตัวอยา่ งท่ีดีใหก้ บั กาํ ลงั พลของหน่วย ๘.๓.๕.๔ ในวันที่ ๑๑ ต.ค. ๕๙ น้ี จะครบ ๑๐๐ ปี ชาตกาล ของ พ.อ.ปิ่น มุทุกันต์อดีตอนุศาสนาจารย์กองทัพบก ซึ่งเป็นบูรพาจารย์ของเราสายวิทยาการ อศจ. ทางชมรมอนุศาสนาจารย์ไทยโดยประธานชมรม (พล.อ.วิชิต ยาทิพย์) และกรมการศาสนาจะได้จัดกิจกรรมเทิดเกียรติฯในห้วงดังกล่าวประกอบดว้ ย - พิธบี าํ เพญ็ กศุ ลทกั ษณิ านุประทาน - การเผยแพร่ผลงานของ พ.อ.ปิน่ มุทกุ นั ต์ ลงเว็บไซต์

-๕- ๘.๓.๖ ผอ.กอศจ.ยศ.ทบ. ไดใ้ หน้ โยบายในการปฏบิ ตั งิ านดังนี้ ๘.๓.๖.๑ ดา้ นกาํ ลังพล - จัดอบรมเพิ่มเติมความรสู้ ายวิทยาการอศจ.เพื่อเพิม่ ทักษะในการปฏบิ ัตหิ น้าที่ - การจัดทาํ ฐานขอ้ มูลดา้ นกําลังพลและครอบครัวใหท้ ันสมยั เพอ่ื ดําเนนิ การดา้ นขวัญกําลังใจ - ปรับปรุงพัฒนาแนวทางการปรบั ย้าย อศจ.ใหต้ อบสนองความตอ้ งการของหน่วย - ปลกู ฝังวนิ ยั ของ อศจ. ใหเ้ ปน็ ท่ีเชอ่ื ถอื ของบคุ คลทัว่ ไป - แสวงหาแนวทางขอบรรจุ อศจ.ทบ. และ ผช.อศจ.ทบ. เพ่ือตอบสนองความต้องการของหน่วยท่ีขาดการบรรจุ - ประเมินความพึงพอใจของผู้บงั คบั บญั ชาและกําลงั พลทมี่ ตี อ่ อศจ. เพือ่กําหนดแนวทางพฒั นา อศจ. ตามทห่ี นว่ ยต้องการ ๘.๓.๖.๒ ดา้ นการศึกษา - เตรียมความพร้อมโครงสร้างพื้นฐานงานการศึกษาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์(E-learning) โดยให้ดําเนินการเปิดหลักสูตรการศาสนาและศีลธรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) เพื่อสนับสนุนกําลังพลท่ีมีแผนสอบเลื่อนฐานะ แต่ไม่มีเวลาเข้ารับการศึกษาในภาคปกติ - จัดการศึกษาหลกั สูตรตามแนวทางรับราชการ เพอ่ื ให้ อศจ. มีคุณสมบัติทีจ่ ะไปสนับสนนุ หน่วยในอัตราท่ีสูงขึน้ - ส่งเสริมให้ อศจ. เข้าศึกษาหลักสูตร นบส. และหลักสูตรหลักประจําของรร.สธ.ทบ. เพ่ือให้สายวิทยาการมี ฝสธ. ในการสนองงานตามนโยบายผู้บังคับบญั ชา ๘.๓.๖.๓ แผนพัฒนาการบรหิ ารสายวิทยาการ อศจ.ทบ. - จัดตั้งทีมงานบริหาร โดยแบ่งออกเป็น ๓ ระดับ (ระดับสายวิทยาการ, ระดับกองทัพภาคและระดับพืน้ ท่)ี - จดั ให้มกี ารประชุมคณะ อศจ.ทบ.ทุกไตรมาส - ปรับปรุงพฒั นาหลกั นิยมฯ ให้ทนั สมยั - อศจ.ทุกหน่วย จัดทําปฏิทินปฏิบัติงานฯ ท่ีสอดคล้องกับงานของหน่วยเหนือและนโยบายผบู้ งั คบั บญั ชา - โครงการการพัฒนา อศจ.ใหเ้ ป็นผู้ให้คําปรกึ ษาดา้ นจิตวิทยาฯ - โครงการแกป้ ญั หากําลังพลและครอบครวั รายบุคคล - โครงการสํารวจที่บูชาประจาํ หน่วย - ปรบั ปรุงค่มู ือ อศจ.ทบ. - ปรบั ปรุงคู่มือการปฏิบตั ิศาสนพิธีกองทัพบก - ปรบั ปรุงคมู่ ือการตรวจกจิ การ อศจ.ทบ. - จดั ทํา KM ของสายวทิ ยาการ อศจ.ทบ. - ปรับปรงุ พัฒนาแผนงานตามนโยบายปลกู ฝังและสร้างเสริมอดุ มการณท์ หาร - เสนอโครงการซอ่ มปรบั ปรงุ อาคารศาสนสถานกลางกองทัพบก

-๖- ๘.๔ การเสวนาและตอบขอ้ สงสยั เร่อื ง “การปฏิบัตศิ าสนพิธที างราชการ” โดยสาํ นักพระราชวงัและกรมการศาสนา ทาํ ให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมได้รบั คําตอบเกี่ยวกบั ข้อสงสยั ในการปฏบิ ัตศิ าสนพิธที างราชการรายละเอียดดงั นี้ ๘.๔.๑ ถาม การสง่ เทียนชนวน ควรสง่ ทางด้านซ้ายมือหรือขวามอื ของประธาน ตอบ ให้ส่งทางดา้ นขวามือของประธาน เพราะศาสนพิธกี รต้องยนื อยู่ทางทา้ ยอาสนสงฆ์ จะไมเ่ ดนิ เขา้ ทางดา้ นซา้ ยมอื เพราะเปน็ การเดนิ ผา่ นโตะ๊ หมู่บูชาซ่งึ ไมเ่ หมาะสม ๘.๔.๒ ถาม การเชิญท่ีกรวดน้ํา ต้องจับดว้ ยมือไหน และเขา้ ทางดา้ นไหนของประธาน ตอบ จับด้วยมือทั้งสอง เดินเข้าจากท้ายอาสนสงฆ์ คํานับแล้ววาง ณ โต๊ะเคียงแล้วถอยหลัง ๓ ก้าว คํานับและเดินกลับทางท้ายอาสนสงฆ์ คํานับ อีก ๑ ครั้ง คอยจนประธานกรวดน้ําเสร็จ จึงเดินไปถอนที่กรวดน้ําโดยใช้มือขวาจับถ้วยรองนํ้าจากโต๊ะเคียงส่งให้มือซ้าย แล้วจับเต้ากรวดถอยหลังออกมา ปฏิบัติเช่นเดยี วกบั ขาเขา้ เทยี บน้ํากรวด ๘.๔.๓ ถาม ผ้าภูษาโยง กับ สายโยงตา่ งกันอย่างไร จะต้องเชอื่ มกนั ช่วงเวลาไหน ตอบ ภูษาโยง คือ ผ้าโยงจากสายโยงเพ่ือให้ประธานทอดผ้าบังสุกุล ส่วนสายโยง คือด้ายหรือด้ินสีทองท่ีโยงจากพระบรมรูปหรือโกศ มายังภูษาโยง โดยเจ้าหน้าท่ีจะต้องลาดภูษาโยงก่อนแล้วเชิญประธานทอดผ้าบังสุกุล หลังจากน้ันถวายความเคารพไปยังพระบรมรูปหรือโกศ แล้วทําการเชื่อมต่อสายโยงกับภูษาโยง พระสงฆ์ ๑๐ รูป สดับปกรณ์ เสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่ถวายความเคารพไปยังพระบรมรูปหรือโกศ แล้วปล่อยสายโยงออกจากภูษาโยง และเก็บผ้าบงั สกุ ลุ ตามลาํ ดับ ๘.๔.๔ ถาม พระบรมรูป,พระรูป, พระบรมราชานุสาวรีย์, อนุสรณีย์, อนุสาวรีย์, มีข้อแตกต่างในการเรียกอย่างไร ตอบ การเรียกสิ่งเคารพที่ข้ึนต้นด้วยคําว่า “พระบรม” หมายถึงสิ่งน้ันเป็นส่ิงเคารพของพระมหากษัตริย์ นอกจากน้ันเป็นของพระบรมวงศานุวงศ์และบุคคลที่มีคุณูปการต่อแผ่นดิน พระบรมรูป, พระรูป หมายถึง รูปหล่อเต็มองค์หรือคร่ึงองค์ของพระมหาษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ พระบรมราชานุสาวรยี ์, อนุสาวรีย์ หมายถึง รูปหล่อเต็มองค์ของพระมหาษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศท์ ม่ี ภี มู ทิ ศั น์โดยรอบ อนุสรณีย์ หมายถงึ รปู หลอ่ ของพระมหากษตั ริย์หรือบุคคล เพื่อเป็นการรําลึกถึงเกยี รติคณุ ๘.๔.๕ ถาม การวางพวงมาลา และวางพานพุ่ม ใช้ในโอกาสต่างกันอยา่ งไร ตอบ การวางพวงมาลา ใช้ในโอกาสคล้ายวันสวรรคต เช่น วันปิยมหาราช,การวางพานพุ่ม ใช้ในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา หรือปรารภเหตอุ นั เป็นมงคล ซงึ่ การวางพานพมุ่ มี ๓ แบบ (ตามประกาศสาํ นกั นายกรฐั มนตร)ี คือ - ตั้งประดับที่โต๊ะหมู่ ให้วางพานพุ่มทองด้านขวามือของพระบรมฉายาลักษณ์-วางพานพุ่มเงนิ ด้านซ้ายมอื ของพระบรมฉายาลกั ษณ์ โดยให้อุบะหนั ออกมาทางผวู้ าง

-๗- - แบบเปน็ พิธีการ จะตอ้ งมโี ต๊ะตัวกลางอยูเ่ บื้องหนา้ พระบรมฉายาลกั ษณ์ โดยผู้วางจะวางใน ๒ ลักษณะ ดงั นี้ - วางพานพุ่มทองดา้ นขวามือของผู้วาง –วางพานพุ่มเงินดา้ นซา้ ยมือของผู้วาง โดยให้อุบะหนั ออกทางผู้วาง แล้วเจ้าหนา้ ท่จี ะนําพานพมุ่ ทองไปวางที่โตะ๊ ด้านขวามอื - นําพานพุ่มเงินไปวางท่ีโตะ๊ ซา้ ยมือ ของพระบรมฉายาลักษณ์ - วางพานพุ่มทองดา้ นขวามอื ของผู้วาง -วางพานพมุ่ เงินดา้ นซ้ายมือของผวู้ างโดยใหอ้ ุบะหันออกทางผวู้ าง แลว้ เจ้าหน้าทจ่ี ะนาํ พานพมุ่ ทองไปวางท่โี ต๊ะดา้ นซ้ายหรือด้านขวาของพระบรมฉายาลกั ษณ์ โดยวางเป็นคู่ ๆ ให้พานพุ่มทองอยขู่ วา พานพมุ่ เงนิ อยซู่ า้ ย เมอื่ หันหน้าออก - การวางของประธานในพิธี โดยนําไปวางที่โต๊ะหมู่ตัวกลาง เบ้ืองหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ ให้วางพานพุ่มทองด้านขวามือ - วางพานพุ่มเงินด้านซ้ายมือของผู้วาง โดยหันอุบะออกทางผู้วางแลว้ เจา้ หนา้ ท่ีจะนาํ พานพ่มุ ไปวางที่โตะ๊ ด้านซ้ายและขวา ตามภาพ ๘.๔๖ ถาม การถวายบงั คมพระบรมราชานุสาวรยี ์ กรณมี แี ทน่ รองกราบ ตอ้ งถวายบงั คมก่ีครงั้กรณีไม่มแี ท่นรองกราบต้องถวายบังคมกีค่ รง้ั ตอบ กรณีมีแทน่ รองกราบให้กราบไม่แบมอื ๑ ครงั้ กรณีไมม่ แี ทน่ รองกราบให้ถวายบงั คม ๓ ครงั้ (ตามแบบกระทรวงวัฒนธรรม) ๘.๔.๗ ถาม พธิ เี จรญิ พระพุทธมนตถ์ วายภัตตาหารพระสงฆ์ ในราชสาํ นกั มีการจัดข้าวพระพุทธไว้ดว้ ยหรือไม่ ตอบ มีการจัดข้าวพระพุทธทุกกรณี ในพิธีราชการไม่มีกล่าวคําบูชาข้าวพระพุทธ ในกรณีนิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ แล้วถวายภัตตาหาร ไม่ต้องกล่าวคําถวายสังฆทาน แต่ในกรณี นิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนตแ์ ละรับสงั ฆทาน(ไม่มีการถวายภัตตาหาร) ใหก้ ล่าวคําถวายสงั ฆทาน

-๘- ๘.๔.๘ ถาม เวลาพระถวายอดิเรก ทาํ ไมห้ามผู้รว่ มพธิ ีประนมมอื ตอบ ทุกงานท่มี ขี องพระราชทาน ผู้รว่ มพธิ จี ะต้องแตง่ เครอ่ื งแบบปกติขาว เม่ือประธานสงฆถ์ วายอดิเรกซึ่งเปน็ การถวายพระพรแด่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่เู ท่าน้นั ให้ผรู้ ว่ มพธิ ตี อ้ งลดมือลง ไม่ตอ้ งประนมมือ ๘.๔.๙ ถาม การรบั เพลิงพระราชทานของญาติ เมื่อผเู้ ชญิ เพลงิ เดินผ่าน ตอ้ งทาํ ความเคารพหรอื ไม่ ตอบ ญาตติ ง้ั แถว ต้องทาํ ความเคารพ เพราะเปน็ ของพระราชทาน ส่วนผรู้ ว่ มพิธี นง่ั อยู่ในอาการสงบ ซงึ่ มีช้ีแจงในเอกสารสาํ นักพระราชวงั อยูแ่ ลว้ ๘.๔.๑๐ ถาม ผ้าบังสุกุลผนื สุดท้ายใช้คาํ ว่า“ผา้ มหาบังสกุ ุล”ได้หรอื ไม่ หากไม่ได้ มคี าํ ใดที่เหมาะสม ตอบ ในสาํ นกั พระราชวงั ใชค้ ําเดียวคือ ผา้ ไตรบังสกุ ุล สว่ นคําอนื่ เป็นคาํ ทแ่ี ต่งข้นึ มาเพอ่ื ใหส้ มเกยี รติ ซึง่ เปน็ ธรรมชาติของภาษา ๘.๔.๑๑ เมอ่ื ฌาปนกิจแลว้ ญาติ จะนําพวงมาลาพระราชทาน ไปไว้ท่ีใด ตอบ หากญาติไม่เกบ็ ไว้ใหส้ ง่ คนื สํานกั พระราชวงั ๘.๔.๑๒ ถาม ศัพทท์ ใี่ ชเ้ รียกผเู้ ปน็ ประธานในพิธีพระราชทานเพลิงศพ มศี ัพทเ์ รียกเฉพาะหรอื ไม่ ตอบ ไม่มี ให้เรยี กตามยศ ช่ือ หรอื ตาํ แหนง่ ของผูน้ ้ัน ๘.๔.๑๓ ถาม พระสงฆ์สามารถเปน็ ประธานพิธพี ระราชทานเพลงิ ศพได้หรอื ไม่ ตอบ เปน็ การไมเ่ หมาะสม แต่หากเลีย่ งไมไ่ ด้ใหเ้ ชญิ ประธานฝา่ ยฆราวาส ขึน้ ไปพร้อมกับพระสงฆ์รปู นัน้ ๘.๔.๑๔ ถาม ประธานพธิ พี ระราชทานเพลิงศพ เม่ือจะประกอบพิธีตอ้ ง “หันหนา้ ไปทางทิศท่ีประทบั แลว้ ถวายความเคารพหรือไม่” ตอบ การหนั หนา้ ไปทางทศิ ทป่ี ระทับ เป็นการปฏบิ ตั ิตามโบราณราชประเพณี ปจั จุบันนิยมให้ผเู้ ป็นประธาน “ถวายบังคมไหว้” กอ่ นหยิบของพระราชทานในหบี เพลิงแทน ๘.๔.๑๕ ถาม หมายรับส่งั พิธีพระราชทานเพลิงศพ ถ้ามหี ลายหมายฯ ตอ้ งอา่ นทุกหมายหรอื ไม่เช่น ๑.นํ้าหลวงฯ ๒.เครอ่ื งเกียรตยิ ศฯ ๓.ไตรพระราชทาน ๔.เพลิงพระราชทาน ตอบ อยู่ที่ความเหมาะสมของเวลา โดยท่วั ไปนยิ มอ่านหมายฯ ทก่ี ําลังจะปฏิบตั ิในพิธีนั้นๆ เช่น พระราชทานเพลงิ ฯ ก็อา่ นหมายฯ พระราชทานเพลงิ ๘.๔.๑๖ ถาม ขนั้ ตอนการอา่ น “หมายรับสง่ั ” “ประวตั ิ” และ“สาํ นกึ ฯ” อยา่ งไหนอ่านก่อนหลงั สลบั กนั ได้หรือไม่ ตอบ การอ่านตามท่ีกองทัพบกปฏิบัติอยู่ถูกต้องแล้ว กล่าวคือ ลําดับที่ ๑. อ่านหมายรับสงั่ ฯ เพอ่ื ใหร้ ู้วา่ ได้รับพระกรุณาฯ โปรดเกล้าฯ อะไร, ลาํ ดบั ที่ ๒.อา่ นสํานกึ ฯ เพื่อแสดงความสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณและจงรักภักด,ี ลําดบั ท่ี ๓. อ่านประวตั ิ คําไว้อาลัย เพื่อรําลึกถึงเกียรติคุณผวู้ ายชนม์ สําหรับคําชี้แจงทม่ี ากบั หีบเพลงิ ฯ เปน็ การแนะนําทีเ่ กดิ ขนึ้ ภายหลัง

-๙- ๘.๔.๑๗ ถาม การอา่ นหมายรบั ส่งั มีหลักในการอ่านอยา่ งไร ตอบ ใหอ้ ่านตามหลักการอ่านหนังสอื ทวั่ ไปตามลาํ ดับ ๘.๔.๑๘ ถาม กรณีผูต้ ายไดร้ ับพระราชทานเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ ในวนั พระราชทานเพลงิ ศพถ้าญาตติ ้องการนาํ เครื่องราชอิสริยาภรณไ์ ปวางหนา้ หีบศพบนเมรุได้หรือไม่ ตอบ เครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์ หรอื พวงมาลาพระราชทาน เป็นของพระราชทาน ใหว้ างหนา้ หบี ศพหรอื โกศศพ ในศาลาบําเพ็ญกศุ ลเพ่ือเปน็ เกยี รติแก่ผ้ถู งึ แก่กรรมแลว้ ในวันพระราชทานเพลงิ ไมม่ ธี รรมเนียมนําไปต้ังบนเมรุ ๘.๔.๑๙ ถาม ในการวางเครือ่ งบูชาให้วางแจกนั ดอกไมส้ ูงกวา่ พานพมุ่ มีหลักการอยา่ งไร ? ตอบ เครื่องบูชาในการบูชาสิ่งหรือบุคคลท่ีเคารพบูชา มี ๓ อย่าง คือ เทียน ธูป และดอกไม้ แจกันดอกไม้ และพานพุ่ม อยู่ในส่วนเดียวกัน คือดอกไม้ การจัดต้ังให้จัดต้ังตามความเหมาะสม, ความสวยงาม และตามคาํ สั่ง ทบ. ท่ี ๒/๒๕๕๗ ลง ๖ ม.ค.๕๗ ๘.๔.๒๐ ถาม ทําไมวนั สถาปนาหน่วยนยิ มนมิ นต์พระสงฆ์ ๙ – ๑๐ รูป (ไมเ่ ทา่ กัน) ? ตอบ พิธีวนั สถาปนาหน่วยที่เน่ืองดว้ ยพระมหากษตั ริย์ นมิ นต์พระสงฆ์ ๑๐ รปู และพธิ ีวนั สถาปนาหน่วยทมี่ ีการบาํ เพญ็ ทักษิณานปุ ระทานอุทิศกศุ ลแกข่ า้ ราชการท่ีเสียชวี ติ ดว้ ย นมิ นต์พระสงฆ์ ๑๐ รปูในกองทพั บกใหป้ ฏิบตั ิแบบเดยี วกัน คอื นมิ นตพ์ ระสงฆ์ ๑๐ รูป ๘.๔.๒๑ ถาม ในการลาดภูษาโยงสดบั ปกรณ์ ในบางพธิ ีมกี ารลาดผ้าขาวรองก่อน บางพธิ ีไม่มี ? ตอบ กรณีสดบั ปกรณ์ เพื่ออุทศิ กศุ ลแดพ่ ระมหากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศานวุ งศ์ตอ้ งลาดผ้าขาวก่อนเสมอ และให้ผู้เปน็ ประธานพธิ ที อดผ้าให้เสร็จกอ่ น เจ้าหน้าทศี่ าสนพิธกี รค่อยเช่ือมต่อสายโยงจากพระบรมรปู กบั ภูษาโยง หลงั จากนนั้ พระสงฆจ์ งึ สดบั ปกรณ์ ๘.๔.๒๒ พิธที าํ บญุ วนั สงกรานต์ บางหน่วยนยิ มกรวดนํ้าลงบนรายชือ่ ผู้ตาย ? ตอบ เป็นการปฏิบตั ติ ามความนยิ มของท้องถิ่น ในทางราชการไม่นิยมปฏิบตั ิเชน่ น้ัน ๘.๔.๒๓ การรบั เสดจ็ - ส่งเสด็จ ควรเดนิ ดา้ นซา้ ยหรือดา้ นขวา ? ตอบ ปกตเิ ดนิ ทางดา้ นซ้ายของพระองค์ เปน็ หลกั ๘.๔.๒๔ คาํ บชู าขา้ วพระพุทธ ใช้ “ปเู ชมิ” หรอื “ปเู ชมะ” อยา่ งไหนถกู ? ตอบ คําบชู าขา้ วพระพทุ ธ ใชค้ าํ ว่า “ปเู ชม”ิ เพอ่ื รักษาตนั ติท่โี บราณาจารย์ไดว้ างไว้ ๘.๔.๒๕ เทียนขาว เทยี นเหลอื ง เทยี นข้ผี ง้ึ และเทียนสตี ่างๆ การใช้อย่างถกู ต้อง คืออยา่ งไร ? ตอบ เทยี น เป็นเคร่ืองสกั การะอย่างหน่งึ ใชไ้ ดท้ ุกสี ถือเปน็ สง่ิ บชู าทง้ั สิน้ แตใ่ นทางราชการนยิ มใชเ้ ทียนข้ีผึ้งแท้ หรอื เทียนสเี หลอื ง ๘.๔.๒๖ ถาม อศจ. รับราชการใหม่บรรจุชายแดน ยงั ไมร่ บั การประดับยศ จําเปน็ ต้องปฏิบัตพิ ธิ ีในพิธปี ฎญิ าณตนต่อธงชยั เฉลมิ พล ๑๘ ม.ค. จะต้องแต่งกายอย่างไร ? ตอบ ชุดข้าราชการกลาโหมพลเรอื น แขนยาว

-๑๐- ๘.๔.๒๗ ถาม ในพิธีแสดงตนเปน็ พุทธมามกะของทหารใหม่ ผถู้ วายไทยธรรมและกรวดนํ้า ควรจะเปน็ ประธาน หรือตัวแทนทหารใหม่ ? ตอบ การปฏิบตั ทิ ว่ั ไป การถวายไทยธรรม จะมผี ูบ้ งั คบั บัญชาตามลําดับชั้น ๔ นายและผแู้ ทนทหารใหม่ ๑ นาย เปน็ ผู้ถวาย สว่ นการกรวดน้ําปฏิบัติ ๒ คน คือประธานในพธิ แี ละผู้แทนทหารใหม่ ๘.๔.๒๘ ถาม ในการฌาปนกจิ ศพไม่นยิ มใหพ้ อ่ แม่ขึ้นวางดอกไม้จนั ทนท์ ห่ี นา้ ศพบุตรธิดา มีหลักฐานทางพทุ ธศาสนาหรือไม่ ? ตอบ ไม่มหี ลกั ฐานทางพระพุทธศาสนากําหนดไวเ้ ช่นนน้ั / สามารถปฏบิ ัติได้ แต่ท่ีไม่ปฏบิ ัติเนอ่ื งจากเปน็ ความออ่ นไหวทางดา้ นจติ ใจ หรอื เปน็ ความเชอ่ื ประจาํ ท้องถิน่ หรือความเชื่อสว่ นบคุ คล ๘.๔.๒๙ การขนึ้ ลงบันไดเมรุ ปฏบิ ัติไมเ่ หมือนกนั ทั่วประเทศ ทีถ่ กู ควรเปน็ อยา่ งไร ? ตอบ การขน้ึ ลงบันไดเมรุ ท่เี หมาะสมคอื ขน้ึ ทางบันไดข้าง ๒ ด้าน แลว้ ลงทางบันไดกลางด้านหน้าเพือ่ จะได้ทาํ ความเคารพประธาน และรับการขอบคณุ จากคณะเจ้าภาพไดส้ ะดวก หรอื ปฏบิ ตั ติ ามธรรมเนียมการปฏบิ ัติของวัด ๘.๔.๓๐ ถาม ในการชกั ผา้ บังสุกุล ทําไมบางครั้งใชค้ าํ วา่ สดับปกรณ์ ? ตอบ สดับปกรณ์ หมายถงึ บังสุกุล ใชส้ าํ หรบั พระบรมศพและพระบรมอฐั ิของพระเจ้าแผ่นดนิ และพระศพ พระอฐั ขิ องพระราชวงศ์ ตัง้ แตช่ ัน้ หม่อมเจ้าขึ้นไป ๘.๔.๓๑ ถาม ในการถวายสกั การะพระอนุสาวรยี ์ประจําหน่วยมกี ารถวายมาลยั พระกร จุดเคร่อื งทองนอ้ ย และการบวงสรวง จะเรม่ิ ด้วยการทาํ อะไรกอ่ น ? ตอบ การถวายสักการะพระอนสุ าวรีย์ ใหป้ ฏบิ ัติดังน้ี ถวายมาลยั พระกร จดุ เคร่ืองทองนอ้ ย และประกอบพธิ บี วงสรวง ตามลาํ ดับ ๘.๔.๓๒ ถาม ในพิธหี ลงั่ นํ้าสังข์ ระหวา่ งประธานกับค่บู ่าวสาว ใครควรเปน็ ผจู้ ุดธูปเทยี น ? ตอบ ประธานในพธิ ี เปน็ ผู้จดุ ธูปเทียนบูชาพระ กราบพระ แล้วคู่บา่ ว-สาว กราบตอ่ จากประธานในพธิ ี การทใี่ หป้ ระธานในพิธเี ป็นผูจ้ ุดธูปเทยี นบชู าพระ กเ็ พือ่ ท่านจะได้นําความเปน็ สริ มิ งคลจากองค์พระไปประสทิ ธิ์ประสาทให้กบั คู่บ่าว-สาว ๘.๔.๓๓ ถาม ในพธิ ขี อขมาลาอุปสมบทของขา้ ราชทหาร กรณที ีม่ ีกําลังพลอายมุ ากกวา่ ผบ.หน่วย การกราบบุคคลดเู ป็นการสมควรหรือไม่ ? ตอบ สมควร เพราะการแสดงความเคารพต่อกนั นน้ั ให้พิจารณาถงึ วัยวฒุ ิ คุณวฒุ ิ และชาตวิ ุฒิ ผบ.หนว่ ยอาจอายุนอ้ ยกว่า แต่คณุ วุฒิ และชาติวุฒิ อาจสูงกวา่ ผอู้ ุปสมบท ๘.๔.๓๔ การจดุ ธูปเทยี นในพธิ บี วงสรวงสง่ิ ศักดสิ์ ิทธ์ต่างๆ จาํ นวนธูปและเทียน มกั มจี ํานวนไม่เทา่ กัน ยึดถอื อะไรกําหนดเป็นมาตรฐาน ? ตอบ บูชาพระพรหม ใช้ธปู ๔, ๘ หรอื ๑๖ ดอก พระพรหมมี ๔ หนา้ หรอื พรหมมี๑๖ ช้ัน บชู าพระภูมิ ใช้ธปู ๙ ดอก เพือ่ บชู าพระภมู ทิ ้ัง ๙ องค์ มีพระชยั มงคล เปน็ ตน้

-๑๑- ๘.๔.๓๕ ถาม ปจั จบุ นั ปรากฏว่า ยังมีบางหน่วยไดอ้ ัญเชิญ พระบรมรปู พระรปู ไปประดษิ ฐานไว้บนศาลพระภูมิ เปน็ การเหมาะควรและสามารถทําได้หรอื ไม่ ? ตอบ เป็นการไม่เหมาะสม และไม่ควรกระทาํ ๘.๔.๓๖ ถาม อนุสาวรีย์คร่งึ องค/์ เต็มองค์ ประดษิ ฐานไว้กลางแจ้งและในอาคารมขี อ้ กาํ หนดอยา่ งไร ? ตอบ ตามปกติการสรา้ งอนสุ าวรยี ์ มีขอ้ กําหนดแน่นอนอยแู่ ลว้ วา่ จะสรา้ งแบบใดและประดิษฐานไว้ที่ใด ต้องขอพระบรมราชานุญาตก่อน เม่ือได้รับพระบรมราชานุญาตแล้ว จึงดําเนินการได้ กรณีที่ไม่ได้ขอพระบรมราชานุญาต โดยมากอนุสาวรีย์ครึ่งองค์ นิยมอัญเชิญประดิษฐานไว้ในอาคาร ส่วนอนุสาวรีย์เตม็ องค์ นิยมอัญเชิญประดษิ ฐานไว้กลางแจ้ง หรือตามความประสงคข์ องคณะบคุ คลผจู้ ดั สรา้ ง ๘.๔.๓๗ ถาม ปัจจุบันปรากฏวา่ ยังมีบางหนว่ ยนาํ ผ้าสามสไี ปผกู ไวท้ ี่พระอนุสาวรีย์ ประจําหนว่ ยเปน็ การถกู ต้องหรอื ไม่ ? ตอบ ไม่ถูกตอ้ ง ผ้าสามสี นยิ มใช้กับศาลพระภมู ิ หรอื ศาลอนื่ ๆ ๘.๔.๓๘ ถาม ในพธิ ีสรงน้าํ พระวนั สงกรานตไ์ มม่ ีการนิมนตพ์ ระสงฆ์ในพธิ ี ในกรณีหน่วย มีพระพทุ ธรูปหลายองคแ์ ละมีพระพุทธสิงห์ชัยมงคลด้วย ควรจัดในรูปแบบ ลําดบั พธิ อี ย่างไร ? ตอบ ในกรณีดังกล่าวให้จัดเฉพาะพิธีสรงนํ้าพระ โดยอัญเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานตามลําดับ เริม่ จากพระพทุ ธสิงห์ชัยมงคล เปน็ ลาํ ดับแรก ลาํ ดบั พธิ ี ประธานจุดธปู เทียนบูชาพระ, อศจ.นํากล่าวคําบูชาพระ กราบพระ และนํากล่าวคําขอขมาพระรัตนตรัย, ประธานในพิธีถวายมาลัย และสรงน้ําพระ,ผูบ้ ังคับบญั ชาและผู้ร่วมพธิ ี รว่ มสรงน้ําพระตามลําดบั ๘.๔.๓๙ ถาม ในการวงด้ายสายสญิ จนร์ อบตวั อาคาร, รอบพระพุทธรูป, รอบบาตรน้ํามนต์ นิยมวงเปน็ รปู ลกั ษณะเลข ๑ ไทย ทําเพ่อื อะไร ? ตอบ เพ่ือนําความเป็นมงคลจากองค์พระแผ่ไปท่ัวอาณาบริเวณท่ีจัดงาน ในการวงด้ายสายสิญจน์ของทางราชการ (กรมการศาสนา) นิยมวงรอบฐานโต๊ะหมู่ตัวประดิษฐานพระพุทธรูป เพราะการใช้สายสิญจน์มัดองคพ์ ระดูไม่เหมาะสม ๘.๔.๔๐ ถาม อาหาร ยารักษาโรค ของขบฉัน ต้องประเคนก่อน หม้อนํ้ามนต์ บาตรน้ํามนต์ทําไมต้องประเคนดว้ ย ? ตอบ เพอื่ ถวายสิทธ์ิใหพ้ ระสงฆ์ปฏิบตั ไิ ดส้ ะดวก ไม่ตอ้ งกงั วลว่าจะทาํ สิง่ ของของผู้อ่นื ให้เสียหาย ๘.๔.๔๑ ถาม การเวียนเทียนในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา จุดธูปเทียนก่อนเวียนหรือเวียนเสรจ็ แลว้ ค่อยจดุ ? ตอบ ให้ปฏิบัติตามลําดับพิธี ประธานในพิธีจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย, พระสงฆ์ให้โอวาท, ประธานในพธิ ีถวายไทยธรรม,พระสงฆอ์ นุโมทนา,ประธานกรวดนํ้า-รับพร,จดุ ธปู เทียนท่ีจะนาํ เวยี นเทียน,กล่าวคําบูชา, เดินเวียนประทักษิณ ๓ รอบ, นําเครื่องสักการะไปวาง ณ จุดที่จัดไว้รองรับเครื่องบูชา, สวดมนต์,แผ่เมตตา และกลา่ วถวายพระราชกุศล

-๑๒- ๘.๔.๔๒ ถาม ในพิธีเวียนเทียนบางหน่วยใช้เวียนรอบองค์พระทหี่ น่วยหรอื ศาสนสถานของหนว่ ยที่ถูกควรเปน็ อย่างไร จะขัดกับหลักปฏิบัติโดยท่วั ไปหรอื ไม่ ? ตอบ จุดมุง่ หมายของการประกอบพธิ ีเวียนเทียน คือ การบูชาพระรตั นตรัยจะประกอบพิธีเวียนรอบองค์พระทหี่ นว่ ย, ศาสนสถานของหนว่ ย หรอื จะประกอบพธิ ีท่ีวดั ก็ได้ ๘.๔.๔๓ ถาม ในพธิ ีเวียนเทียนบางวดั นยิ มจัดที่บูชาหน้าอุโบสถ บางวัดเข้าไปจดุ หนา้ พระประธานในอโุ บสถทถ่ี กู ควรเป็นอย่างไร ? ตอบ สามารถดาํ เนินการได้ทงั้ ๒ วธิ ี ตามความเหมาะสมของสถานที่ ๘.๔.๔๔ ถาม พธิ ีการแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะของทหารใหม่ ควรดาํ เนนิ การเป็นผลัดหรอืประจําปี ? ตอบ ดําเนนิ การทกุ ผลัด เพ่ือใหท้ หารใหมท่ กุ คนได้มโี อกาสเขา้ รว่ มพธิ ี ๘.๔.๔๕ ถาม พธิ กี ารแสดงตนเป็นพุทธมามกะของทหารใหม่ บางหนว่ ยอาจมผี บู้ งั คับบัญชาแยง้ ว่า ทหารเปน็ ชาวพทุ ธอยู่แลว้ จะทําไปทําไม จะอธบิ ายวา่ อยา่ งไร ? ตอบ ทหารใหม่เป็นพุทธศาสนิกชนอยู่แล้วก็จริง แต่ไม่ได้ผ่านพิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ เม่ือเข้าพิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะแล้ว จะทําให้ความเป็นพุทธมามกะม่ันคงย่ิงขึ้นและพร้อมที่จะปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนามากย่ิงขึน้ ๘.๔.๔๖ ถาม คาํ วา่ อุทศิ ถวายเปน็ พระราชกุศล และ อุทศิ ถวายแด่ ใช้ตา่ งกันหรอื เหมือนกัน ? ตอบ การใชค้ าํ “พระราชกศุ ล” มีหลกั ดังน้ี (น.อ.ทองยอ้ ย แสงสนิ ชัย ร.น.) - ถ้าพระเจ้าแผ่นดินทรงทําบุญเอง (คําสามัญว่าพระเจ้าแผ่นดินเป็นเจ้าภาพจะเสด็จฯ เอง หรือโปรดเกล้าฯ ให้ผู้อื่นปฏิบัติแทนก็ตาม) เรียกว่า “ทรงบําเพ็ญพระราชกุศล” เช่น ทรงบําเพ็ญพระราชกุศลสตั ตมวารพระราชทานพระศพสมเดจ็ พระญาณสังวร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก - ถ้าผู้อ่ืนทําบุญแล้วอุทิศถวายพระเจ้าแผ่นดิน เรียกว่า “ถวายพระราชกุศล”เชน่ พุทธบริษัทชวนกนั ปฏิบตั ิธรรมถวายพระราชกศุ ลแด่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั - ถ้าเป็นงานบุญของพระเจ้าแผ่นดิน และมีช่องทางท่ีผู้อ่ืนจะร่วมบุญนั้นได้ด้วยเช่น การบริจาคเงินในการถวายผา้ พระกฐินพระราชทาน เรียกว่า “โดยเสด็จพระราชกศุ ล” ๘.๔.๔๗ ถาม ระเบียบการขอพระพุทธสิงหช์ ยั มงคลไว้ประจําหนว่ ยใหม่ มีขั้นตอนอยา่ งไร ? ตอบ หนว่ ยทร่ี บั ผดิ ชอบคุมยอดพระพุทธสิงหช์ ยั มงคล คอื กร.ทบ. หนว่ ยทีเ่ ก็บรักษาพระพทุ ธสงิ หช์ ัยมงคล คือ พธ.ทบ. ใหห้ น่วยส่งเรือ่ งขอรบั การสนบั สนุนพระพทุ ธรูปบูชาประจาํ หน่วย ประจํากองร้อย ถึง จก.กร.ทบ. เมอื่ กร.ทบ. อนุมัตแิ ลว้ พธ.ทบ. จะเปน็ หน่วยแจกจ่าย ๘.๔.๔๘ ถาม ระเบียบการส่งคนื พระพุทธสงิ ห์ชัยมงคลรนุ่ เก่า มขี นั้ ตอนอยา่ งไร ? ตอบ หนว่ ยใน ทภ. มหี นังสอื สง่ คนื พระพทุ ธสงิ หช์ ัยมงคลไปที่ ทภ. และ ทภ. มเี อกสารสง่ คนื ถงึ พธ.ทบ. สาํ หรับหนว่ ยทไี่ มไ่ ดส้ ังกดั ทภ. ให้มีหนงั สอื สง่ คนื ถงึ หน่วยเหนอื ตามลําดับจนถงึ ระดับ นขต.ทบ. และหน่วย นขต.ทบ. มหี นังสอื สง่ คนื ถงึ พธ.ทบ. (ทุกขนั้ ตอนใหส้ ําเนาให้ ยศ.ทบ.ทราบเพื่อชว่ ยติดตามเรื่อง)

-๑๓- ๘.๔.๔๙ ถาม ในวนั สถาปนาหน่วย บางหน่วยนยิ มถวายตาลปตั รท่รี ะลึกแกพ่ ระสงฆด์ ว้ ยควรถวายในขนั้ ตอนใด และใครควรเปน็ ผูถ้ วาย ? ตอบ การถวายตาลปัตร ในวันสถาปนาหนว่ ย ควรถวายในข้ันตอนทป่ี ระธานในพธิ ี จุดธูปเทียนบชู าพระรัตนตรยั , จดุ เครือ่ งทองน้อย (ถ้ามี), ถวายตาลปตั ร, กลบั เข้าทีน่ ัง่ รับรองตอ่ จากนัน้ อศจ. จึงอาราธนาศีล ฯลฯ ๘.๔.๕๐ ถาม ในพธิ วี ันสถาปนาหนว่ ย บางหน่วยก็ถวายขา้ วพระพทุ ธ บางหน่วยกไ็ ม่ถวายถ้าถวาย ควรถวายในขั้นตอนใด และมเี หตผุ ลในการถวายวา่ อย่างไร ? ตอบ กรณจี ัดภัตตาหารเช้าถวายพระสงฆฉ์ ันในพธิ กี าร การตัง้ บชู าข้าวพระพุทธควรนาํ ไปต้งั เมอ่ื พระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนตจ์ บ แล้วนํากลา่ วถวายสงั ฆทาน แล้วเรยี นเชญิ ประธานในพิธถี วายภัตตาหารแดพ่ ระประธานสงฆ์ และเชิญผ้รู ว่ มพิธีถวายแด่พระอนั ดับ ๘.๔.๕๑ ถาม ทหารเสยี ชวี ติ ในการปฏิบตั หิ น้าที่ ระเบยี บการคลุมศพด้วยธงชาตมิ ีไวอ้ ย่างไร ? ตอบ ประกาศกระทรวงกลาโหม เรอื่ ง ช้ีแจงการใชธ้ งชาติคลมุ ศพ หบี ศพ หรอื ทีเ่ กบ็อัฐิผู้เสยี ชวี ติ เนอ่ื งจากการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีราชการ ลง ๒๒ พ.ค.๒๗ เน่อื งดว้ ยได้มีระเบียบทหาร วา่ ด้วยทหารและตาํ รวจปว่ ยเจ็บและมรณะในราชการสนาม ท่ี ๒ ลงวนั ท่ี ๑๐ มกราคม ๒๔๘๔ และระเบียบจดั การศพทหาร ของกรมบญั ชาการทัพใหญท่ ่ี ๑/๒๔๘๗ลง วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๔๘๗ แตร่ ะเบียบดังกล่าว มิได้กําหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารเกยี่ วกบั การใชธ้ งชาติคลมุศพ, หบี ศพ หรือทีเ่ กบ็ อัฐผิ ้เู สยี ชวี ิตเน่ืองจากการปฏบิ ัติหน้าทร่ี าชการไว้อยา่ งชดั เจน ซึ่งทาํ ให้มีการปฏิบัติแตกตา่ งกนั ระหว่างส่วนราชการต่างๆ ในสงั กดั กห. ฉะนั้น จึงสมควรกําหนดหลักเกณฑ์การใช้ธงชาติคลมุ ศพหีบศพ หรือทเี่ ก็บอัฐิผ้เู สียชวี ติ เน่อื งจากการปฏิบัตหิ น้าทรี่ าชการ เพื่อถือปฏบิ ตั ิเปน็ แนวเดียวกันไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ผเู้ สียชวี ติ ทค่ี วรไดร้ ับเกียรตใิ ห้ใช้ธงชาติคลุมศพ หบี ศพ หรือที่เก็บอฐั ิ ได้แก่ผทู้ ่ีเสียชวี ติ เนอ่ื งจากการปฏบิ ตั หิ น้าทร่ี าชการ ซ่งึ การเสียชีวติ นั้นมไิ ด้เกิดจากความประมาทเลนิ เลอ่ อยา่ งรา้ ยแรงหรอื เกดิ จากความผดิ ของตนเอง ขอ้ ๒ ธงชาติทีใ่ ชค้ ลมุ ศพ คลมุ หบี ศพ ทาํ ด้วยผา้ มขี นาดกวา้ ง ๑๒๐ เซนตเิ มตรยาว ๑๘๐ เซนตเิ มตร ธงชาติทีใ่ ช้คลุมทเ่ี กบ็ อฐั ใิ ห้ใช้ขนาดตามความเหมาะสม ข้อ ๓ การใชธ้ งชาตคิ ลุมศพใหใ้ ชใ้ นกรณดี ังตอ่ ไปนี้ ๓.๑ ในพธิ รี บั พระราชทานนาํ้ อาบศพ ๓.๒ ในพธิ รี ดนาํ้ ศพ ข้อ ๔ การใชธ้ งชาติคลุมหีบศพ หรือท่เี ก็บอัฐิ ใหใ้ ชใ้ นกรณดี งั ตอ่ ไปนี้ ๔.๑ ในการเชิญศพเพ่ือทาํ พธิ ีรับพระราชทานนํา้ อาบศพหรือพิธรี ดนาํ้ ศพ ๔.๒ ในระหวา่ งทาํ พิธบี ําเพ็ญกุศลศพทางศาสนาของแตล่ ะศาสนาและการเชญิศพไปฝงั

-๑๔- ขอ้ ๕ การใช้ธงชาตคิ ลมุ ศพ หีบศพ หรือที่เกบ็ อฐั ิ ใหป้ ฏิบตั ิดงั ตอ่ ไปนี้ ๕.๑ การคลุมศพ คลมุ ตามความยาวของศพใหข้ อบธงชาตดิ ้านคันธงอยู่ทางศีรษะของศพ ๕.๒ การคลมุ หบี ศพ คลุมทางด้านขวางของหีบศพ ในกรณที สี่ ามารถมองเหน็ชายธงชาติได้ทงั้ สองชาย ต้องให้ชายธงชาติเสมอกบั ขอบลา่ งของหบี ศพท้งั สองขา้ ง สว่ นกรณที สี่ ามารถมองเหน็ชายธงชาตเิ พยี งดา้ นเดยี ว ตอ้ งใหช้ ายธงชาติด้านทีม่ องเห็นเสมอกบั ขอบดา้ นลา่ งของหีบศพ สําหรบั โกศหรอื หบีท่ีไดร้ ับพระราชทานประกอบเกยี รติยศแก่ศพ ไมใ่ ช้คลมุ แตใ่ หพ้ ับธงชาติวางบนพานทอง ต้งั ไว้หน้าโกศหรือหบี ในระดับพองาม ๕.๓ การคลุมท่ีเกบ็ อฐั ิ อนโุ ลมตามความเหมาะสม ข้อ ๖ การปลงศพในทะเล ใหก้ องทพั เรอื ปฏิบตั ติ ามประเพณีชาวเรือ ขอ้ ๗ การใช้ธงชาตคิ ลุมศพ หีบศพ หรือทเี่ ก็บอัฐิ จะต้องไม่ใหเ้ ปน็ การเสื่อมเสียเกียรติแกธ่ ง ข้อ ๘ การทาํ พธิ ฝี ังหรือบรรจศุ พที่มีธงชาติคลมุ หีบศพ เมอ่ื จะทําการฝังหรือบรรจุใหเ้ ชิญธงทคี่ ลมุ หีบศพพับเกบ็ ให้เรยี บร้อย โดยมใิ หส้ ว่ นหน่ึงสว่ นใดของธงสัมผัสพื้นดนิ ๘.๔.๕๒ ถาม การกลา่ วคาํ ถวายสงั ฆทาน บางวัดไมน่ ิยมคําแปล ทถี่ ูกควรเปน็ อยา่ งไร และจะแก้ปัญหานีอ้ ยา่ งไร ? ตอบ การกลา่ วคาํ ถวายสังฆทาน สามารถกลา่ วคําถวายเปน็ ภาษาบาลีล้วน หรอื กลา่ วคาํ ถวาย ท้งั ภาษาบาลแี ละคาํ แปล ก็ไดท้ ้ัง ๒ อยา่ ง วัดใดมธี รรมเนียมการปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร กป็ ฏิบตั ิไปตามธรรมเนียมของวัด หนว่ ยในกองทพั บก ปฏิบตั ติ ามหนังสือศาสนพิธขี องกองทัพบก คือ กลา่ วทง้ั ทเี่ ป็นภาษาบาลีและคําแปล ๘.๔.๕๓ ถาม ในการประพรมน้ําพระพุทธมนต์ บางวัดประธานสงฆ์ให้พรมนาํ้ มนต์ในขณะเจริญพระพทุ ธมนตย์ งั ไมจ่ บ ที่ถูกควรเป็นอย่างไร และจะแกป้ ญั หาน้ีอยา่ งไร ? ตอบ การประพรมน้ําพระพุทธมนต์ ในพธิ กี ารของกองทัพบก ปฏิบตั ิเมื่อพระสงฆ์อนโุ มทนาจบ เรียนเชิญประธานในพิธกี ราบพระรัตนตรัย แล้วนมิ นต์พระสงฆ์ประพรมนาํ้ พระพทุ ธมนต์ ผู้ปฏบิ ตั ิพิธกี ารต้องเรยี นลําดับพธิ ีการให้ประธานสงฆแ์ ละพระสงฆท์ ราบกอ่ น เพ่อื ให้การปฏิบัติเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย ๘.๔.๕๔ ถาม ในพธิ ีอปุ สมบทนาคหมูเ่ ป็นจาํ นวนมาก พระอนุสาวนาจารยใ์ หร้ บั ศีลพรอ้ มกัน แต่จัดให้สวดญตั กิ รรมครั้งละ ๑๐ รปู ถูกต้องตามวินยั หรือไม่ ? ตอบ ตามพระวินัย การสวดญัตจิ ตุตถกรรมวาจาในพธิ อี ุปสมบท ชดุ ละไม่เกิน ๓ รปูตอ้ งปฏบิ ัตติ ามพระวินัย

-๑๕- ๘.๔.๕๕ ถาม ในพธิ ที อดกฐนิ ปรากฏวา่ มปี ญั หาความเหน็ ทีไ่ ม่ตรงกนั ของปราชญท์ างศาสนาและพระเถระบางรปู ในเรือ่ งภิกษุจาํ พรรษาไมค่ รบ ๕ รูป กส็ ามารถรับกฐนิ ได้ พระวนิ ัยวา่ ไวอ้ ยา่ งไร ? ตอบ มตหิ ลักๆ ของพระอรรถกถาจารยเ์ กยี่ วกับเรือ่ งรับกฐนิ (น.อ.ทองย้อยแสงสินชยั ร.น.) - จํานวนพระทจ่ี ะรบั กฐินได้ อย่างต่ําตอ้ ง ๕ รปู - พระที่เขา้ พรรษาตน้ (ปรุ มิ พรรษา) เท่านั้นท่ีมีสทิ ธร์ิ ับกฐนิ พระท่ีเข้าพรรษาหลัง (ปัจฉมิ พรรษา) ไมม่ สี ิทธิ์รบั กฐนิ - พระที่เข้าพรรษาตน้ ถ้าพรรษาขาด เช่นในระหวา่ งเขา้ พรรษาไปคา้ งแรมนอกเขตที่กําหนดจําพรรษาโดยไมเ่ ข้าเกณฑท์ ่ี ได้รับยกเวน้ หรือออกไปนอกเขตที่กาํ หนดจําพรรษาก่อนจะรุ่งอรุณ เป็นต้น กไ็ ม่มสี ทิ ธร์ิ บั กฐิน - วัดทีม่ พี ระจาํ พรรษาไมถ่ งึ ห้ารปู จะไปนมิ นต์พระวัดอน่ื มาให้ครบหา้ รูปเพอื่ รบั กฐนิ ไมไ่ ด้ - ถา้ พระท่เี ข้าพรรษาตน้ มีไม่ครบหา้ รปู และในวดั เดยี วกนั นน้ั มพี ระที่เข้าพรรษาหลังอยดู่ ว้ ย สามารถเอาพระทีเ่ ข้าพรรษาหลังมารว่ มสังฆกรรมกฐินเพอื่ ใหค้ รบห้ารูปได้ พระที่เขา้ พรรษาหลังนน้ั แมม้ าร่วมสังฆกรรมได้ แต่ก็ยงั คงไม่ได้รับอานสิ งสก์ ฐนิ อยนู่ ั่นเอง ข้อน้ีอาจจะเปน็ ที่มาของความเข้าใจทว่ี า่ นิมนต์พระจากทีอ่ ่ืนมาให้ครบห้ารูปก็รบั กฐินได้ “พระจากทอ่ี ื่น” ทจี่ ะนิมนต์มาใหค้ รบหา้ รูปเพอ่ื รับกฐินได้นัน้ กค็ อื พระทจ่ี าํ พรรษาหลงั ในวดั เดยี วกนัเท่าน้นั - ถ้าในวัดนั้นมสี ามเณรอายุครบบวช และสามเณรนัน้ บวชเป็นพระหลงั จากเขา้ พรรษาตน้ แลว้ จงึ ไปเข้าพรรษาหลัง พระท่ีมาจากสามเณรเช่นน้กี ็สามารถเข้ารว่ มสงั ฆกรรมกฐินเพือ่ ใหค้ รบหา้ รูปได้ เช่นเดียวกัน ทงั้ ได้รบั อานสิ งสก์ ฐินดว้ ย เรียกวา่ มีสิทธ์ริ ับกฐินไดโ้ ดยสมบูรณ์นนั่ เอง - ในกรณีทพี่ ระในวัดน้ันมจี ํานวนครบห้ารูปแลว้ ก็จรงิ แตไ่ มร่ ้วู ิธีรับกฐินท่านอนญุ าตให้ไปนมิ นตพ์ ระที่ร้วู ธิ ีมาเป็นผ้ดู ําเนินการให้ คือมาสอนวธิ ีสวด สอนวธิ ีกรานกฐินให้ได้ แตพ่ ระทม่ี าแนะนาํ นั้นกไ็ ม่มีสทิ ธทิ์ จี่ ะได้รบั อานสิ งสก์ ฐินในวดั น้ัน ๘.๔.๕๖ ถาม ในการร่วมพธิ ีกฐินพระราชทาน ประธานและผู้ร่วมพิธสี วมรองเท้าเข้าไปในพระอโุ บสถ ในขณะทคี่ ณะสงฆ์ไม่สวมอาจดไู ม่เหมาะ ถ้าคดิ วา่ เราเป็นชาวพทุ ธ ที่ปฏบิ ัติกนั ถกู ตอ้ งหรือยัง มีเหตผุ ลอยา่ งไร ? ตอบ เป็นธรรมเนยี มการปฏบิ ัตใิ นพธิ ีถวายผ้าพระกฐนิ พระราชทาน จงึ ถอื ว่าปฏิบตั ถิ กู ต้อง (ราชานวุ ตฺตติ ุ อนุวรรตตามฝ่ายบา้ นเมือง)

-๑๖- ๘.๔.๕๗ ถาม บุคคลทใี่ ช้เครือ่ งทองนอ้ ยต้ังหนา้ ศพได้ ทถี่ กู ตอ้ งควรเป็นบคุ คลต้งั แต่ระดบั ใด ขน้ึไป มเี หตุผลอยา่ งไร ? ตอบ เครอ่ื งทองนอ้ ย เดิมพระมหากษตั รยิ ท์ รงใช้เป็นเครอ่ื งสกั การะพระบรมศพพระบรมอฐั ิ แตป่ ัจจบุ ันใชไ้ ด้ทัว่ ไป ทง้ั พระมหากษัตรยิ ์ พระบรมวงศานุวงศ์ พระสงฆ์ และสามญั ชน นิยมใช้ในกรณีต่อไปนี้ - บูชาพระบรมสารรี กิ ธาตุ - สักการะพระบรมศพ พระบรมอัฐิ หรอื พระบรมรูปพระมหากษตั ริย์ - เคารพศพ อัฐิ หรอื รูปของผู้ทล่ี ่วงลบั ไปแลว้ - บูชาพระธรรมในพิธีเทศน์ การตัง้ และการจัดเครือ่ งทองนอ้ ยเพ่อื บชู า - จะบูชาสง่ิ ใดใหต้ ง้ั หันด้านพุ่มดอกไมไ้ ปทางส่ิงน้นั - เจา้ ภาพเคารพศพ หรืออฐั ิ ตงั้ หนั พุม่ ดอกไมเ้ ขา้ หาศพหรอื อฐั ิ - ถ้าตอ้ งการให้ศพหรืออัฐบิ ชู าพระ ให้ต้ังหนั ดา้ นธูปเทียนเข้าหาศพหรอื อัฐิ - การจดุ เครอื่ งทองน้อยใหจ้ ุดธปู ก่อนแลว้ จึงจดุ เทยี นเปน็ ลาํ ดบั ต่อไป ๘.๔.๕๘ ถาม ในพธิ พี ระราชทานเพลิงศพทหาร อศจ. ผปู้ ฏิบตั หิ น้าทีพ่ ธิ ีกรบางนายก็แตง่ กาย ชุดปกติขาว มีกระบ่แี ละถงุ มือเรียบร้อย บางนายเพียงหอ้ ยสายกระบ่ี บางนายแตง่ ชดุ ปกตขิ าวเฉยๆ ทถี่ ูกตอ้ งคอือยา่ งไร ? ตอบ พธิ ีพระราชทานเพลิงศพทหาร/ตาํ รวจ อศจ.ผปู้ ฏบิ ัติหน้าที่พิธีกร แต่งกายชดุปกตขิ าว คาดกระบถี่ งุ มือ ๘.๔.๕๙ ถาม ข้ันตอนในการขอนํ้าหลวงอาบศพ, ขอพระราชทานเพลิงศพและขอพระราชทานดินฝงั ศพสําหรับทหารเชอื้ สายจนี และทหารมสุ ลิม มีข้ันตอนอย่างไร ? ตอบ ปฏิบัติเช่นเดียวกับการขอพระราชทานนํ้าหลวงอาบศพ และขอพระราชทานเพลิงศพท่ัวไป ๘.๔.๖๐ ถาม การกราบบงั คมทูลลาถงึ แก่กรรมสําหรบั ข้าราชการชน้ั สูง ตงั้ แตร่ ะดบั ใด และมีข้นั ตอนอย่างไร ? ตอบ ธรรมเนียม กราบบังคมทูล “ลาตาย” เป็นของขา้ ราชสาํ นกั ทม่ี ีมาตงั้ แต่สมยัโบราณ คือ เมื่อได้เข้ารับราชการถวายตัวเป็นข้าพระบาทคอยถวายงาน เม่ือถึงแก่กรรมแล้วก็จะต้องกราบบังคมทูลลาเพื่อให้พระเจ้าอยู่หัวทรงรับทราบ และมีพระราชวินิจฉัยพระราชทานเกียรติยศสมกับคุณงามความดีในตาํ แหน่งหนา้ ทบี่ รหิ ารบา้ นเมอื งและขา้ ในพระองค์ ธรรมเนียมน้ียังมีการสืบทอดมาถึงรัชกาลปัจจุบัน สําหรับผู้ที่เป็นข้าราชการกระทรวงหรือเปน็ ขา้ ในราชสํานกั หรอื ข้าราชการท่ไี ด้รบั พระราชทานเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ตามชั้นที่กําหนด หรอื เชือ้ พระวงศ์ เมื่อถึงแก่กรรมแล้ว ผู้ที่เป็นทายาทหรือเจ้าภาพจะต้องจัดดอกไม้กระทง ๑ กระทง ธูปไม้ระกํา ๑ ดอกเทยี น ๑ เลม่ มีพานรองพรอ้ ม ไปกราบบถวายบงั คมทลู ลา โดยติดตอ่ ที่กองพระราชพธิ ี สํานักพระราชวัง

-๑๗-ภายในพระบรมมหาราชวงั พรอ้ มกบั ถือหนงั สือกราบบังคมทูลลา ๑ ฉบับ พร้อมใบมรณบัตร หลกั ฐานการได้รบัพระราชทานครื่องราชอิสรยิ าภรณช์ ้นั สูงสุด จากน้ันทางสาํ นักพระราชวังจะจัดน้ําหลวงพระราชทานอาบศพใหอ้ ย่างหน่งึ กับหบี หรอืโกศเคร่อื งประกอบเกียรติยศต่างๆ รวมถงึ จะจดั ป่ี กลองชนะประโคมในเวลาพระราชทานนา้ํ สรงศพด้วย โดยจะไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ท้งั ส้นิ จากการได้รับพระราชทานเครื่องเกียตริยศประกอบ ศพ เช่น - น้าํ หลวงอาบศพ - หบี พระราชทานหรือโกศ(ข้นึ อยู่กับเครอ่ื งราชฯ) - เจ้าพนักงานปฏบิ ตั ิ - พาหนะรบั ส่งเจ้าหนา้ ทจ่ี ากสาํ นักพระราชวงั - ปี่ กลองชนะ ทใ่ี ชป้ ระโคม เป็นตน้ ๘.๔.๖๑ ถาม พธิ ีสวดพระอภิธรรมศพพลทหาร ในกรณผี บู้ ังคบั บัญชาจดุ ธูปหน้าศพเสรจ็ แล้วควรให้แสดงความเคารพอยา่ งไร จึงจะเหมาะสม ? ตอบ เพอื่ ปฏิบตั ิตามประเพณีไทยเกีย่ วกบั ศพ ถา้ ผู้ตายมคี ณุ วุฒแิ ละวัยวุฒิต่ํากว่าประธาน ให้ประธานจดุ ธปู และประนมมอื ไหว้ระดับอก กม้ ศีรษะเลก็ น้อย ๘.๔.๖๒ ถาม ในพธิ รี ดนาํ้ ศพ, อาบนํา้ ศพ, และสรงนาํ้ ศพ มกี ารปฏิบตั ไิ มเ่ หมือนกัน ระหว่างประธานรดก่อน และรดเป็นคนสดุ ท้าย ทถ่ี กู คืออยา่ งไร ? ตอบ พธิ ีรดน้ําศพท่ัวไป ประธานประกอบพิธรี ดน้ําศพก่อน ผูร้ ่วมพิธีปฏิบตั ติ อ่ จากประธานในพธิ ี พธิ ีพระราชทานน้ําหลวงอาบศพ ผ้รู ่วมพิธีรดนา้ํ ศพกอ่ น ประธานในพธิ ีจึงประกอบพธิ ีพระราชทานน้ําหลวงอาบศพ และถือเปน็ การปิดการรดน้ําศพดว้ ย ๘.๔.๖๓ ถาม ในการจัดทีบ่ ูชาประกอบดว้ ยธงชาตแิ ละพระบรมฉายาลักษณ์ การวางขาตง้ั พระบรมฉายาลกั ษณ์บางท่ีวางตรง บางท่ีวางเฉียง ๔๕ องศา ทถ่ี ูกเปน็ เช่นไร ? ตอบ หนว่ ยในกองทพั บก ปฏิบตั ติ ามคาํ สัง่ ทบ. ที่ ๒/๒๕๕๗ ลง ๖ ม.ค.๕๗ ๘.๔.๖๔ ถาม ในพิธที อดผา้ บังสกุ ลุ ในงานฌาปนกจิ ศพนยิ มเชญิ ผ้มู ีอาวุโสนอ้ ยขึน้ ทอดก่อนจากนน้ั จดั ผอู้ าวโุ สสงู ข้นึ ตามลําดับจนถงึ ประธาน มีความหมายวา่ อย่างไร ? ตอบ จัดตามความเหมาะสม จากอาวุโสน้อยไปหาอาวโุ สมาก ๘.๔.๖๕ ถามในพิธสี งฆง์ านมงคลสมรสนิยมนมิ นตพ์ ระจาํ นวน ๙ รูปบา้ ง ๑๐ รูปบา้ ง นยิ มให้พระนาํ บาตรมาบา้ ง ไม่นาํ มาบา้ ง ท่ถี กู คืออย่างไร ? ตอบ นิมนตพ์ ระ ๙ รปู กรณที บี่ า่ ว-สาวมคี วามประสงค์ตักบาตรตามประเพณนี ยิ มก็กราบเรียนพระสงฆ์ใหน้ าํ บาตรมาดว้ ย

-๑๘- ๘.๔.๖๖ ถาม โตะ๊ หมบู่ ชู ามที ม่ี าอยา่ งไร ? ตอบ โต๊ะหมู่บูชาเกิดขึ้นในประเทศไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยพัฒนาการมาจากโต๊ะเครื่องของจีน และกระบวนการจัดแบบจีน (เคร่ืองบูชา) ที่จัดแต่งเคร่ืองเรือนของชาวจีน เรียกว่า“ลายฮ่อ” เป็นลวดลายที่ชาวจีนในสมัยก่อนนิยมวาดบนฉาก แจกัน และเคร่อื งถ้วยชาม เปน็ ตน้ ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจา้ อย่หู วั รัชกาลที่ ๓ ได้ทรงโปรดใหบ้ ูรณะพระอารามหลวงหลายแห่ง ภายหลังจากการบูรณปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหารมกี ารฉลองวดั พระเชตพุ นฯ ในปีพทุ ธศักราช ๒๓๙๑ พระองคไ์ ด้ทรงมีพระราชดําริให้สรา้ งมา้ หมูข่ น้ึ สาํ หรับตั้งเครื่องบูชาหน้าพระประธานในพระอุโบสถวัดพระเชตุพนฯ ที่ประดิษฐานพระพุทธเทวปฏิมากร เป็นม้าหมู่ขนาดใหญ่ ๑๑ ตวั และม้าหมูข่ นาดนอ้ ย สาํ หรับต้งั เคร่อื งบูชาประจําพระวหิ ารทิศ หมลู่ ะ ๔ ตัว สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ได้ทรงสันนิษฐานว่า เคร่ืองบูชาอย่างม้าหมู่ เกิดมีข้ึนจากพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้า นับได้ว่าเป็นโต๊ะหมู่บูชาชุดแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ และไดม้ ีผ้นู ิยมนํามาเป็นแบบอย่างการจัดจวบจนปัจจุบนั ไม่ทรงแต่เพียงบูรณะและฉลองวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลา-รามฯ เท่านั้น พระองค์ยังทรงมีพระราชศรัทธา ทรงทํานุบํารุงพระอารามท่ีสร้างค้างจนเสร็จสมบูรณ์ ซึ่งรวมถึงวัดอรุณราชวราราม วรมหาวิหาร และวัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหารด้วย พร้อมกับโปรดเกล้าฯ ให้ฉลองพระอารามภายหลังจากทรงสร้างหรือปฏิสังขรณ์เสร็จเรียบร้อย ทุกครั้งที่มีการฉลองพระอาราม ได้มีการประกวดโต๊ะเครื่องบูชา ซึ่งจุดประสงค์การจัดโต๊ะเคร่ืองบูชาน้ี ก็เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา และจัดประกวดไปพร้อมกนั ดว้ ยเหตุน้ี จงึ ไดเ้ ร่ิมมกี ารประกวดโตะ๊ หมูบ่ ชู าเปน็ ประเพณสี บื ต่อมา ตงั้ แตส่ มัยรชั กาลที่ ๓ ๘.๔.๖๗ ถาม ในพิธีพระราชทานเพลิงศพ ผู้เปน็ ประธานวางดอกไม้จนั ทน์ ๑ ชุดบา้ ง ๒ ชุดบา้ งท่ถี ูกควรเปน็ อยา่ งไร ? ตอบ ประธานในพิธีจุดดอกไม้จนั ทน์พระราชทาน ๑ ชดุ กอ่ น แล้วจึงวางดอกไมจ้ นั ทน์สําหรับประธานอกี ๑ ชดุ ๘.๔.๖๘ ถาม พธิ ที าํ บุญทุกอยา่ งทางทหาร เรมิ่ ต้นด้วยประธานจุดธปู เทียนบูชาพระรัตนตรัยแล้วอาราธนาศลี (เป็นสว่ นใหญ่) เวน้ การนมสั การพระรตั นตรัยแบบชาวบา้ น มีเหตุผลอยา่ งไร ? ตอบ เพอ่ื ให้พธิ รี วบรดั ไมเ่ ยนิ่ เยอ้ เสรจ็ พธิ ีตามเวลาท่ีกาํ หนดและเป็นการปฏิบัตทิ มี่ ีเอกภาพ ๘.๔.๖๙ ถาม เมอื่ เสรจ็ พิธบี ุญทุกประเภท บางหน่วยจบด้วยคําบูชา ฯ อรหํ สมมฺ าฯลฯบางหน่วยก็จบเฉยๆ ไมม่ คี ําบชู า อย่างไหนถกู มีเหตผุ ลอยา่ งไร ? ตอบ พิธีการของกองทัพบก ปฏิบตั ติ ามหนังสอื ศาสนพิธกี องทัพบก ข้นั ตอนสดุ ทา้ ยของพิธีการ คอื เรียนเชญิ ประธานในพิธกี ราบพระรตั นตรัย (ไมม่ ีการนําบทกราบพระ)

-๑๙- ๘.๔.๗๐ ถาม การจดั วางพระพุทธรปู จําลองต่างๆ ไว้ในท่บี ูชาอนั เดียวกัน สมมติวา่ มพี ระแก้วมรกต, พระพุทธชนิ ราช, พระพุทธโสธร, พระรว่ งโรจนฤทธ์ิ, พระปา่ เลไลยก,์ พระพทุ ธสิหิงค์ ฯลฯ ควรจัดวางสงู ต่ําอยา่ งไร มีเหตุผลอยา่ งไร ? ตอบ พระพทุ ธรปู ทุกองค์ ถอื วา่ เป็นองค์แทนสมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้า สามารถจดั ตง้ั ได้ตามความเหมาะสมของท่ีบูชาและสถานท่ี หรือจดั ตงั้ ตามอายุขององคพ์ ระองคใ์ ดสรา้ งกอ่ นก็ให้ต้ังเหนอื กว่าองค์ทส่ี ร้างทหี ลัง ๘.๔.๗๑ ถาม สายสิญจนม์ กั ประกอบด้วยด้ายดบิ ๙ เส้น ๘ เสน้ และมากกวา่ นัน้ มหี ลกัในการใช้อย่างไร ? ตอบ สายสญิ จน์ คือดา้ ยดิบสขี าวทนี่ ํามาจับทบเป็น ๓ เสน้ หรือ ๙ เส้น ใช้ในพิธีทางศาสนา เชน่ สําหรบั พระถือในเวลาสวดมนต์ หรอื พราหมณ์ใช้ในพระราชพธิ ีบางอย่าง ๘.๔.๗๒ ถาม ในพิธมี งคลตา่ งๆ มกั นิยมนาํ ตน้ กลว้ ย ตน้ ออ้ ยมาประกอบในพธิ ี และราชวตั ิ มีเหตผุ ลและทมี่ าอยา่ งไร ? ตอบ ตน้ กล้วย ตน้ ออ้ ย ถอื เป็นตน้ ไมม้ งคล ตน้ กลว้ ย หมายถึง ความเจรญิ งอกงามความสําเร็จโดยง่าย หรอื มีลกู ดก มที ายาทผู้สืบสกลุ , ออ้ ย หมายถึง ความจริงใจ ความมั่นคง ไมเ่ ปลย่ี นแปลง มีความดมี ่นั คง เหมือนออ้ ยที่มรี สหวานไม่เปลย่ี นแปลง ราชวัตเิ ปน็ สิ่งของทท่ี าํ จากไมข้ ัดกัน เพ่อื เปน็ การกัน้ อาณาเขตปรมิ ณฑลพธิ ีทง้ั ๔ มมุตรงกนั และตอ้ งทาสขี าวตกแตง่ สวยงาม ๘.๔.๗๓ ถาม ผ้าแดง และผ้าสามสี นิยมนาํ ไปผกู ทีโ่ คนไมห้ รอื เสาของศาลพระภมู ิ มเี หตผุ ลและที่มาอยา่ งไร ? ตอบ เป็นการให้ความสําคญั ของส่ิงท่นี ําผ้าไปผูก เปน็ ความเช่ือวา่ ให้เกิดความเป็นสริ ิมงคลแกผ่ ู้ทผี่ ูก ๘.๔.๗๔ ถามมาลัย๗สี ๗ศอกนยิ มนาํ ไปถวายพระภมู ิเจ้าที่ และเจา้ พ่อเจา้ แม่ มีท่ีมาอย่างไร? ตอบ มาลัย พวงมาลัยไม่ว่าจะเป็นพวงเล็ก พวงใหญ่ ยาวเท่าไรก็ตาม จัดอยู่ในส่วนของดอกไม้ ใชเ้ ป็นเครื่องสกั การะอยา่ งหน่งึ ร่วมกับเคร่อื งสักการะอย่างอ่ืน ๘.๔.๗๕ ถาม การปิดทองพระพทุ ธรูป และการปิดทองลกู นมิ ติ มีหลักความเช่ืออย่างไร ? ตอบ การปิดทองพระพุทธรูป เป็นการบูชาอย่างหน่ึง เพื่อให้พระพุทธรูปมีความงดงามเป็นทองคําท้ังองค์ จะได้เป็นท่ีเจริญตาเจริญใจ เพ่ิมศรัทธาปสาทะของผู้ท่ีมาสักการบูชาและผู้ปิดทองพระพุทธรูป จะไดร้ ับบญุ กศุ ลเปน็ อนั มาก การปดิ ทองลูกนมิ ิตถอื วา่ ได้ร่วมสร้างอโุ บสถไว้ในพระพุทธศาสนาเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาคือการบูชาคณุ ของพระพุทธเจ้า, เปน็ การสืบตอ่ อายุพระพุทธศาสนา และพระสงฆไ์ ด้ใช้ทําสงั ฆกรรม

-๒๐- ๘.๔.๗๖ถามบายศรีปากชาม,บายศรเี ทพ,บายศรี ใชต้ ่างกนั อย่างไร และสือ่ ความหมายถงึ อะไร? ตอบ บายศรี คนไทยส่วนใหญ่จะรู้จักและคุน้ เคยเพราะพบเห็นบ่อยในพิธกี รรมต่างๆแทบทุกภาคของไทย เช่น การทําขวัญคน การทําขวญั ขา้ ว การบวงสรวงส่งิ ศักดิ์สิทธ์ิ การไหวค้ รนู าฏศิลป์ดนตรีและพธิ ีสมโภชพระพทุ ธรูป เป็นตน้ ซง่ึ พิธกี รรมเหลา่ นล้ี ว้ นตอ้ งใช้บายศรเี ปน็ เครอ่ื งประกอบท้งั ส้ิน พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ไดใ้ หค้ วามหมายของคาํ ว่า “บายศร”ีวา่ หมายถึงเครื่องเชิญขวญั หรือรบั ขวญั ทาํ ดว้ ยใบตองรปู คลา้ ยกระทงเป็นชั้นๆ มขี นาดใหญเ่ ลก็ สอบขนึ้ ไปตามลาํ ดบั เปน็ ๓ ช้นั ๕ ช้ัน ๗ ช้ัน หรือ ๙ ชั้น มีเสาปกั ตรงกลางเป็นแกน มีเคร่ืองสงั เวยอยูใ่ นบายศรีและมไี ข่ขวัญเสียบอยู่บนยอดบายศรี คําว่า “บายศร”ี เกดิ จากคําสองคาํ รวมกนั คือ “บาย” เป็นภาษาเขมรแปลวา่“ขา้ ว” และคําว่า “ศร”ี เปน็ ภาษาสันสกฤต แปลวา่ “มิ่งขวญั สริ ิมงคล” รวมความแลว้ “บายศรี” กค็ อื ขา้ วขวญั หรือข้าวทม่ี ีสริ มิ งคล เราจงึ พบว่า ตวั บายศรีมักมขี า้ วสกุ เป็นสว่ นประกอบและมักขาดไมไ่ ด้ แต่โดยท่ัวไปเราจะหมายถงึ ภาชนะทจี่ ัดตกแตง่ ให้สวยงามเป็นพเิ ศษด้วยใบตองทาํ เปน็ กระทง หรือใช้พานเงนิ พานทองตกแตง่ด้วยดอกไม้เพ่ือเปน็ สาํ รบั ใสอ่ าหารคาวหวานในพิธสี ังเวยบูชาและพธิ ที ําขวญั ต่างๆ ประวัตคิ วามเปน็ มาของบายศรีนั้น ไมม่ หี ลกั ฐานแน่นอนแต่มขี ้อสนั นษิ ฐานว่านา่ จะมีมาต้ังแตส่ มยั อยุธยาแล้ว เน่อื งจากมกี ารกลา่ วถึงบายศรีในวรรณกรรมมหาชาตคิ ําหลวง กณั ฑ์มหาราชซงึ่ แต่งในสมัยอยธุ ยาว่า “แลว้ ธ กใ็ ห้บอกบายศรีบอกมิง่ ” อกี ทงั้ ศลิ ปวตั ถุตลู้ ายรดนาํ้ สมัยอยุธยา กป็ รากฏเรอ่ื งราวเกี่ยวกบับายศรี อยา่ งไรก็ดเี ชอ่ื วา่ บายศรีนี้นา่ จะได้คติมาจากพราหมณ์แนน่ อน เพราะบายศรตี ้องใชใ้ บตองเป็นหลกั ซึง่ตามคตขิ องพราหมณเ์ ชอ่ื ว่าใบตองเป็นของบริสุทธิส์ ะอาดไมม่ มี ลทนิ ของอาหารเก่าแปดเป้ือนเหมอื นถ้วยชาม จงึนํามาทาํ ภาชนะใส่อาหารเป็นรูปกระทง ตอ่ มาจงึ มีการประดับประดาตกแตง่ ใหส้ วยงามข้ึน โดยทวั่ ไปบายศรจี ะแบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภทคอื บายศรขี องราษฎร และบายศรขี องหลวง บายศรีของราษฎร ได้แก่ บายศรีที่จดั ทําขึ้นเพื่อใช้ในพธิ ีกรรมต่างๆ ของราษฎร ซ่ึงแต่ละท้องถิ่นกม็ ีรายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยแตกตา่ งกันไป แต่แบง่ ไดเ้ ป็น ๒ ชนิดคือ บายศรีปากชาม และบายศรีใหญห่ รือบายศรีตน้ บายศรีของหลวง ไดแ้ ก่ บายศรที ่ใี ช้ในพระราชพิธีตา่ งๆ อันเก่ียวเน่อื งกับพระมหากษัตรยิ ์ พระมเหสี พระราชโอรส พระราชธดิ า และพระบรมวงศานุวงศ์ ทั้งในโบราณราชประเพณีและพระราชพธิ ีทีท่ รงมีพระประสงคใ์ หจ้ ัดขน้ึ ในโอกาสพเิ ศษตา่ งๆ รวมไปถงึ รฐั พธิ ีท่พี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวเสด็จฯ ดว้ ย ท้ังน้ี บายศรขี องหลวงในปัจจบุ ันแบ่งออกเปน็ ๓ แบบ คือ บายศรีต้น, บายศรีแก้ว ทอง เงนิ และบายศรตี องรองทองขาว ๘.๔.๗๗ ถาม เทียนแพ ประกอบดว้ ย เทยี นเหลือง ๕ คู่ ธูประกํา ๕ คู่ รวมกันเปน็ ๒๐ อันส่อืความหมายถงึ อะไร ? ตอบ ในหนงั สอื คําวดั โดยพระธรรมกิตตวิ งศ์ ราชบณั ฑิต กล่าวไว้วา่ เทียนแพ เป็นคาํ เรยี กธปู ไมร้ ะกาํ กับเทยี นอย่างละ ๕ คู่ วางเรยี งซอ้ นกนั เป็นแพ คาดดว้ ยริบบน้ิ สหี รอื รบิ บนิ้ ทอง ๒ เปราะหัวท้าย เรยี กเตม็ วา่ ธูปแพเทียนแพ หรอื ธูปเทยี นแพ

-๒๑- เทยี นแพ มี ๒ ลักษณะ คอื ของหลวงทใ่ี ชใ้ นงานพระราชพิธี วางธปู ไว้ขา้ งบนเทียน,ส่วนทว่ั ไปวางเทยี นไว้บนธปู ท่ตี ่างกนั ดงั นีส้ ันนษิ ฐานวา่ เพือ่ ให้ธปู รับนา้ํ หนักและปรับรปู ทรงเทยี นใหต้ รงอยเู่ สมอเพราะในฤดูร้อนเทยี นมกั จะออ่ นตวั และโค้งงอ และเพราะเป็นเทยี นทีม่ ีวางขายตามท้องตลาดท่วั ไปซง่ึ ต้องการความคงทน สว่ นของหลวงทําข้ึนเฉพาะใชใ้ นพิธชี ว่ั คราว จงึ เรียงตามคําเรยี กคือ ธปู -เทยี น เทยี นแพ เป็นเคร่อื งหมายแสดงความเคารพอย่างสงู สาํ หรบั นาํ ไปบชู าพระ เคารพผใู้ หญ่ขอขมา เปน็ ตน้ ปกตจิ ะมกี รวยดอกไมว้ างไว้ข้างบนและประดับด้วยกลบั ดอกไม้หลากสเี ปน็ ต้น เปน็ การเพ่ิมศิลปะและความสวยงามย่ิงขึ้น ๘.๔.๗๘ ถาม คําวา่ นมิ นต,์ อาราธนา และนมัสการ ใช้เหมือนกันหรอื ต่างกันอย่างไร ? ตอบ คาํ วา่ “อาราธนา” ใชใ้ นการอาราธนาศลี อาราธนาธรรม และอาราธนาพระปริตร คําว่า “นิมนต”์ ใชใ้ นการเช้อื เชิญพระสงฆใ์ หก้ ระทาํ ส่งิ ใดสิง่ หนง่ึ เชน่ นิมนตเ์ จรญิ พระพุทธมนต์, นมิ นต์พจิ ารณาผา้ บงั สุกุล ฯลฯ ๘.๔.๗๙ ถาม การตกั บาตรพระสงฆ์ตอนเชา้ กระทําให้เป็นสังฆทานไดห้ รือไม่ ทําอยา่ งไร ? ตอบ การตักบาตรพระสงฆ์ มิได้เจาะจงภิกษุรูปใดรูปหน่ึง จัดเป็นสังฆทานอยู่แล้วแตถ่ ้าตักบาตรโดยเจาะจงภกิ ษรุ ปู ใดรปู หนงึ่ ไม่จดั เปน็ สังฆทาน ๘.๔.๘๐ ถาม ขณะท่ีพระสงฆ์ชักผ้าบังสุกุลและพิจารณาอาหาร ปรากฏว่าผู้ร่วมพิธี ประนมมือบ้าง ไม่ประนมมอื บ้าง ทถี่ กู คอื อย่างไร ? ตอบ ขณะพระสงฆ์พิจารณาบังสุกลุ ผู้ร่วมพิธีประนมมือ ขณะพระสงฆ์พิจารณาอาหารผ้รู ว่ มพธิ ีไมต่ ้องประนมมอื เพราะเป็นกิจเฉพาะของพระสงฆ์ ๘.๔.๘๑ ถาม คาํ ว่า อโุ บสถ กบั พระอโุ บสถ ใชไ้ ดเ้ หมอื นกันหรอื ตา่ งกนั อย่างไร ? ตอบ “อโุ บสถ” ใชก้ ับวดั ราษฎร์ “พระอุโบสถ” ใชก้ บั พระอารามหลวง ๘.๔.๘๒ ถาม การจัดโต๊ะหมู่ในพิธีนิยมตั้งด้านขวามือของประธานสงฆ์ แต่ปรากฏว่าในพิธีรับพระราชทานปริญญาบัตร มักจดั โต๊ะหมูไ่ วท้ างด้านซา้ ยมอื ประธานสงฆ์ มีเหตุผลอยา่ งไร ? ตอบ จัดตามความเหมาะสมของสถานท่ี หรอื ตามทส่ี าํ นักพระราชวงั กาํ หนด ๘.๔.๘๓ ถาม การวางรูปภาพผู้ตายกับหีบศพ ปรากฏว่า วางไว้ด้านศีรษะของศพบ้าง ด้านปลายเทา้ ของศพบา้ ง ทถี่ กู ควรเป็นอย่างไร ? ตอบ ต้ังไว้ทางด้านศีรษะของศพ และให้เหลือพ้ืนที่ด้านศีรษะศพ สําหรับวางส่ิงของพระราชทาน เช่น เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เป็นตน้ อกี ด้วย ๘.๔.๘๔ หลังจากพิธีฌาปนกิจศพของข้าราชการท่ีได้รับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ช้ันสูงๆ แล้วจาํ เปน็ หรอื ไมท่ จี่ ะต้องดําเนินการเร่อื งสง่ คนื หลวง และมีขน้ั ตอนในการ สง่ คนื อยา่ งไร ? ตอบ เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ท่ตี อ้ งส่งคนื และกรณที ่ตี ้องส่งคนื

-๒๒- - เคร่อื งขัตติยราชอสิ ริยาภรณ์อันมีเกียรตคิ ณุ รงุ่ เรืองย่ิงมหาจกั รีบรมราชวงศ์ - เครอื่ งราชอิสรยิ าภรณอ์ ันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มหี ลักเกณฑ์การสง่ คืน คอื - เม่ือผไู้ ดร้ ับเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณว์ ายชนม์ ผรู้ บั มรดกจะตอ้ งสง่ คนืเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ภายในกําหนด ๓๐ วนั ถา้ ส่งคืนไมไ่ ด้ด้วยประการใด ๆ ทายาทหรอื กองมรดกจะตอ้ งรับผดิ ชอบ - กรณีทรงเรียกเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณค์ นื ถ้าผ้รู บั พระราชทานส่งคนื ไมไ่ ด้ด้วยประการใดๆ ผรู้ บั พระราชทานจะตอ้ งชดใช้ราคาแทนเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์ - เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์จลุ จอมเกล้า - เครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์อนั เป็นท่ีเชิดชยู งิ่ ช้างเผอื ก และ - เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์อนั มีเกียรติยศยง่ิ มงกุฎไทยมีหลกั เกณฑ์การสง่ คนื คอื - เม่ือผู้ไดร้ บั พระราชทานเครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์วายชนม์ ผรู้ ับมรดกจะตอ้ งส่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ - เมือ่ ผู้รบั พระราชทานเครื่องราชอสิ รยิ าภรณไ์ ด้รบั พระราชทานชัน้ สูงขน้ึ ตอ้ งส่งคนื เครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์ชั้นรอง หากไม่สามารถส่งคนื ได้ด้วยประการใดๆ กองมรดกจะต้องใชร้ าคาแทนเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณต์ ามที่ทางราชการกาํ หนด - กรณที รงเรยี กเครื่องราชอิสรยิ าภรณค์ นื หากไมส่ ามารถสง่ คนื ไดด้ ว้ ยประการใดๆ จะตอ้ งชดใช้ราคาแทนเครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ตามท่ีทางราชการกําหนด - เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เป็นที่สรรเสรญิ ยง่ิ ดเิ รกคุณาภรณ์ มหี ลกั เกณฑก์ ารส่งคนื คอื - เมือ่ ผูไ้ ด้รับพระราชทานเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ได้รบั พระราชทานชัน้ สูงข้นึ ผู้รับพระราชทานต้องส่งคืนเครอื่ งราชอสิ ริยาภรณช์ ้นั รอง ถา้ ส่งคืนไมไ่ ดด้ ว้ ยประการใดๆ จะต้องชดใชร้ าคาแทนเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ตามทที่ างราชการกาํ หนด - เม่อื ผูไ้ ด้รบั พระราชทานวายชนม์ ให้ทายาทเกบ็ รกั ษาคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์เฉพาะช้นั สูงท่ไี ด้รับพระราชทานไว้เปน็ กรรมสทิ ธ์ิ หน่วยงาน / สถานทร่ี บั คืนเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ - กลมุ่ งานเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ สาํ นักอาลักษณ์และเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ในทาํ เนยี บรฐั บาล ถนนนครปฐม เขตดสุ ิต กรุงเทพ ฯ ๑๐๓๐๐ (อาคารเดมิ )โทร.๐ ๒๒๘๐ ๙๐๐๐ ตอ่ ๔๒๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๙๐๗๒ - หน่วยงานต้นสงั กัดของผไู้ ดร้ ับพระราชทานเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์ โดยเม่อืหน่วยงานไดร้ ับคนื เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ จากบคุ คลในสงั กดั แล้วตอ้ งรวบรวมนาํ ส่งสาํ นักเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ตามขอ้ ๑

-๒๓- หลกั ฐานการสง่ คืนเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ เมื่อสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้รับคืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์หรือเงินชดใช้ราคาแทนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ จะดําเนินการออกใบรับคืนเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์หรือใบเสร็จรับเงินให้ไว้เป็นหลักฐาน นอกจากน้ีจะได้บันทึกข้อมูลการส่งคืนดังกล่าวไว้ในประวัติข้อมูลทะเบียนฐานันดรของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์เพอื่ เปน็ หลกั ฐานด้วย ๘.๔.๘๕ ถาม ในการให้ศลี ในการพิจารณาบังสุกุล และในการชุมนมุ เทวดา ทําไมพระสงฆต์ อ้ งมีตาลปัตรบังหน้าด้วยมที ่ีมาอย่างไร ? ตอบ พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สรุ เตโช) ป.ธ. ๙ ราชบณั ฑิต ไดใ้ ห้ความหมายไว้วา่ ตาลปัตร (อ่านว่า ตาละปัด) ตามรูปศัพท์แปลว่า พัดใบตาล, พัดใบลาน ตาลปัตรของเดิมเปน็ พดั ที่ทําจากใบตาลหรือใบลาน สาํ หรับพัดตวั เองเวลาร้อนหรอื พัดไฟ ใช้กันท้ังพระและคฤหสั ถ์ ต่อมามีการต่อด้ามให้ยาวขึ้นและใช้บังหน้าเวลาทําพิธีทางศาสนาของพระสงฆ์ เช่นในเวลาให้ศีลและให้พร และแม้ภายหลงั จะใช้ผา้ สีต่างๆ หุ้มลวดหรือไมไ้ ผซ่ ่ึงข้นึ รูปเป็นพดั ก็อนุโลมเรียกว่าตาลปตั ร ตาลปัตร ปัจจุบันนิยมปักลวดลายศิลปะแสดงสัญลักษณ์ของงานและอักษรบอกงานพรอ้ มวันเดือน ปีไว้ดว้ ย ทําให้มคี ณุ คา่ ทางศลิ ปะขนึ้ นอกเหนอื จากวัตถุประสงคเ์ ดิม ตาลปัตร ที่ใช้ทั่วไปเรียกว่า พัดรอง คู่กับคําว่า พัดยศ ซึ่งเป็นพัดพระราชทานบอกตําแหน่งชัน้ สมณศักด์ิ จึงนิยมเรยี กกนั วา่ ตาลปัตรพดั ยศ ๘.๔.๘๖ ถามขั้นตอนในการขอเป็นเจ้าภาพกฐินพระราชทานมขี นั้ ตอนในการดําเนินการขออยา่ งไร? ตอบ พระกฐินพระราชทาน คือ กฐินท่ีพระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชน คณะบุคคล หรือบุคคลใดบุคคลหน่ึง นําไปถวายแด่พระสงฆ์ที่จําพรรษาถ้วนไตรมาส ในพระอารามหลวงต่างๆ ทั่วราชอาณาจักร การจะขอรับพระราชทานผ้าพระกฐินน้ัน ใหป้ ระสานงานกับกรมการศาสนาว่า พระอารามหลวงใดยังไม่มีผขู้ อรับพระราชทานผ้าพระกฐิน เม่ือได้ทราบข้อมูลว่าพระอารามหลวงใด ยังไม่มีผู้ขอรับพระราชทานจึงแจ้งความประสงค์ขอรับพระราชทานผ้าพระกฐินต่อเจา้ อาวาสพระอารามหลวงท่ีจะถวายผ้าพระกฐนิ แจ้งต่อกรมการศาสนา หรือแจ้งต่อผู้ว่าราชการจังหวัดท่ีพระอารามหลวงตั้งอยู่ อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยทําเป็นหนังสือแสดงความจํานงต่อกรมการศาสนา จะแจ้งผ่านเจา้ อาวาสหรือผู้วา่ ราชการจังหวัดท่พี ระอารามหลวงตัง้ อยู่ หรอื แจ้งกรมการศาสนาโดยตรงกไ็ ด้ ๘.๔.๘๗ ถาม ในพิธีทอดกฐินมักมีธงรูปจระเข้ ธงนางมัจฉา และธงตะขาบ ปรากฏให้เห็น เป็นประจํา มีหลักฐานท่มี าอยา่ งไร ? ตอบ ในวัดที่ทอดกฐินแล้ว มักจะยกธงจระเข้ ธงมัจฉา ฯลฯ ไว้เป็นสัญลักษณ์แสดงให้ทราบว่า วัดน้ันทอดกฐินแล้ว ในข้อนี้ท่านผู้รู้บางท่านสันนิษฐานว่า สมัยก่อนต้องอาศัยดาวจระเข้ เป็นครื่องช่วยในการดูเวลา และภายหลังคงหวังจะให้เป็นเคร่ืองหมายเน่ืองด้วยกฐิน จึงคิดทําธงเป็นรูปจระเข้ เสมือนเป็นการประกาศให้รูว้ ่า วัดนัน้ ทอดกฐินแล้ว

-๒๔- บางตําราก็อ้างนทิ านโบราณว่า จระเขว้ า่ ยตามเรอื เพอ่ื ไปร่วมบญุ กฐินดว้ ย แต่ยงั ไม่ทนัถงึ วัดกห็ มดกําลงั วา่ ยตามต่อไปอกี ไม่ไหว จงึ ขอให้เขยี นรปู ตัวเอง เพื่อเป็นสกั ขีพยานว่าไดไ้ ปรว่ มการกุศลด้วยจงึ ได้มกี ารเขยี นรปู จระเข้ยกเป็นธงขน้ึ ในวดั และปฏิบตั สิ ืบต่อกนั มาจนถงึ บดั นี้ เม่ือเทยี บเคียงดูตามคาํ สอนของพระพทุ ธองค์ กส็ นั นิษฐานว่า ธงจระเข้ ฯลฯเปน็ ปรศิ นาธรรมเพ่อื ใหส้ ตแิ ก่ พระ เพราะในจาตุมมสตู ร พระพุทธองค์ ทรงแสดงภัยของพระไว้ ๔ อยา่ งเปรียบเหมือนภัยท่เี กดิ ข้นึ แก่บคุ คลท่ลี งในนาํ้ หรือทะเล คอื - อมุ มฺ ภิ ยํ ภยั จากคล่ืน หมายถึง ภยั คืออดทนตอ่ คาํ ส่งั สอนไม่ได้ คําสั่งสอนเปรยี บเหมือนคล่นื การอดทนต่อคําสง่ั สอนไมไ่ ดเ้ ป็นภัยสําหรบั พระ - กมุ ภฺ ีรภยํ ภัยจากจระเข้ หมายถึง ภัยคอื การเหน็ แกป่ ากแกท่ ้อง เหน็ แกก่ นิเปรยี บเหมอื นจระเข้ ซ่งึ งบั ทุกอยา่ งท่เี ข้าปาก - อาวฏฺฏภยํ ภัยจากวงั นาํ้ วน หมายถงึ ภัยเกิดจากความยินดใี นกามคณุ ทัง้ ๕ คือรูป เสียง กล่ิน รส สมั ผสั ซ่ึงเปรียบเหมือนวงั น้ําวนทําให้สตั วท์ ี่หลงเข้าไปตดิ อยูใ่ นวังวนไม่อาจออกจากวังวนได้ -สสุ กุ ภยํ ภัยจากปลาร้าย หมายถึง ภัยเกิดแต่การรักผู้หญงิ ผ้หู ญิงเปรียบเหมือนปลาร้าย เพราะเป็นอันตรายต่อผถู้ ือเพศพรหมจรรย์ ๘.๔.๘๘ ถาม หลังจากการไหวพ้ ระสวดมนต์และปฏบิ ตั ธิ รรม ณ วดั อัมพวัน จะมีการกลา่ วอุทิศสว่ นบุญให้กับหลวงพ่อจรัญ ฐิตธมโฺ ม ทกุ ครัง้ วา่ ขอสว่ นบญุ นี้จงสําเร็จแก่หลวงพ่อจรญั ฐิตธมโฺ ม, พระเจา้ อยหู่ ัว,พ่อแม่,ญาต,ิ ครูอาจารย,์ เทวดา, เปรต, เจา้ กรรมนายเวร และสรรพสัตว์ ขอ้ เท็จจริงเป็นอยา่ งไรเกีย่ วกับการแผ่สว่ นบญุ ใหผ้ ทู้ ย่ี งั มีชวี ิตอยู่ สว่ นบญุ จะสําเร็จหรอื ไม่ ? ตอบ การปฏบิ ตั ิดงั กลา่ ว จัดเข้าในบุญกริ ยิ าวตั ถุ ๒ ประการ คือ ปตั ติทานมยั ทําบุญด้วยการเฉลยี่ ส่วนแห่งความดีใหแ้ กผ่ อู้ ่นื และปัตตานโุ มทนามยัทาํ บุญด้วยการยินดีในความดขี องผอู้ ืน่ การให้สว่ นบุญแกผ่ อู้ ่ืน เมอ่ื ผนู้ ัน้ อนโุ มทนา บญุ ยอ่ มสําเร็จ ๘.๔.๘๙ ถาม การนําศพเวียนเมรกุ อ่ นนาํ ตง้ั บนเมรุนยิ มนาํ เวยี นซา้ ยแบบทวนเขม็ นาฬกิ ามีเหตผุ ลอย่างไรและมที ม่ี าอย่างไร ? ตอบ การเวียนซ้าย ๓ รอบ หมายถงึ การเวียนวา่ ยตายเกดิ อยใู่ นภพท้งั สาม อนั มีกามภพ รูปภพ อรปู ภพ ด้วยอาํ นาจกิเลสตัณหาอปุ าทาน ก็จะเปน็ ทุกขไ์ มจ่ บสิน้ ฉะน้ันตอ้ งทวนกระแสกิเลสเปน็ การสอนธรรมช้ันสงู จึงไดน้ าํ ศพเวยี นซา้ ย ๘.๔.๙๐ ถาม การจูงศพ นิยมจัดลําดับ พระ - ธูป - รูป - ศพ - ขบวนญาติ มีเหตุผล อย่างไร ? ตอบ การนิมนต์พระจูงออกหน้าศพ เพื่อจะสอนคนท่ียังอยู่ให้ได้สํานึกว่า ตอนที่ยังอยู่ต้องเดินตามหลังพระ หมายความว่า ได้เดินตามพระธรรมคําสอนของพระนั่นเองจึงอยู่ดีมีสุข มีความเจรญิ กา้ วหน้า

-๒๕- ๘.๔.๙๑ ถาม ในพิธีพุทธาภเิ ษก / พิธมี งั คลาภเิ ษก จะมีเทยี นวิปัสสี เทยี นนวหรคุณ และเทยี นชยั มที ม่ี าอยา่ งไร ? ตอบ เทยี นวปิ สั สี จัด๑เลม่ เพื่อบชู าพระวิปัสสสี ัมมาสัมพุทธเจ้า ซึง่ มพี ระชนมายุแปดหมนื่ สพ่ี ันป,ี เทียนนวหรคุณ จดั ๙ เลม่ เพอื่ บูชานวโลกุตตรธรรม คอื ธรรมอันมใิ ชว่ ิสยั ของโลก หรือสภาวะพ้นโลก มี ๙ ประการคอื มรรค๔ ผล๔และนิพพาน๑,เทยี นชัยจดั ๑เล่มหนัก๘๐บาทไส้ ๑๐๘เส้นความสงู เท่ากับผ้เู ป็นประธานในพิธี, ๘.๔.๙๒ ถามคําวา่ พระมหานาค ใชใ้ นการเจรญิ พระพุทธมนต์ในพิธีมงั คลาภเิ ษกมจี าํ นวน๔รปู ทําไมต้องมีด้วยและทําไมต้องเรยี กเช่นน้ัน? ตอบ ในพธิ ีพทุ ธาภเิ ษก จะนมิ นต์พระสงฆ์ ๔ รปู สวดคาถาพุทธาภิเษก และมีพระเถระนง่ั ปรกอธษิ ฐานจิต พระสงฆส์ วดพุทธาภิเษกน้ี นยิ มเรยี กอกี ชื่อหน่ึงว่า พระมหานาค เปน็ คําท่บี ัญญัติข้นึ ใชเ้ อง สําหรบั เรียกพระสงฆ์ผู้สวดคาถาพทุ ธภเิ ษกโดยเฉพาะ ๘.๔.๙๓ ถาม คําว่า พระพิธธี รรม มจี าํ นวน ๔ รปู ใชใ้ นการสวดในโอกาสใดและตา่ งจากพระมหานาค อยา่ งไร ? ตอบ พระพิธธี รรม หมายถึง พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาที่มคี วามรู้ความสามารถในอันท่ีจะประกอบพิธีต่างๆ ทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะเกี่ยวกับการสวดในงานพระราชพิธีต่างๆ แต่เดิมมานั้นพระสงฆ์ดังกล่าวปฏิบัติเก่ยี วกบั พิธตี ่าง ๆ คือ - ทําหน้าท่ีสวดอาฏานาฏิยสูตรในการพระราชพิธีสัมพัจฉรฉินท์ ซึ่งในปัจจุบันพระราชพธิ ดี งั กลา่ วได้ถกู ยกเลกิ ไปแลว้ คงเหลืออยู่แต่ในงานศาสนพิธขี องทอ้ งถิน่ ทเี่ รียกกันวา่ สวดภาณยักษ์ -ทําหน้าท่ีสวดจตรุ เวทคอื การสวดพระปริตรท่ีหอพระศาสตราคมในพระบรมมหาราชวังเพื่อทาํน้ําพระพุทธมนต์ถวายพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว - ทําหน้าที่สวดพระอภิธรรมในการศพทั้งท่ีเป็นงานหลวง ท้ังที่เป็นงานในพระบรมราชานเุ คราะห์และงานในพระราชานเุ คราะห์ -ทําหน้าท่ีสวดภาณวารในการพิธีมงคล เช่น การสวดในพิธีพุทธาภิเษก เทวาภิเษก หรือมังคลาภิเษกเป็นตน้ - ปัจจุบันหากกล่าวถึงพระพิธีธรรม หมายถึงพระสงฆ์ท่ีสวดพระอภิธรรมงานศพหลวงและงานศพในพระบรมราชานุเคราะห์ พระราชานุเคราะห์ พระอนุเคราะห์ และสวดจตุรเวทเพ่ือทํานํ้าพระพุทธมนต์เท่านั้น ส่วนพระสงฆ์ท่ีสวดพระอภิธรรมในงานราษฎร์ท่ัวๆ ไป พระสงฆ์ท่ีสวดภาณยักษ์ และพระสงฆ์ท่ีสวดพุทธาภิเษก ไม่เรียกว่าพระพิธีธรรม แต่พระพิธีธรรมจะไปสวดในงานราษฎรต์ ่างๆ ดงั กลา่ วน้ันกไ็ ด้

-๒๖- พระพิธีธรรม คือสมณศักดิ์ประเภทหน่ึง (ไม่พระราชทานแก่พระสงฆ์แต่พระราชทานแก่วัด) พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งจากวัดท่ีเป็น พระอารามหลวงเป็นส่วนมาก (ไม่ระบุพระสงฆ์วัดใดท่ีไม่มีการโปรดเกล้าฯ จะไม่สามารถตั้งพระพิธีธรรมได้ แม้แต่ในวัดนั้นจะมีพระสงฆ์ซึ่งเคยเป็นพระพิธีธรรม มาแล้วก็ตาม) ทางวัดจะแต่งตั้งวัดละ ๑ สํารับ สํารับละ ๔ รูป ในปัจจุบันวัดท่มี กี ารพระราชทานแตง่ ตงั้ พระพธิ ีธรรม มีอยู่ ๑๐ วดั ได้แก่ - วดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม - วดั มหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ - วดั ราชสทิ ธาราม - วดั ระฆงั โฆสิตาราม - วดั จักรวรรดิราชาวาส - วัดอนงคาราม - วดั สระเกศราชวรมหาวิหาร - วัดสทุ ัศนเทพวราราม - วัดบวรนเิ วศวหิ าร - วดั ประยรุ วงศาวาส ๘.๔.๙๔ ถาม ลําดับขน้ั ตอนในพธิ ปี ระดับยศมไี วอ้ ย่างไร ? ตอบ ปฏิบัติตามระเบยี บกระทรวงกลาโหม วา่ ด้วยการทําพธิ ีประดบั เครอื่ งหมายยศ(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๒๐ ลง ๒๕ พ.ย. ๒๐ ๘.๔.๙๕ ถาม ลาํ ดับพธิ ีในการอบรมศลี ธรรมวัฒนธรรมทหารประจาํ เดือนมีข้นั ตอนอย่างไร ? ตอบ ปฏิบัติตามระเบยี บกรมยุทธศึกษาทหารบก วา่ ด้วยการอบรมศีลธรรม วัฒนธรรมทหาร (ยามปกต)ิ พ.ศ. ๒๕๔๙ ลง ๒๒ ธ.ค.๔๙ ๘.๔.๙๖ ถามการสวดมนต์ ๗ ตาํ นาน ใชใ้ นงานพิธีอะไร ? ตอบ ใช้ในพธิ ที ําบุญทัว่ ไป ๘.๔.๙๗ ถาม การสวดมนต์ ๑๒ ตํานาน ใชใ้ นงานพิธอี ะไร ? ตอบ ใช้ในพิธีทาํ บุญทว่ั ไป การสวดมนต์เปน็ ประเพณีทสี่ บื เนอ่ื งกนั มาชา้ นานของชาวพุทธในหลายประเทศ โดยมีจุดม่งุ หมายเพื่อราํ ลึกถงึ คณุ พระรตั นตรัย และเจรญิ เมตตา จดั ได้วา่ เป็นพนื้ ฐานของการเจรญิ วปิ ัสสนาอันเปน็แกน่ สารของพระพุทธศาสนาดงั คํากลา่ วว่า “สวดมนตเ์ ปน็ ยาทา ภาวนาเป็นยากนิ ” คนสมัยก่อนนิยมสวดมนต์ดว้ ยบทสวดท่ีเรียกว่า เจด็ ตํานาน และ สบิ สองตํานาน แต่ในปัจจุบนั นยิ มสวดมนต์ทาํ วตั รเช้า ทาํ วัตรเยน็ ซงึ่ เป็นพระราชนพิ นธ์ในรัชกาลท่ี ๔ บทสวดมนตเ์ จด็ ตาํ นานและสบิ สองตํานาน มชี ือ่ เดมิ ว่า “พระปรติ ร” แปลว่า“เครอ่ื งคมุ้ ครอง” เป็นทีน่ ยิ มสาธยายในหมูช่ าวพุทธตัง้ แต่สมยั พุทธกาลจวบจนถึงปัจจุบนั เพ่ือความมสี ริ มิ งคล

-๒๗-และเพ่ิมพูนภาวนาบารมี พระปริตรมปี รากฏในพระไตรปิฏกคอื - เมตตปรติ ร มใี นขทุ ทกปาฐะ และสุตตนิบาต - ขนั ธปรติ รมใี นอังคุตตรนกิ าย จตกุ กนบิ าต วนิ ัยปิฏก จุฬวรรค และชาดก ทุกนิบาต - โมรปริตร มใี นชาดก ทุกนิบาต - อาฏานาฏยิ ปรติ ร มีในทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค - โพชฌังคปรติ ร มใี นสงั ยตุ ตนกิ าย มหาวรรค - รตั นปรติ ร มใี นขทุ ทกปาฐะ และสตุ ตนบิ าต - วฏั ฏกปรติ ร มใี นชาดก เอกนบิ าต และจรยิ าปฏิ ก - มังคลปรติ ร มีในขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต - ธชัคคปริตร มใี นสงั ยตุ ตนกิ าย สคาถวรรค - องั คุลมิ าลปรติ ร มใี นมชั ฌมิ นิกาย มชั ฌมิ ปัณณาสก์ การคมุ้ ครองผสู้ วด ในคัมภีร์อรรถกถามีเรื่องอานุภาพพระปริตรสามารถคุ้มครองผู้สวดได้ เช่น เรื่องพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นนกยูงทองพระองค์ได้หม่ันสาธยายโมรปริตรที่กล่าวถึงคุณของพระพุทธเจ้าทําให้แคล้วคลาดจากบ่วงท่ีนายพรานดักไว้ และเรื่องในสมัยพุทธกาลมีภิกษุห้าร้อยรูปไปเจริญภาวนาในป่าได้ถูกเทวดารบกวนจนกระทั่งปฏิบัติธรรมไม่ได้ ต้องเดินทางกลับเมืองสาวัตถี ในขณะนั้น พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนเมตตปริตรท่ีกล่าวถึงการเจริญเมตตา คร้ันภิกษุเหล่าน้ันสวดเมตตาปริตรจึงปฏิบัติธรรมไดโ้ ดยสะดวก โบราณาจารยไ์ ด้รวบรวมอานิสงสข์ องพระปรติ รไวถ้ ึง ๑๒ประการคือ - เมตตปริตร ทําให้หลับเปน็ สขุ ต่นื เปน็ สขุ ไม่ฝนั ร้าย เปน็ ทีร่ กั ของมนษุ ยแ์ ละอมนษุ ย์ทง้ั หลายเทพพทิ ักษร์ กั ษา ไม่มีภยนั ตราย จิตเปน็ สมาธงิ า่ ย ใบหน้าผ่องใส มสี ริ มิ งคล ไมห่ ลงสตใิ นเวลาเสยี ชวี ิต และเปน็พรหมเม่อื บรรลเุ มตตาฌาน - ขนั ธปริตร ป้องกนั ภัยจากอสรพษิ และสตั วร์ า้ ยอื่นๆ - โมรปริตร ปอ้ งกนั ภัยจากผคู้ ดิ ร้าย - อาฏานาฏิยปริตร ปอ้ งกันภยั จากอมนุษย์ ทาํ ใหม้ สี ขุ ภาพดี และมคี วามสุข - โพชฌงั คปริตร ทําให้มสี ขุ ภาพดี มีอายยุ ืน และพน้ จากอุปสรรคทัง้ ปวง - ชยปริตร ทาํ ใหป้ ระสบชัยชนะ และมีความสุขสวัสดี - รตั นปริตร ทําใหไ้ ดร้ บั ความสวัสดี และพน้ จากอปุ สรรคอันตราย - วัฏฏกปรติ ร ทาํ ให้พน้ จากอคั คีภยั - มงั คลปรติ ร ทําใหเ้ กดิ สริ ิมงคล และปราศจากอนั ตราย - ธชคั คปรติ ร ทาํ ให้พน้ จากอุปสรรคอันตราย การตกจากทีส่ ูง - อังคลุ มิ าลปริตร ทาํ ใหค้ ลอดบตุ รง่าย และป้องกันอุปสรรคอันตราย - อภยปรติ ร ทาํ ใหพ้ น้ จากภยั พบิ ัติ และไมฝ่ นั รา้ ย

-๒๘- การคุ้มครองผฟู้ ัง อานุภาพ ของพระปริตรยังสามารถคุ้มครองผู้ฟังได้อีกด้วย คัมภีรอ์ รรถกถากล่าวไว้ว่า ในสมัยพุทธกาล เม่ือเมืองเวสาลีประสบภัย ๓ อย่างคือ ความอดอยากแร้นแค้น การเบียดเบียนจากอมนุษย์ และการแพร่ของโรคระบาด พระพุทธเจ้าได้รับสั่งให้พระอานนท์สวดรัตนปริตรที่กล่าวถึงคุณของพระรัตนตรัยภัยดังกล่าวในเมืองนั้นจึงสงบลง ในคัมภีร์ยังกล่าวไว้ว่า เด็กคนหน่ึงจะถูกยักษ์จับกินภายใน ๗ วัน พระพุทธเจ้าจึงทรงแนะนําให้ภิกษุสวดพระปริตรตลอดเจ็ดคืน และพระองค์ได้เสด็จไปสวดด้วยพระองค์เอง พอคืนท่ีแปดเด็กนั้นก็สามารถรอดพ้นจากภัยพิบัติของอมนุษย์น้ันได้ มีอายุถึง ๑๒๐ ปี มารดาจึงตั้งช่ือว่า อายุวัฒนกุมารแปลวา่ เดก็ ผู้มอี ายุยนื เพราะรอดพ้นจากอนั ตรายดังกลา่ ว ๘.๔.๙๘ ถาม คําถวายอดิเรกในพระราชพิธีทีใ่ นหลวงประทบั อย่วู ่า อติเรกวสสฺ สตํ ชีวตุ ฯลฯมที ี่มาอยา่ งไร ทาํ ไมไมต่ ้องใหผ้ ู้รว่ มพธิ ปี ระนมมอื ? ตอบ ธรรมเนยี มการถวายอดเิ รก มเี รือ่ งปรากฏดงั น้ี พระอดุ มปฎิ ก นามเดิม สอนนามฉายา พุทฺธสโร เป็นชาวจังหวัดพัทลุง ได้เข้ามาพักอาศัยอยู่ ณ วัดหนัง เขตบางขุนเทียน (ปัจจุบันเขตจอมทอง) ได้มาศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมอยู่ที่วัดหงสาราม ปัจจุบันเป็นวัดหงส์รัตนาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ภายหลังได้ย้ายมาอยู่วัดหงสาราม และเคยเป็นเจ้าอาวาสวัดหงสาราม รูปที่ ๕ เป็นเปรยี ญธรรม ๙ ประโยค พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี ๓ ทรงรจู้ ักและคนุ้ เคยเปน็ อนั ดี ตงั้ แต่คร้งั ยงั ทรงดาํ รงพระราชอสิ ริยยศเป็นกรมหมนื่ เจษฎาบดนิ ทร์ คร้ันข้ึนเสวยราชย์แล้ว กท็ รงต้งั ให้พระมหาสอนเปน็ พระราชาคณะ มีราชทินนามว่า พระอุดมปิฎก และเปน็ เจ้าอาวาสวัดหงสารามจนตลอดรชั กาล เมื่อส้นิ รชั กาลที่ ๓ แล้ว รชั กาลท่ี ๔ ซึ่งยงั ผนวชอยู่ ก็ทรงลาสิกขาข้นึ เสวยราชสมบตั ิพระอุดมปฎิ ก กล็ าออกจากตาํ แหน่งเจา้ อาวาสวัดหงสารามกลบั ภูมิลําเนาเดิม ทา่ นเจา้ คุณพระอุดมปฎิ กรปู นม้ี ปี ระวัติทคี่ วรจารกึ ไว้ใหป้ รากฏ คือ เมื่อรัชกาลท่ี ๔ ขึ้นเสวยราชสมบัติแลว้ ท่านกลวั ว่าราชภยั จะมาถงึ ตน เพราะเคยมีปฏกิ ิริยาคัดคา้ นการทรงต้ังคณะธรรมยตุ ิกนิกายอยา่ งแรงกลา้ จึงรบี ลาออกจากตาํ แหนง่ เจ้าอาวาสวดั หงสาราม กลบั ไปอยใู่ นภมู ลิ าํ เนาเดมิ ครน้ั ถงึ งานพระราชพธิ ีเฉลิมพระชนมพรรษา ทรงรับส่งั ใหส้ ืบหาพระอุดมปฎิ ก คร้นั ทรงทราบวา่ ท่านจําพรรษาอยู่ ณ วดั สุนทราวาส (สนทรา) จ.พทั ลงุ จึงทรงรบั ส่งั ให้อาราธนามาในงานพระราชพิธีเฉลมิ พระชนมพรรษา โดยใหเ้ ปน็ ภาระหน้าที่ของคณะขา้ ราชการ กรมการจังหวัดเปน็ ผู้อํานวยความสะดวกในการเดินทาง (โดยทางเรือ) ทุกประการ ทา่ นจงึ เดนิ ทางมาตามหมายกาํ หนดการ ครั้นถงึ วันพระราชพิธี พระอดุ มปฎิ ก เขา้ น่ังประจําท่ี เป็นองค์สดุ ทา้ ยปลายแถว ถึงเวลาพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงประเคนจตุปจั จยั ไทยธรรมโดยลาํ ดบั นบั ตัง้ แต่สมเดจ็ พระสังฆราชลงมาจนถงึ พระอดุ มปิฎก ทรงโสมนสั ยงิ่ นัก ทรงทกั ทายดว้ ยความค้นุ เคยตอนทา้ ยทรงรับสั่งวา่ ท่านเดินทางมาแต่ไกล นานปีจึงจะไดพ้ บกัน ขอจงให้พรโยมให้ชนื่ ใจเถิด เมื่อไดร้ ับอนุญาตจากสมเดจ็ พระสงั ฆราชแลว้ ท่านเจ้าคณุ ก็ต้งั พดั ยศข้ึนถวายพระพรดว้ ยปฏิภาณโวหารว่ากลอนสดเปน็ ภาษาบาลีวา่

-๒๙ - อติเรกวสสฺ สตํ ชวี อติเรกวสฺสสตํ ชวี อตเิ รกวสฺสสตํ ชวี ทฆี ายุโก โหตุ อโรโค โหตุ ทีฆายุโก โหตุ อโรโค โหตุ สุขิโต โหตุ ปรมินทฺ มหาราชา สิทธฺ กิ จิ จฺ ํ สทิ ธฺ กิ มฺมํ สทิ ฺธลิ าโภ ชโย นจิ ฺจํ ปรมนิ ทฺ มหาราชวรสฺส ภวตุ สพพฺ ทา ขอถวายพระพร เนอื่ งจากท่านไมไ่ ด้เตรียมไว้ก่อน เพราะไมร่ ู้วา่ จะต้องถวายพระพร จงึ วา่ ตดิ เปน็ ระยะๆวรรคแรกว่าซํา้ ถึง ๓ หน จงึ วา่ วรรคท่ีสองต่อไปได้ วา่ วรรคที่สองซาํ้ ถึง ๒ หน จึงว่าวรรคท่สี ามต่อไปได้ และวา่ ไปไดต้ ลอดจนจบโดยมิได้ซํ้าอีกเลย พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสดบั แลว้ ทรงโปรดพระพรบทนม้ี าก จงึ ทรงรบั สงั่ ให้ถอื เปน็ ธรรมเนยี ม ใหพ้ ระสงฆใ์ ชพ้ รบทนถี้ วายพระพรพระมหากษัตริยใ์ นพระราชพธิ ีทั้งปวงตราบเทา่ ทกุ วนั น้ีโดยมไิ ด้ตัดตอนแก้ไขแตป่ ระการใด แมค้ าํ ทท่ี า่ นว่าซํ้าสองสามหน ก็รักษาไวเ้ หมือนเดิมเรียกวา่ ถวายอดิเรกแต่ได้ทรงเพิ่มคําว่า ตุ ตอ่ ท้ายคําวา่ ชีว เป็น ชีวตุ สืบมาจนบัดนี้ โดยทพ่ี ระอุดมปฎิ ก ผู้เป็นต้นเหตถุ วายพระพรบทนี้เป็นพระราชาคณะ ดงั น้ันจงึ ได้ถอืเป็นธรรมเนยี มสบื มาว่า พระผทู้ ี่จะถวายอดเิ รกได้นน้ั ตอ้ งมสี มณศกั ดิ์เป็นพระราชาคณะ ธรรมเนียมนี้ได้รกั ษามาเป็นเวลาช้านาน แตป่ จั จบุ ันนี้ (ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๑๐) ทางการคณะสงฆไ์ ดอ้ นุญาตให้พระครชู ัน้ สัญญาบตั รชนั้เอกผ้ดู าํ รงตาํ แหน่งเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ซง่ึ ถือพัดยศเปลวเพลงิ เป็นผู้ถวายอดิเรกไดโ้ ดยอนุโลม นบั ไดว้ า่พระอดุ มปิฎก เป็นตน้ บัญญัติแห่งการถวายอดเิ รกด้วยประการฉะนี้ ๘.๔.๙๙ ถาม ปจั จุบนั เกดิ การไม่มนั่ ใจในการใชพ้ ่มุ เงนิ พุม่ ทองที่มยี อดเป็นฉัตรมาใชป้ ระกอบกับโตะ๊ หมู่บชู า ทถ่ี ูกต้องคืออย่างไร ? ตอบ พานพมุ่ เงินพมุ่ ทองท่มี ียอดเปน็ ฉัตร ไม่ใชต้ ง้ั ประกอบโต๊ะหมูบ่ ชู า (ตามหนงั สือสํานกั นายกรัฐมนตรีท่ี นร.๐๑๑๑/ว ๒๓๓๓ ลง ๓๐ พ.ย. ๕๐) ๘.๔.๑๐๐ สมณศักดขิ์ องพระสงฆ์ ชน้ั ราช /เทพ /ธรรม /พรหม / และสมเด็จ มที ม่ี า และเหตุผลอย่างไร ? ตอบ ความเป็นมาของสมณศักดิ์ ปรากฏในคู่มือสมณศักด์ิ พัดยศ ฉบับสมบูรณ์ซง่ึ รวบรวมและเรียบเรยี งโดย พระมหานริ ุตต์ ฐิตสวํ โร ดังนี้ สมณศักดิ์ คือ บรรดาศักดิ์ หรือ อิสสริยยศ ที่องค์พระมหากษัตริย์ทรงพระราชทานแก่พระสงฆ์ การที่ทรงพระราชทานสมณศักดิ์แกพ่ ระสงฆ์ไทยน้นั เป็นการพระราชทานถวายเกียรติแก่พระสงฆ์ผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัย มีความรู้ความเช่ียวชาญแตกฉานในพระไตรปิฎก และบําเพ็ญคุณงามความดีแก่พระพุทธศาสนา สังคม และประเทศชาติ เปน็ การประกาศยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ เพม่ิ พูนขวัญและ

-๓๐-กําลงั ใจแก่พระสงฆ์ใหด้ ํารงมั่นในการประพฤตพิ รหมจรรย์ ชว่ ยกนั บาํ เพ็ญประโยชน์ทั้งแกป่ ระเทศชาติ พระศาสนา และเปน็ กําลังในการสืบต่ออายพุ ระพทุ ธศาสนาใหเ้ จรญิ รุง่ เรอื งตลอดไป การพระราชทานสมณศักด์ิ จึงนบั เปน็ พระราชประเพณีอันดีงามท่พี ระมหากษัตริย์ไทยทกุ พระองค์ซึง่ ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภก ไดท้ รงยอยกพระพทุ ธศาสนาและถอื ปฏิบัติเป็นโบราณราช-ประเพณีสืบมานานนับพันปี เช่นเดียวกับการพระราชทานยศศักด์ิหรือพระราชทานทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์แกข่ ้าราชการ และประชาชนผู้บําเพญ็ คุณประโยชนต์ อ่ สงั คมและประเทศชาติ กเ็ พือ่ เป็นการประกาศยกย่องเชดิ ชูเกียรตแิ ละเพือ่ ให้มกี ําลงั ใจในการทําความดีช่วยกันพฒั นาประเทศชาติให้วัฒนาสถาพรสืบไป นับแตส่ มัยพุทธกาล พระพุทธองค์ไดท้ รงใช้จิตวิทยาในการปกครองพระสาวก คือการยกย่องผู้ท่คี วรยกย่อง ปอ้ งปรามผทู้ ี่ควรปอ้ งปราม ดงั จะเห็นไดจ้ ากการท่ีพระองคท์ รงยกย่องพระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ ให้ดํารงตําแหนง่ เป็นพระอคั รสาวกเบอื้ งซา้ ย-ขวา และทรงยกย่องพระอรหนั ตสาวกที่มคี วามเปน็ เลิศในด้านต่างๆ ใหด้ ํารงตําแหน่งเอตทัคคะ ดงั ปรากฏในหมพู่ ระอสีติอนพุ ทุ ธสาวก เชน่ พระอัญญาโกณฑัญญะ ทรงยกย่องให้เป็นเอตทัคคะด้านรัตตัญญู คือผู้มีโลกทัศน์กว้างไกล หรือพระสารีบุตรเถระท่ีนอกจากจะทรงประทานตําแหน่งพระอัครสาวกเบื้องขวาแล้ว ยังทรงยกย่องให้เป็นเอตทัคคะผู้เลิศด้วยปัญญาและยังทรงยกย่องพระสารีบุตรว่าเป็น “พระธรรมเสนาบดี” เป็นต้น ด้วยพุทธวิธีดังกล่าวมานี้ ทําให้พระองค์สามารถประดิษฐานและเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้ต้ังมั่นอยู่ในชมพูทวีป และเจริญรุ่งเรืองไปยังนานาอารยประเทศ เม่ือพระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว ย่อมไม่มีผู้ใดที่จะสามารถสืบทอดเจตนารมณน์ ้ไี ด้ นอกจากองค์พระประมุขแห่งประเทศน้ันๆ ดงั น้นั การพระราชทานสมณศักดิ์แกพ่ ระสงฆ์จงึ เป็นพระราชนิยมของพระเจา้ แผ่นดนิ ในทกุ ประเทศท่นี ับถือพระพทุ ธศาสนา เช่น ศรีลังกา พม่า กัมพชู าและไทย เปน็ ตน้ สําหรับ “สมณศักดิ์และราชทินนาม” ท่ีปรากฏในราชอาณาจักรไทยน้ัน สันนิษฐานว่ามีมานานก่อนกรุงสุโขทัยแล้ว อาจจกล่าวได้ว่าก่อนการรับลัทธิลังกาวงศ์จากประเทศศรีลังกาเสียอีก ทั้งนี้ เพราะปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ ๑๘ จารกึ บนเสาแปดเหลี่ยม พบท่ีศาลสูง จังหวัดลพบุรี มีคําว่า “สังฆปาถากํา” หรือในศิลาจารึกหลักท่ี ๑๒๑ จารึกเสาท่ีหินขอน อําเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา จารึกขึ้นใน พ.ศ.๑๒๑๗และ ๑๒๔๓ มีนามปรากฏ คือ “กํามรตางอัญ ศรีราชภิกษุ และ อุปาธยายะ ศรีราชภิกษุ” ซ่ึงน่าจะเป็นสมณศักดแ์ิ ละราชทนิ นามรวมอยดู่ ้วย ตอ่ มาในสมัยสุโขทัย ก่อนที่ลัทธลิ ังกาวงศจ์ ากลังกาจะเจริญรุ่งเรืองในราชอาณาจักรไทยก็ปรากฏพบหลักฐานในศิลาจารึก เช่น ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ซ่ึงเป็นเรื่องราวเก่ียวพระราชประวัติของพ่อขุนรามคําแหง จารึกราว พ.ศ.๑๘๓๕ มีคําที่ใช้กล่าวถึงพระเถระอยู่หลายคํา เช่นคําว่า “ปู่ครู (พระครู)เถระ มหาเถระ และสังฆราช” ซ่ึงจากหลักฐานดังกล่าว คําเหล่าน้ี อาจจะเป็นการเรียกตามสมณศักด์ิท่ีพระสงฆ์แต่ละรูปได้รับแต่งต้ังด้วยประการหน่ึง อีกประการหน่ึงอาจจะเป็นคําเรียกด้วยความเคารพอย่างย่ิง อันมีหลกั ฐานปรากฏในศลิ าจารกึ วัดศรชี ุม ท่จี ารกึ ระหว่าง พ.ศ.๑๘๘๔-๑๙๑๐ ซ่งึ พบวา่ ยังมีคาํ พเิ ศษย่ิงข้นึ อกี

-๓๑-คือคําว่า “พระมหาเถรานุเถระ” และคําว่า “หมู่สังฆเถระ” นอกจากน้ีในศิลาจารึกวดั กําแพงงาม จังหวัดสุโขทัยซึ่งจารึกในปี พ.ศ.๑๘๙๓ ยังมีคําที่ใช้กล่าวเรียกพระสงฆ์ต่างไปอีก คือคําว่า เจ้าไท หรือ เจ้าไทย เจ้าเถร ครูบาเจา้ กู เจ้าเหง้า และพระครูเจา้ หรอื แม้แตค่ ําวา่ สมภาร หรือ เจ้าอธิการ กม็ ใี ชก้ นั แลว้ ในสมัยนัน้ เช่นกนั สว่ นการรับธรรมเนียมการมีสมณศกั ดิ์ คงเริ่มนยิ มภายหลงั รบั ลัทธิลงั กาวงศ์ในชว่ งปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ตลอดถึงพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ (พ.ศ.๑๙๐๐-๑๙๙๙) สมัยกรุงสุโขทัย หลังจากน้ันก็ถือเป็นประเพณีของไทยเราเร่อื ยมา ตลอดสมัยกรุงศรอี ยุธยา กรงุ ธนบรุ ี จวบจนยคุ สมยั กรงุ รตั นโกสินทร์ ดงั มีรายละเอยี ดปรากฏในพงศาวดารและประวตั ิศาสตร์ไทย ตลอดทัง้ ได้มีววิ ฒั นาการเกย่ี วกับการพระราชทานสมณศักด์ิ ราชทินนาม และเคร่ืองประกอบสมณศักด์ิ พร้อมท้ังมีการปรับระเบียบวิธีการพระราชทานสมณศักดิ์ใหม้ คี วามสอดคล้องกับระบบการปกครองคณะสงฆไ์ ทยในปัจจบุ ัน พระสงฆ์สาวกผู้สบื ทอดพระศาสนา ได้มีส่วนอบรมสั่งสอนประชาชนให้ละชั่ว ประพฤติดีตามพระธรรมคําสอนและตามกฎหมาย ระเบียบ กติกาของบ้านเมือง กอ่ ให้เกิดความสงบสุขข้ึนในสังคม สะดวกแก่การปกครองและการพัฒนาประเทศ ดว้ ยได้เลง็ เหน็ คณุ คา่ แหง่ พระธรรม และการบาํ เพ็ญประโยชน์ของพระสงฆ์ว่า มคี ณุนานปั การต่อประเทศชาติและประชาชนดงั กล่าวแลว้ ขา้ งตน้ พระมหากษตั รยิ ์ของทกุ ประเทศทีน่ บั ถอืพระพุทธศาสนา จงึ มคี วามเห็นตรงกันวา่ เปน็ การสมควรอย่างย่ิง ทจี่ ะใหม้ ีการยกยอ่ งเชิดชเู กียรติแก่พระสงฆ์ดว้ ยการพระราชทานสมณศกั ดิ์ เพอื่ เป็นกาํ ลงั ใจในการบําเพญ็ ความดียงิ่ ๆ ขน้ึ ไป อีกประการหนง่ึ การพระราชทานสมณศักด์แิ ก่พระสงฆ์ผมู้ ีความสามารถในด้านต่างๆได้มีส่วนสนับสนุนการปกครองคณะสงฆ์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ดังจะเห็นได้จากข้อความตอนท้ายของใบสัญญาบัตร หรือใบประกาศสถาปนาพระเถระผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นพระบรมราชโองการแต่งต้ังจะมีข้อความตอนท้ายว่า“ขออาราธนาพระคุณจงรับธุระพระพุทธศาสนา เป็นภาระสั่งสอน ช่วยระงับอธิกรณ์ และอนุเคราะห์พระภิกษุสามเณรโดยสมควรแก่กาํ ลงั และอิสริยยศซึง่ พระราชทานน้ี ฯลฯ ด้วยเหตุน้ี จะเห็นได้ว่าองค์พระประมุขของประเทศทรงมอบภารธุระและอํานาจในการปกครองดูแล ตลอดถึงการสงเคราะห์พระภิกษุสามเณรให้เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ และพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานสมณศักดกิ์ ไ็ ดช้ ่วยสนองงานในส่วนนี้ไดเ้ ป็นอยา่ งดี จึงทาํ ให้การปกครองคณะสงฆใ์ นประเทศไทยซึง่ มีวดั อยู่ประมาณ ๕๐,๐๐๐ วดั มพี ระภกิ ษุสามเณรประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ รูป สามารถปกครองดแู ลกนั ได้ดว้ ยความเรยี บร้อย โดยปราศจากกองกาํ ลังอาวธุ ใดๆ นอกจากพระธรรมวินัยและพระบรมโพธิสมภารลาํ ดับพัดยศสมณศักด์ิ ฐานานุกรม เปรยี ญ ในงานพระราชพิธแี ละรฐั พธิ ี สมเด็จพระราชาคณะ ๑) สมเด็จพระสังฆราชเจา้ ๒) สมเด็จพระสงั ฆราช ๓) สมเด็จพระราชาคณะ ช้นั สพุ รรณบฏั (ตามอาวโุ สโดยสมณศกั ด์ิ)

-๓๒- พระราชาคณะ ๔) พระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ช้ันหิรัณยบฏั ๕) พระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ช้ันสัญญาบตั ร ๖) พระราชาคณะ ชนั้ ธรรม ๗) พระราชาคณะ ชน้ั เทพ ๘) พระราชาคณะ ชั้นราช ๙) พระราชาคณะ ชั้นสามญั ๙.๑) พระราชาคณะปลดั ขวา – ปลัดซา้ ย – ปลดั กลาง (พระสมุหวรคณสิ สรสิทธกิ าร วดั พระเชตุพนฯ เปน็ พระปลัดกลาง รปู แรก) ๙.๒) พระราชาคณะ รองเจา้ คณะภาค ๙.๓) พระราชาคณะ เจา้ คณะจงั หวดั ๙.๔) พระราชาคณะ รองเจา้ คณะจงั หวดั ๙.๕) พระราชาคณะ ชัน้ สามญั เปรยี ญ ฝา่ ยวปิ สั สนาธุระ ๙.๖) พระราชาคณะ ชั้นสามญั เปรยี ญ ป.ธ.๙ – ๘ - ๗ - ๖ - ๕ - ๔ - ๓ ๙.๗) พระราชาคณะ ชนั้ สามญั เทยี บเปรยี ญ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ๙.๘) พระราชาคณะ ช้ันสามัญเทยี บเปรยี ญ ๙.๙) พระราชาคณะ ชนั้ สามญั ยก ฝา่ ยวิปัสสนาธุระ ๙.๑๐) พระราชาคณะ ชนั้ สามัญยก เฉพาะพิธรี บั ผา้ พระกฐินพระราชทานเจา้ อาวาสนั่งหน้าพระภกิ ษุรปู อ่ืน ซงึ่ แมจ้ ะมีสมณศักด์สิ ูงกว่า พระครสู ญั ญาบัตร ๑๐) พระครสู ญั ญาบัตร เจ้าคณะจังหวดั (จจ.) ๑๑) พระครสู ญั ญาบัตร รองเจา้ คณะจงั หวัด (รจจ.) ๑๒) พระครสู ญั ญาบัตร เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ช้ันเอก (จล.ชอ.) ๑๓) พระครสู ญั ญาบตั ร เจา้ คณะอําเภอ ชัน้ พิเศษ (จอ.ชพ.) ๑๔) พระครสู ญั ญาบตั ร เทียบเจา้ คณะอําเภอ ช้นั พิเศษ (ทจอ.ชพ.) ๑๕) พระครูปลดั ของสมเดจ็ พระราชาคณะ ๑๖) พระเปรียญธรรม ๙ ประโยค ๑๗) พระครสู ญั ญาบัตร เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชน้ั โท (จล.ชท.) ๑๘) พระครสู ญั ญาบตั ร เจา้ คณะอําเภอ ชน้ั เอก (จอ.ชอ.) ๑๙) พระครสู ญั ญาบัตร เทียบเจ้าคณะอาํ เภอ ชน้ั เอก (ทจอ.ชอ.) ๒๐) พระครสู ญั ญาบัตร เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชนั้ ตรี (จล.ชต.) ๒๑) พระครสู ญั ญาบัตร เจา้ คณะอาํ เภอ ชนั้ โท (จอ.ชท.)

-๓๓- ๒๒) พระครสู ญั ญาบตั ร รองเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ชน้ั เอก (รจล.ชอ.) ๒๓) พระครสู ญั ญาบตั ร รองเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชน้ั โท (รจล.ชท.) ๒๔) พระครสู ญั ญาบัตร รองเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ชนั้ ตรี (รจล.ชต.) ๒๕) พระครสู ญั ญาบัตร ผู้ช่วยเจา้ อาวาสพระอารามหลวงชั้นพิเศษหรือเทียบเท่า(ผจล.ชพ. หรอื ทผจล.ชพ.) ๒๖) พระครสู ญั ญาบตั ร ผูช้ ่วยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ช้นั เอกฝา่ ยวปิ สั สนาธุระหรอื เทียบเท่า (ผจล.ชอ.วิ. หรือ ทผจล.ชอ.ว.ิ ) ๒๗) พระครสู ญั ญาบตั ร ผู้ช่วยเจา้ อาวาสพระอารามหลวง ชน้ั เอก หรือเทยี บเทา่(ผจล.ชอ. หรอื ทผจล.ชอ.) ๒๘) พระครูปลัดของพระราชาคณะเจา้ คณะรอง ชัน้ หริ ัญบฏั ๒๙) พระครูปลัดของพระราชาคณะเจา้ คณะรอง ช้นั สัญญาบตั ร ๓๐) พระครฐู านานกุ รมชนั้ เอกของสมเด็จพระสังฆราช ๓๑) พระเปรียญธรรม ๘ ประโยค ๓๒) พระครสู ญั ญาบตั ร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชน้ั โท หรอื เทยี บเทา่(ผจล.ชท. หรือ ทผจล.ชท.) ๓๓) พระเปรียญธรรม ๗ ประโยค ๓๔) พระครปู ลัดของพระราชาคณะชน้ั ธรรม ๓๕) พระครฐู านานกุ รมชน้ั โท ของสมเดจ็ พระสงั ฆราช (พระครูปริตร) ๓๖) พระครสู ญั ญาบตั ร รองเจา้ คณะอําเภอ ช้นั เอก (รจอ.ชอ.) ๓๗) พระครสู ญั ญาบัตร รองเจา้ คณะอําเภอ ชน้ั โท (รจอ.ชท.) ๓๘) พระครสู ญั ญาบตั ร เจา้ คณะตาํ บล ช้ันเอก ฝา่ ยวปิ ัสสนาธรุ ะ (จต.ชอ.วิ.) ๓๙) พระครสู ญั ญาบัตร เจา้ คณะตาํ บล ช้นั เอก (จต.ชอ.) ๔๐) พระครสู ญั ญาบัตร เจา้ คณะตําบล ช้นั โท (จต.ชท.) ๔๑) พระครสู ญั ญาบัตร เจา้ คณะตําบล ช้ันตรี (จต.ชต.) ๔๒) พระครสู ญั ญาบตั ร เจา้ อาวาสวดั ราษฎร์ ชัน้ เอก (จร.ชอ.) ๔๓) พระครสู ญั ญาบัตร เจ้าอาวาสวดั ราษฎร์ ช้นั โท ฝา่ ยวิปัสสนาธรุ ะ (จร.ชท.วิ.) ๔๔) พระครสู ญั ญาบตั ร เจา้ อาวาสวัดราษฎร์ ชนั้ โท (จร.ชท.) ๔๕) พระครสู ญั ญาบัตร เจา้ อาวาสวัดราษฎร์ ชัน้ ตรี (จร.ชต.) ๔๖) พระครสู ญั ญาบตั ร รองเจ้าอาวาสวดั ราษฎร์ (รจร.) ๔๗) พระครสู ญั ญาบตั ร ผูช้ ่วยเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ (ผจร.) ๔๘) พระเปรียญธรรม ๖ ประโยค ๔๙) พระเปรยี ญธรรม ๕ ประโยค ๕๐) พระครปู ลดั ของพระราชาคณะ ชนั้ เทพ

-๓๔- ๕๑) พระครปู ลดั ของพระราชาคณะ ช้ันราช ๕๒) พระครูวนิ ัยธร ๕๓) พระครธู รรมธร ๕๔) พระครคู สู่ วด ๕๕) พระเปรยี ญธรรม ๔ ประโยค ๕๖) พระปลัดของพระราชาคณะ ชั้นสามญั ๕๗) พระเปรยี ญธรรม ๓ ประโยค ๕๘) พระครรู องค่สู วด ๕๙) พระครสู งั ฆรักษ์ ๖๐) พระครสู มุห์ ๖๑) พระครใู บฎีกา ๖๒) พระสมุห์ ๖๓) พระใบฎีกา ๖๔) พระพธิ ีธรรม ๘.๔.๑๐๑ ถาม การหม่ จีวรของพระสงฆ์มหี ม่ คลุม (ดองหรอื เฉวียงบ่า ) รดั อก มังกร มีท่ีมาอย่างไร ทําไมการห่มเฉวียงบ่าถอื ว่าเป็นการแสดงความเคารพ ถา้ เป็นขา้ ราชการหรือคนทัว่ ไปถอื ว่าไมเ่ รียบรอ้ ย ? ตอบ การครองผ้าของพระสงฆ์ไทยทัง้ ๒ นกิ าย แบบการครองจวี รของภกิ ษเุ ดมิ ในพระไตรปิฎกได้กลา่ วไวช้ ัดเจน มีในเสขิยวตั รว่า“ให้ทําความสาํ เหนียกว่า จักนุ่งจักห่มให้เปน็ ปริมณฑล คอื เรยี บรอ้ ย พงึ นุง่ ปดิ สะดือและปกหวั เข่าใหเ้ รียบรอ้ ยพึงทาํ ชายท้งั สองใหเ้ สมอกนั หม่ ใหเ้ รียบรอ้ ย” ในการแสดงเคารพหรือทาํ วินัยกรรม “ให้หม่ ผ้าอตุ ราสงค์เฉวียงบา่ ” ซึ่งก็คอื หม่ จีวรเฉวยี งบ่า ในการเขา้ บา้ น กล่าวว่า “หม่ สังฆาฎทิ ้ังหลายทําให้มชี ้ันและกลัดดุม แตก่ าํ ชบั ไว้ให้ปดิ กายดว้ ยดี ห้ามไมใ่ ห้เปดิ ไม่ใหเ้ วิกผา้ ขน้ึ ” สันนษิ ฐานว่าคือการหม่ คลุมท้ังสองบา่ การแบง่ ประเภทของการครองจีวร พระภิกษสุ งฆม์ หานกิ ายในประเทศไทยมกี ารครองผ้าจีวร หลายประเภท เชน่ “หม่ ดอง”, “ห่มลดไหล”่ หรือ “ห่มเฉวยี งบา่ ” (เวลาลงสงั ฆกรรม), “ห่มคลมุ ” (เวลาออกนอกอาราม) และ “ห่มมงั กร” หม่ ลดไหล่ การหม่ ผา้ ลดไหล่ของภิกษแุ บบธรรมยุตสีกลัก มสี ังฆาฏิพาด ทพ่ี ระธรรมยตุ ินิกายปัจจบุ นั นยิ มครอง “หม่ ลดไหล”่ “หม่ เฉยี ง” หรอื “หม่ เฉวยี งบา่ ” ซ่ึงเป็นการห่มที่ใชใ้ นการแสดงความเคารพปัจจุบนั ใชใ้ นการห่มในเขตวัด โดยนําผ้าจวี รผืนหนึง่ มาพันตวั ชายจรดชายม้วนเขา้ หาตัวลูกบวบวางบนบา่ ห่มคลมุ หม่ คลุม หมายถงึ การคลองจวี รดว้ ยการมว้ นผ้าชายจรดชายม้วนเข้าหาตวั ลูกบวบมาวางบนบา่ คลุม ๒ บ่ามดิ ชดิ ดี ใชใ้ นการห่มออกนอกวัด ซง่ึ ถ้าไม่หม่ คลมุ ในเวลาออกนอกเขตวดั (เขตติจวี รา-วิปปฺ วาส) ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฎ ปัจจุบนั มกั ห่มดองออกนอกวัดโดยถือเปน็ เรอ่ื งธรรมดาวา่ ถกู ตอ้ ง โดยเฉพาะภาคเหนอื ท้ังๆ ทผ่ี ดิ วินัย

-๓๕- หม่ ดอง ห่มดอง หมายถึง การครองผ้าลดไหล่ของภิกษแุ บบมหานกิ าย มสี ังฆาฏพิ าด คือการครองผา้ จวี รอันเปน็ ปรมิ ณฑล (หม่ ครบไตรจีวร) ทีเ่ รยี กว่า \"ห่มดอง\" กระทําโดยมีการพบั จีวรเป็นทบแล้วคลท่ี าบมาท่ีบ่าชน้ั หน่ึงก่อน แลว้ จงึ นาํ ผา้ สังฆาฎิ ซึง่ พบั เป็นผนื ยาวมาพาดไหล่ดา้ นซ้ายของผู้หม่ กอ่ นท่จี ะนํา “ผา้ รดั อก”มารัดบรเิ วณอกอีกช้นั หนงึ่ ปจั จุบันเปน็ การหม่ ทเี่ ป็นทีน่ ิยมท่ัวไปของพระสงฆ์มหานกิ าย ซงึ่ ดูเรียบร้อยและทะมดั ทะแมงแน่นหนา เน่อื งจากมผี า้ รดั อก ข้อเสยี คือเปิดสีขา้ งดไู ม่งาม อกี ท้งั ไมใ่ ชก่ ารครองจวี รที่มีมาตามพระบรมพทุ ธานญุ าต เนอ่ื งจากผา้ รดั อกไมม่ ีในอัฏฐบรขิ าร ห่มมงั กร ห่มมังกร หมายถึงการครองผา้ ทห่ี มุนผา้ ลกู บวบไปทางขวา เมอื่ อยู่ในวดั จะหม่ เฉวยี งบา่และหม่ คลมุ ในเวลาออกนอกวดั เปน็ การหม่ ตามธรรมเนยี มของพระมหานกิ าย (ปัจจบุ ันยังมีบางวัดนิยมการหม่แบบนี้อยู่ โดยมากจะเปน็ วัดมหานกิ ายในกรุงเทพมหานครเฉพาะผู้ทมี่ ีการศึกษาสูง) ทถ่ี ือว่าถูกตอ้ งตามพระบรมพุทธานญุ าต คือ “ชายจรดชายมว้ นขวา หรืออีกนัยหน่งึ แปลว่าขา้ งนอก (พาหนั ตะ) คอื ม้วนออกขา้ งนอกตัวซ่ึงก็เขา้ กันไดก้ ับการม้วนขวาวางบนแขน” การท่ีม้วนขวาเนือ่ งจากในสมยั พทุ ธกาลถอื ว่าการมว้ นขวานนั้ เปน็ มงคล(ประทักษิณ) ถ้าห่ม “บิดขวา” เปน็ การหม่ แบบมหานิกายแท้ เปน็ วัตรปฏิบตั ิในการครองจวี รของพระสงฆ์มหานกิ าย หรอื พระสงฆ์ฝ่ายเถรวาทลทั ธิลังกาวงศ์ในประเทศไทยกอ่ นทจี่ ะมีคาํ ส่งั ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ให้พระภิกษทุ ัว่ สงั ฆมณฑลหม่ ผา้ ตามแบบของธรรมยตุ ิกนิกายท้งั หมดน้นั (ปัจจบุ ันพระฝ่ายมหานิกายสว่ นมากนยิ มหมุนซา้ ยแบบธรรมยตุ หรอื พระรามญั ไปแทบท้งั สิน้ ) สันนิษฐานวา่ สมณะนอกศาสนานัน้ ย่อมหม่ ชายจรดชายม้วนขวา มว้ นเข้าหาตวั ลูกบวบวางบนบ่าเชน่ เดยี วกัน เพราะสังคมอนิ เดยี สมยั น้ันถอื วา่ มว้ นขวา (ประทกั ษณิ ) เปน็ มงคล มว้ นซ้ายเปน็ กาลกิณีแต่วา่ นา่ จะวางไว้ทบี่ า่ ขวาเมอ่ื ห่มเฉวียงบา่ จะ เปิดไหล่ซ้าย เชน่ เดยี วกับนักบวชของศาสนาฮนิ ดู หรือนอกศาสนาพุทธในประเทศอินเดียทน่ี ยิ มเปิดบา่ ซ้าย (สงั เกตไดแ้ มใ้ นปัจจบุ นั นี)้ ดังน้นั พระสงฆ์ในพทุ ธศาสนาจึงวางไว้ท่ีบา่ซ้าย และเปิดบา่ ขวาเพ่อื แสดงถงึ ความแตกต่าง การห่มมงั กรนนั้ แบง่ ออกเปน็ สองอยา่ งคอื การหม่ มังกรอยา่ งไทยและการห่มมงั กรอย่างพมา่ การห่มมงั กรอยา่ งไทยนั้น จะใช้รักแรห้ นีบลูกบวบไว้ และจะไมค่ ลล่ี ูกบวบเพื่อเอามอื ออกแตจ่ ะเวกิ ผ้ายกขึ้นมาเลย ส่วนการห่มมังกรอยา่ งพมา่ นน้ั จะวางลกู บวบบนบา่ และจะคลล่ี ูกบวบเพ่อื เอามือออก และจะตดิ กระดมุสองแห่งคือปิดท่คี อ และชายผา้ ซ่ึงการหม่ มงั กรอยา่ งพม่าจะเปน็ การหม่ แบบดง้ั เดมิ ๘.๔.๑๐๒ ถาม ปลอกแขนทาํ ด้วยสกั หลาดสเี หลอื ง หมายถงึ อะไร มีทมี่ าอย่างไร โอกาสใดบา้ งท่คี วรติด และติดกบั ชุดใดได้บา้ ง ปจั จุบันถกู หรือยงั ในการใช้ นายทหารทีไ่ มเ่ ปน็ เปรียญมากอ่ นใชไ้ ด้ หรือไม่ ? ตอบ กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ.๒๕๑๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติเครื่องแบบทหาร พทุ ธศักราช ๒๔๗๗ ว่าดว้ ยการใชเ้ สอ้ื ครุย เส้อื ปรญิ ญา และเครือ่ งหมายพิเศษบางอย่างลง ๓๑ ส.ค.๑๖ ฯลฯ

-๓๖- ขอ้ ๑๓. ทหารที่ทําหน้าทอี่ นศุ าสนาจารย์ ใหใ้ ชป้ ลอกแขนทาํ ด้วยสกั หลาดสเี หลอื งกว้าง ๗ เซนติเมตร สวมทแ่ี ขนเส้อื ข้างซา้ ยเหนอื ขอ้ ศอก ๘.๔.๑๐๓ ถาม คําว่าอาราธนาพระปริตร มีทีม่ าอยา่ งไร ? ตอบ คําวา่ อาราธนาพระปรติ ร ไม่มีปรากฏหลกั ฐานวา่ เริ่มใชต้ ง้ั แต่สมยั ใด เพยี งแต่เปน็ ทท่ี ราบกันดีว่ามมี าต้ังแต่โบราณกาล พระธรรมกติ ตวิ งศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบณั ฑติ ได้ให้ความหมายไวว้ า่ อาราธนา (อา่ นว่า อาราดทะนา) แปลวา่ การทําใหย้ นิ ดี, ทําให้ดใี จ, ทําให้หายโกรธ,ทาํ ให้ชอบ, ทําให้สาํ เร็จ อาราธนา ในคาํ วดั ใช้ในความหมายว่าเชญิ , เชอื้ เชิญ, ออ้ นวอน, ร้องขอภิกษสุ ามเณรให้ยนิ ดพี อใจทําในสิง่ ใดส่งิ หนง่ึ หรอื รอ้ งขอให้ทาํ ส่ิงใดใหส้ าํ เรจ็ เชน่ อาราธนาศลี คือรอ้ งขอให้พระให้ศลี อาราธนาพระปริตร คือรอ้ งขอให้พระสวดมนต์ อาราธนาธรรม คอื ร้องขอใหพ้ ระแสดงธรรม อาราธนาไปทําบุญบ้าน คือนมิ นต์พระไปทําพิธีท่บี า้ น อาราธนา เปน็ คาํ ทใ่ี ชแ้ ทนคําวา่ นมิ นต์ แตไ่ ม่นยิ มใช้ค่กู ันเป็น อาราธนานมิ นต์ ๘.๔.๑๐๔ ถาม การวันทาเสมาของนาคผูก้ าํ ลังเขา้ สพู่ ิธอี ุปสมบท ทาํ ไปเพือ่ อะไร ? ตอบ เปน็ กราบไหว้ บชู า และขอขมาพระรัตนตรัย และสงิ่ ทเี่ คารพบชู าในอาราม และในขอบเขตขัณฑสมี า เพ่อื ใหก้ ายกรรม วจีกรรม มโนกรรม บรสิ ุทธิ์ กอ่ นเขา้ พธิ อี ุปสมบท ๘.๔.๑๐๕ ถาม การถอดดา้ ยมงคลแฝดในพธิ สี มรสแลว้ มอบใหเ้ จ้าบ่าวใส่ในกระเปา๋ เสอื้หมายความว่าอย่างไร ? ตอบ เพอ่ื ให้บ่าว-สาวเก็บรกั ษาไว้เปน็ มงคลสําหรับชีวิตตลอดไป ๘.๔.๑๐๕ ถาม การบงั สุกุล คือการพจิ ารณาผา้ จากศพเพ่ือประโยชน์นํามาใช้เป็นเครือ่ งน่งุ ห่มของภิกษุตามพระธรรมวินยั ปัจจบุ ันมีบงั สกุ ุลคนเปน็ ดว้ ย มีที่มาอยา่ งไร ? ตอบ เรอ่ื งบงั สุกลุ ตาย บังสกุ ลุ เป็น น้ัน ธ.ธรรมรกั ษ์ ไดใ้ ห้ความหมายไวด้ งั นี้ เรื่องบังสุกุลน้ัน ไม่ว่าบังสุกุลเป็นหรือบังสุกุลตายล้วนเป็นกุศโลบายอย่างหน่ึง ซึ่งจูงไปในทางให้เจริญมรณานุสติ บังสกุ ุลตายน้ันมีมานานแลว้ เพราะเปน็ กรรมฐานวิธีทเ่ี จรญิ แล้วเป็นการเจริญมรณานุสติท่ีได้ผลมากประการหน่ึงแต่บังสุกุลเป็นน้ันมาคิดต้ังแต่งขึ้นทีหลัง แต่ก็ยังมุ่งหวังมรณานุสติเช่นเดียวกัน เพียงแต่เป็นการให้กําลังใจโดยสร้างพิธีกรรมว่าได้ฟื้นคืนจากความป่วยไข้หรือความเจ็บอันใกล้จะตายแล้วเพ่ือทําให้เกิดปีติขึ้นในใจ ซ่ึงเป็นกุศโลบายในการรักษาโรคชนิดหน่ึงดังนั้นการบังสุกุลเป็นหรือการบังสุกุลตายของแท้จึงเป็นกิจกรรมในพระพุทธศาสนา เพ่ือถึงซึ่งความปล่อยปละละวาง กระทั่งถึงความหลุดพน้ อันเป็นท่ีสุด ในการบังสุกุลนั้น เขาจะบังสุกุลตายก่อน แล้วต่อมาก็จะบังสุกุลเป็น เพียงเพื่อเป็นเคล็ดว่าตายแล้วเกิด ฟุบแล้วฟื้น ซ่ึงไม่มีผลจริงตามที่ต้ังพิธีกรรมน้ัน เพราะใกล้เบี่ยงเบนเหออกไปในทางนอกพระ พุทธศาสนา ดังน้ันจึงพึงเขา้ ใจบทสวดหรือรําลกึ ในเร่ืองน้ีเสียก่อนก็จะเหน็ ของแท้ อันจะเปน็ ประโยชนแ์ ก่ชีวิต

-๓๗- เวลาบงั สุกุลเปน็ เขาจะสวดหรอื ภาวนาเป็นเนอื้ ความวา่ “ร่างกายน้ไี มต่ ง้ั อยู่นานเลย เปน็ของอันพึงสังเวช เพราะเมอ่ื ปราศจากวิญญาณแลว้ กจ็ กั นอนทับพืน้ แผน่ ดนิ หาประโยชนม์ ิได้ ประดุจดง่ั ทอ่ นไม้ทอ่ นฟนื ยอ่ มถกู เขาเอาไปทิง้ เสียเปน็ แน่” ซ่ึงเปน็ การเตอื นสตใิ นทางเจรญิ มรณานสุ ติวา่ ถึงแม้จะฟืน้ จากความเจ็บไข้ได้ปว่ ยประการใด ร่างกายอันยาววาหนาคบื นก้ี ย็ ังตงั้ อยู่ได้ไม่นาน ตายแลว้ กไ็ ม่มีคา่ อะไร เป็นสงิ่ พึงรังเกียจ ทแ่ี มค้ นทรี่ กั กย็ ังเอาไปทิ้ง เอาไปฝงั เอาไปเผา จึงไม่พึงตั้งอยู่ในความประมาท ไม่พงึ ทาํ กรรมชวั่ พึงทาํ แต่กรรมดี พงึ อบรมจติ ใจให้ผ่องใสเถดิ สว่ นการบงั สกุ ลุ ตายนนั้ เขาจะสวดหรือภาวนาเปน็ เน้ือความวา่ “สังขารหรือความปรงุแต่งตามความอยากทั้งหลายน้ันเปน็ สง่ิ ไมเ่ ทีย่ งเลย มคี วามเกิดขนึ้ แล้ว ยอ่ มมคี วามเสอ่ื มไปเปน็ ธรรมดา และต้องดับไปเป็นธรรมดา เมื่อใดท่ีสงั ขารหรือความปรงุ แตง่ ตามความอยากได้ระงับลงแลว้ เม่อื นน้ั กจ็ ะเปน็ สุขอยา่ งยิ่ง” พิธกี รรมบงั สกุ ลุ ท่ไี มไ่ ด้ต้งั อย่แู ละไมไ่ ดม้ ีเปา้ หมายเพ่อื การเจริญมรณานสุ ติ ไมไ่ ดม้ ีเปา้ หมายเพือ่ การปลอ่ ยปละละวาง กระท่ังเพอื่ ความหลดุ พน้ อนั จะนาํ ไปใหถ้ ึงซึง่ บรมสุข แตย่ งั มีเงอื้ มเงาของความอาฆาตพยาบาท ความยดึ ม่นั ถอื มน่ั ความไมร่ จู้ กั ปลอ่ ยปละละวางทีน่ กั ตง้ั แต่งพธิ ีกรรมเหล่าน้ันตัง้ แต่งยยุ งใหค้ นหลงใหลงมงาย เพมิ่ ความอยากมี อยากได้ อยากเป็นไปสขู่ นั้ สงู สูค่ วามกระหายกระวนกระวาย ซ่ึงเป็นอาการของเปรตหรือเรยี กว่าเปรตวสิ ยั จงึ เปน็ อัปมงคลพธิ โี ดยแท้ ๘.๔.๑๐๖ ถาม การจดุ เทยี นส่องธรรมในเวลาพระแสดงธรรม ยคุ โบราณเหน็ วา่ มเี หตุผลในปัจจบุ นั ปฏิบตั กิ นั ไปเพอื่ อะไร ? ตอบ เพือ่ รกั ษาธรรมเนยี มปฏิบตั แิ ต่โบราณกาลไว้ไมใ่ หข้ าดศูนย์ เพือ่ ประโยชน์ในการศึกษาของพุทธศาสนิกชนทงั้ หลาย ๘.๔.๑๐๗ ถาม ระเบียบของ ทบ. การประนมมือเวลาประธานจุดธปู เทียนมไี ว้อยา่ งไร ? ตอบ ให้ปฏบิ ัตติ ามประกาศกองทัพบก เรื่อง การปฏบิ ัติของกาํ ลังพลที่เกี่ยวกับพิธีสงฆ์และงานพธิ ตี ่างๆ ลง ๒๒ ธ.ค.๔๑ ดังน้ี เพื่อให้กําลังพลในสังกัดกองทัพบกท่ีไปร่วมในพิธีต่างๆ ปฏิบัติตนที่เก่ียวกับพิธีสงฆ์เชน่ การกราบพระในพิธีต่างๆ โอกาสในการประนมมือและไมป่ ระนมมือ รวมทัง้ การถือกระบแ่ี ละหมวกใน แต่ละโอกาสและการน่ังไหว้พระในพิธีสงฆ์โดยมีกระบ่ี ถุงมือ และหมวกประกอบ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นแนวทางเดียวกัน จึงให้กําลังพลถือปฏิบัติตามหนังสือการปฏิบัติของประธานและผู้เข้าร่วมพิธีในพิธีต่างๆ และระเบยี บปฏิบัตริ าชการบางเรือ่ ง พ.ศ.๒๕๓๘ ซง่ึ ได้แจกจา่ ยให้หนว่ ยตา่ งๆ ไดท้ ราบ และถือปฏิบัติไปแลว้ และขอช้แี จงเพ่ิมเตมิ ในเรอ่ื งท่สี ําคญั ๆ ดงั ต่อไปน้ี

-๓๘- ๑) การปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับพธิ ีสงฆ์ ให้กาํ ลังพลปฏิบัตดิ ังนี้ ๑.๑) การจดุ เทยี นธปู จุดเทยี นกอ่ นแล้วจดุ ธปู เป็นลาํ ดับถัดไป โดยจดุ เทียนเลม่ ซ้ายมอื ของผจู้ ดุ และเลม่ ขวามือตามลําดับ ต่อจากนั้นจดุ ธูปดอกซ้ายมือของผจู้ ดุ ไปทางขวามือตามลาํ ดับ ๑.๒) การเคารพธงชาติและพระบรมฉายาลักษณ์ ในพธิ สี าํ คัญ ๆ นิยมต้งั ธงชาติและพระบรมฉายาลักษณไ์ ว้ข้างทีบ่ ูชา เมือ่ กราบพระพุทธปฏมิ า ณ ท่ีบุชาแลว้ ใหล้ ุกยนื หนั ไปแสดงการเคารพธงชาติ และพระบรมฉายาลักษณต์ ามลําดบั ๑.๓) การกราบ การกราบ ณ ทบี่ ูชา หรือกราบพระสงฆ์ ควรกราบให้นบั ไดว้ า่เปน็ การกราบ ๓ ครง้ั การกราบทหี่ มอบลงคร้งั เดียวแลว้ ใช้มือทีป่ ระนมแบกราบๆ จนครบ ๓ ครัง้ และปฏิบตั ิเช่นน้นั อยา่ งเร็วไมแ่ สดงให้เหน็ ชดั ว่าเป็นการกราบ ๓ ครั้ง เปน็ การแสดงความรบี รอ้ นเกนิ ไป ไม่แสดงถงึ การกราบท่มี ีความตง้ั ใจและศรัทธา ถอื ว่าเปน็ การกราบท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง ๑.๔) การประนมมือ ให้กําลงั พลประนมมอื ในกรณีตอ่ ไปน้ี ๑.๔.๑) ในพิธีปิด – เปดิ การศึกษา พิธปี ระดับยศ ผูอ้ ยู่ในพิธีประนมมือเมอ่ื ประธานเร่ิมจดุ เทยี นเรื่อยไปจนถงึ ประธาน ฯ กราบเสรจ็ และลดมอื ลงเม่อื ประธาน ฯ ลุกยนื เพอื่ แสดงการเคารพธงชาติและพระบรมฉายาลักษณ์ ๑.๔.๒) กรณรี บั ศลี ประนมมอื เมอ่ื พธิ กี รฯ เร่ิมอาราธนาศีล (มะยงัภนั เต..) จนถึงพระสงฆใ์ ห้ศีลจบ และบอกอานิสงส์ของศีลจบลงด้วยคาํ ว่า “ ตสั มา สลี งั วโิ สธะเย ” จงึ ลดมือลง ๑.๔.๓) กรณฟี งั การเจรญิ พระพทุ ธมนต์ และสวดพระพุทธมนต์ ประนมมอื เมือ่ พธิ ีกร เริ่มอาราธนาพระปริตร (วปิ ตั ตปิ ะฏิพาหายะ……) จนถึงพระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์หรอื สวดมนตจ์ บ จึงลดมือลง ๑.๔.๔) กรณีฟังพระสงฆ์แสดงธรรม (ฟังเทศน)์ ประนมมือเม่อื พธิ ีกรเรม่ิ อาราธนาธรรม (พรัหมา จะ โลกา…..) จนถึงพระสงฆ์แสดงธรรมจบ จงึ ลดมอื ลง ๑.๔.๕) กรณพี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ฯ หรือทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้มีผแู้ ทนพระองค์ ผ้อู ยู่ในพธิ ปี ระนมมือได้ทกุ กรณี ตามข้อ ๑.๔.๑ – ๑.๔.๔ ๑.๔.๖) กรณฟี งั พระสงฆส์ วดพระอภิธรรม ผอู้ ยใู่ นพธิ เี ริม่ ประนมมอืเมือ่ พธิ ีกรเรม่ิ อาราธนาศลี และประนมมือทกุ คร้ังเมอื่ พระสงฆส์ วดพระอภิธรรมแตล่ ะจบ เม่ือพระสงฆส์ วดจบทุกคร้งั กล็ ดมอื ลง ๑.๔.๗) กรณีพดู และสนทนากบั พระเถระผใู้ หญ่ ตามประเพณขี องชาวพุทธ ผู้เปน็ คฤหัสถ์ตอ้ งประนมมอื ทุกคร้งั ๑.๔.๘) กรณีเข้าเฝา้ สมเด็จพระสงั ฆราช เมอื่ กราบทลู เม่อื ขณะสนทนาเมอ่ื กล่าวรบั เช่นตอบคําถาม เมือ่ พระองค์ประทานพร เมือ่ พระองคป์ ระทานนา้ํ พระพุทธมนต์ ให้ประนมมอืทุกครั้ง ๑.๔.๙) ถวายผ้าปา่ ผา้ กฐนิ เมื่อรบั ศลี ฟงั เทศน์ ฟงั พระสงฆ์สวดบทนะโม ผอู้ ยู่ในพิธีประนมมอื ได้ทกุ ตอน

-๓๙- ๑.๔.๑๐) การกรวดนํา้ เมื่อพระสงฆ์ขน้ึ บทอนุโมทนาวา่ “ยถา วาริวหา”ประธานในพิธีหรือเจ้าภาพเริ่มกรวดน้ําทันท่ี ให้ผู้อยู่ในพิธีประนมมือด้วย เมื่อพระสงฆ์สวดจบบทถึงวรรคสุดท้ายท่ีว่า “ มณิโชติรโส ยถา ” ให้ประธานเทน้ําให้หมดภาชนะ แล้วน่ังประนมมือฟังพระสงฆ์ให้พรต่อไปจบแล้วกราบ ๓ หน ผอู้ ย่ใู นพธิ เี อามอื ลงได้ ๑.๔.๑๑) การสวดพระอภิธรรม เมื่อประธานในพิธีหรือเจ้าภาพจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย ให้กําลังพลประนมมือ และประธานกลับมาน่ังท่ีเดิม พิธีกรจะอาราธนาศีลให้ประธานและผู้เข้าร่วมพิธีประนมมือ พระสงฆ์สวดพระอภิธรรมจบ ฝ่ายเจ้าภาพช่วยกันถวายไทยธรรม (ถ้ามี)พิธีกรลาดผา้ ภูษาโยงหรือด้ายสายสญิ จน์ และเชิญประธานทอดผา้ บังสุกลุ เสร็จแล้วกลับมานง่ั ที่เดิม (กาํ ลงั พลไม่ตอ้ งประนมมือ) ขณะที่พระสงฆ์ชกั ผ้าบังสุกุลและกล่าวคาํ ว่า “ อนิจจา วะตะ สังขารา…” ประธาน และผู้อย่ใู นพิธีประนมมือด้วย เม่ือพระสงฆ์อนุโมทนา (ยถา วาริวหา…) ให้ประธานกรวดน้ําแล้วประนมมือรับพรต่อไปจนจบ (ผ้รู ่วมพิธีประนมมือ) ประธานจงึ กราบลาพระรตั นตรยั ทโ่ี ต๊ะหมู่บูชา ๑.๔.๑๒) ในงานฌานปนกจิ ศพทั่วไป เม่ือเจ้าภาพเชญิ ประธานในพิธีขึ้นทอดผ้าบงั สุกลุ ก่อนประกอบพิธปี ระชุมเพลิง ใหป้ ระธานลกุ ข้ึนเดนิ ไปข้างหนา้ ผเู้ ชิญ เมอ่ื ถงึ เมรุแล้วทาํ ความเคารพตามประเพณนี ยิ ม รับผ้าบังสกุ ลุ แลว้ วางทอดไว้ ณ ภาชนะทร่ี องรับ (ถ้าไมม่ ที ่รี องรับกว็ างไวบ้ นหบี ศพ)เม่อื พระสงฆข์ ึน้ ไปบนเมรุ ใหป้ ระธานน้อมตัวลงยกมอื ไหว้ ขณะทพ่ี ระสงฆ์ชักผ้าบังสุกุล ประธานพงึ ประนมมือและขณะทพี่ ระสงฆ์ลงจากเมรุ ให้ประธานนอ้ มตัวลงยกมือไหวอ้ กี ครง้ั หนึง่ แล้วลงจากเมรุ ขณะนนั้ กําลงั พลไม่ต้องประนมมอื กรณีถา้ เปน็ ประธานในพธิ ีและทอดผ้าบงั สุกลุ เปน็ คนสดุ ทา้ ย เมอ่ื ทาํ ความเคารพพระสงฆ์คร้ังสุดทา้ ยแลว้ ใหเ้ รมิ่ ประกอบพธิ ีประชมุ เพลิงตอ่ ไป ๑.๔.๑๓) ในงานพระราชทานเพลิงศพ เมื่อเจ้าภาพเชิญผู้เป็นประธานในการพระราชทานเพลิงศพขึ้นเมรุเพื่อทอดผ้าไตรบังสุกุล (ผืนสุดท้าย) ประธานในพิธีจะทอดไตรบังสุกุล(ผืนสุดท้าย) ถ้าเป็นผ้าไตรของหลวงพระราชทานต้องใช้พัดยศ พระสงฆ์ชักผ้าไตรบังสุกุล (ผืนสุดท้าย) แล้วลงจากเมรุ ประธานประนมมือแต่ผู้เดียว จากน้ันประธานในพิธีหันหน้าไปทางทิศท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ประทับ ถวายคํานับ ๑ คร้ัง แล้วหยิบกระทงข้าวตอก กระทงดอกไม้ จากพนักงานพระราชพิธีวางท่ีฐานฟืนหน้าหบี ศพ แล้วหยบิ ดอกไมจ้ ันทนจ์ ากพนักงานพระราชพธิ ี จุดเพลิงพระราชทานจากโคมไฟท่ีเจ้าพนกั งานพระราช-พธิ ถี ือเชิญไปสอดวางลงในใต้พน้ื รองศพ ถอยหลังหนง่ึ ก้าว คาํ นบั เคารพศพหน่งึ คร้ัง หนั หนา้ ไปทางทิศที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวประทับ ถวายคาํ นับ ๑ ครั้ง แล้วลงจากเมรุ กรณีได้รับหีบเพลิงพะราชทาน เมื่อผู้เป็นประธานทอดผ้าไตรบังสุกุลพระภิกษไุ ด้ชักผ้าบงั สกุ ลุ แลว้ ให้เจา้ หน้าท่ผี ้เู ชิญหีบเพลิงพระราชทานแก้ห่อหีบเพลิงพระราชทานออก จากน้นัผเู้ ปน็ ประธานเปดิ ฝาหบี เพลิงพระราชทาน หยิบเทียนชนวนในหบี เพลิงพระราชทานมอบใหเ้ จา้ หน้าท่ผี ูเ้ ชิญถือไว้หยิบกลักไม้ขีดในหีบเพลิงพระราชทานจุดไฟต่อเทียนชนวนท่ีเจ้าหน้าที่ผู้เชิญถือไว้ รอจนเทียนลุกไหม้ดีแล้วถวายบังคม (ไหว้) หนงึ่ ครั้ง ก่อนหยิบธูป ดอกไม้จนั ทน์ และเทยี นพระราชทาน (จาํ นวน ๑ ชุด) ในหบี เพลิงพระราชทาน จุดไฟหลวงจากเทียนชนวนแล้ว วางไว้ใต้กลางฐานท่ีต้ังศพ จากน้ันก้าวถอยหลังหนึ่งก้าว คํานับเคารพศพหนงึ่ ครั้ง แลว้ ลงจากเมรุ เปน็ อนั เสรจ็ พธิ ี

-๔๐ ๑.๕) หา้ มขา้ ราชการทหารประนมมอื ในโอกาสตอ่ ไปน้ี ๑.๕.๑) ในงานพระราชพิธีหรืองานบําเพญ็ พระราชกศุ ลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวหรือสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ทรงเป็นประธานในพธิ ี เมอ่ื พระสงฆ์ (องค์ประธานองคเ์ ดียว) ถวายอดิเรก (ถวายพระพร) แดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว หรอื สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ซง่ึ ขึน้ ต้นด้วยข้อความว่า “ อะติเรกะวัสสะสะตงั ชวี ะตุ…..” และจบลงดว้ ยข้อความวา่“ ภะวะตุ …สพั พะทา ขอถวายพระพระพร ” ผอู้ ยู่ในพธิ ไี ม่ต้องประนมมือ (เมอ่ื ถวายอดิเรกจบแล้ว พระสงฆ์สวดบท ภะวะตุ สัพพะมงั คะลัง รักขันตุ สพั พะเทวะตา…..ผูอ้ ย่ใู นพิธปี ระนมมอื ไดอ้ กี ตามเดมิ ) ๑.๕.๒) เมอ่ื พธิ สี งฆ์จบแลว้ พระสงฆอ์ งค์ประธานจะถวายพระพรลา“ขอถวายพระพรเจริญพระราชสิริสวัสด์ิพพิ ัฒนมงคลพระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จพระบรมบพิตรพระราชสมภาร องคส์ มเด็จพระปรมนิ ทรธมั มกิ มหาราชาธริ าชเจ้า ผทู้ รงพระคุณอนั ประเสริฐ เวลานสี้ มควรแล้วอาตมภาพทง้ั ปวงขอถวายพระพรลา แด่สมเดจ็ พระบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองคผ์ ู้ทรงพระคุณอันประเสรฐิ ขอถวายพระพร ” ขณะทพี่ ระสงฆ์กล่าวขอ้ ความถวายพระพรลาท้งั หมดนี้ ผอู้ ยใู่ นพธิ ีไม่ต้องประนมมอื ๒) การถือกระบีแ่ ละหมวกในโอกาสน่งั บนทนี่ งั่ และการนงั่ ไหวพ้ ระในพิธีสงฆ์เม่อื แตง่ เครือ่ งแบบปกติขาวในโอกาสน่ังบนท่นี ั่ง และไหวพ้ ระในพิธีสงฆ์ ให้กาํ ลงั พลปฏิบตั ิตามคู่มอื การฝกึ วา่ ด้วยแบบฝกึ การใชก้ ระบสี่ ําหรบั นายทหาร พ.ศ.๒๕๓๔ ๓) การปฏิบัตใิ นพิธปี ระดับเครอื่ งหมายยศ แตง่ กายเคร่ืองแบบปกตขิ าว คาดกระบี่ มถี งุ มอื ปฏบิ ตั ดิ ังนี้ ๓.๑) เมอ่ื ประธานในพธิ ีมาถึงบรเิ วณพธิ จี ดุ เทียนธปู บชู าพระรตั นตรยั และกราบพระ ผู้เขา้ รว่ มพธิ แี ละผู้รบั การประดบั ยศ ใหป้ ล่อยกระบี่ลงขา้ งตวั ประนมมือพร้อมกัน โดยใหป้ ลายนวิ้ ถงุมือสอดอย่รู ะหวา่ งนิ้วหวั แมม่ อื กบั น้ิวชีม้ ือซา้ ย และลดมอื ลงเม่อื ประธานกราบเสร็จ ๓.๒) เมือ่ กระทําพิธปี ระดับเครื่องหมายยศให้แก่นายทหารผู้ได้รับระราชทานยศสูงขนึ้ ใหน้ าํ สายโลหะมาเกี่ยวท่ีหว่ งกระบ่ี ปลอ่ ยกระบลี่ งขา้ งตัว ถอื ถงุ มือไวด้ ้วยมอื ซ้าย โดยใชน้ วิ้ กลางนิ้วนางและน้วิ ก้อย กําถงุ มอื ให้ปลายน้ิวถุงมือห้อยลงล่าง ๘.๔.๑๐๘ ถาม การอญั เชญิ พระพุทธรูปมาใช้ในพธิ ตี ่างๆ ทําไมต้องนยิ มพระพทุ ธรปู ปางมารวิชัยเปน็ ปางอ่ืนๆ บ้างมิไดห้ รือ? ตอบ พระพุทธรูปปางมารวิชัย พุทธศาสนิกชนถือว่าเป็นมงคล เพราะเป็นปางที่พระพุทธองค์ทรงชนะมารคือทรงชนะทัง้ ข้าศึกภายนอกและข้าศึกภายในคือกิเลสจนได้ตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ จึงนิยมอญั เชิญพระพทุ ธรูปปางมารวิชัยประดิษฐานในพิธีการทั้งหลาย ส่วนการจะอัญเชิญพระพุทธรูปปางอ่ืนประดิษฐานในพิธีนั้น ก็สามารถกระทําได้ แต่ขอให้เป็นเรื่องของปัจเจกบุคคล นอกจากน้ัน พิธีการทั้งหลายของหน่วยในกองทัพบก กําหนดให้อัญเชิญพระพุทธสิงห์ชัยมงคลพระพุทธรูปประจาํ กองทัพบกเท่านัน้ เป็นพระพุทธรูปท่ีใช้บูชาในพิธกี ารทัง้ ปวง และพระพุทธสงิ ห์ชัยมงคลก็เป็นพระพุทธรูปปางมารวชิ ัย

-๔๑- ๙. ผลการประเมินความพงึ พอใจพธิ บี ําเพ็ญกุศลทกั ษณิ านปุ ระทานและอบรมเพิ่มเติมความรปู้ ระจาํ ปี ๙.๑ ดา้ นการเตรยี มการ ระดับความพงึ พอใจ จาํ นวนผ้ตู อบลําดบั รายการประเมนิ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย แบบสอบถาม คะแนนเฉล่ยี เกณฑ์ ทสี่ ดุ กลาง ทสี่ ดุ (คน)๑. ได้รบั ข่าวสารทันเวลา 16 20 17 2 3 58 3.76 ดี๒. ไดร้ บั ขา่ วสารทางเอกสาร 12 11 24 10 1 58 3.40 ปานกลาง๓. ไดร้ ับข่าวสารทาง Social 36 13 7 1 1 58 4.41 ดี Network๔. ภมู ิทศั นร์ อบ กอศจ.ยศ.ทบ. 17 27 13 1 0 58 4.03 ดี๕. อาหาร-เครอ่ื งดม่ื 17 32 8 1 58 4.12 ดี๖. รสชาตอิ าหาร 14 32 8 4 58 3.97 ดี๗. อาหารเพยี งพอกบั ผู้รว่ มงาน 19 30 4 4 1 58 4.07 ดี๘. การรบั บรจิ าคอัตรารายได้ ๑ 28 18 7 3 2 58 4.16 ดี ใน ๓๐ วนั มีความเหมาะสม๙. เห็นด้วยกบั การบริจาคอตั รา ๑ 29 13 11 2 3 58 4.09 ดี ใน ๓๐ วัน ของเงินเดอื น๑๐. การจดั ที่พัก 17 24 11 2 4 58 3.83 ดี๑๑. พาหนะรบั -สง่ ท่ีพัก 19 25 7 5 2 58 3.93 ดี๑๒. เวลาในการจดั งาน (๒ วัน) 16 19 12 9 2 58 3.66 ดี๑๓. การเตรียมการในภาพรวม 13 31 11 3 58 3.93 ดี๑๔. การประสานงานก่อนวันงาน 13 23 18 4 58 3.78 ดี เฉลย่ี 3.94 ดี ๙.๒ ด้านความเรยี บรอ้ ยของพิธกี าร ระดบั ความพงึ พอใจ จาํ นวนผตู้ อบลําดบั รายการประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย แบบสอบถาม คะแนนเฉล่ยี เกณฑ์ ทส่ี ุด กลาง ท่สี ดุ (คน)๑. พธิ ีสักการะพระพทุ ธสิงหช์ ยั มงคล 19 27 9 1 2 58 4.03 ดี๒. พธิ ถี วายสักการะพระบรมรูป ร.๖ 23 24 8 1 2 58 4.03 ดี๓. พธิ สี งฆ์ 12 32 9 4 1 58 4.12 ดี๔. การทาํ หนา้ ท่ขี องพิธกี รกลาง 14 28 12 4 58 3.86 ดี๕. การทําหน้าท่ีของศาสนพธิ กี ร 13 31 9 4 1 58 3.91 ดี เฉลี่ย 3.99 ดี

-๔๒- ๙.๓ การบรรยายพเิ ศษ เรอ่ื ง ความคาดหวงั ของผู้บังคับบัญชาตอ่ อศจ. โดย จก.ยศ.ทบ.ลาํ ดบั รายการประเมิน ระดับความพงึ พอใจ น้อย จํานวนผู้ตอบ คะแนน เกณฑ์ มาก มาก ปาน น้อย ท่สี ดุ แบบสอบถาม เฉลีย่ ที่สดุ กลาง (คน)๑. ชว่ งเวลาเหมาะสม 17 29 9 3 58 4.03 ดี๒. วิทยากรเหมาะสม 24 25 6 3 58 4.21 ดี๓. เนื้อหาการบรรยายสามารถ 29 19 7 3 58 4.28 ดี นาํ ไปใช้ประโยชน์ได้ เฉลยี่ 4.17 ดี ๙.๔ การเสวนาและตอบข้อสงสยั เรอ่ื งการจดั พิธีทางราชการ โดยสํานกั พระราชวังและกรมการศาสนาลําดั รายการประเมิน ระดบั ความพงึ พอใจ น้อย จํานวนผตู้ อบ คะแนน เกณฑ์บ มาก มาก ปาน น้อย ทส่ี ุด แบบสอบถาม เฉล่ยี ทส่ี ดุ กลาง (คน)๑. ชว่ งเวลาเหมาะสม 23 23 7 4 1 58 4.09 ดี๒. วิทยากรเหมาะสม 32 19 4 3 58 4.09 ดี๓. เนอื้ หาการบรรยายสามารถ 28 23 4 3 58 4.31 ดี นาํ ไปใช้ประโยชน์ได้ เฉลย่ี 4.16 ดี ๙.๕ การชีแ้ จงของผู้บรหิ าร กอศจ.ยศ.ทบ., อศจ.ทภ.๑-๔ และ อศจ.นขต.ทบ.ลาํ ดบั รายการประเมนิ ระดับความพงึ พอใจ นอ้ ย จาํ นวนผู้ตอบ คะแนน เกณฑ์ มาก มาก ปาน น้อย ท่ีสดุ แบบสอบถาม เฉลี่ย ทส่ี ุด กลาง (คน)๑. การนาํ เสนอผลงาน อศจ.ทภ. 12 37 5 2 2 58 2.67 ปานกลาง และ อศจ.นขต.ทบ.๒. เวลาในการเสนอ (๑.๓๐ ชม.) 14 31 8 3 2 58 2.83 ปานกลาง๓. การชแี้ จงของแผนก/ฝ่าย 10 33 12 2 1 58 2.71 ปานกลาง ชัดเจน๔. การช้แี จงของผบู้ ริหารระดบั สูง 12 35 7 2 2 58 2.71 ปานกลาง ครอบคลุม ตรงประเด็น เฉลย่ี 2.73 ปานกลาง ๙.๖ ข้อเสนอแนะของผเู้ ขา้ รบั การอบรมเพิ่มเติมความรู้ ๙.๖.๑ ดา้ นการบริหารจดั การห้องพกั ให้มกี ารกํากบั ดูแลการเขา้ พักให้เหมาะสม ๙.๖.๒ การตอบข้อซักถามของวิทยากรจากสาํ นกั พระราชวงั และกรมการศาสนา ไดป้ ระโยชน์ มาก แตเ่ วลา (๓ ชม.) ไมเ่ พยี งพอ ควรใหเ้ วลาในการตอบขอ้ ซกั ถามมากกวา่ นี้

-๔๓-๑๐. ภาพกิจกรรมจก.ยศ.ทบ. เป็นประธานพิธบี ําเพ็ญกศุ ลทักษณิ านปุ ระทานถวายพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั รชั กาลท่ี ๖จก.ยศ.ทบ.เปน็ ประธานพธิ ีเปิดการอบรมเพ่มิ เตมิ ความรู้ประจําปสี ายวิทยาการ อศจ.ทบ.และบรรยายพิเศษพธิ ีกลา่ วคาํ สตั ยป์ ฏิญาณวา่ ด้วยวินยั อศจ. และรบั อศจ.ใหมเ่ ขา้ หมคู่ ณะการเสวนาเรือ่ งการจัดพธิ ีทางราชการ โดย สํานกั พระราชวงั และกรมการศาสนา